The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาการคำนวณ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuengcomputer, 2021-09-29 13:08:26

วิทยาการคำนวณ ป.6

วิทยาการคำนวณ ป.6

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
ขอ้ 1. การกระทำทถ่ี อื เป็นการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ
ก. นำภาพของผอู้ ื่นมาดัดแปลงแล้วนำไปขาย
ค. เผยแพรภ่ าพยนตรท์ ีก่ ำลังฉายอยู่ในโรงภาพยนตรใ์ ห้เพือ่ นดผู า่ นทางส่ือสังคม
จ. คดั ลอกเนอ้ื หาจากหนงั สอื มาดดั แปลงแลว้ เผยแพรใ่ นเว็บไซตข์ องตนเอง

ข้อ 2. การกระทำทถี่ อื เปน็ การละเมิดความเปน็ ส่วนตวั ของผู้อืน่
ก. ถา่ ยภาพครขู ณะทีค่ รกู ำลงั สอนแลว้ ส่งให้คณุ แม่ดู
ข. แอบถ่ายภาพน้องอนุบาลท่ีหนา้ ตานา่ รกั แลว้ นําไปโพสต์
ง. เผยแพร่เบอร์โทรศัพทข์ องคณุ แม่ในกลุ่มสนทนาของช้นั เรยี น

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 10

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา ..........
เรื่อง เดนิ ตามเสน้ เลน่ ตามสคริปต์ เวลา 2 ชัว่ โมง
ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รูเ้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม
ตวั ช้ีวัด ป.6/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ทพี่ บใน
ชวี ิตประจำวนั
ป.6/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย เพอ่ื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจำวนั ตรวจหา
ขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและแกไ้ ข

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)
1. นักเรียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับการเขยี นโปรแกรมแบบมเี ง่อื นไข
2. นกั เรยี นสามารถตรวจสอบและแกไ้ ขข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้
3. นกั เรยี นมีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้

3. สาระสำคญั
ก่อนลงมือเขียนโปรแกรมควรวางแผนลำดับขั้นตอนในการทำงาน โดยเขียนเป็นรหัสลำลองหรือผัง

งาน
บลอ็ กคำสงั่ color... is touching...? อยใู่ นกลุ่มบลอ็ ก Sensing ใชต้ รวจสอบ การสมั ผัสระหว่างสี
ตัวแปร (Variable) เป็นชื่อที่กำหนดขึ้นมาเพื่อเก็บข้อมูลบางอย่าง การนับจำนวนสามารถใช้บล็อก

คำสั่งที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables (ตัวแปร) ดังนี้ บล็อกคำสั่ง set ... to ใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร
และบลอ็ กคำสง่ั change ... by ใชส้ ำหรบั เปลย่ี นคา่ ตัวแปรใหเ้ พม่ิ ขึน้ หรือลดลงจากเดมิ ตามจำนวนทกี่ ำหนด

บลอ็ กคำสัง่ touchingใชส้ ำหรบั ตรวจสอบการสัมผสั ตัวช้ีเมาสเ์ สน้ ขอบหรือตวั ละคร
บล็อกคำสั่ง wait until ใช้สำหรับกำหนดใหโ้ ปรแกรมหยุดรอจนกระทั่งเงือ่ นไข เป็นไปตามที่กำหนด
แล้วจึงทำงานต่อ

บล็อกคำส่ัง not อยใู่ นกลุ่มบล็อก Operators ใชเ้ ปลีย่ นเง่อื นไขที่นำมาต่อด้าน หลงั ให้เป็นเงื่อนไขท่ี
ตรงขา้ มกัน

บลอ็ กคำสั่ง stop all อยู่ในกลุม่ บลอ็ ก Control ใช้หยุดการทำงานทงั้ หมด ของโปรแกรม
บล็อกคำสง่ั เทา่ กบั (=) อยูใ่ นกลมุ่ บลอ็ ก Operators ใชเ้ ปรยี บเทยี บคา่ 2 คา่

4. สาระการเรียนรู้
1. การเขียนโปรแกรมแบบมเี งื่อนไข
2. การตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรม

5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบกจิ กรรมที่ 3.1 ดบี ัก นกั โปรแกรม

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ดำเนนิ การเรยี นการสอนดังตอ่ ไปนี้

1. ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คําถามจากสํารวจความรู้ก่อนเรียนและอาจตั้งคำถามเพิ่มเติม

ดังนี้
- นักเรียนเคยเขียนโปรแกรมท่ีมกี ารตรวจสอบเงื่อนไขหรือไมถ่ ้าเคย โปรแกรมท่ีเขียนน้ันมี

การตรวจสอบเงื่อนไขอะไรบ้าง (ในหนังสือเรียน สสวท. ชั้น ป.5 มีการเขียนโปรแกรม ตรวจสอบการสัมผัสสี
และตวั ละคร โดยใช้บลอ็ กคำส่งั touching)

- คำส่ัง ask and wait มีไวส้ ำหรับทำอะไร (แสดงคาํ ถามและรับข้อมูลจากผู้ใช้) และคำสั่ง
นีใ้ ช้คกู่ ับบล็อกคำสงั่ ใด (answer)

- บลอ็ กคำสั่ง answer มีหน้าทีอ่ ะไร (เก็บขอ้ มลู ทผ่ี ้ใู ช้ปอ้ นเข้ามาจากคำส่ัง ask and wait)
2. ขน้ั สำรวจและค้นหา (exploration)

1. ครูนํานักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสอื เรียนบทท่ี 3 เดินตามเส้น เล่นตามสคริปต์ ตั้งแต่หน้า
56-68 (ก่อนคาํ ถามชวนคิด) จากนัน้ ตง้ั คําถามเกีย่ วกบั เนือ้ หาท่นี กั เรียนไดศ้ กึ ษา เชน่

- หนุ่ ยนต์ส่งเอกสารทโ่ี รงพยาบาลเดนิ ตามเสน้ ได้เพราะอะไร (มีการเขียนโปรแกรมควบคุม
ให้เดินตามเสน้ สีดำที่กำหนด)

- นกั เรยี นคิดวา่ นอกจากจะส่งเอกสารแล้ว หนุ่ ยนตเ์ ดินตามเสน้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์
อะไรอกี บา้ ง (ขายของ เสิร์ฟนำ้ เสริ ฟ์ อาหาร)

- เพราะเหตุใดโป้งและก้อยจึงต้องการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์ เดินตามเส้น (พบหุ่นยนต์
เดินสง่ เอกสารในโรงพยาบาล จงึ อยาก เขยี นโปรแกรมให้ห่นุ ยนตส์ ามารถทำงานได้ในลกั ษณะเดยี วกัน)

- นอกจากให้หุ่นยนต์เดินได้โดยตรวจจับค่าสีเส้นบนพื้นแล้ว นักเรียนอยากให้หุ่นยนต์เดิน
ไดอ้ ย่างไรอกี บา้ ง (เดนิ ตาม เสน้ ทางในหอ้ งโดยต้ังโปรแกรมไวก้ ่อนเดนิ ตามท่ผี ูใ้ ช้กดเรยี ก)

- ก่อนลงมือเขียนโปรแกรมโป้งและก้อยทำอะไรบ้าง (ปรึกษากันและจำลองการทำงาน
ของหุ่นยนต์โดยการทดลองเดินตาม เสน้ เชอื ก เขียนผังงานแสดงข้ันตอนการทำงาน)

- นักเรียนคิดว่า เราสามารถแสดงขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรมด้วยวิธีการใดอีกบ้าง
นอกจากการเขียนผังงาน (เขยี นเปน็ รหสั ลำลอง เขยี นเป็นแผนภาพ)

- การตรวจสอบวา่ ล้อซ้ายสัมผัสเสน้ สีดำหรือไม่ ใช้คำสง่ั อะไร (if color สีมว่ ง is touching
สีดำ) และถ้าล้อซ้ายสัมผัส สีดำแล้วให้ทำอะไร (ให้หันไปด้านซ้าย 10 องศา) ใช้บล็อกคำสั่งอะไร ( turn left
10 degrees)

- การตรวจสอบวา่ ลอ้ ขวาสมั ผสั เสน้ สดี ำหรือไมใ่ ชค้ ำส่ังอะไร (if color สีส้ม is touching สี
ดำ) และถา้ ขวาลอ้ สัมผสั สดี ำแล้วให้ทำอะไร (ใหห้ นั ไปดา้ นขวา 10 องศา) ใช้บล็อกคำส่งั อะไร (turn right 10
degrees)

- โปรแกรมของนักเรียนไดผ้ ลลัพธ์ตามตวั อย่างหรือไม่ หาก ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพราะอะไรนักเรียนมี
วิธีแก้ปัญหาอย่างไร (ตรวจสอบการใช้คำสั่งให้ถูกต้อง ตรวจสอบสีในคำสั่ง touching ให้ตรงกับเงื่อนไขของ
โปรแกรม)

3. ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 คน จากนั้นชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 3.1

ดีบกั นักโปรแกรม จากนัน้ สุม่ นักเรยี นนาํ เสนอคำตอบ จากนัน้ ครตู ัง้ คำถามเพิม่ เตมิ ดงั นี้
- นักเรยี นแกไ้ ขโปรแกรมทจ่ี ุดใดบ้าง อย่างไร
- จุดท่ีแก้ไขในโปรแกรมของนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม เหมอื นกันหรือไม่อยา่ งไร
- จากข้อ 2 การจับเวลาการเล่น 20 วินาที สามารถเขียนสคริปต์ไว้ที่ใดได้บ้าง (ที่เวทีหรือ

ตวั ละครใดก็ได)้
- คำตอบของนักเรยี นเหมอื นกันหรือไม่ มีวิธีการแกไ้ ขโปรแกรมอยา่ งไรบา้ ง

4. ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั ความรทู้ ีไ่ ด้รับ โดยใช้ประเด็นคำถามต่อไปนี้
- นักเรียนควรทำอะไรก่อนการเขียนโปรแกรม (วางแผนว่าโปรแกรมที่จะเขียนขึ้นนี้ มี

ลำดบั การทำงานอยา่ งไร มีตวั ละคร อะไรบา้ ง ตัวละครแตล่ ะตัวทำหนา้ ทอี่ ะไร มเี วทีอะไรบ้าง เวทีแต่ละเวทมี ี

การทำงานอยา่ งไร)
- เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วพบข้อผิดพลาด นักเรียนมีวิธี แก้ไขอย่างไร (แก้ไขโดยตรวจสอบ

การทำงานท่ลี ะคำสัง่ วา่ ขาดคำส่ังใดหรอื ไม่ คำสง่ั ใดทีผ่ ดิ พลาด หรอื กำหนดค่าผดิ )
- สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (วางแผนการทำงานหรือ

การบ้านส่งครู ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ในงานหรอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั )
5. ข้นั ประเมนิ (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ งั ไม่เขา้ ใจหรอื ยังมีขอ้ สงสัย ถา้ มี ครชู ่วยอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ให้นกั เรียนเขา้ ใจ
2. นกั เรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แก้ไขอยา่ งไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กจิ กรรม และการนำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล
การประเมินการเรียนรู้ของนักเรยี นทำได้ ดังนี้
1. ประเมนิ ความร้เู ดมิ จากการอภิปรายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนกั เรียน

การประเมนิ จากการทำกิจกรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรุง

รหสั สง่ิ ทป่ี ระเมิน ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล

S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

C4 การส่อื สาร

C5 ความร่วมมอื

8. สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เอกสารการจดั การเรียนรู้สะเต็มศึกษาดว้ ยการเขียนโปรแกรม Scratch สสวท.

oho.ipst.ac.th/im/5691

9. ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ของ.......................................................... แลว้ มคี วามเหน็ ดงั นี้
1. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรงุ
2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ

.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดอื น...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ในการสาธิตเพื่อใหน้ ักเรียนเขยี นโปรแกรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น คณุ ครูควรให้นักเรยี นดาวนโ์ หลด

ไฟล์พื้นหลังและตวั ละครห่นุ ยนตต์ ามลิงก์ท่รี ะบุ ไวใ้ นหนงั สือเรียนหนา้ 65 (oho.ipst.ac.th/im/6301 และ
oho.ipst.ac.th/im/6302) โดยเม่ือดาวน์โหลดไฟล์มาแลว้ ให้ลบตวั ละครแมว จากไฟล์ที่เปิดไวก้ ่อนหนา้ น้ที ง้ิ
ไป จากนน้ั อปั โหลดตวั ละครหุ่นยนต์ และพ้ืนหลัง แลว้ ทดสอบการทำงานของโปรแกรม ตามสคริปต์ที่กำหนด
ไวใ้ นหนงั สอื เรยี นหน้า 67

2. คำสั่ง wait until not touching Sprite1 ในหนังสอื เรียนหนา้ 74 ใชเ้ พ่ือหยุดรอจนกระท่ังตวั
ละครแท่นชารจ์ ไม่สัมผสั ตัวละครหนุ่ ยนต์ (Sprite1) เพ่ือไมใ่ ห้ตวั แปร count บวกเพ่มิ ขณะทีส่ มั ผัสตัวละคร
หุน่ ยนต์ เม่ือหุ่นยนต์ไม่สัมผัสกบั ตวั ละครแท่นชารจ์ แล้ว โปรแกรมจะกลับไปทำงานอกี คร้ัง คือไปตรวจสอบ
การสัมผสั ในรอบถัดไป

3. หากนกั เรยี นพบปัญหาหุน่ ยนตไ์ มส่ ามารถเดินตามเสน้ ได้ อาจเป็นเพราะสีที่ใช้ตรวจตรวจสอบการ
สมั ผัสสนี ้นั ยงั ไมถ่ ูกตอ้ ง ครอู าจสาธิตวธิ ีดูดสี ตามภาพด้านล่าง เพ่อื ให้คา่ สที ส่ี คริปต์ ตัวละครหุน่ ยนต์และ
เสน้ ทาง การเดนิ มีค่าสีทต่ี รงกัน

แนวคําตอบแบบฝึกหัดทา้ ยบท
ข้อ 1. โปรแกรมที่ 1 say 20
โปรแกรมท่ี 2 say 30
โปรแกรมท่ี 3 say 40
ข้อ 2. แก้ไขท่ีบล็อกคำส่งั set number to 0 เปน็ Set number to 1 และแก้ไขท่บี ลอ็ กคำสั่ง change
number by 2 เป็น change number by 1

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 11

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา ..........

เร่อื ง เดนิ ตามเสน้ เลน่ ตามสคริปต์ ตอน เจา้ จ๋อนักคิด เวลา 1 ชว่ั โมง

ครูผสู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ญั หาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม
ตัวชวี้ ัด ป.6/1 ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา ที่พบใน
ชีวิตประจำวัน
ป.6/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั ตรวจหา
ขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ความร,ู้ ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นักเรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขยี นโปรแกรมแบบมเี ง่อื นไข
2. นกั เรยี นสามารถตรวจสอบและแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมได้
3. นกั เรยี นมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ วิชาวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

3. สาระสำคญั
ก่อนลงมือเขียนโปรแกรมควรวางแผนลำดับขั้นตอนในการทำงาน โดยเขียนเป็นรหัสลำลองหรือผัง

งาน
บล็อกคำสั่ง color... is touching...? อยใู่ นกลุม่ บลอ็ ก Sensing ใช้ตรวจสอบ การสัมผสั ระหวา่ งสี
ตัวแปร (Variable) เป็นชื่อที่กำหนดขึ้นมาเพื่อเก็บข้อมูลบางอย่าง การนับจำนวนสามารถใช้บล็อก

คำสั่งที่อยู่ในกลุ่มบล็อก Variables (ตัวแปร) ดังนี้ บล็อกคำสั่ง set ... to ใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร
และบล็อกคำสั่ง change ... by ใชส้ ำหรบั เปล่ียนคา่ ตวั แปรให้เพม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลงจากเดิมตามจำนวนที่กำหนด

บลอ็ กคำส่งั touchingใช้สำหรับตรวจสอบการสัมผสั ตัวชี้เมาสเ์ ส้นขอบหรือตวั ละคร
บล็อกคำสั่ง wait until ใช้สำหรับกำหนดใหโ้ ปรแกรมหยุดรอจนกระทั่งเงือ่ นไข เป็นไปตามที่กำหนด
แลว้ จงึ ทำงานต่อ

บล็อกคำส่งั not อยู่ในกลุ่มบล็อก Operators ใชเ้ ปลยี่ นเง่ือนไขทีน่ ำมาต่อดา้ น หลงั ให้เป็นเง่ือนไขที่
ตรงข้ามกัน

บลอ็ กคำสัง่ stop all อย่ใู นกลุ่มบล็อก Control ใช้หยุดการทำงานท้ังหมด ของโปรแกรม
บลอ็ กคำส่งั เท่ากบั (=) อยูใ่ นกลุม่ บลอ็ ก Operators ใชเ้ ปรียบเทียบค่า 2 ค่า

4. สาระการเรียนรู้
1. การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
2. การตรวจสอบและแกไ้ ขข้อผดิ พลาดของโปรแกรม

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

5. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน
ใบกิจกรรมท่ี 3.2 เจ้าจอ๋ นกั คิด

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ดำเนินการเรยี นการสอนดังตอ่ ไปน้ี

1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คําถามจากสํารวจความรู้ก่อนเรียนและอาจตั้งคำถามเพิ่มเติม

ดังน้ี
- นักเรียนเคยเขยี นโปรแกรมท่ีมกี ารตรวจสอบเงื่อนไขหรือไมถ่ ้าเคย โปรแกรมท่ีเขียนนั้นมี

การตรวจสอบเงื่อนไขอะไรบ้าง (ในหนังสือเรียน สสวท. ชั้น ป.5 มีการเขียนโปรแกรม ตรวจสอบการสัมผัสสี
และตัวละคร โดยใชบ้ ลอ็ กคำสง่ั touching)

- คำส่ัง ask and wait มีไวส้ ำหรบั ทำอะไร (แสดงคาํ ถามและรับข้อมลู จากผู้ใช้) และคำส่ัง
นีใ้ ชค้ ู่กบั บลอ็ กคำส่งั ใด (answer)

- บล็อกคำสัง่ answer มีหน้าท่อี ะไร (เก็บข้อมลู ทผ่ี ้ใู ชป้ ้อนเข้ามาจากคำสั่ง ask and wait)
2. ข้ันสำรวจและค้นหา (exploration)

1. ครนู ำนกั เรียนศึกษาเน้ือหาในบทเรยี น หนา้ 68 (หลังคำถามชวนคิด) ถึงหน้า 78 จากนั้นตั้ง
คำถามใหน้ ักเรยี นอภปิ รายร่วมกัน ตวั อย่างคำถาม เชน่

- เมื่อเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์เดินตามเส้นได้แล้ว หุ่นยนต์เดินตามเส้นไปเรื่อย ๆ โดยไม่
หยุด โป้งและก้อยแก้ปัญหานี้ อย่างไร (สร้างแท่นชาร์จเพื่อให้หุ่นยนต์พักชาร์จแบตเตอรี่เมื่อเดินครบจำนวน
รอบทกี่ ำหนด)

- หุ่นยนตต์ อ้ งวงิ่ กรอบจงึ จะหยุดพัก (10 รอบ)
- การนับจำนวนรอบ 10 รอบ ต้องเขียนโปรแกรมอย่างไร (ใช้ตัวแปรเพื่อเก็บค่าจำนวน
รอบ โดยเพิ่มค่าให้ตัวแปรครั้งละ 1 เมื่อหุ่นยนต์ ว่ิงผ่านแท่นชาร์จ และเมื่อตัวแปรมีค่าเท่ากับ 10 ก็ให้หยุด
การทำงาน)
- คำส่ัง wait until not touching sprite1 ทำหน้าทีอ่ ะไร (ใช้เพื่อส่งั ให้รอจนกว่าไม่มีการ
สมั ผสั ห่นุ ยนต์แล้วจึงทำงานคำสัง่ ต่อไป เน่ืองจากในแตล่ ะรอบเมื่อหุ่นยนต์ว่ิงมาถึงแทน่ ชาร์จจะเร่ิมมีการ เพิ่ม
ค่าตัวแปรอีก 1 หน่วยหากไม่มีคำสั่งนี้ตัวแปร count จะเพิ่ม ค่าต่อไปเรื่อย ๆ ระหว่างที่หุ่นยนต์สัมผัสแท่น
ชารจ์ ดงั นนั้ คำสัง่ น้ี จึงควบคมุ ให้มกี ารเพมิ่ ค่าตวั แปรเพยี ง 1 หน่วย ในแตล่ ะรอบ)
3. ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 3.2 เจ้าจ๋อนักคิด จากนั้นสุ่มนักเรียนนำเสนอ
คำตอบ จากนน้ั ครูตัง้ คําถามเพิ่มเติม ดังนี้
- นักเรยี นมีวิธใี นการเขยี นโปรแกรมบวกลบคูณหาร แบบอืน่ อกี หรอื ไม่ อยา่ งไร
- จากโปรแกรมที่กำหนดให้จะมีการทำงานเพียง 1 รอบ หากต้องการกำหนดจำนวนรอบ
การทำงานสามารถทำได้หรือไม่ และทำอย่างไร
4. ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเก่ยี วกบั ความรูท้ ไ่ี ดร้ ับ โดยใช้ประเด็นคำถามต่อไปนี้
- นักเรียนควรทำอะไรก่อนการเขียนโปรแกรม (วางแผนว่าโปรแกรมที่จะเขียนขึ้นนี้ มี
ลำดับการทำงานอย่างไร มีตวั ละคร อะไรบา้ ง ตัวละครแตล่ ะตวั ทำหน้าทอี่ ะไร มีเวทีอะไรบ้าง เวทแี ตล่ ะเวทมี ี
การทำงานอย่างไร)
- เมื่อเขียนโปรแกรมแล้วพบข้อผิดพลาด นักเรียนมีวิธี แก้ไขอย่างไร (แก้ไขโดยตรวจสอบ
การทำงานท่ลี ะคำสง่ั ว่า ขาดคำสง่ั ใดหรือไม่ คำส่ังใดทผี่ ิดพลาด หรอื กำหนดค่าผดิ )
- สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง (วางแผนการทำงานหรือ
การบ้านสง่ ครู ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด ในงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน)
5. ขน้ั ประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด
ใดบ้างทย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มขี อ้ สงสยั ถา้ มี ครชู ่วยอธิบายเพม่ิ เติมให้นกั เรียนเข้าใจ
2. นกั เรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ
แก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
กจิ กรรม และการนำความรู้ท่ไี ด้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล
การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดังนี้
1. ประเมนิ ความรเู้ ดมิ จากการอภิปรายในช้ันเรยี น
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมนิ จากการทำกจิ กรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิง่ ที่ประเมนิ ระดับคะแนน

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสังเกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมูล

S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

C4 การสอื่ สาร

C5 ความรว่ มมอื

8. สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เอกสารการจดั การเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษาด้วยการเขยี นโปรแกรม Scratch สสวท.

oho.ipst.ac.th/im/5691

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ในการสาธิตเพื่อใหน้ ักเรียนเขยี นโปรแกรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น คุณครูควรให้นกั เรียนดาวนโ์ หลด

ไฟล์พื้นหลังและตวั ละครห่นุ ยนต์ตามลิงก์ท่รี ะบุ ไวใ้ นหนงั สือเรียนหนา้ 65 (oho.ipst.ac.th/im/6301 และ
oho.ipst.ac.th/im/6302) โดยเม่ือดาวน์โหลดไฟล์มาแลว้ ให้ลบตวั ละครแมว จากไฟล์ท่ีเปดิ ไวก้ ่อนหนา้ น้ที ง้ิ
ไป จากนน้ั อปั โหลดตวั ละครหุ่นยนต์ และพ้ืนหลัง แลว้ ทดสอบการทำงานของโปรแกรม ตามสคริปต์ท่ีกำหนด
ไวใ้ นหนงั สอื เรยี นหน้า 67

2. คำสั่ง wait until not touching Sprite1 ในหนังสอื เรียนหนา้ 74 ใช้เพอื่ หยุดรอจนกระทง่ั ตวั
ละครแท่นชารจ์ ไม่สัมผสั ตัวละครหนุ่ ยนต์ (Sprite1) เพ่ือไมใ่ ห้ตวั แปร count บวกเพิม่ ขณะทส่ี มั ผัสตวั ละคร
หุน่ ยนต์ เม่ือหุ่นยนต์ไม่สัมผัสกบั ตวั ละครแท่นชารจ์ แล้ว โปรแกรมจะกลับไปทำงานอกี ครั้ง คือไปตรวจสอบ
การสัมผสั ในรอบถัดไป

3. หากนกั เรยี นพบปัญหาหุน่ ยนตไ์ มส่ ามารถเดินตามเสน้ ได้ อาจเป็นเพราะสที ี่ใชต้ รวจตรวจสอบการ
สมั ผัสสนี ้นั ยงั ไมถ่ ูกตอ้ ง ครอู าจสาธิตวธิ ีดูดสี ตามภาพด้านล่าง เพ่อื ให้ค่าสที ส่ี คริปต์ ตัวละครห่นุ ยนต์และ
เสน้ ทาง การเดนิ มีค่าสีทต่ี รงกัน

แนวคําตอบแบบฝึกหัดทา้ ยบท
ข้อ 1. โปรแกรมที่ 1 say 20
โปรแกรมท่ี 2 say 30
โปรแกรมท่ี 3 say 40
ข้อ 2. แก้ไขท่ีบล็อกคำส่งั set number to 0 เปน็ Set number to 1 และแก้ไขท่บี ลอ็ กคำสั่ง change
number by 2 เป็น change number by 1

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 12

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา ..........
เรอ่ื ง สงิ สยอง สำรองอมิ่ เวลา 1 ชวั่ โมง
ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปญั หาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทันและมีจรยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธิของผู้อนื่ แจง้ ผูเ้ ก่ยี วข้องเมื่อพบข้อมลู หรอื บคุ คล ทไ่ี ม่เหมาะสม

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)
1. นกั เรยี นมีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภยั
2. นักเรียนสามารถบอกแนวทางการสำรองข้อมลู ได้
3. นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อวชิ าวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

3. สาระสำคญั
ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating System: OS) คอื โปรแกรมพืน้ ฐานทีค่ วบคมุ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ แท็บ

เลต็ และสมารต์ โฟน ให้สามารถใช้หน่วยความจํา ฮาร์ดดิสก์ ระบบเครอื ข่าย ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และช่วย
จัดการโปรแกรมอน่ื ๆ ใหส้ ามารถ ทำงานร่วมกันได้

คลาวด์ (cloud) เป็นบริการบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะให้บริการพื้นที่ ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว
ยงั มีบริการอ่ืน ๆ เช่น โปรแกรมเอกสาร และโปรแกรมสำหรับ ธรุ กจิ ต่าง ๆ

ฮาร์ดดิส (hard disk) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีทั้งแบบติดตั้งภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์
และแบบพกพาได้

การสำรองข้อมูล (backup) คือ การคัดลอกข้อมูลสำคัญไปเก็บไว้อีกที่หนึ่ง เช่น ยูเอสบีไดรฟ์ (USB
drive) ฮาร์ดดิสก์ คลาวด์ เมื่อข้อมูลต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำลาย ก็จะสามารถกู้คืน (restore) จากข้อมูลที่
สำรองไว้ได้ และควรมีการสำรองข้อมูลทสี่ ำคญั ไว้อยา่ งสม่ำเสมอ เม่ือมีการสำรองข้อมูลหรือไฟล์หลาย ๆ ไฟล์
แล้ว วธิ ีการสังเกตว่า ไฟล์ใดคอื ไฟลล์ ่าสดุ สามารถดูไดจ้ ากขอ้ มูลทแ่ี กไ้ ขลา่ สดุ (Date Modified)

เมื่อตอ้ งการดาวน์โหลดโปรแกรมบนอนิ เทอร์เน็ต ควรดาวนโ์ หลดจากเว็บไซต์ ทเี่ ป็นทางการเทา่ นนั้
การแชร์โฟลเดอร์บนคลาวด์ สามารถแชร์ได้ 2 วิธี คือ แชร์โดยการส่งลงิ ก์และ แชร์โดยการกำหนดที่
อยู่อีเมล ซึ่งสามารถกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงโฟลเดอร์ได้ เช่น ทุกคนที่มีลิงก์เอกสารนี้สามารถแก้ไขไฟล์ได้
(Anyone with the link can edit) มองเห็นได้เท่านั้นแต่แก้ไขข้อมูลไม่ได้ (View only หรือ Read only)
แกไ้ ขไฟล์ได้ (Can organize, add and edit)

4. สาระการเรยี นรู้
1. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั
2. การสำรองขอ้ มลู

5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อย่อู ย่างพอเพียง
3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

5. ชิน้ งานหรือภาระงาน
ใบงาน เรื่อง สงิ สยอง สำรองอ่ิม

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ดำเนนิ การเรียนการสอนดังต่อไปน้ี

1. ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภิปรายโดยให้นกั เรียนรว่ มกนั ตอบคําถามในสำรวจความรกู้ ่อนเรยี นและตงั้ คําถาม

เพมิ่ เติม เช่น
- นักเรียนบนั ทึกไฟล์หรอื เกบ็ ขอ้ มูลไวท้ ี่ใดบา้ ง (ในฮาร์ดดิสกห์ รอื ยเู อสบไี ดรฟ)์
- นักเรียนเคยบันทึกไฟล์รายงานเดียวกันไว้หลายชื่อหรือไม่ เพราะเหตุใด (ต้องการแก้ไข

ขอ้ มลู เพิ่มเติมในไฟล์ และตอ้ งการเก็บขอ้ มลู ในไฟล์เดิมไวด้ ้วย)
- ในกรณีที่นักเรียนบันทึกไฟล์เดียวกันไว้หลายชื่อ นักเรียน จะทราบได้อย่างไรว่าไฟล์ใด

เปน็ ไฟลล์ ่าสุด (ดจู ากช่ือไฟล์ เชน่ มีคําวา่ สดุ ทา้ ย หรือ ลา่ สดุ หรือตวั เลขกำกบั ทา้ ยช่ือไฟล)์
- ถ้านักเรียนต้องการส่งไฟล์รายงานให้เพื่อนหรือคุณครู นักเรียนส่งไฟล์โดยวิธีใด (ส่งทาง

อีเมล บันทกึ ใส่แผ่นซดี ีบันทึกลงยเู อสบไี ดรฟ์)

2. ขัน้ สำรวจและค้นหา (exploration)
1. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนบทที่ 4 สิงสยอง สํารองอิ่ม หน้า 85-92 และต้ัง

คำถามให้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายจาก เน้อื เรื่อง ตัวอยา่ งประเดน็ การอภิปราย เช่น
- คลาวด์ คืออะไร (พืน้ ทีบ่ นอนิ เทอรเ์ น็ตท่มี ีไว้สำหรบั เกบ็ ขอ้ มูลและแชรใ์ ห้กันได้)
- โป้งได้รบั ไฟล์จากปอ้ มโดยวธิ ใี ด (ดาวนโ์ หลดไฟลท์ ีป่ ้อมแชร์ใหบ้ นคลาวด์)
- วธิ กี ารแชร์ไฟลใ์ ห้ผ้อู ่นื บนคลาวด์ มขี ้อดอี ยา่ งไร (ไม่ต้องอัปโหลดไฟลห์ ลายคร้งั และใช้ส่ง

ไฟลท์ ี่มีขนาดใหญ่ได้)
- การแชร์ไฟล์บนคลาวด์มีขั้นตอนอย่างไร และการดาวน์โหลดไฟล์ที่ผู้อื่นแชร์ให้มีวิธีการ

อยา่ งไร
3. ขนั้ อธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง สิงสยอง สำรองอิ่ม จากนั้นสุ่ม นักเรียนนำเสนอ

คำตอบ แลว้ ร่วมกันอภปิ รายถงึ ความแตกตา่ งของการบนั ทกึ ไฟลล์ งในเครื่องคอมพวิ เตอร์และ บนคลาวด์ เช่น
- การใช้งานข้อมลู บนคลาวด์ มขี ้อดแี ละขอ้ เสียอยา่ งไร
- การใชง้ านข้อมูลบนเครือ่ งคอมพวิ เตอร์มีข้อดีและขอ้ เสียอย่างไร
- นักเรยี นจะเลอื กใชง้ านบนคลาวด์หรอื บนคอมพวิ เตอร์ เพราะเหตใุ ด

4. ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกับความรู้ที่ไดร้ บั โดยใช้ประเด็นคําถามต่อไปนี้
- ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม (การแชร์ไฟล์ผ่านระบบ คลาวด์ การกำหนดสิทธิ์ใน

การเข้าถงึ ไฟล์ การสำรองข้อมูล)
2. การนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การใช้งานไฟล์เอกสารร่วมกับผู้อื่น การกำหนดสิทธิ์ในการ

เข้าถงึ ข้อมลู ต่าง ๆ การสำรอง ขอ้ มูลที่สำคัญ)
5. ขน้ั ประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบา้ งทย่ี ังไม่เข้าใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพมิ่ เติมใหน้ กั เรียนเข้าใจ
2. นกั เรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กจิ กรรม และการนำความรู้ทไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมนิ ผล
การประเมนิ การเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดงั น้ี
1. ประเมินความรเู้ ดมิ จากการอภิปรายในช้นั เรียน

2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม

3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ

รหัส สิง่ ท่ีประเมิน ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสังเกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมลู

S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การสื่อสาร

C5 ความร่วมมือ

8. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา ..........
เรือ่ ง สงิ สยอง สำรองอม่ิ ตอน คลาวดแ์ อนด์คอม เวลา 1 ช่ัวโมง
ครูผูส้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทันและมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ นื่ แจ้งผ้เู ก่ียวขอ้ งเมื่อพบขอ้ มูลหรือบุคคล ที่ไมเ่ หมาะสม

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (ความร,ู้ ทกั ษะ, เจตคต)ิ
1. นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานรว่ มกันอย่างปลอดภัย
2. นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางการสำรองข้อมลู ได้
3. นกั เรยี นมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อวิชาวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวันได้

3. สาระสำคญั
ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) คอื โปรแกรมพื้นฐานทีค่ วบคุม เคร่อื งคอมพิวเตอร์ แท็บ

เล็ต และสมารต์ โฟน ให้สามารถใช้หนว่ ยความจํา ฮาร์ดดิสก์ ระบบเครือข่าย ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และช่วย
จัดการโปรแกรมอ่ืน ๆ ใหส้ ามารถ ทำงานร่วมกันได้

คลาวด์ (cloud) เป็นบริการบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะให้บริการพื้นที่ ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว
ยงั มบี รกิ ารอ่นื ๆ เชน่ โปรแกรมเอกสาร และโปรแกรมสำหรับ ธรุ กจิ ตา่ ง ๆ

ฮาร์ดดิส (hard disk) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีทั้งแบบติดตั้งภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์
และแบบพกพาได้

การสำรองข้อมูล (backup) คือ การคัดลอกข้อมูลสำคัญไปเก็บไว้อีกที่หนึ่ง เช่น ยูเอสบีไดรฟ์ (USB
drive) ฮาร์ดดิสก์ คลาวด์ เมื่อข้อมูลต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำลาย ก็จะสามารถกู้คืน (restore) จากข้อมูลที่
สำรองไว้ได้ และควรมีการสำรองข้อมูลที่สำคัญไว้อย่างสมำ่ เสมอ เมือ่ มกี ารสำรองข้อมูลหรือไฟล์หลาย ๆ ไฟล์
แล้ว วธิ ีการสังเกตว่า ไฟล์ใดคอื ไฟลล์ ่าสุด สามารถดูไดจ้ ากขอ้ มูลที่แกไ้ ขล่าสดุ (Date Modified)

เม่อื ต้องการดาวนโ์ หลดโปรแกรมบนอนิ เทอรเ์ น็ต ควรดาวน์โหลดจากเวบ็ ไซต์ ท่เี ป็นทางการเทา่ น้นั
การแชร์โฟลเดอร์บนคลาวด์ สามารถแชร์ได้ 2 วิธี คือ แชร์โดยการส่งลงิ ก์และ แชร์โดยการกำหนดที่
อยู่อีเมล ซึ่งสามารถกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงโฟลเดอร์ได้ เช่น ทุกคนที่มีลิงก์เอกสารนี้สามารถแก้ไขไฟล์ได้
(Anyone with the link can edit) มองเห็นได้เท่านั้นแต่แก้ไขข้อมูลไม่ได้ (View only หรือ Read only)
แกไ้ ขไฟล์ได้ (Can organize, add and edit)

4. สาระการเรียนรู้
1. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานร่วมกันอยา่ งปลอดภัย
2. การสำรองขอ้ มลู

5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อย่อู ย่างพอเพียง
3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

5. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
ใบกิจกรรมท่ี 4.1 คลาวด์แอนด์คอม

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั ดำเนนิ การเรยี นการสอนดงั ตอ่ ไปนี้

1. ขนั้ สร้างความสนใจ (engagement)
1. ครนู ำอภปิ รายโดยให้นักเรยี นร่วมกันตอบคําถามในสำรวจความรกู้ อ่ นเรยี นและต้ังคาํ ถาม

เพมิ่ เติม เช่น
- นักเรยี นบันทกึ ไฟลห์ รือเก็บข้อมูลไวท้ ่ใี ดบา้ ง (ในฮาร์ดดสิ กห์ รือยูเอสบไี ดรฟ์)
- นักเรียนเคยบันทึกไฟล์รายงานเดียวกันไว้หลายชื่อหรือไม่ เพราะเหตุใด (ต้องการแก้ไข

ขอ้ มลู เพิ่มเติมในไฟล์ และต้องการเก็บข้อมลู ในไฟลเ์ ดิมไว้ด้วย)
- ในกรณีที่นักเรียนบันทึกไฟล์เดียวกันไว้หลายชื่อ นักเรียน จะทราบได้อย่างไรว่าไฟล์ใด

เปน็ ไฟลล์ า่ สุด (ดูจากชอ่ื ไฟล์ เชน่ มีคําว่า สุดท้าย หรือ ลา่ สุด หรือตวั เลขกำกบั ท้ายชอื่ ไฟล)์
- ถ้านักเรียนต้องการส่งไฟล์รายงานให้เพื่อนหรือคุณครู นักเรียนส่งไฟล์โดยวิธีใด (ส่งทาง

อีเมล บันทกึ ใส่แผ่นซีดีบันทกึ ลงยเู อสบีไดรฟ์)

2. ขั้นสำรวจและค้นหา (exploration)
1. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนงั สือเรยี นบทท่ี 4 สิงสยอง สํารองอิ่ม หน้า 85-92 และต้ัง

คำถามใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภปิ รายจาก เนื้อเรื่อง ตวั อยา่ งประเด็นการอภิปราย เช่น
- คลาวด์ คืออะไร (พืน้ ท่บี นอนิ เทอร์เนต็ ท่มี ีไว้สำหรับเก็บข้อมลู และแชร์ให้กนั ได้)
- โป้งไดร้ ับไฟลจ์ ากปอ้ มโดยวิธใี ด (ดาวนโ์ หลดไฟล์ทปี่ ้อมแชร์ใหบ้ นคลาวด)์
- วธิ กี ารแชร์ไฟล์ใหผ้ ูอ้ ืน่ บนคลาวด์ มีข้อดอี ย่างไร (ไมต่ ้องอัปโหลดไฟลห์ ลายครั้ง และใช้ส่ง

ไฟล์ท่มี ีขนาดใหญ่ได้)
- การแชร์ไฟล์บนคลาวด์มีขั้นตอนอย่างไร และการดาวน์โหลดไฟล์ที่ผู้อื่นแชร์ให้มีวิธีการ

อยา่ งไร
3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูช้ีแจงและให้นักเรียนทำใบกจิ กรรมที่ 4.1 คลาวดแ์ อนด์คอม จากน้ันสุ่มนักเรียนนำเสนอ

คำตอบ แล้วร่วมกนั อภิปรายถงึ ความแตกตา่ งของการบนั ทกึ ไฟล์ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์และ บนคลาวด์ เชน่
- การใชง้ านขอ้ มูลบนคลาวด์ มขี อ้ ดแี ละข้อเสยี อย่างไร (ข้อดี คือ สามารถแก้ไขขอ้ มูลได้ทุก

ที่ที่มีบริการอินเทอร์เน็ต ไม่ต้องใช้เครื่องเดิมท่ีบนั ทึกไว้ แก้ไขเอกสารร่วมกันกับผู้อื่น ได้ กำหนดสิทธิ์บุคคลท่ี
เข้าถงึ ได้ ขอ้ เสยี คอื ถา้ ไม่มีบริการอินเทอรเ์ น็ตจะไม่สามารถเข้าถึง ข้อมูลได้ ข้อมลู ของเราอาจถูกผู้อ่ืนแก้ไข/
เปลี่ยนแปลง อาจ มีผู้อื่นเข้าถงึ ข้อมูลของเราโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ผู้ให้บริการ คลาวด์สามารถเข้าถงึ ข้อมูลของ
เราและอาจนาํ ข้อมลู ไปใช้)

- การใช้งานข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร (ข้อดี คือ กรณีที่เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวจะมีความ ปลอดภัยกว่า เนื่องจากผู้อื่นเข้าถึงข้อมูลได้ยาก ข้อเสีย คือ ถ้าเครื่องมี
ปญั หาจะไม่สามารถเปิดได้ กรณีทไี่ ฟล์ มขี นาดใหญอ่ าจไม่สะดวกตอ่ การทำสำเนาลงในอุปกรณ์อ่ืน)

- นักเรียนจะเลือกใช้งานบนคลาวด์หรือบนคอมพิวเตอร์ เพราะเหตุใด (ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมและความสะดวกในการใช้งาน)

4. ขัน้ ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกีย่ วกับความรทู้ ี่ได้รับ โดยใชป้ ระเด็นคาํ ถามต่อไปนี้
- ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม (การแชร์ไฟล์ผ่านระบบ คลาวด์ การกำหนดสิทธิ์ใน

การเข้าถงึ ไฟล์ การสำรองขอ้ มูล)
2. การนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การใช้งานไฟล์เอกสารร่วมกับผู้อื่น การกำหนดสิทธิ์ในการ

เข้าถงึ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ การสำรอง ข้อมูลทีส่ ำคัญ)
5. ขน้ั ประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทยี่ ังไม่เขา้ ใจหรอื ยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธิบายเพม่ิ เตมิ ให้นกั เรยี นเข้าใจ
2. นักเรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แก้ไขอย่างไรบา้ ง

3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
กจิ กรรม และการนำความรทู้ ่ีได้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมนิ ผล

การประเมินการเรียนรู้ของนกั เรยี นทำได้ ดงั นี้

1. ประเมนิ ความรเู้ ดมิ จากการอภปิ รายในช้นั เรยี น

2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม

3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมนิ จากการทำกจิ กรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรุง

รหัส ส่งิ ท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู

S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การส่ือสาร

C5 ความรว่ มมือ

8. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ

1. ครูอาจสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมว่าคําทักทายที่อิ่มพูดในหน้า 102 มาจาก ภาษาอะไรบ้าง โดย

คำตอบ มีดังนี้

Good Morning ภาษาอังกฤษ

สวัสดี ภาษาไทย

มิงกะละบา ภาษาพม่า

คนนจิ ิวะ ภาษาญีป่ นุ่

หนหี า่ ว ภาษาจีน

สะบายดี ภาษาลาว

บองชู ภาษาฝรั่งเศส

2. ครูอาจเปิดคลิปวิดีโอสอนการแชร์ไฟล์หรือรูปภาพผ่าน Google Drive จากหัวข้อสื่อเสริมเพ่ิม
ความรู้ในหนังสอื เรยี น ลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6402 ให้นักเรียนดเู พื่อทบทวนขนั้ ตอนในการแชร์ไฟล์

3. ครใู ห้ความรเู้ พม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั ขอ้ ควรระวงั ในการแชรไ์ ฟล์ จะตอ้ งเปน็ ไฟล์ท่ีไม่ละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ
4. ครอู าจใหค้ วามรเู้ พิ่มเติมเกย่ี วกับการสำรองข้อมลู ในรปู แบบอ่นื นอกจากตัวอย่างในบทเรยี น เชน่
การสำรองขอ้ มูลในแอปพลเิ คชนั Line Keep, One Drive, Dropbox

แนวคาํ ตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ไฟล์ล่าสุดคือ “รายงาน backup4” (เนื่องจากวันเวลาที่แก้ไขเป็นเวลาล่าสุด โดยดูจาก Date

modified)
ข้อ 2. โป้งจะมสี ิทธอ์ิ า่ นไดอ้ ย่างเดียว (Can view only) บคุ คลท่ัวไปจะไมส่ ามารถเหน็ ไฟลน์ ้เี นอื่ งจากเป็น

การแชรด์ ้วยอีเมล

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา ..........
เรือ่ ง สงิ สยอง สำรองอม่ิ ตอน สำรองไวก้ อ่ น เวลา 1 ช่ัวโมง
ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทันและมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธิของผู้อื่น แจง้ ผ้เู กย่ี วขอ้ งเมอื่ พบขอ้ มูลหรอื บุคคล ทีไ่ มเ่ หมาะสม

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (ความรู้, ทกั ษะ, เจตคต)ิ
1. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกันอย่างปลอดภัย
2. นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางการสำรองข้อมูลได้
3. นักเรียนมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันได้

3. สาระสำคญั
ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) คือ โปรแกรมพนื้ ฐานทีค่ วบคุม เคร่อื งคอมพิวเตอร์ แท็บ

เลต็ และสมาร์ตโฟน ให้สามารถใช้หน่วยความจํา ฮารด์ ดิสก์ ระบบเครอื ข่าย ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ และช่วย
จัดการโปรแกรมอืน่ ๆ ให้สามารถ ทำงานรว่ มกันได้

คลาวด์ (cloud) เป็นบริการบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะให้บริการพื้นที่ ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว
ยังมีบรกิ ารอนื่ ๆ เชน่ โปรแกรมเอกสาร และโปรแกรมสำหรบั ธุรกิจตา่ ง ๆ

ฮาร์ดดิส (hard disk) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีทั้งแบบติดตั้งภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์
และแบบพกพาได้

การสำรองข้อมูล (backup) คือ การคัดลอกข้อมูลสำคัญไปเก็บไว้อีกที่หนึ่ง เช่น ยูเอสบีไดรฟ์ (USB
drive) ฮาร์ดดิสก์ คลาวด์ เมื่อข้อมูลต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำลาย ก็จะสามารถกู้คืน (restore) จากข้อมูลที่
สำรองไว้ได้ และควรมีการสำรองข้อมูลที่สำคญั ไว้อย่างสม่ำเสมอ เม่ือมีการสำรองข้อมูลหรือไฟล์หลาย ๆ ไฟล์
แล้ว วธิ กี ารสงั เกตวา่ ไฟลใ์ ดคือไฟล์ล่าสุด สามารถดูไดจ้ ากข้อมูลที่แก้ไขล่าสดุ (Date Modified)

เมอ่ื ตอ้ งการดาวนโ์ หลดโปรแกรมบนอนิ เทอร์เน็ต ควรดาวนโ์ หลดจากเว็บไซต์ ทเี่ ป็นทางการเทา่ นนั้
การแชร์โฟลเดอร์บนคลาวด์ สามารถแชร์ได้ 2 วิธี คือ แชร์โดยการส่งลงิ ก์และ แชร์โดยการกำหนดที่
อยู่อีเมล ซึ่งสามารถกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงโฟลเดอร์ได้ เช่น ทุกคนที่มีลิงก์เอกสารนี้สามารถแก้ไขไฟล์ได้
(Anyone with the link can edit) มองเห็นได้เท่านั้นแต่แก้ไขข้อมูลไม่ได้ (View only หรือ Read only)
แกไ้ ขไฟลไ์ ด้ (Can organize, add and edit)

4. สาระการเรยี นรู้
1. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั
2. การสำรองขอ้ มลู

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อย่อู ย่างพอเพียง
3. มงุ่ มั่นในการทำงาน

5. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
ใบกจิ กรรมท่ี 4.2 สำรองไว้กอ่ น

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ดำเนนิ การเรยี นการสอนดังต่อไปน้ี

1. ข้ันสรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภปิ รายโดยใหน้ ักเรียนรว่ มกนั ตอบคําถามในสำรวจความรกู้ ่อนเรยี นและตงั้ คําถาม

เพมิ่ เติม เช่น
- นักเรยี นบันทกึ ไฟลห์ รอื เกบ็ ขอ้ มูลไวท้ ี่ใดบา้ ง (ในฮาร์ดดิสกห์ รอื ยเู อสบไี ดรฟ)์
- นักเรียนเคยบันทึกไฟล์รายงานเดียวกันไว้หลายชื่อหรือไม่ เพราะเหตุใด (ต้องการแก้ไข

ขอ้ มลู เพิ่มเติมในไฟล์ และต้องการเกบ็ ขอ้ มูลในไฟล์เดิมไวด้ ้วย)
- ในกรณีที่นักเรียนบันทึกไฟล์เดียวกันไว้หลายชื่อ นักเรียน จะทราบได้อย่างไรว่าไฟล์ใด

เปน็ ไฟลล์ ่าสดุ (ดูจากชอ่ื ไฟล์ เช่น มีคําวา่ สดุ ทา้ ย หรือ ลา่ สดุ หรือตวั เลขกำกบั ทา้ ยช่ือไฟล)์
- ถ้านักเรียนต้องการส่งไฟล์รายงานให้เพื่อนหรือคุณครู นักเรียนส่งไฟล์โดยวิธีใด (ส่งทาง

อีเมล บันทกึ ใส่แผน่ ซดี ีบันทกึ ลงยูเอสบีไดรฟ)์

2. ขัน้ สำรวจและค้นหา (exploration)
1. นักเรียนเข้าสู่ระบบเพื่อทดลองการทำงานผ่านคลาวด์ตามตัวอย่างในหนังสือเรียน โดยครู

ทบทวนวิธีการและให้นักเรียนจับคู่กัน จากนั้นนักเรียนทดลองอัปโหลดไฟล์ลงในไดรฟ์ แชร์ไฟล์ให้เพื่อน
ตรวจสอบวา่ พบไฟลท์ ีเ่ พือ่ นแชรใ์ หห้ รือไม่ ดาวน์โหลดไฟลท์ เี่ พือ่ น แชร์ให้ ครูตั้งคำถามใหอ้ ภปิ รายร่วมกัน เช่น

- ขั้นตอนในการแชร์ไฟล์มีอะไรบ้าง (คลิกที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการแชร์ แล้วเลือก
คำส่งั Share พิมพ์ทอ่ี ยอู่ เี มล ของผูร้ ับและคลกิ ปมุ่ Send)

- ขั้นตอนในการเรียกดูไฟล์ที่เพื่อนแชร์มาให้ มีอะไรบ้าง (เปิดอีเมล คลิกปุ่ม Open แล้ว
ดาวน์โหลดไฟล์) ครูแนะนําเพิ่มเติมว่า นอกจากจะเรียกดูไฟล์ที่เพื่อนแชร์มา โดยการเปิดอีเมลแล้ว นักเรียน
สามารถเขา้ ไปทีไ่ ดรฟ์ของตนเองแลว้ คลิกท่ีเมนู “แชร์กับฉัน” หรอื “Share with me” กไ็ ด้

2. ครนู ำนักเรยี นศกึ ษาเน้ือหาในหนังสอื เรยี นบทที่ 4 สงิ สยอง สํารองอม่ิ หน้า 93-109 และต้ัง
คำถาม ตัวอยา่ งประเดน็ การอภปิ ราย เชน่

- เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นหลังจากที่โป้งและก้อยติดตั้งระบบปฏิบัติการใหม่ให้อิ่ม (อิ่ม
หายไป) โปง้ และกอ้ ยทำอยา่ งไร (ตามหาอ่มิ ทว่ั บา้ นสอบถามคณุ ปู่คุณยา่ และปรกึ ษาลงุ มะนาว)

- อ่ิมหายไปไหน (อมิ่ กลายเป็นหนุ่ ยนตส์ ่งอาหาร) สาเหตุเกดิ จาก อะไร (ระบบปฏิบัติการที่
ติดตั้งให้อิ่มอาจผิดไฟล์หรือติดไวรัส อิ่มจึงถูกลบความทรงจำ) โป้งและก้อยแก้ปัญหานี้อย่างไร (ค้นหาไฟล์
สาํ รองขอ้ มลู ระบบปฏิบตั กิ ารเดิมของอ่ิม แล้วมาอปั เดตใหอ้ ิม่ )

- การสาํ รองขอ้ มลู มปี ระโยชนอ์ ย่างไร (หากไฟล์ทีใ่ ชง้ าน สูญหายหรอื ผิดพลาด สามารถนำ
ไฟล์ที่เก็บสำรองไว้มา ใช้งานได้) จากไฟล์ระบบปฏิบัติการของอิ่มในหน้า 101 นักเรียน คิดว่าควรจะเลือกใช้
ไฟล์ใด เพราะเหตุใด (เลือกใช้ไฟล์ชื่อ im_backup3.zip เพราะวันที่แก้ไขไฟล์นี้ (Date Modified) แสดงให้
เห็นว่าเป็นวนั ท่ีแก้ไขล่าสดุ คือ เมื่อ 2 วันที่แล้ว) การตั้งชื่อไฟลใ์ นหน้า 101 สะดวกต่อการเรียกใช้งานหรือไม่
เพราะเหตใุ ด (ไม่สะดวก เนอ่ื งจากช่ือไฟล์ไม่สามารถระบุไดว้ า่ ไฟล์ใดเป็นไฟล์ทแี่ ก้ไขล่าสดุ ) ควรแก้ไขการตงั้ ช่ือ
ไฟล์ อย่างไร (อาจจะตัง้ ชื่อไฟล์แล้วตามดว้ ยวนั ที่ หรอื หมายเลข ท่เี รียงลำดบั หรือสร้างโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บ
ไฟลเ์ ดิม)

- เพราะเหตุใดอิ่มจึงมีความทรงจำเมื่อ 4 เดือนที่แล้ว (ไฟล์ที่อัปเดตให้อิ่มเป็นไฟล์เก่าท่ี
สำรองข้อมลู ไว้เมือ่ 4 เดอื นที่แล้ว)

- ก่อนการนําไฟล์ที่สำรองไว้ไปใช้งานควรตรวจสอบอะไรบ้าง (ตรวจสอบว่าเป็นไฟลล์ า่ สดุ
หรือไม่ โดยดูจากวันทแ่ี กไ้ ขไฟล์ (Date modified))

- ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างข้อมูลที่ควรสำรองข้อมูล (รายงาน รายรับรายจ่าย บท
กลอน รายชื่อตดิ ตอ่ ภาพถา่ ยสำคัญ ตารางเวลานัดหมาย ตารางเรยี น)

3. ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (explanation)
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมท่ี 4.2 สำรอง

ไว้ก่อน โดยอาจมอบหมายให้ทำกลุ่มละ 1-2 ข้อ จากนั้นลุ่มนักเรียนนำเสนอคำตอบ และครูนำอภิปราย เช่น

คำตอบของนักเรียนเหมือนหรือแตกต่างกับเพื่อนหรือไม่ อย่างไร และหากคำตอบแตกต่างกัน เพื่อนคนอื่น ๆ
จะเลอื กวธิ กี ารสำรองขอ้ มูลของกลมุ่ ใด เพราะเหตใุ ด

4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับความรทู้ ไ่ี ดร้ ับ โดยใช้ประเดน็ คําถามตอ่ ไปน้ี
- ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม (การแชร์ไฟล์ผ่านระบบ คลาวด์ การกำหนดสิทธิ์ใน

การเข้าถงึ ไฟล์ การสำรองข้อมลู )
2. การนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การใช้งานไฟล์เอกสารร่วมกับผู้อื่น การกำหนดสิทธิ์ในการ

เขา้ ถงึ ข้อมูลตา่ ง ๆ การสำรอง ขอ้ มูลท่ีสำคญั )
5. ข้ันประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบา้ งท่ยี งั ไมเ่ ข้าใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพิม่ เติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ
2. นกั เรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แก้ไขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมนิ การเรยี นรขู้ องนักเรียนทำได้ ดังน้ี
1. ประเมินความร้เู ดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนกั เรยี น

การประเมินจากการทำกจิ กรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ

รหัส ส่ิงทีป่ ระเมนิ ระดับคะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสังเกต

S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล

S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21

C4 การสอ่ื สาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ

1. ครูอาจสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมว่าคําทักทายที่อิ่มพูดในหน้า 102 มาจาก ภาษาอะไรบ้าง โดย

คำตอบ มีดังนี้

Good Morning ภาษาอังกฤษ

สวัสดี ภาษาไทย

มิงกะละบา ภาษาพมา่

คนนจิ ิวะ ภาษาญีป่ ุ่น

หนีหา่ ว ภาษาจีน

สะบายดี ภาษาลาว

บองชู ภาษาฝรั่งเศส

2. ครูอาจเปิดคลิปวิดีโอสอนการแชร์ไฟล์หรือรูปภาพผ่าน Google Drive จากหัวข้อสื่อเสริมเพ่ิม
ความรู้ในหนังสอื เรยี น ลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6402 ให้นกั เรียนดเู พื่อทบทวนขนั้ ตอนในการแชร์ไฟล์

3. ครใู ห้ความรเู้ พม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั ขอ้ ควรระวังในการแชรไ์ ฟล์ จะตอ้ งเปน็ ไฟลท์ ่ีไมล่ ะเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ
4. ครอู าจใหค้ วามรเู้ พิ่มเติมเกย่ี วกบั การสำรองข้อมลู ในรปู แบบอ่นื นอกจากตัวอย่างในบทเรยี น เชน่
การสำรองขอ้ มูลในแอปพลเิ คชนั Line Keep, One Drive, Dropbox

แนวคาํ ตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ไฟล์ล่าสุดคือ “รายงาน backup4” (เนื่องจากวันเวลาที่แก้ไขเป็นเวลาล่าสุด โดยดูจาก Date

modified)
ข้อ 2. โป้งจะมสี ิทธอ์ิ า่ นไดอ้ ยา่ งเดียว (Can view only) บุคคลท่ัวไปจะไมส่ ามารถเห็นไฟลน์ ้เี นอื่ งจากเป็น

การแชรด์ ้วยอีเมล

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา ..........
เรื่อง สิงสยอง สำรองอ่มิ ตอน กำหนดสิทธิ์ เวลา 1 ชั่วโมง
ครูผสู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทันและมจี ริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และหน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ น่ื แจง้ ผู้เก่ียวข้องเมอื่ พบขอ้ มลู หรือบุคคล ท่ีไมเ่ หมาะสม

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ความรู,้ ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นกั เรยี นมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกนั อย่างปลอดภยั
2. นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางการสำรองข้อมูลได้
3. นักเรียนมีเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

3. สาระสำคัญ
ระบบปฏบิ ัตกิ าร (Operating System: OS) คือ โปรแกรมพน้ื ฐานทีค่ วบคมุ เคร่อื งคอมพิวเตอร์ แท็บ

เล็ต และสมารต์ โฟน ให้สามารถใช้หนว่ ยความจํา ฮาร์ดดิสก์ ระบบเครอื ข่าย ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และช่วย
จดั การโปรแกรมอ่ืน ๆ ใหส้ ามารถ ทำงานร่วมกนั ได้

คลาวด์ (cloud) เป็นบริการบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งนอกจากจะให้บริการพื้นที่ ในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว
ยังมีบริการอ่นื ๆ เช่น โปรแกรมเอกสาร และโปรแกรมสำหรับ ธุรกิจต่าง ๆ

ฮาร์ดดิส (hard disk) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีทั้งแบบติดตั้งภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์
และแบบพกพาได้

การสำรองข้อมูล (backup) คือ การคัดลอกข้อมูลสำคัญไปเก็บไว้อีกที่หนึ่ง เช่น ยูเอสบีไดรฟ์ (USB
drive) ฮาร์ดดิสก์ คลาวด์ เมื่อข้อมูลต้นฉบับสูญหายหรือถูกทำลาย ก็จะสามารถกู้คืน (restore) จากข้อมูลที่
สำรองไว้ได้ และควรมีการสำรองข้อมูลทส่ี ำคญั ไว้อยา่ งสมำ่ เสมอ เมือ่ มีการสำรองข้อมลู หรือไฟล์หลาย ๆ ไฟล์
แล้ว วธิ กี ารสงั เกตว่า ไฟล์ใดคือไฟลล์ ่าสดุ สามารถดไู ด้จากข้อมลู ทแ่ี กไ้ ขลา่ สุด (Date Modified)

เมอ่ื ตอ้ งการดาวนโ์ หลดโปรแกรมบนอนิ เทอร์เน็ต ควรดาวนโ์ หลดจากเว็บไซต์ ทเี่ ป็นทางการเทา่ นนั้
การแชร์โฟลเดอร์บนคลาวด์ สามารถแชร์ได้ 2 วิธี คือ แชร์โดยการส่งลงิ ก์และ แชร์โดยการกำหนดที่
อยู่อีเมล ซึ่งสามารถกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงโฟลเดอร์ได้ เช่น ทุกคนที่มีลิงก์เอกสารนี้สามารถแก้ไขไฟล์ได้
(Anyone with the link can edit) มองเห็นได้เท่านั้นแต่แก้ไขข้อมูลไม่ได้ (View only หรือ Read only)
แกไ้ ขไฟลไ์ ด้ (Can organize, add and edit)

4. สาระการเรยี นรู้
1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภยั
2. การสำรองขอ้ มูล

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
3. มงุ่ มั่นในการทำงาน

5. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน
ใบกจิ กรรมที่ 4.3 กำหนดสทิ ธิ์

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดำเนนิ การเรยี นการสอนดังต่อไปน้ี

1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภปิ รายโดยให้นักเรียนรว่ มกนั ตอบคําถามในสำรวจความรกู้ ่อนเรยี นและตงั้ คําถาม

เพมิ่ เติม เช่น
- นกั เรยี นบนั ทึกไฟลห์ รือเกบ็ ขอ้ มูลไวท้ ี่ใดบา้ ง (ในฮาร์ดดิสกห์ รอื ยเู อสบไี ดรฟ)์
- นักเรียนเคยบันทึกไฟล์รายงานเดียวกันไว้หลายชื่อหรือไม่ เพราะเหตุใด (ต้องการแก้ไข

ขอ้ มลู เพิ่มเติมในไฟล์ และต้องการเก็บขอ้ มลู ในไฟล์เดิมไวด้ ้วย)
- ในกรณีที่นักเรียนบันทึกไฟล์เดียวกันไว้หลายชื่อ นักเรียน จะทราบได้อย่างไรว่าไฟล์ใด

เปน็ ไฟลล์ ่าสดุ (ดูจากชอื่ ไฟล์ เชน่ มีคาํ วา่ สุดทา้ ย หรือ ลา่ สดุ หรือตวั เลขกำกบั ทา้ ยช่ือไฟล)์
- ถ้านักเรียนต้องการส่งไฟล์รายงานให้เพื่อนหรือคุณครู นักเรียนส่งไฟล์โดยวิธีใด (ส่งทาง

อีเมล บันทกึ ใส่แผน่ ซดี บี ันทึกลงยูเอสบีไดรฟ์)

2. ข้นั สำรวจและค้นหา (exploration)
1. นักเรียนเข้าสู่ระบบเพื่อทดลองการทำงานผ่านคลาวด์ตามตัวอย่างในหนังสือเรียน โดยครู

ทบทวนวิธีการและให้นักเรียนจับคู่กัน จากนั้นนักเรียนทดลองอัปโหลดไฟล์ลงในไดรฟ์ แชร์ไฟล์ให้เพื่อน
ตรวจสอบวา่ พบไฟล์ทีเ่ พ่อื นแชรใ์ ห้หรือไม่ ดาวนโ์ หลดไฟลท์ ีเ่ พอื่ น แชร์ให้ ครตู ง้ั คำถามให้อภปิ รายรว่ มกัน เชน่

- ขั้นตอนในการแชร์ไฟล์มีอะไรบ้าง (คลิกที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการแชร์ แล้วเลือก
คำสง่ั Share พิมพ์ทอี่ ยู่อเี มล ของผู้รบั และคลกิ ปุม่ Send)

- ขั้นตอนในการเรียกดูไฟล์ที่เพื่อนแชร์มาให้ มีอะไรบ้าง (เปิดอีเมล คลิกปุ่ม Open แล้ว
ดาวน์โหลดไฟล์) ครูแนะนําเพิ่มเติมว่า นอกจากจะเรียกดูไฟล์ที่เพื่อนแชร์มา โดยการเปิดอีเมลแล้ว นักเรียน
สามารถเขา้ ไปทไ่ี ดรฟข์ องตนเองแลว้ คลิกที่เมนู “แชร์กับฉัน” หรอื “Share with me” กไ็ ด้

2. ครูนำนักเรยี นศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรยี นบทท่ี 4 สิงสยอง สํารองอิ่ม หน้า 93-109 และตั้ง
คำถาม ตัวอย่างประเด็นการอภปิ ราย เชน่

- เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นหลังจากที่โป้งและก้อยติดตั้งระบบปฏิบัติการใหม่ให้อิ่ม (อ่ิม
หายไป) โป้งและก้อยทำอยา่ งไร (ตามหาอมิ่ ทวั่ บา้ นสอบถามคุณปู่คุณย่า และปรกึ ษาลุงมะนาว)

- อิม่ หายไปไหน (อมิ่ กลายเป็นห่นุ ยนตส์ ่งอาหาร) สาเหตเุ กดิ จาก อะไร (ระบบปฏิบัติการที่
ติดตั้งให้อิ่มอาจผิดไฟล์หรือติดไวรัส อิ่มจึงถูกลบความทรงจำ) โป้งและก้อยแก้ปัญหานี้อย่างไร (ค้นหาไฟล์
สํารองขอ้ มูลระบบปฏบิ ตั กิ ารเดมิ ของอิ่ม แลว้ มาอัปเดตใหอ้ ่ิม)

- การสํารองขอ้ มลู มปี ระโยชน์อยา่ งไร (หากไฟลท์ ี่ใช้งาน สญู หายหรือผดิ พลาด สามารถนำ
ไฟล์ที่เก็บสำรองไว้มา ใช้งานได้) จากไฟล์ระบบปฏิบัติการของอิ่มในหน้า 101 นักเรียน คิดว่าควรจะเลือกใช้
ไฟล์ใด เพราะเหตุใด (เลือกใช้ไฟล์ชื่อ im_backup3.zip เพราะวันที่แก้ไขไฟล์นี้ (Date Modified) แสดงให้
เห็นว่าเป็นวันท่ีแก้ไขล่าสดุ คือ เมื่อ 2 วันที่แล้ว) การตั้งชื่อไฟลใ์ นหนา้ 101 สะดวกต่อการเรียกใช้งานหรือไม่
เพราะเหตใุ ด (ไมส่ ะดวก เนื่องจากช่ือไฟล์ไมส่ ามารถระบุไดว้ า่ ไฟล์ใดเป็นไฟล์ทีแ่ ก้ไขล่าสุด) ควรแกไ้ ขการตั้งชื่อ
ไฟล์ อย่างไร (อาจจะตงั้ ชื่อไฟล์แล้วตามด้วยวนั ท่ี หรอื หมายเลข ท่ีเรยี งลำดบั หรือสรา้ งโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บ
ไฟลเ์ ดิม)

- เพราะเหตุใดอิ่มจึงมีความทรงจำเมื่อ 4 เดือนที่แล้ว (ไฟล์ที่อัปเดตให้อิ่มเป็นไฟล์เก่าท่ี
สำรองข้อมูลไวเ้ ม่อื 4 เดอื นท่ีแลว้ )

- ก่อนการนําไฟล์ที่สำรองไว้ไปใช้งานควรตรวจสอบอะไรบ้าง (ตรวจสอบว่าเป็นไฟลล์ ่าสดุ
หรือไม่ โดยดูจากวนั ทแี่ ก้ไขไฟล์ (Date modified))

- ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างข้อมูลที่ควรสำรองข้อมูล (รายงาน รายรับรายจ่าย บท
กลอน รายชอ่ื ตดิ ต่อ ภาพถ่ายสำคญั ตารางเวลานัดหมาย ตารางเรยี น)

3. ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ครแู บง่ นักเรียนเปน็ กล่มุ กลมุ่ ละ 3-4 คน ชี้แจงและใหน้ กั เรียนทำใบกิจกรรมท่ี 4.3 กำหนด

สทิ ธิ์ จากน้นั ส่มุ นักเรียนนาํ เสนอคำตอบ โดยครูนำอภิปราย ตัวอย่างประเดน็ ในการอภิปราย เช่น
- คำตอบของนกั เรยี นเหมือนกบั เพือ่ นหรือไม่ อย่างไร

- สิง่ ที่ควรพจิ ารณาในการกำหนดสทิ ธ์ิเข้าถงึ ไฟลค์ อื อะไร (หน้าทค่ี วามรับผิดชอบของแต่ละ
คน)

- ไฟล์ลักษณะใด ทีส่ ามารถกำหนดสิทธิก์ ารใชง้ านได้ (ไฟลท์ ี่ อยบู่ นคลาวด)์
- การกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์ มีรูปแบบใดบ้าง (อ่านและแก้ไขได้ เป็นการกำหนดสิทธ์ิ
ให้กับผู้ที่มีหนา้ ที่ในการบันทึกข้อมูลในไฟล์นั้น อ่านได้อย่างเดียวเป็นการกำหนดสิทธิ์ ให้กับคนที่ต้องอา่ นไฟล์
นัน้ แตไ่ มต่ ้องบันทกึ หรอื แก้ไขข้อมูล)
- เพราะเหตุใดถึงต้องมีการกำหนดสิทธิ์ การเข้าถึงไฟล์ (การกำหนดสิทธิ์เป็นการกำหนด
บทบาทในการเขา้ ถงึ ไฟล์ และโฟลเดอร์ เพ่ือความปลอดภัยในการทำงานร่วมกนั ใหเ้ หมาะสมกบั แต่ละบคุ คล)
4. ขั้นขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกับความร้ทู ีไ่ ดร้ บั โดยใช้ประเด็นคาํ ถามต่อไปน้ี
- ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม (การแชร์ไฟล์ผ่านระบบ คลาวด์ การกำหนดสิทธิ์ใน
การเขา้ ถึงไฟล์ การสำรองข้อมูล)
2. การนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การใช้งานไฟล์เอกสารร่วมกับผู้อื่น การกำหนดสิทธิ์ในการ
เข้าถึงขอ้ มูลต่าง ๆ การสำรอง ขอ้ มูลท่สี ำคญั )
5. ขั้นประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด
ใดบ้างทย่ี ังไมเ่ ข้าใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
2. นักเรียนรว่ มกันประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ
แกไ้ ขอยา่ งไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
กิจกรรม และการนำความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมนิ ผล
การประเมนิ การเรยี นร้ขู องนกั เรยี นทำได้ ดังนี้
1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนกั เรียน

การประเมินจากการทำกจิ กรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ

รหัส ส่ิงทีป่ ระเมนิ ระดับคะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสังเกต

S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล

S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21

C4 การสอ่ื สาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ

1. ครูอาจสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมว่าคําทักทายที่อิ่มพูดในหน้า 102 มาจาก ภาษาอะไรบ้าง โดย

คำตอบ มีดังนี้

Good Morning ภาษาอังกฤษ

สวัสดี ภาษาไทย

มิงกะละบา ภาษาพมา่

คนนจิ ิวะ ภาษาญีป่ ุ่น

หนีหา่ ว ภาษาจีน

สะบายดี ภาษาลาว

บองชู ภาษาฝรั่งเศส

2. ครูอาจเปิดคลิปวิดีโอสอนการแชร์ไฟล์หรือรูปภาพผ่าน Google Drive จากหัวข้อสื่อเสริมเพ่ิม
ความรู้ในหนังสอื เรยี น ลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6402 ให้นกั เรียนดเู พื่อทบทวนขนั้ ตอนในการแชร์ไฟล์

3. ครใู ห้ความรเู้ พม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั ขอ้ ควรระวังในการแชรไ์ ฟล์ จะตอ้ งเปน็ ไฟลท์ ่ีไมล่ ะเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ
4. ครอู าจใหค้ วามรเู้ พิ่มเติมเกย่ี วกบั การสำรองข้อมลู ในรปู แบบอ่นื นอกจากตัวอย่างในบทเรยี น เชน่
การสำรองขอ้ มูลในแอปพลเิ คชนั Line Keep, One Drive, Dropbox

แนวคาํ ตอบแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ไฟล์ล่าสุดคือ “รายงาน backup4” (เนื่องจากวันเวลาที่แก้ไขเป็นเวลาล่าสุด โดยดูจาก Date

modified)
ข้อ 2. โป้งจะมสี ิทธอ์ิ า่ นไดอ้ ยา่ งเดียว (Can view only) บุคคลท่ัวไปจะไมส่ ามารถเห็นไฟลน์ ้เี นอื่ งจากเป็น

การแชรด์ ้วยอีเมล

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 16

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา ..........
เรือ่ ง ค้างคาวกนิ กลว้ ย เวลา 1 ชวั่ โมง
ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/1 ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธบิ ายและออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาที่พบในชวี ติ ประจำวนั
ป.6/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายเพือ่ แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (ความรู้, ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับการการเขียนโปรแกรมเพอื่ สุม่ คา่
2. นักเรยี นสามารถตรวจสอบและแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้

3. สาระสำคัญ
การวางแผนและออกแบบงานก่อนลงมือเขียนโปรแกรมจะช่วยให้เกิดความ เข้าใจในเป้าหมายการ

ทำงานไดช้ ัดเจนขน้ึ
บล็อกคำสงั่ when key pressed อยู่ในกลุ่มบล็อก Events ใชส้ ำหรบั ตรวจสอบเหตกุ ารณ์ว่ามีการกด

แป้นพมิ พห์ รือไม่ และโปรแกรมจะทำตามคำสั่งถดั ไปหากมี การกดแปน้ พิมพ์ท่ีระบไุ ว้
การคัดลอกสคริปต์หรือบล็อกคำสั่งทำได้โดยคลิกขวาแล้วเลือกคำสั่ง Duplicate นอกจากนี้อาจ

คดั ลอกโดยคลิกท่ีสคริปตห์ รือบล็อกคำสงั่ นัน้ แล้วลากไปวางท่ี ชื่อตวั ละครที่ตอ้ งการคัดลอก
ตวั ละคร 1 ตวั สามารถมสี คริปตไ์ ดม้ ากกวา่ 1 สคริปต์ เพ่อื ใชแ้ บ่งสว่ นการทำงาน ให้ชัดเจนและเข้าใจ

ง่ายข้ึน
บล็อกคำสั่ง next costume ใช้แสดงชุดตัวละครถัดไป บล็อกคำสั่ง pick random อยู่ในกลุ่ม

Operators ใช้สำหรับสุม่ ค่าโดยการระบเุ ปน็ ชว่ ง

กลุ่มบล็อก Operators มีคำสั่งที่ใช้เปรียบเทียบค่าหรือตรวจสอบเงื่อนไข เช่น คำสั่ง and (และ)
คำสง่ั or (หรือ) โดยคำสั่ง and (และ) ใช้สำหรบั ตรวจสอบเง่ือนไข 2 เงื่อนไข จะใหค้ ่าเป็นจริงก็ต่อเมื่อท้ังสอง
เงื่อนไขเป็นจริง ส่วนคำสั่ง or (หรือ) ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไข 2 เงื่อนไข โดยจะให้ค่าเป็นจริงก็ต่อเมื่อ
เงอ่ื นไขใดเงื่อนไข หนง่ึ เปน็ จรงิ หรอื ทงั้ สองเง่อื นไขเป็นจริง

คำสั่ง if else ใช้ตรวจสอบเงือ่ นไข โดยถ้าเงื่อนไขเป็นจริง โปรแกรมจะทำตามคำสั่งท่ีอยู่ถัดไป แต่ถ้า
เงื่อนไขเป็นเท็จ โปรแกรมจะทำตามคำส่ังท่ีอยู่ตอ่ จาก else

การกดแป้นพิมพ์ซ้ำ ๆ อาจทำให้คีย์บอร์ดชำรุด จึงควรใช้งานอย่างระมัดระวัง และดูแลรักษาให้ใช้
งานไดน้ าน ไมค่ วรใช้คอมพวิ เตอร์นานเกนิ ไป ควรแบ่งเวลาไป วิ่งเลน่ กบั เพื่อนหรอื ทำกจิ กรรมอืน่ ๆ

4. สาระการเรยี นรู้
1. การเขยี นโปรแกรมแบบมเี งอ่ื นไข
2. การเขียนโปรแกรมเพือ่ สมุ่ คา่
3. การเขียนโปรแกรมโดยใชต้ ัวแปร
4. การเขยี นโปรแกรมตรวจสอบการกดแปน้ พมิ พ์จากผใู้ ช้
5. การตรวจสอบและแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุง่ ม่ันในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบงาน เรอ่ื ง คา้ งคาวกนิ กลว้ ย

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดำเนนิ การเรยี นการสอนดงั ต่อไปนี้

1. ขน้ั สร้างความสนใจ (engagement)
ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนโดยให้นกั เรยี นทดลองเลน่ เกมทำความสะอาดบ้านจากลิงก์

oho.ipst.ac.th/im/6591 หลังจากทดลองเล่นเกม เสร็จแล้ว ครูนำนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเกีย่ วกับเกม โดย
ใชค้ ำถาม ตวั อย่างคำถาม เชน่


Click to View FlipBook Version