The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาการคำนวณ ป.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuengcomputer, 2021-09-29 13:08:26

วิทยาการคำนวณ ป.6

วิทยาการคำนวณ ป.6

5. ข้ันประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ ังไม่เข้าใจหรือยังมขี ้อสงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ
2. นกั เรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรูท้ ี่ได้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล

การประเมนิ การเรยี นรู้ของนกั เรียนทำได้ ดังนี้

1. ประเมินความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรยี น

2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม

3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรุง

รหัส ส่ิงทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมูล

S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การสื่อสาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สสวท.
- ไฟลข์ ้อมลู ประกอบใบกิจกรรมท่ี 7.1 ที่ oho.ipst.ac.th/im/6721
- เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเี่ ชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ น็ต พรอ้ มโปรแกรมตารางการทำงาน
- อีเมลสำหรับนกั เรยี นทุกคน

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครูสามารถเลือกใหน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมได้ตามความเหมาะสม
2. จากหนงั สือเรยี นหนา้ 179 ก้อยคดั ลอกสตู รโดยเลอื กเซลตงั้ แต่ E2 ถึง G2 แล้วใชเ้ มาส์ลากลงมาถึง

แถวที่ 20 นั้น ก่อนให้นักเรียนทดลอง ปฏิบัติ ครูควรแนะนำนกั เรียนว่ายังไม่ต้องใสข่ ้อมูลลงในเซล F2 เพราะ
จะทำให้ข้อมลู ในเซลน้ถี ูกคัดลอกไปไว้ในเซลอ่ืนของคอลมั น์ F ดว้ ย

3. ครูควรแนะนำวิธีการคัดลอกขอ้ มูลเพื่อนำมาวางในชีต (sheet) ใหม่
4. การสอนเรื่องการใช้สูตรคำนวณ สิ่งที่ปรากฏในเซลจะเป็นข้อความหรือตัวเลขที่ประมวลผลแล้ว
หากตอ้ งการดูสตู รของเซลนัน้ สามารถดไู ด้ 2 วิธี คือ

1. คลกิ ที่เซลน้นั จะปรากฎสูตรทแ่ี ถบสูตร (formular bar) ด้านบน
2. ดับเบลิ คลิกท่ีเซลนัน้ ก็จะปรากฏสูตรของเซลดังกล่าว
5. จากหนังสือหน้า 183 จะนำเสนอการนับจำนวนโดยใช้สูตร SUM ซึ่งสูตรนี้มีไว้สำหรับการหา
ผลรวมของตัวเลข ในกรณีนี้ตัวเลขที่อยู่ในเซลเป็น เลข 1 และ 0 เมื่อใช้สูตร SUM จึงทำให้ผลลัพธ์เท่ากันกับ
การใช้สตู ร COUNTIF แตก่ ารนบั จำนวน ในกรณที ่ีข้อมูลในเซลเป็นตัวเลขอื่นหรือ เป็นข้อความ จะต้องใช้สูตร
COUNTIF จงึ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ีถ่ กู ตอ้ งและ เปน็ การใช้สูตรท่ีสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์
6. ครอู าจยกตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์ ร่วมกบั สตู ร COUNTIFเพมิ่ เติมดงั นี้

สูตร คำอธิบาย

=COUNTIF(C:C, *เขา”) นับขอ้ มลู ในคอลัมน์ C ท่มี ีคา่ ขอ้ มลู ลงท้ายดว้ ยคําว่า เขา

=COUNTIF(C:C“เขา*) นับขอ้ มลู ในคอลมั น์ C ทม่ี ีคา่ ขอ้ มูล ขน้ึ ต้นด้วยคําวา่ เขา

=COUNTIF(C:C, **เขา*) นับข้อมูลในคอลัมน์ C ทีม่ ีคาํ ว่าเขา ประกอบอยู่ด้วย

7. ครูอาจให้นักเรียนทดลองใช้โปรแกรมตารางทำงานของผู้พัฒนารายอื่น เช่น Google Sheet,

Number, Libre, office cale ซึ่งโดยทั่วไป แล้วโปรแกรมเหล่านี้จะมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกันเพื่อให้

นักเรียนสามารถปรบั ตวั ในการเรียนรจู้ ากโปรแกรมทีต่ า่ งกัน

8. ครูเน้นกับนักเรียนว่าการใช้สูตรในการนับจำนวน ควรตรวจสอบข้อความในเงื่อนไขและข้อมูลใน

เซลให้ถูกตอ้ ง เพราะหากสะกดผิดหรือสะกด ไมเ่ หมือนกนั โปรแกรมจะไมส่ ามารถนับจำนวนได้

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ใช้สูตร =COUNTIF(B2:B7, “ลูกอม”) ในการนบั จำนวนการซือ้ ลูกอม
ข้อ 2. ใช้วธิ ีการกรองข้อมูล (Filter) โดยไปทแ่ี ถบเมนู Home > Sort and Filter > Filter จากนน้ั

กรองข้อมูลโดยคอลัมนเ์ พศเลือก “หญิง” คอลมั นส์ นิ คา้ ทซี่ ้ือเลือก “ลกู อม”
ข้อ 3. ใชส้ ตู ร =IF(C2>=50,“ไดแ้ สตมป์” “ไมไ่ ด้แสตมป”์ )

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 23

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา ..........

เรอื่ ง รวบรวม รว่ มแรง จัดแจงข้อมูล ตอน กลัน่ กรองข้อมูล เวลา 2 ชัว่ โมง

ครผู ู้สอน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทันและมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัยเข้าใจสิทธิและ หน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผอู้ ่ืน แจง้ ผเู้ กี่ยวขอ้ งเม่อื พบข้อมลู หรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคต)ิ
1. นักเรยี นมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับการประมวลผลข้อมลู เบื้องตน้
2. นกั เรยี นสามารถใชง้ านโปรแกรมตารางทำงานรว่ มกนั ได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวันได้

3. สาระสำคญั
โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ ช่วยให้การทำแบบสอบถามสะดวกยิง่ ขึ้น สามารถ ดูการตอบกลับของ

ผ้ตู อบแบบสอบถามในรปู แผนภูมิได้ ทำใหเ้ ปรยี บเทยี บและ สรปุ ผลของขอ้ มูลได้ง่ายขน้ึ
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ สามารถกำหนดสิทธิใ์ นการแก้ไข และทำงานร่วมกนั ได้ สูตรคำนวณที่

ใช้ในโปรแกรมตารางทำงาน เชน่ SUM, COUNTIF, IF
COUNTIF ใช้นับจำนวนเซลแบบมีเงื่อนไขโดยต้องระบุช่วงเซล ที่ต้องการนับ และเงื่อนไข เช่น นับ

เซลในช่วง G2 ถงึ G20 ท่ีมคี ่าเท่ากบั 0 สูตรทใี่ ช้คอื =COUNTIF(G2:G20,0)
IF ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อแสดงค่าตามที่ต้องการ โดยระบุเงื่อนไขที่ ต้องการตรวจสอบและ

ค่าที่ต้องการแสดง เช่น ถ้าเซล G2 มีค่าเท่ากับ 0 ให้แสดงค่า 1 ถ้าไม่ใช่ ให้แสดงค่า 0 สูตรที่ใช้คือ
=IF(G2=0,1,0)

ตวั กรอง (filter) ใช้สำหรบั กรองขอ้ มลู เพ่อื ใหแ้ สดงผลตามท่ตี อ้ งการ

4. สาระการเรียนรู้
1. การใช้โปรแกรมตารางทำงานรว่ มกัน
2. การประมวลผลข้อมูลเบือ้ งต้น

5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. อย่อู ย่างพอเพยี ง
3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน
ใบกจิ กรรมที่ 7.2 กล่นั กรองขอ้ มลู

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ดำเนินการเรยี นการสอนดังต่อไปน้ี

1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภิปรายและทบทวนความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตารางทำงาน โดยใช้โจทย์

สถานการณ์จากสำรวจความรู้ก่อนเรยี น ซงึ่ ให้ บันทึกขอ้ มลู รายรบั รายจ่ายใน 1 สัปดาห์ จากน้ันแสดงผลในรูป
แผนภูมิ

2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (exploration)
1. ครูนำนักเรียนศกึ ษาเนื้อหาในหนังสือบทที่ 7 รวบรวม ร่วมแรง จัดแจงข้อมูล หน้าที่ 170 -

177 (จนจบบทสนทนาของก้อยและ ป้าพร) ครนู ำอภปิ รายตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจโดยใช้คําถาม เชน่
- เกิดปัญหาอะไรกับเอกสารตารางทำงานออนไลน์ที่กุ้งให้เพื่อน ๆ ร่วมกันโหวตกิจกรรม

ประทับใจ (เพื่อนแต่ละคนพิมพ์ชื่อ กิจกรรมไม่เหมือนกันถึงแม้ว่าจะเป็นกิจกรรมเดียวกัน ทำให้นำมาใช้
ประมวลผลไม่ได้ และมีจำนวนกิจกรรมที่เขียน แตกต่างกัน) โป้งและกุ้งแก้ไขปัญหานี้อย่างไร (ใช้โปรแกรม
แบบฟอร์มออนไลนแ์ ทน)

- เพราะเหตุใดโป้งและกุ้งจึงใช้โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ แทนการใช้โปรแกรมตาราง
ทำงานออนไลน์ เพ่ือเก็บข้อมลู การโหวตกจิ กรรมประทบั ใจของเพื่อน ๆ (แบบฟอร์มออนไลน์ สามารถระบุช่ือ
กิจกรรมเพื่อให้เพื่อน ๆ เลือกตอบได้ทันที และสามารถรวบรวมผลการตอบ แล้วนําเสนอในรูปแบบของ
แผนภูมเิ พอ่ื ให้เขา้ ใจไดง้ า่ ย)

- จากผลการโหวตโดยใช้แบบฟอร์มออนไลน์ในหน้า 174 ยังมี คนที่ไม่โหวตอีก 2 คน
นักเรยี นคดิ วา่ เป็นใคร (กุ้งและโป้ง)

- แผนภูมแิ สดงผลการโหวตในหน้า 175 เป็นแผนภูมชิ นิดใด (แผนภูมิวงกลม)
- ถ้าโปง้ และกุง้ บอกเพ่ือน ๆ ใหโ้ หวตกิจกรรมท่ปี ระทับใจ คนละ 1 กิจกรรมลงในโปรแกรม
ตารางทำงานออนไลน์เช่นเดิมสามารถทำได้หรือไม่ (ได้ แต่ในการรวมคะแนนโหวต จะทำได้ยาก หรืออาจนับ
คะแนนบางคนไม่ได้ เพราะ แต่ละคนเขียนชื่อกิจกรรมแตกต่างกัน อาจแยกไม่ออกว่า เป็นกิจกรรมเดียวกัน
หรอื ไม่ รวมทงั้ โป้งและกุ้งจะคำนวณคะแนนโหวตไดช้ ้า)
- โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์มีประโยชน์อย่างไร (ใช้สร้างแบบฟอร์มหรือแบบสอบถาม
โดยผสู้ รา้ งแบบฟอร์มสามารถ กำหนดคำถามตัวเลือกคําตอบทตี่ ้องการ เพ่อื ใหผ้ ู้อื่นตอบได้ และสามารถดูการ
ตอบกลับของผูต้ อบแบบสอบถามในรปู แผนภูมิได้ ทำให้เปรยี บเทียบและสรุปผลข้อมลู ได้ง่ายข้ึน)
2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 177-190 แล้วให้นักเรียนทดลองใช้
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ โดยเปิด เว็บไซต์ https://docs.google.com/spreadsheets แล้วคลิกท่ี
กรอบ + (Blank) เพื่อสร้างเอกสารใหม่ หรือดาวน์โหลดไฟล์ ประกอบจากลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6791
จากน้ันปฏิบัตติ าม หนงั สอื เรยี น และอภิปรายทบทวนความรู้ท่ไี ด้ ตวั อย่างประเด็น การอภิปราย เช่น
- ระหวา่ งหนังสือรุ่นที่เป็นไฟล์พีดเี อฟ (pdf) กับทพ่ี มิ พ์ลงกระดาษ นกั เรียนจะเลอื กรูปแบบ
ใด เพราะเหตใุ ด
- เพราะเหตุใดก้อยและจอยจึงไม่แชร์ไฟล์เอกสารตารางทำงาน ออนไลน์ให้เพื่อนทุกคน
กรอกขอ้ มลู เอง (เพราะหากทุกคน สามารถแกไ้ ขขอ้ มลู การเงนิ ได้ ข้อมลู อาจจะผดิ พลาด)
- สูตร COUNTIF มีไว้สำหรับทำอะไร (ใช้นับจำนวนข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุ ทั้งนี้เรา
สามารถแทนข้อความด้วยตัวเลข เพื่อนําตัวเลขทีแ่ ทนค่านั้นมาคาํ นวณได้เช่นกัน เช่น การแทน ข้อความ “ส่ง
งานแล้ว” เป็นเลข 1 และขอ้ ความ “ยังไม่ ส่งงาน” เป็นเลข 2 จากนน้ั จงึ ใชส้ ตู ร COUNTIF ในการ นบั จำนวน
ผทู้ ส่ี ่งงานแล้ว (เลข1) หรอื จำนวนผู้ท่ียังไมส่ ง่ งาน (เลข2)
- สูตร IF คอื อะไร (เป็นสตู รทใ่ี ชต้ รวจสอบเงื่อนไขการทำงาน)
- สูตร IF แตกต่างจากสูตร COUNTIF อย่างไร (IF ใช้ในการ ตรวจสอบเงื่อนไขและ
กาํ หนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่ง สว่ น COUNTIF ใชใ้ นการนับจำนวนขอ้ มลู ตามเงอื่ นไข)
- การใช้สูตร IF ในเอกสารนี้ใช้ในเซลใดบ้าง และใช้ในกรณีใด (ใช้ในคอลัมน์ Hเพ่ือ
กําหนดค่าให้เป็น 1 สำหรับคนที่มีข้อมูล ในคอลัมน์ C ว่า “ส่งแล้ว” ใช้ในคอลัมน์ I เพื่อกําหนดค่าให้ เป็น 1
สำหรบั คนทม่ี ขี ้อมลู ในคอลมั น์ G วา่ “0” (คนทจ่ี า่ ย เงนิ ครบแล้ว)
- สูตร SUM มีไว้สำหรบั ทำอะไร (ใช้หาผลรวม)
- จากหนา้ 183 เก่งตอ้ งการนับจำนวนเลข 1 ในชว่ งเซล H2H20 โดยระบวุ ่าการนบั จำนวน
เลข 1 ก็เหมือนกับการหา ผลรวม ดังนั้นใช้สูตร SUM ก็ได้ นักเรียนคิดว่าเราสามารถ ใช้วิธีการเดียวกันนี้กับ
การนับจำนวนในคอลมั น์ Gได้หรือไม่ เพราะอะไร (ไม่ได้ เนื่องจากในคอลัมน์ H มีค่าข้อมูลเป็น 1 และ 0 เม่ือ
ใช้คำสง่ั SUM ในการหาผลรวม จะใหผ้ ลลพั ธ์ เช่นเดียวกับการใช้คำส่ัง COUNTIF แตใ่ นคอลมั น์ G1:G20 มีค่า
ข้อมูลที่เป็นเลขอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่ 0 และ 1 ผลลัพธ์ที่ได้จาก การใช้คำสั่ง SUM จะแตกต่างจากการใช้คำส่ัง
COUNTIF)

- ถา้ ต้องการแสดงข้อมลู ในคอลมั น์ K วา่ ใครท่สี ่งขอ้ มูลและ จ่ายเงนิ ครบแลว้ ใหแ้ สดงคําวา่
“ปิดจ๊อบ” ถ้ายังไม่ครบให้ แสดงคำว่า “ติดตาม” จะต้องใช้สูตร IF ว่าอย่างไร (=IF (12=1, “ปิดจ๊อบ” ,
“ตดิ ตาม”))

- คำสั่ง FILTER คืออะไร (คำสั่งกรองช่วงข้อมูลตามเงื่อนไข ที่กำหนด เพื่อนําข้อมูลนั้นมา
ประมวลผลตามที่ตอ้ งการ เชน่ นบั จำนวนผทู้ ี่สง่ ขอ้ มลู แล้วเฉพาะนักเรียนห้อง 4 สามารถใช้ FILTER เพ่อื เลือก
นำข้อมูลเฉพาะนักเรยี น ห้อง A เทา่ น้ันมานบั จำนวน)

3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 7.2 กลั่นกรองข้อมูลจากนั้นลุ่มนักเรียนออกมา

นำเสนอคำตอบ แล้วร่วมกนั อภิปราย ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- นักเรียนใช้คำสั่ง filter ในการกรองข้อมูล เฉพาะเนตรนารีหรือนักเรียนหญิงอย่างไร

(คลิกที่หัวตาราง (คำนำหน้าชื่อ) จากนั้นคลิกคำสั่ง filter แล้วคลิกปุ่มกรองที่เซล A1 จากนั้น ทำเครื่องหมาย
ถูกเพอ่ื เลือกเฉพาะ “เด็กหญงิ ”)

- เมอ่ื นักเรียนใช้คำสง่ั filter เพอื่ กรองข้อมลู เนตรนารหี รือนกั เรียนหญงิ ขอ้ มูลของนักเรียน
ชายอยู่ท่ใี ด (ข้อมลู นกั เรยี นชายถกู ซอ่ นไว้ไม่ให้แสดงผล)

- การใชค้ ำส่ัง filter มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (เพื่อกรองหรือเลือกแสดงเฉพาะข้อมลู ท่ีต้องการ)
- จากใบกิจกรรมนักเรียนสามารถใชค้ ำสงั่ filter ในการกรองข้อมลู อะไรบ้าง (เพศ รหสั หมู)่
- จากกิจกรรมน้ี เพราะเหตุใดเม่ือใช้คำสั่ง filter กรองขอ้ มูล ท่ีต้องการแล้วจึงต้องคัดลอก
ข้อมูลวางไว้ใน Sheet ใหม่ (เป็นการแยกข้อมูลเนตรนารี และลูกเสือเพื่อนำไปประมวลผลอื่น ๆ และข้อมูล
เดมิ ยงั คงอยู่)
- ถ้าไมใ่ ชค้ ำส่ัง filter สามารถหาคําตอบไดห้ รือไม่ และทำได้ อยา่ งไร (อาจใชค้ ำสัง่ SORT'
เพ่ือเรยี งขอ้ มลู โดยอาจระบุ คอลัมนข์ องข้อมลู ทต่ี อ้ งการ จากน้ันเลือกดขู อ้ มูลตามความสนใจ)
4. ขนั้ ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปความรูท้ ่ีได้รับจากการทำกจิ กรรมโดยมปี ระเดน็ ดังน้ี
- โปรแกรมท่ีใชง้ านรว่ มกันแบบออนไลน์ท่ีนักเรียนรูจ้ ักมีอะไรบ้าง (Google Doc, Google
Slide, Google Sheet)
- โปรแกรม Microsoft Excel และ Google Sheet คล้าย หรือแตกต่างกันอย่างไร
(คล้ายกันคือเป็นโปรแกรมตารางทำงานที่ใช้ในการคำนวณ เช่น หาผลรวม หาค่าเฉลี่ย เรียงลำดับ นับจำนวน
และแสดงผลในรูปแบบของกราฟ หรือแผนภูมิได้ แต่ Google Sheet เป็นบริการออนไลน์ ที่สามารถกำหนด
สิทธ์กิ ารใช้งานสำหรับผ้ทู ี่ตอ้ งการใช้งานรว่ มกันได้)
- นักเรียนคิดว่าจะนําโปรแกรมตารางทำงานไปใช้ในการทำงานเรื่องใดบ้าง (การทำบัญชี
ค่าใชจ้ า่ ยประจำเดือน การบนั ทกึ ข้อมลู รายการกีฬาสี การนับจำนวนผู้ลงคะแนนเลือกประธาน นักเรียน การ
สร้างกราฟแสดงการเตบิ โตของต้นไม้ใน ห้องทดลอง)

5. ข้ันประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ ังไม่เข้าใจหรือยังมขี ้อสงสยั ถา้ มี ครชู ่วยอธิบายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ
2. นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรูท้ ี่ไดไ้ ปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมินผล

การประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรียนทำได้ ดังนี้

1. ประเมินความร้เู ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน

2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม

3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมนิ จากการทำกิจกรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง

รหัส ส่ิงทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มูล

S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การสื่อสาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สสวท.
- ไฟลข์ ้อมลู ประกอบใบกิจกรรมท่ี 7.2 ที่ oho.ipst.ac.th/im/6722
- เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเี่ ชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ น็ต พรอ้ มโปรแกรมตารางการทำงาน
- อีเมลสำหรับนกั เรยี นทุกคน

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครูสามารถเลือกใหน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมได้ตามความเหมาะสม
2. จากหนงั สือเรยี นหนา้ 179 ก้อยคดั ลอกสตู รโดยเลอื กเซลตงั้ แต่ E2 ถึง G2 แล้วใชเ้ มาส์ลากลงมาถึง

แถวที่ 20 นั้น ก่อนให้นักเรียนทดลอง ปฏิบัติ ครูควรแนะนำนกั เรียนว่ายังไม่ต้องใสข่ ้อมูลลงในเซล F2 เพราะ
จะทำให้ข้อมลู ในเซลน้ถี ูกคัดลอกไปไว้ในเซลอ่ืนของคอลมั น์ F ดว้ ย

3. ครูควรแนะนำวิธีการคัดลอกขอ้ มูลเพื่อนำมาวางในชีต (sheet) ใหม่
4. การสอนเรื่องการใช้สูตรคำนวณ สิ่งที่ปรากฏในเซลจะเป็นข้อความหรือตัวเลขที่ประมวลผลแล้ว
หากตอ้ งการดูสตู รของเซลนนั้ สามารถดไู ด้ 2 วิธี คือ

1. คลกิ ที่เซลน้นั จะปรากฎสูตรทแ่ี ถบสูตร (formular bar) ด้านบน
2. ดับเบลิ คลิกท่ีเซลนัน้ ก็จะปรากฏสูตรของเซลดังกล่าว
5. จากหนังสือหน้า 183 จะนำเสนอการนับจำนวนโดยใช้สูตร SUM ซึ่งสูตรนี้มีไว้สำหรับการหา
ผลรวมของตัวเลข ในกรณีนี้ตัวเลขที่อยู่ในเซลเป็น เลข 1 และ 0 เมื่อใช้สูตร SUM จึงทำให้ผลลัพธ์เท่ากันกับ
การใช้สตู ร COUNTIF แตก่ ารนบั จำนวน ในกรณที ่ีข้อมูลในเซลเป็นตัวเลขอื่นหรือ เป็นข้อความ จะต้องใช้สูตร
COUNTIF จงึ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ีถ่ กู ตอ้ งและ เปน็ การใช้สูตรท่ีสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์
6. ครอู าจยกตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์ ร่วมกบั สตู ร COUNTIFเพิ่มเติมดงั นี้

สูตร คำอธิบาย

=COUNTIF(C:C, *เขา”) นับขอ้ มลู ในคอลัมน์ C ท่มี ีคา่ ขอ้ มลู ลงท้ายดว้ ยคําวา่ เขา

=COUNTIF(C:C“เขา*) นับขอ้ มลู ในคอลมั น์ C ทม่ี ีคา่ ขอ้ มูล ขน้ึ ต้นดว้ ยคาํ วา่ เขา

=COUNTIF(C:C, **เขา*) นับข้อมูลในคอลัมน์ C ทีม่ ีคาํ ว่าเขา ประกอบอยูด่ ว้ ย

7. ครูอาจให้นักเรียนทดลองใช้โปรแกรมตารางทำงานของผู้พัฒนารายอื่น เช่น Google Sheet,

Number, Libre, office cale ซึ่งโดยทั่วไป แล้วโปรแกรมเหล่านี้จะมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกันเพื่อให้

นักเรียนสามารถปรบั ตวั ในการเรียนรจู้ ากโปรแกรมทีต่ า่ งกัน

8. ครูเน้นกับนักเรียนว่าการใช้สูตรในการนับจำนวน ควรตรวจสอบข้อความในเงื่อนไขและข้อมูลใน

เซลให้ถูกตอ้ ง เพราะหากสะกดผิดหรือสะกด ไมเ่ หมือนกนั โปรแกรมจะไมส่ ามารถนับจำนวนได้

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ใช้สูตร =COUNTIF(B2:B7, “ลูกอม”) ในการนบั จำนวนการซือ้ ลูกอม
ข้อ 2. ใช้วธิ ีการกรองข้อมูล (Filter) โดยไปทแ่ี ถบเมนู Home > Sort and Filter > Filter จากนน้ั

กรองข้อมูลโดยคอลัมนเ์ พศเลือก “หญิง” คอลมั นส์ นิ คา้ ทซี่ ้ือเลือก “ลกู อม”
ข้อ 3. ใชส้ ตู ร =IF(C2>=50,“ไดแ้ สตมป์” “ไมไ่ ด้แสตมป”์ )

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 24

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา ..........

เรอื่ ง รวบรวม ร่วมแรง จัดแจงข้อมูล ตอน โปรแกรมจดั ให้ เวลา 1 ชวั่ โมง

ครผู สู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชว้ี ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทันและมจี ริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัยเข้าใจสิทธิและ หน้าที่ของตน
เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ่นื แจ้งผ้เู ก่ยี วขอ้ งเมอ่ื พบขอ้ มลู หรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม

2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทกั ษะ, เจตคติ)
1. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับการประมวลผลข้อมูลเบ้ืองตน้
2. นกั เรยี นสามารถใชง้ านโปรแกรมตารางทำงานร่วมกันได้
3. นักเรียนมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวชิ าวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

3. สาระสำคัญ
โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ ช่วยให้การทำแบบสอบถามสะดวกยิ่งขึ้น สามารถ ดูการตอบกลับของ

ผตู้ อบแบบสอบถามในรปู แผนภูมไิ ด้ ทำให้เปรียบเทียบและ สรปุ ผลของขอ้ มลู ไดง้ า่ ยขนึ้
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ สามารถกำหนดสิทธ์ิในการแกไ้ ข และทำงานร่วมกันได้ สูตรคำนวณที่

ใชใ้ นโปรแกรมตารางทำงาน เช่น SUM, COUNTIF, IF
COUNTIF ใช้นับจำนวนเซลแบบมีเงื่อนไขโดยต้องระบุช่วงเซล ที่ต้องการนับ และเงื่อนไข เช่น นับ

เซลในช่วง G2 ถึง G20 ที่มีคา่ เท่ากบั 0 สูตรทีใ่ ชค้ ือ =COUNTIF(G2:G20,0)
IF ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อแสดงค่าตามที่ต้องการ โดยระบุเงื่อนไขที่ ต้องการตรวจสอบและ

ค่าที่ต้องการแสดง เช่น ถ้าเซล G2 มีค่าเท่ากับ 0 ให้แสดงค่า 1 ถ้าไม่ใช่ ให้แสดงค่า 0 สูตรที่ใช้คือ
=IF(G2=0,1,0)

ตวั กรอง (filter) ใชส้ ำหรับกรองข้อมูล เพื่อให้แสดงผลตามที่ต้องการ

4. สาระการเรียนรู้
1. การใช้โปรแกรมตารางทำงานรว่ มกัน
2. การประมวลผลขอ้ มูลเบื้องต้น

5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

5. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน
ใบกจิ กรรมท่ี 7.3 โปรแกรมจดั ให้

6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ดำเนนิ การเรยี นการสอนดงั ต่อไปนี้

1. ข้ันสรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภิปรายและทบทวนความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตารางทำงาน โดยใช้โจทย์

สถานการณ์จากสำรวจความรู้กอ่ นเรียน ซ่ึงให้ บันทกึ ข้อมลู รายรับรายจ่ายใน 1 สปั ดาห์ จากนั้นแสดงผลในรูป
แผนภูมิ

2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (exploration)
1. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือบทที่ 7 รวบรวม ร่วมแรง จัดแจงข้อมูล หน้าที่ 170 -

177 (จนจบบทสนทนาของกอ้ ยและ ปา้ พร) ครูนำอภิปรายตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจโดยใชค้ าํ ถาม เช่น
- เกิดปัญหาอะไรกับเอกสารตารางทำงานออนไลน์ที่กุ้งให้เพื่อน ๆ ร่วมกันโหวตกิจกรรม

ประทับใจ (เพื่อนแต่ละคนพิมพ์ชื่อ กิจกรรมไม่เหมือนกันถึงแม้ว่าจะเป็นกิจกรรมเดียวกัน ทำให้นำมาใช้
ประมวลผลไม่ได้ และมีจำนวนกิจกรรมที่เขียน แตกต่างกัน) โป้งและกุ้งแก้ไขปัญหานี้อย่างไร (ใช้โปรแกรม
แบบฟอร์มออนไลน์แทน)

- เพราะเหตุใดโป้งและกุ้งจึงใช้โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ แทนการใช้โปรแกรมตาราง
ทำงานออนไลน์ เพอ่ื เกบ็ ข้อมลู การโหวตกิจกรรมประทบั ใจของเพ่ือน ๆ (แบบฟอรม์ ออนไลน์ สามารถระบุช่ือ
กิจกรรมเพื่อให้เพื่อน ๆ เลือกตอบได้ทันที และสามารถรวบรวมผลการตอบ แล้วนําเสนอในรูปแบบของ
แผนภมู ิเพอ่ื ให้เขา้ ใจได้ง่าย)

- จากผลการโหวตโดยใช้แบบฟอร์มออนไลน์ในหน้า 174 ยังมี คนที่ไม่โหวตอีก 2 คน
นักเรยี นคิดวา่ เป็นใคร (กงุ้ และโป้ง)

- แผนภูมแิ สดงผลการโหวตในหน้า 175 เป็นแผนภูมชิ นิดใด (แผนภูมิวงกลม)
- ถ้าโปง้ และกุง้ บอกเพ่ือน ๆ ใหโ้ หวตกิจกรรมท่ปี ระทับใจ คนละ 1 กิจกรรมลงในโปรแกรม
ตารางทำงานออนไลน์เช่นเดิมสามารถทำได้หรือไม่ (ได้ แต่ในการรวมคะแนนโหวต จะทำได้ยาก หรืออาจนับ
คะแนนบางคนไม่ได้ เพราะ แต่ละคนเขียนชื่อกิจกรรมแตกต่างกัน อาจแยกไม่ออกว่า เป็นกิจกรรมเดียวกัน
หรอื ไม่ รวมทงั้ โป้งและกุ้งจะคำนวณคะแนนโหวตไดช้ ้า)
- โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์มีประโยชน์อย่างไร (ใช้สร้างแบบฟอร์มหรือแบบสอบถาม
โดยผสู้ รา้ งแบบฟอร์มสามารถ กำหนดคำถามตัวเลือกคําตอบทตี่ ้องการ เพ่อื ใหผ้ ู้อื่นตอบได้ และสามารถดูการ
ตอบกลับของผูต้ อบแบบสอบถามในรปู แผนภูมิได้ ทำให้เปรยี บเทียบและสรุปผลข้อมลู ได้ง่ายข้ึน)
2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 177-190 แล้วให้นักเรียนทดลองใช้
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ โดยเปิด เว็บไซต์ https://docs.google.com/spreadsheets แล้วคลิกท่ี
กรอบ + (Blank) เพื่อสร้างเอกสารใหม่ หรือดาวน์โหลดไฟล์ ประกอบจากลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6791
จากน้ันปฏิบัตติ าม หนงั สอื เรยี น และอภิปรายทบทวนความรู้ท่ไี ด้ ตวั อย่างประเด็น การอภิปราย เช่น
- ระหวา่ งหนังสือรุ่นที่เป็นไฟล์พีดเี อฟ (pdf) กับทพ่ี มิ พ์ลงกระดาษ นกั เรียนจะเลอื กรูปแบบ
ใด เพราะเหตใุ ด
- เพราะเหตุใดก้อยและจอยจึงไม่แชร์ไฟล์เอกสารตารางทำงาน ออนไลน์ให้เพื่อนทุกคน
กรอกขอ้ มลู เอง (เพราะหากทุกคน สามารถแกไ้ ขขอ้ มลู การเงนิ ได้ ข้อมลู อาจจะผดิ พลาด)
- สูตร COUNTIF มีไว้สำหรับทำอะไร (ใช้นับจำนวนข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุ ทั้งนี้เรา
สามารถแทนข้อความด้วยตัวเลข เพื่อนําตัวเลขทีแ่ ทนค่านั้นมาคาํ นวณได้เช่นกัน เช่น การแทน ข้อความ “ส่ง
งานแล้ว” เป็นเลข 1 และขอ้ ความ “ยังไม่ ส่งงาน” เป็นเลข 2 จากนน้ั จงึ ใชส้ ตู ร COUNTIF ในการ นบั จำนวน
ผทู้ ส่ี ่งงานแล้ว (เลข1) หรอื จำนวนผู้ท่ียังไมส่ ง่ งาน (เลข2)
- สูตร IF คอื อะไร (เป็นสตู รทใ่ี ชต้ รวจสอบเงื่อนไขการทำงาน)
- สูตร IF แตกต่างจากสูตร COUNTIF อย่างไร (IF ใช้ในการ ตรวจสอบเงื่อนไขและ
กาํ หนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่ง สว่ น COUNTIF ใชใ้ นการนับจำนวนขอ้ มลู ตามเงอื่ นไข)
- การใช้สูตร IF ในเอกสารนี้ใช้ในเซลใดบ้าง และใช้ในกรณีใด (ใช้ในคอลัมน์ Hเพ่ือ
กําหนดค่าให้เป็น 1 สำหรับคนที่มีข้อมูล ในคอลัมน์ C ว่า “ส่งแล้ว” ใช้ในคอลัมน์ I เพื่อกําหนดค่าให้ เป็น 1
สำหรบั คนทม่ี ขี ้อมลู ในคอลมั น์ G วา่ “0” (คนทจ่ี า่ ย เงนิ ครบแล้ว)
- สูตร SUM มีไว้สำหรบั ทำอะไร (ใช้หาผลรวม)
- จากหนา้ 183 เก่งตอ้ งการนับจำนวนเลข 1 ในชว่ งเซล H2H20 โดยระบวุ ่าการนบั จำนวน
เลข 1 ก็เหมือนกับการหา ผลรวม ดังนั้นใช้สูตร SUM ก็ได้ นักเรียนคิดว่าเราสามารถ ใช้วิธีการเดียวกันนี้กับ
การนับจำนวนในคอลมั น์ Gได้หรือไม่ เพราะอะไร (ไม่ได้ เนื่องจากในคอลัมน์ H มีค่าข้อมูลเป็น 1 และ 0 เม่ือ
ใช้คำสง่ั SUM ในการหาผลรวม จะใหผ้ ลลพั ธ์ เช่นเดียวกับการใช้คำส่ัง COUNTIF แตใ่ นคอลมั น์ G1:G20 มีค่า
ข้อมูลที่เป็นเลขอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่ 0 และ 1 ผลลัพธ์ที่ได้จาก การใช้คำสั่ง SUM จะแตกต่างจากการใช้คำส่ัง
COUNTIF)

- ถา้ ตอ้ งการแสดงข้อมลู ในคอลมั น์ K ว่าใครท่ีส่งขอ้ มลู และ จ่ายเงินครบแล้ว ให้แสดงคําว่า
“ปิดจ๊อบ” ถ้ายังไม่ครบให้ แสดงคำว่า “ติดตาม” จะต้องใช้สูตร IF ว่าอย่างไร (=IF (12=1, “ปิดจ๊อบ” ,
“ติดตาม”))

- คำสั่ง FILTER คืออะไร (คำสั่งกรองช่วงข้อมูลตามเงือ่ นไข ที่กำหนด เพื่อนําข้อมูลนั้นมา
ประมวลผลตามทต่ี ้องการ เชน่ นับจำนวนผู้ท่ีสง่ ข้อมูลแลว้ เฉพาะนักเรยี นห้อง 4 สามารถใช้ FILTER เพ่ือเลือก
นำขอ้ มลู เฉพาะนักเรียน ห้อง A เทา่ นน้ั มานบั จำนวน)

3. ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 7.3 โปรแกรมจัดให้ จากนั้นสุ่มนักเรียนออกมา

นำเสนอ แลว้ ร่วมกันอภปิ รายคาํ ตอบดังน้ี
- ขอ้ 1.
- เงื่อนไขของโจทย์นี้มีอะไรบ้าง (เงื่อนไขกำหนดว่าถ้าเป็นเด็กหญิง ให้แสดง “เนตร

นาร”ี ถ้าเปน็ เดก็ ชาย ให้แสดง “ลูกเสือ”)
- นักเรยี นใช้สตู รอะไร สตู รทีน่ กั เรยี นใช้เหมือนหรือ แตกตา่ งจากเพือ่ นหรอื ไม่ นักเรียน

คิดวา่ คําตอบ ของเพื่อนเป็นคำตอบท่ีถูกหรอื ไม่ เพราะอะไร
- ถ้ามี “ยุวกาชาด” เพ่มิ ข้นึ มาอีก 1 ประเภท นกั เรยี นจะ แกไ้ ขตาราง และสูตรในการ

แสดงข้อความอยา่ งไร
- ข้อ 2.
- เงื่อนไขของโจทย์นี้มีอะไรบ้าง (เงื่อนไขกำหนดว่าถ้ารหัสหมู่ = 1 ให้แสดงชื่อหมู่ว่า

“ดอกพิกุล” ถา้ รหัส หมู่ = 2 ให้แสดงชอ่ื หม่วู ่า “ดอกดาวเรือง”)
- นักเรยี นใช้สูตรอะไร สูตรท่นี ักเรียนใช้เหมือนหรือ แตกตา่ งจากเพื่อนหรอื ไม่ นักเรียน

คิดว่าคำตอบของเพ่ือนเป็นคำตอบท่ีถูกหรอื ไม่ เพราะอะไร
- ขอ้ 3.
- เงื่อนไขของโจทย์นี้มีอะไรบ้าง (เงื่อนไขกำหนดว่าถ้ารหัสหมู่ = A ให้แสดงชื่อหมู่ว่า

“แกะ” ถา้ รหสั หมู่= B ให้แสดงช่ือหมู่วา่ “เสอื ”)
- นักเรียนใช้สตู รอะไร สูตรที่นักเรียนใชเ้ หมือนหรือแตกต่างจากเพือ่ นหรือไม่ นักเรียน

คดิ ว่าคําตอบของ เพ่ือนเป็นคําตอบที่ถกู หรอื ไม่ เพราะอะไร
- สูตรที่ใช้ในข้อ 1 และข้อ 2 มีความแตกต่างกันอย่างไร (ข้อ 1. เงื่อนไขในสูตรส่วนท่ี

เป็นข้อความว่าเด็กหญิง จะตอ้ งใส่เคร่อื งหมาย “ " ดว้ ย)
- หากสูตรที่นักเรียนพิมพ์เกิดข้อผิดพลาด นักเรียนมีวิธี การตรวจสอบอย่างไรได้บ้าง

(ตรวจสอบการใส่ เครื่องหมายวงเล็บเปิดและปิด ตรวจสอบตำแหน่งเซล ตรวจสอบเงื่อนไข ตรวจสอบการใช้
เครื่องหมายตา่ ง ๆ เช่น เงอื่ นไขท่เี ปน็ ข้อความจะต้องอยูใ่ นเครอ่ื งหมายคําพูด หรอื Double quote)

4. ข้ันขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรูท้ ่ไี ดร้ ับจากการทำกจิ กรรมโดยมปี ระเด็นดังน้ี
- โปรแกรมทีใ่ ชง้ านรว่ มกันแบบออนไลน์ทนี่ ักเรยี นรูจ้ กั มีอะไรบ้าง (Google Doc, Google

Slide, Google Sheet)
- โปรแกรม Microsoft Excel และ Google Sheet คล้าย หรือแตกต่างกันอย่างไร

(คล้ายกันคือเป็นโปรแกรมตารางทำงานที่ใช้ในการคำนวณ เช่น หาผลรวม หาค่าเฉลี่ย เรียงลำดับ นับจำนวน
และแสดงผลในรูปแบบของกราฟ หรือแผนภูมิได้ แต่ Google Sheet เป็นบริการออนไลน์ ที่สามารถกำหนด
สทิ ธกิ์ ารใชง้ านสำหรับผู้ทตี่ ้องการใชง้ านร่วมกนั ได)้

- นักเรียนคิดว่าจะนําโปรแกรมตารางทำงานไปใช้ในการทำงานเรื่องใดบ้าง (การทำบัญชี
คา่ ใชจ้ ่ายประจำเดือน การบนั ทกึ ขอ้ มูลรายการกีฬาสี การนับจำนวนผู้ลงคะแนนเลือกประธาน นักเรียน การ
สร้างกราฟแสดงการเตบิ โตของต้นไมใ้ น ห้องทดลอง)

5. ขน้ั ประเมนิ (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ งั ไม่เข้าใจหรือยังมขี อ้ สงสัย ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ
2. นักเรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กจิ กรรม และการนำความรู้ที่ได้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมินผล
การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรยี นทำได้ ดงั น้ี
1. ประเมนิ ความรู้เดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรยี น
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรยี น

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดับคะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง

รหสั สิง่ ท่ปี ระเมนิ ระดบั คะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู

S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

C4 การสอ่ื สาร

C5 ความรว่ มมือ

8. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สสวท.
- เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ เี่ ชือ่ มตอ่ อินเทอรเ์ น็ต พร้อมโปรแกรมตารางการทำงาน
- อเี มลสำหรบั นกั เรยี นทุกคน

9. ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศึกษา/ผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แล้วมีความเห็นดงั นี้
1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

.................................................................................................................................................... ..........................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครูสามารถเลือกใหน้ กั เรียนทำใบกจิ กรรมได้ตามความเหมาะสม
2. จากหนงั สือเรยี นหนา้ 179 กอ้ ยคดั ลอกสตู รโดยเลือกเซลตงั้ แต่ E2 ถึง G2 แล้วใชเ้ มาส์ลากลงมาถึง

แถวที่ 20 นั้น ก่อนให้นักเรียนทดลอง ปฏิบัติ ครูควรแนะนำนกั เรียนว่ายังไม่ต้องใสข่ ้อมูลลงในเซล F2 เพราะ
จะทำให้ข้อมลู ในเซลน้ถี ูกคัดลอกไปไว้ในเซลอ่ืนของคอลมั น์ F ด้วย

3. ครูควรแนะนำวิธีการคัดลอกขอ้ มูลเพื่อนำมาวางในชีต (sheet) ใหม่
4. การสอนเรื่องการใช้สูตรคำนวณ สิ่งที่ปรากฏในเซลจะเป็นข้อความหรือตัวเลขที่ประมวลผลแล้ว
หากตอ้ งการดูสตู รของเซลนัน้ สามารถดูได้ 2 วิธี คือ

1. คลกิ ที่เซลน้นั จะปรากฎสูตรทแ่ี ถบสูตร (formular bar) ด้านบน
2. ดับเบลิ คลิกท่ีเซลน้ันก็จะปรากฏสูตรของเซลดงั กล่าว
5. จากหนังสือหน้า 183 จะนำเสนอการนับจำนวนโดยใช้สูตร SUM ซึ่งสูตรนี้มีไว้สำหรับการหา
ผลรวมของตัวเลข ในกรณีนี้ตัวเลขที่อยู่ในเซลเป็น เลข 1 และ 0 เมื่อใช้สูตร SUM จึงทำให้ผลลัพธ์เท่ากันกับ
การใช้สตู ร COUNTIF แตก่ ารนบั จำนวน ในกรณที ่ีข้อมูลในเซลเป็นตัวเลขอื่นหรือ เป็นข้อความ จะต้องใช้สูตร
COUNTIF จงึ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ีถ่ กู ตอ้ งและ เปน็ การใช้สูตรท่ีสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์
6. ครอู าจยกตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์ ร่วมกบั สตู ร COUNTIFเพิ่มเติมดงั นี้

สูตร คำอธิบาย

=COUNTIF(C:C, *เขา”) นับขอ้ มลู ในคอลัมน์ C ท่มี ีคา่ ขอ้ มลู ลงท้ายดว้ ยคําว่า เขา

=COUNTIF(C:C“เขา*) นับขอ้ มลู ในคอลมั น์ C ทม่ี ีคา่ ขอ้ มูล ขน้ึ ต้นด้วยคําวา่ เขา

=COUNTIF(C:C, **เขา*) นับข้อมูลในคอลัมน์ C ทีม่ ีคาํ ว่าเขา ประกอบอยู่ด้วย

7. ครูอาจให้นักเรียนทดลองใช้โปรแกรมตารางทำงานของผู้พัฒนารายอื่น เช่น Google Sheet,
Number, Libre, office cale ซึ่งโดยทั่วไป แล้วโปรแกรมเหล่านี้จะมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกันเพื่อให้
นักเรียนสามารถปรบั ตวั ในการเรียนรจู้ ากโปรแกรมทีต่ า่ งกัน

8. ครูเน้นกับนักเรียนว่าการใช้สูตรในการนับจำนวน ควรตรวจสอบข้อความในเงื่อนไขและข้อมูลใน
เซลให้ถูกตอ้ ง เพราะหากสะกดผิดหรือสะกด ไมเ่ หมือนกนั โปรแกรมจะไมส่ ามารถนบั จำนวนได้

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ใช้สูตร =COUNTIF(B2:B7, “ลูกอม”) ในการนบั จำนวนการซือ้ ลูกอม
ข้อ 2. ใช้วธิ ีการกรองข้อมูล (Filter) โดยไปทแ่ี ถบเมนู Home > Sort and Filter > Filter จากนน้ั

กรองข้อมูลโดยคอลัมนเ์ พศเลือก “หญิง” คอลมั นส์ นิ คา้ ทซี่ ้ือเลือก “ลกู อม”
ข้อ 3. ใชส้ ตู ร =IF(C2>=50,“ไดแ้ สตมป์” “ไมไ่ ด้แสตมป”์ )

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 25

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา ..........

เรอ่ื ง รวบรวม ร่วมแรง จัดแจงขอ้ มูล ตอน ทัศนศึกษา เวลา 1 ชั่วโมง

ครูผูส้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ร้เู ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม
ตัวชี้วัด ป.6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัยเข้าใจสิทธิและ หน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผอู้ ่ืน แจ้งผเู้ กยี่ วขอ้ งเม่ือพบข้อมลู หรอื บคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)
1. นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการประมวลผลขอ้ มลู เบือ้ งต้น
2. นักเรียนสามารถใชง้ านโปรแกรมตารางทำงานร่วมกนั ได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อวิชาวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้

3. สาระสำคัญ
โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ ช่วยให้การทำแบบสอบถามสะดวกยิ่งขึ้น สามารถ ดูการตอบกลับของ

ผู้ตอบแบบสอบถามในรปู แผนภมู ไิ ด้ ทำใหเ้ ปรยี บเทียบและ สรปุ ผลของขอ้ มลู ไดง้ ่ายขน้ึ
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ สามารถกำหนดสิทธ์ใิ นการแกไ้ ข และทำงานรว่ มกนั ได้ สตู รคำนวณที่

ใช้ในโปรแกรมตารางทำงาน เช่น SUM, COUNTIF, IF
COUNTIF ใช้นับจำนวนเซลแบบมีเงื่อนไขโดยต้องระบุช่วงเซล ที่ต้องการนับ และเงื่อนไข เช่น นับ

เซลในช่วง G2 ถงึ G20 ทม่ี คี ่าเทา่ กบั 0 สูตรที่ใชค้ อื =COUNTIF(G2:G20,0)
IF ใช้สำหรับตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อแสดงค่าตามที่ต้องการ โดยระบุเงื่อนไขที่ ต้องการตรวจสอบและ

ค่าที่ต้องการแสดง เช่น ถ้าเซล G2 มีค่าเท่ากับ 0 ให้แสดงค่า 1 ถ้าไม่ใช่ ให้แสดงค่า 0 สูตรที่ใช้คือ
=IF(G2=0,1,0)

ตัวกรอง (filter) ใช้สำหรบั กรองข้อมูล เพอื่ ใหแ้ สดงผลตามทต่ี อ้ งการ

4. สาระการเรียนรู้
1. การใช้โปรแกรมตารางทำงานรว่ มกัน
2. การประมวลผลข้อมูลเบือ้ งต้น

5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. อย่อู ย่างพอเพยี ง
3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน
ใบกจิ กรรมที่ 7.2 กล่นั กรองขอ้ มลู

6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ดำเนินการเรยี นการสอนดังต่อไปน้ี

1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครูนำอภิปรายและทบทวนความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตารางทำงาน โดยใช้โจทย์

สถานการณ์จากสำรวจความรู้ก่อนเรยี น ซงึ่ ให้ บันทึกขอ้ มลู รายรบั รายจ่ายใน 1 สัปดาห์ จากน้ันแสดงผลในรูป
แผนภูมิ

2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (exploration)
1. ครูนำนักเรียนศกึ ษาเนื้อหาในหนังสือบทที่ 7 รวบรวม ร่วมแรง จัดแจงข้อมูล หน้าที่ 170 -

177 (จนจบบทสนทนาของก้อยและ ป้าพร) ครนู ำอภปิ รายตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจโดยใช้คําถาม เชน่
- เกิดปัญหาอะไรกับเอกสารตารางทำงานออนไลน์ที่กุ้งให้เพื่อน ๆ ร่วมกันโหวตกิจกรรม

ประทับใจ (เพื่อนแต่ละคนพิมพ์ชื่อ กิจกรรมไม่เหมือนกันถึงแม้ว่าจะเป็นกิจกรรมเดียวกัน ทำให้นำมาใช้
ประมวลผลไม่ได้ และมีจำนวนกิจกรรมที่เขียน แตกต่างกัน) โป้งและกุ้งแก้ไขปัญหานี้อย่างไร (ใช้โปรแกรม
แบบฟอร์มออนไลนแ์ ทน)

- เพราะเหตุใดโป้งและกุ้งจึงใช้โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์ แทนการใช้โปรแกรมตาราง
ทำงานออนไลน์ เพ่ือเก็บข้อมลู การโหวตกจิ กรรมประทบั ใจของเพื่อน ๆ (แบบฟอร์มออนไลน์ สามารถระบุช่ือ
กิจกรรมเพื่อให้เพื่อน ๆ เลือกตอบได้ทันที และสามารถรวบรวมผลการตอบ แล้วนําเสนอในรูปแบบของ
แผนภูมเิ พอ่ื ให้เขา้ ใจไดง้ า่ ย)

- จากผลการโหวตโดยใช้แบบฟอร์มออนไลน์ในหน้า 174 ยังมี คนที่ไม่โหวตอีก 2 คน
นักเรยี นคดิ วา่ เป็นใคร (กุ้งและโป้ง)

- แผนภูมแิ สดงผลการโหวตในหน้า 175 เป็นแผนภูมชิ นิดใด (แผนภูมิวงกลม)
- ถ้าโปง้ และกุง้ บอกเพ่ือน ๆ ใหโ้ หวตกิจกรรมท่ปี ระทับใจ คนละ 1 กิจกรรมลงในโปรแกรม
ตารางทำงานออนไลน์เช่นเดิมสามารถทำได้หรือไม่ (ได้ แต่ในการรวมคะแนนโหวต จะทำได้ยาก หรืออาจนับ
คะแนนบางคนไม่ได้ เพราะ แต่ละคนเขียนชื่อกิจกรรมแตกต่างกัน อาจแยกไม่ออกว่า เป็นกิจกรรมเดียวกัน
หรอื ไม่ รวมทงั้ โป้งและกุ้งจะคำนวณคะแนนโหวตไดช้ ้า)
- โปรแกรมแบบฟอร์มออนไลน์มีประโยชน์อย่างไร (ใช้สร้างแบบฟอร์มหรือแบบสอบถาม
โดยผสู้ รา้ งแบบฟอร์มสามารถ กำหนดคำถามตัวเลือกคําตอบทตี่ ้องการ เพ่อื ใหผ้ ู้อื่นตอบได้ และสามารถดูการ
ตอบกลับของผูต้ อบแบบสอบถามในรปู แผนภูมิได้ ทำให้เปรยี บเทียบและสรุปผลข้อมลู ได้ง่ายข้ึน)
2. ครูนำนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้าที่ 177-190 แล้วให้นักเรียนทดลองใช้
โปรแกรมตารางทำงานออนไลน์ โดยเปิด เว็บไซต์ https://docs.google.com/spreadsheets แล้วคลิกท่ี
กรอบ + (Blank) เพื่อสร้างเอกสารใหม่ หรือดาวน์โหลดไฟล์ ประกอบจากลิงก์ oho.ipst.ac.th/im/6791
จากน้ันปฏิบัตติ าม หนงั สอื เรยี น และอภิปรายทบทวนความรู้ท่ไี ด้ ตวั อย่างประเด็น การอภิปราย เช่น
- ระหวา่ งหนังสือรุ่นที่เป็นไฟล์พีดเี อฟ (pdf) กับทพ่ี มิ พ์ลงกระดาษ นกั เรียนจะเลอื กรูปแบบ
ใด เพราะเหตใุ ด
- เพราะเหตุใดก้อยและจอยจึงไม่แชร์ไฟล์เอกสารตารางทำงาน ออนไลน์ให้เพื่อนทุกคน
กรอกขอ้ มลู เอง (เพราะหากทุกคน สามารถแกไ้ ขขอ้ มลู การเงนิ ได้ ข้อมลู อาจจะผดิ พลาด)
- สูตร COUNTIF มีไว้สำหรับทำอะไร (ใช้นับจำนวนข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุ ทั้งนี้เรา
สามารถแทนข้อความด้วยตัวเลข เพื่อนําตัวเลขทีแ่ ทนค่านั้นมาคาํ นวณได้เช่นกัน เช่น การแทน ข้อความ “ส่ง
งานแล้ว” เป็นเลข 1 และขอ้ ความ “ยังไม่ ส่งงาน” เป็นเลข 2 จากนน้ั จงึ ใชส้ ตู ร COUNTIF ในการ นบั จำนวน
ผทู้ ส่ี ่งงานแล้ว (เลข1) หรอื จำนวนผู้ท่ียังไมส่ ง่ งาน (เลข2)
- สูตร IF คอื อะไร (เป็นสตู รทใ่ี ชต้ รวจสอบเงื่อนไขการทำงาน)
- สูตร IF แตกต่างจากสูตร COUNTIF อย่างไร (IF ใช้ในการ ตรวจสอบเงื่อนไขและ
กาํ หนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่ง สว่ น COUNTIF ใชใ้ นการนับจำนวนขอ้ มลู ตามเงอื่ นไข)
- การใช้สูตร IF ในเอกสารนี้ใช้ในเซลใดบ้าง และใช้ในกรณีใด (ใช้ในคอลัมน์ Hเพ่ือ
กําหนดค่าให้เป็น 1 สำหรับคนที่มีข้อมูล ในคอลัมน์ C ว่า “ส่งแล้ว” ใช้ในคอลัมน์ I เพื่อกําหนดค่าให้ เป็น 1
สำหรบั คนทม่ี ขี ้อมลู ในคอลมั น์ G วา่ “0” (คนทจ่ี า่ ย เงนิ ครบแล้ว)
- สูตร SUM มีไว้สำหรบั ทำอะไร (ใช้หาผลรวม)
- จากหนา้ 183 เก่งตอ้ งการนับจำนวนเลข 1 ในชว่ งเซล H2H20 โดยระบวุ ่าการนบั จำนวน
เลข 1 ก็เหมือนกับการหา ผลรวม ดังนั้นใช้สูตร SUM ก็ได้ นักเรียนคิดว่าเราสามารถ ใช้วิธีการเดียวกันนี้กับ
การนับจำนวนในคอลมั น์ Gได้หรือไม่ เพราะอะไร (ไม่ได้ เนื่องจากในคอลัมน์ H มีค่าข้อมูลเป็น 1 และ 0 เม่ือ
ใช้คำสง่ั SUM ในการหาผลรวม จะใหผ้ ลลพั ธ์ เช่นเดียวกับการใช้คำส่ัง COUNTIF แตใ่ นคอลมั น์ G1:G20 มีค่า
ข้อมูลที่เป็นเลขอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่ 0 และ 1 ผลลัพธ์ที่ได้จาก การใช้คำสั่ง SUM จะแตกต่างจากการใช้คำส่ัง
COUNTIF)

- ถ้าต้องการแสดงขอ้ มูลในคอลัมน์ K วา่ ใครท่สี ง่ ข้อมูลและ จ่ายเงนิ ครบแลว้ ให้แสดงคาํ ว่า
“ปิดจ๊อบ” ถ้ายังไม่ครบให้ แสดงคำว่า “ติดตาม” จะต้องใช้สูตร IF ว่าอย่างไร (=IF (12=1, “ปิดจ๊อบ” ,
“ตดิ ตาม”))

- คำสั่ง FILTER คืออะไร (คำสั่งกรองช่วงข้อมูลตามเงือ่ นไข ที่กำหนด เพื่อนําข้อมูลนั้นมา
ประมวลผลตามท่ีต้องการ เชน่ นับจำนวนผูท้ ี่ส่งข้อมลู แล้วเฉพาะนักเรียนห้อง 4 สามารถใช้ FILTER เพือ่ เลือก
นำข้อมลู เฉพาะนักเรียน หอ้ ง A เทา่ นัน้ มานบั จำนวน)

3. ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 74 ทัศนศึกษา โดยคุณครูอธิบายการใช้

เครื่องหมายดอกจัน (*) ในสูตรเพื่อนับจำนวน ซึ่งเครื่องหมาย * ในที่นี้จะใช้แทนข้อความใด ๆ เช่น
=COUNTIF(G:G, “น้ำตก*”) จะหมายถึงการนับจำนวนเซลทั้งหมดในคอลัมน์ G ที่มีข้อความคําว่า “น้ำตก”
ไม่ว่าจะมี ข้อความใด ๆ ก่อนหน้าหรือตามหลังคําว่าน้ำตกก็ตาม จากนั้นสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอ แล้ว
รว่ มกันอภิปรายคำตอบดงั น้ี

- นักเรียนใช้สูตร หรือคำสั่งอะไรบ้างในการหาคำตอบจากกิจกรรมนี้ (สูตร SUM, IF
COUNTIF และการกรองข้อมูล ดว้ ยคำส่ัง filter)

- นกั เรยี นจะนําความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้อย่างไร (นําไปคำนวณหาข้อมูลของ
เพอื่ น ๆ ข้อมูลสถานท่ที ่องเทีย่ ว ด้วยเง่อื นไขแบบต่าง ๆ ตามท่ีตอ้ งการ) นักเรียนมีเทคนิคในการหาคําตอบแต่
ละข้ออยา่ งไรบ้าง (เช่น ข้อ 1.3 อาจหาคำตอบดว้ ยคำส่ัง filter แลว้ คลกิ กรอง ข้อมูลในคอลมั น์ ด้วยการพิมพ์
“บุรี* ในช่องค้นหา (ดงั ภาพ) จากน้ันจึงนับรายช่อื จังหวดั ทีป่ รากฏในรายการกรอง (ยังไม่ต้องกดปมุ่ OK)

4. ขัน้ ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรูท้ ่ไี ดร้ ับจากการทำกจิ กรรมโดยมีประเดน็ ดังนี้
- โปรแกรมท่ใี ช้งานรว่ มกันแบบออนไลน์ทนี่ ักเรียนรูจ้ กั มีอะไรบา้ ง (Google Doc, Google

Slide, Google Sheet)
- โปรแกรม Microsoft Excel และ Google Sheet คล้าย หรือแตกต่างกันอย่างไร

(คล้ายกันคือเป็นโปรแกรมตารางทำงานท่ีใช้ในการคำนวณ เช่น หาผลรวม หาค่าเฉลี่ย เรียงลำดับ นับจำนวน
และแสดงผลในรูปแบบของกราฟ หรือแผนภูมิได้ แต่ Google Sheet เป็นบริการออนไลน์ ที่สามารถกำหนด
สทิ ธกิ์ ารใชง้ านสำหรับผทู้ ีต่ อ้ งการใช้งานรว่ มกนั ได)้

- นักเรียนคิดว่าจะนําโปรแกรมตารางทำงานไปใช้ในการทำงานเรื่องใดบ้าง (การทำบัญชี
คา่ ใชจ้ ่ายประจำเดือน การบันทกึ ข้อมลู รายการกีฬาสี การนับจำนวนผู้ลงคะแนนเลือกประธาน นักเรียน การ
สร้างกราฟแสดงการเติบโตของตน้ ไมใ้ น หอ้ งทดลอง)

5. ขั้นประเมนิ (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ งั ไม่เขา้ ใจหรอื ยังมีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ
2. นกั เรียนรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กจิ กรรม และการนำความรู้ท่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวดั และประเมินผล
การประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนทำได้ ดงั น้ี
1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรยี น
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรยี น

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรงุ

รหสั สิ่งท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู

S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

C4 การส่อื สาร

C5 ความร่วมมือ

8. สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

สสวท.
- ไฟล์ข้อมูลประกอบใบกิจกรรมที่ 7.4 ท่ี oho.ipst.ac.th/im/6723
- ไฟลป์ ระกอบการทำกจิ กรรมตามหนังสือเรียน ที่ oho.ipst.ac.th/im/6791 หน้า 177
- เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชือ่ มตอ่ อินเทอรเ์ น็ต พรอ้ มโปรแกรมตารางการทำงาน
- อเี มลสำหรบั นักเรยี นทุกคน

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครูสามารถเลือกใหน้ กั เรยี นทำใบกจิ กรรมได้ตามความเหมาะสม
2. จากหนงั สือเรยี นหนา้ 179 กอ้ ยคัดลอกสตู รโดยเลือกเซลตั้งแต่ E2 ถึง G2 แลว้ ใชเ้ มาส์ลากลงมาถึง

แถวที่ 20 นั้น ก่อนให้นักเรียนทดลอง ปฏิบัติ ครูควรแนะนำนกั เรียนว่ายังไมต่ ้องใสข่ ้อมูลลงในเซล F2 เพราะ
จะทำให้ข้อมลู ในเซลน้ถี ูกคัดลอกไปไว้ในเซลอ่ืนของคอลมั น์ F ด้วย

3. ครูควรแนะนำวิธีการคัดลอกข้อมูลเพอ่ื นำมาวางในชีต (sheet) ใหม่
4. การสอนเรื่องการใช้สูตรคำนวณ สิ่งที่ปรากฏในเซลจะเป็นข้อความหรือตัวเลขที่ประมวลผลแล้ว
หากตอ้ งการดูสตู รของเซลนัน้ สามารถดไู ด้ 2 วิธี คือ

1. คลกิ ที่เซลนั้น จะปรากฎสตู รทีแ่ ถบสตู ร (formular bar) ด้านบน
2. ดับเบลิ คลิกท่ีเซลนนั้ ก็จะปรากฏสูตรของเซลดังกลา่ ว
5. จากหนังสือหน้า 183 จะนำเสนอการนับจำนวนโดยใช้สูตร SUM ซึ่งสูตรนี้มีไว้สำหรับการหา
ผลรวมของตัวเลข ในกรณีนี้ตัวเลขที่อยู่ในเซลเป็น เลข 1 และ 0 เมื่อใช้สูตร SUM จึงทำให้ผลลัพธ์เท่ากันกับ
การใช้สตู ร COUNTIF แตก่ ารนบั จำนวน ในกรณที ่ีขอ้ มลู ในเซลเป็นตัวเลขอื่นหรือ เป็นข้อความ จะต้องใช้สูตร
COUNTIF จงึ จะไดผ้ ลลพั ธท์ ่ีถกู ตอ้ งและ เปน็ การใชส้ ตู รที่สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์
6. ครอู าจยกตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลกั ษณ์ รว่ มกบั สตู ร COUNTIFเพิม่ เตมิ ดังน้ี

สูตร คำอธบิ าย

=COUNTIF(C:C, *เขา”) นับขอ้ มูลในคอลมั น์ C ท่ีมีคา่ ขอ้ มลู ลงทา้ ยดว้ ยคําว่า เขา

=COUNTIF(C:C“เขา*) นบั ขอ้ มลู ในคอลัมน์ C ทม่ี คี ่าข้อมูล ขึ้นตน้ ด้วยคาํ วา่ เขา

=COUNTIF(C:C, **เขา*) นบั ข้อมูลในคอลัมน์ C ท่ีมคี าํ ว่าเขา ประกอบอยู่ด้วย

7. ครูอาจให้นักเรียนทดลองใช้โปรแกรมตารางทำงานของผู้พัฒนารายอื่น เช่น Google Sheet,
Number, Libre, office cale ซึ่งโดยทั่วไป แล้วโปรแกรมเหล่านี้จะมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกันเพื่อให้
นักเรียนสามารถปรบั ตวั ในการเรียนรจู้ ากโปรแกรมทต่ี ่างกัน

8. ครูเน้นกับนักเรียนว่าการใช้สูตรในการนับจำนวน ควรตรวจสอบข้อความในเงื่อนไขและข้อมูลใน
เซลให้ถูกตอ้ ง เพราะหากสะกดผิดหรือสะกด ไม่เหมือนกนั โปรแกรมจะไม่สามารถนบั จำนวนได้

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท
ข้อ 1. ใช้สูตร =COUNTIF(B2:B7, “ลูกอม”) ในการนบั จำนวนการซือ้ ลูกอม
ข้อ 2. ใช้วธิ ีการกรองข้อมูล (Filter) โดยไปทแ่ี ถบเมนู Home > Sort and Filter > Filter จากนน้ั

กรองข้อมูลโดยคอลัมนเ์ พศเลือก “หญิง” คอลมั นส์ นิ คา้ ทซี่ ้ือเลือก “ลกู อม”
ข้อ 3. ใชส้ ตู ร =IF(C2>=50,“ไดแ้ สตมป์” “ไมไ่ ด้แสตมป”์ )

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 26

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา ..........
เรือ่ ง นำ้ นองเตม็ ตล่งิ ค้นความจรงิ ให้กระจ่าง เวลา 2 ชวั่ โมง
ครผู ูส้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ รเู้ ทา่ ทันและมจี รยิ ธรรม
ตวั ช้ีวัด ป.6/3 ใช้อนิ เทอร์เน็ตในการค้นหาขอ้ มูลอย่างมีประสิทธิภาพ

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)
1. นกั เรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั การประเมินความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล
2. นกั เรยี นสามารถคน้ หาข้อมลู ขน้ั สูง เรยี บเรียงและสรุปข้อความจากแหล่งขอ้ มลู หลายแหล่งได้
3. นักเรยี นมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อวิชาวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

3. สาระสำคญั
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานทางด้านการศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน

ราชการ
การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตแบบเฉพาะเจาะจง เช่น การค้นหาโดยระบุ เว็บไซต์ทำได้โดยพิมพ์

คําค้นที่ต้องการ ตามด้วย site: แล้วตามด้วยเว็บไซต์ที่ต้องการ ค้นหา การค้นหาตามชนิดไฟล์ทำได้โดยพิมพ์
คําคน้ ทตี่ อ้ งการ ตามด้วย filetype: แลว้ ตามดว้ ยชนดิ ของไฟลท์ ี่ตอ้ งการ

การคน้ หาโดยระบชุ ่วงเวลาทำได้โดยคลิกท่ปี ุ่มเครื่องมือ (Tools) จากนน้ั คลกิ ทปี่ ุ่ม เวลาใดกไ็ ด้ (Any
time) แลว้ คลิกทค่ี ำสัง่ ระบุวันที่ (Custom range) เพอ่ื ระบุ ชว่ งเวลาที่ตอ้ งการค้นหา

หลังจากพิมพ์คำค้นและได้ผลการค้นหาแล้วในกรณีที่ต้องการดูภาพที่เกี่ยวข้อง สามารถคลิกที่คำว่า
“ค้นรูป” (Images) หากต้องการค้นหาวิดีโอให้คลิกที่คำว่า “วิดีโอ” (Videos) นอกจากนี้ ยังสามารถค้นหา
ขอ้ มลู ชนิดอน่ื ๆ เช่น ขา่ วสาร (News) แผนที่ (Maps)

การค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานควรค้นหาจากหลายแหล่งและค้นหาให้ รอบด้าน แล้วสรุปข้อมูลดว้ ย
ภาษาของตนเอง หรือหากค้นหาข้อมลู จากหลายแหล่งแลว้ ไม่พบข้อสรุปใหเ้ ขยี นแสดงขอ้ มูลท่แี ตกต่างกัน และ

อ้างอิงแหล่งที่มาเพื่อให้ผู้อ่าน ได้ศึกษาเพิ่มเติมและหาข้อสรุปได้เอง บรรณานุกรมเป็นการอ้างอิงแหล่งที่มา
ของข้อมูล ในท้ายเล่ม เพ่อื ให้เกยี รติเจา้ ของผลงานและประโยชนต์ อ่ ผู้อา่ นในการศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติม

4. สาระการเรียนรู้
1. การคน้ หาข้อมลู ขัน้ สูง
2. การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของข้อมูล
3. การเรียบเรียงและสรุปความจากแหลง่ ข้อมลู หลายแหลง่

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้
2. อยูอ่ ย่างพอเพียง
3. มุง่ มั่นในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบกิจกรรมท่ี 8.1 Advanced Search

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ดำเนนิ การเรยี นการสอนดงั ตอ่ ไปนี้

1. ข้ันสร้างความสนใจ (engagement)
1. ครทู บทวนความรู้เรอื่ งการสบื คน้ ขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ โดยต้ังคําถามกับนักเรยี น ดังน้ี
- ในช่วงนน้ี กั เรียนใช้อนิ เทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มูลเร่ืองอะไร และใช้คําค้นว่าอะไร
- คำค้นที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรมีลักษณะ อย่างไร (ชัดเจน ตรง

ประเด็น)
- ถ้าคน้ หาแล้วยังไม่ได้ผลลัพธ์หรือข้อมลู ทตี่ ้องการ ควรทำอย่างไร (ปรบั ปรุงคาํ ค้น เปลี่ยน

แหล่งขอ้ มูล)
- นอกจากการใช้โปรแกรมค้นหาในการหาข้อมูลแล้ว เรายังใช้ โปรแกรมค้นหาเป็น

เคร่ืองมือในการทำสง่ิ ใดได้อีก (แปลภาษา สอบถามอณุ หภูมิ แปลงคา่ หนว่ ยวัด สอบถามข้อมลู พยากรณ์อากาศ
คํานวณ)

2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คําถามจากหัวข้อสำรวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนบทที่ 8
น้ำนองเต็มตลง่ิ คน้ ความจริงใหก้ ระจา่ ง หน้า 197 และอาจใช้คําถามเพ่มิ เตมิ เชน่

- ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายให้ทำรายงาน นักเรียนจะค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานอย่างไร
(ค้นหาจากหนังสอื ท่ีเกี่ยวขอ้ ง กับรายงานนัน้ สอบถามผทู้ ่ีเก่ยี วข้องกับเร่ืองนนั้ ค้นหาจากอินเทอร์เนต็ )

- ในการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเพ่ือทำรายงาน นักเรียนจะเลือกใชข้ ้อมูลจากเว็บไซต์
กแี่ หง่ เพราะเหตใุ ด

- ในการทำรายงาน นักเรยี นเคยเขยี นอ้างองิ แหลง่ ทม่ี าของข้อมลู หรอื ไม่ เขียนอย่างไร
2. ขัน้ สำรวจและคน้ หา (exploration)

1. ครูนํานักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 198-203 จากนั้นครูนำนักเรียนร่วมกัน
อภปิ รายเนอ้ื หา โดยใช้คําถาม เช่น

- นักเรยี นรจู้ กั นางนพมาศหรอื ไม่
- คำค้นทโ่ี ปง้ และก้อยใช้ในการคน้ หาข้อมูลคืออะไร (ประวตั ิของประเพณลี อยกระทง) เมื่อ
โป้งและก้อยใชค้ ําค้นนน้ั แล้วโป้งพบอะไร (กระทงติดไฟ แอลอดี ี เว็บไซตข์ ายสนิ ค้า ดดู วง ฟังเพลง)
- จากผลการค้นหาในหนา้ 200 นกั เรยี นจะเลอื กใชข้ ้อมูลจาก เว็บไซตใ์ ด เพราะเหตุใด (ไม่
ควรเลือกเน่ืองจากเวบ็ ไซต์แรก เปน็ เวบ็ ไซตเ์ กีย่ วกบั การดูดวง เว็บไซต์ทีส่ องเป็นเว็บไซต์ ขายของ และเว็บไซต์
ท่สี ามเป็นเวบ็ ไซตฟ์ งั เพลงออนไลน์ ทุกเวบ็ ไซตไ์ ม่มีเนื้อหาทีเ่ กีย่ วขอ้ ง)
- ตัวอย่างเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือมีอะไรบ้าง และมี URL ลงท้าย ด้วยอะไร (เว็บไซต์ของ
หน่วยงานทางการศึกษา. ac.th เว็บไซตข์ องหน่วยงานราชการ. go.th)
- คุณแม่สอนโป้งกับก้อยค้นหาโดยระบุเว็บไซต์ โดยพิมพ์ว่า อย่างไร (site: ตามด้วย
เวบ็ ไซตท์ ีต่ ้องการหา เช่น site: ac.th คน้ หาเฉพาะเว็บไซต์ทางการศกึ ษา)
- ผลการค้นหาโดยไม่ระบุเว็บไซต์ กับผลการค้นหาโดยระบุ เว็บไซต์ของโป้งและก้อย
ต่างกันอย่างไร (ผลการค้นหาโดย ไม่ระบุเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่พบคือ เว็บไซต์เกี่ยวกับการดูดวง เว็บไซต์ขายของ
และเว็บไซต์ฟังเพลงออนไลน์ ส่วนผลการ ค้นหาโดยระบุเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่พบคือ เว็บไซต์กรมศิลปากร
กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเว็บไซตส์ ถานศึกษาตา่ ง ๆ ทั้งโรงเรยี นและมหาวทิ ยาลัย)
- เมื่อกอ้ ยต้องการออกแบบกระทงของตนเอง กอ้ ยค้นหาโดยวิธใี ด (ค้นรปู คน้ วิดโี อ)
3. ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ครูชี้แจงและให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 8.1 Advanced Search จากนั้นสุ่มนักเรียน
นำเสนอคำตอบ แล้วครูนำนักเรียนร่วมกันสรุป เกี่ยวกับการค้นหาตามช่วงเวลา การค้นหาตามชนิดไฟล์ และ
การ ค้นหาแบบระบุเว็บไซต์ โดยใชค้ ําถาม เช่น
ข้อท่ี 1. ค้นหาตามชว่ งเวลา

- ถา้ ค้นหาดว้ ยคำค้นเดียวกนั ในชว่ งเวลาที่ต่างกนั จะได้ผลลัพธเ์ หมือนกันหรือไม่ เพราะ
เหตใุ ด (อาจเหมอื นหรอื ต่างกนั ข้ึนกบั ช่วงเวลาที่มี เหตกุ ารณ์ท่ีแตกตา่ งกัน)

- นกั เรียนคิดว่าเพราะเหตุใดผลการค้นของชว่ งเวลา ในอดีตและปัจจุบันจึงแตกต่างกัน
(สถานการณ์ และเหตุการณ์ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น คำว่า ไข่มุกถ้าค้นตามเวลาในอดีตจะมีข้อมูลของ

ไขม่ กุ ทีเ่ ป็นเครื่องประดบั แตใ่ นปจั จบุ นั จะพบ ข้อมูลเกีย่ วกับชานมไข่มุก เน่อื งจากชานมไขม่ ุกได้รับความนิยม
ในปัจจุบนั )

- การค้นหาตามช่วงเวลานำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการคน้ หาข้อมูลในเร่ืองใดอีกบา้ ง
ข้อท่ี 2. ค้นหาตามชนิดไฟล์

- การค้นโดยพิมพ์คำค้นและตามด้วยคำว่า filetype:pdf จะได้ผลการค้นหาเป็น
อยา่ งไร (โปรแกรมค้นหาจะแสดงผลลพั ธ์เป็นข้อมูลท่มี ี ชนิดของไฟล์เปน็ pdf)

- นอกจากการค้นหาตามชนิดไฟล์ .pdf, .xlsx แล้ว นักเรียนคิดว่าสามารถค้นหาตาม
ชนิดไฟล์ ชนดิ ใดไดอ้ ีก (.png, .gif, .ppt)

- นักเรียนคิดว่า การค้นหาตามชนิดไฟล์มีข้อดีอย่างไร (ทำให้ได้ผลการค้นหาเป็นชนิด
ไฟลต์ ามท่ตี ้องการ)

ขอ้ ที่ 3. ค้นหาแบบระบเุ ว็บไซต์
- การค้นโดยระบเุ วบ็ ไซต์ site:ac.th จะได้ผลค้นหาเป็นอย่างไร (ไดผ้ ลลัพธเ์ ป็นเว็บไซต์

ที่เป็นสถาบัน การศึกษา) นักเรียนคิดว่า การค้นหาแบบระบุเว็บไซต์มีข้อดี อย่างไร (ได้ผลการค้นหาที่ตรงกบั
แหล่งขอ้ มูลท่ีเราตอ้ งการ)

- นักเรียนจะใช้การค้นหาแบบระบุเว็บไซต์ไปใช้ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับอะไร และจาก
เว็บไซต์ใด

4. ข้ันขยายความรู้ (elaboration)
1. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ความรู้ที่ไดร้ บั โดยใชป้ ระเด็นคาํ ถามต่อไปนี้
- นักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล(ผู้เขียนเว็บไซต์ทาง

ราชการวันทเ่ี ผยแพรก่ ารอา้ งอิงแหล่งทีม่ า)
- นักเรียนได้รับความรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ (การค้นหาข้อมูล โดยระบุชนิดไฟล์ ระบุ

ช่วงเวลา ระบุชนิดของเว็บไซต์ การเลือกแหล่งขอ้ มูล การประเมินความน่าเชอ่ื ถือของขอ้ มลู )
- หากนักเรียนค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ 2 แห่ง แล้วได้ข้อมูล ไม่สอดคล้องกัน นักเรียนจะ

ทำอย่างไร (คน้ หาขอ้ มลู เพม่ิ เติม จากแหลง่ อ่ืน ๆ แล้วสรปู )
- หากค้นหาข้อมูลจากหลายแหล่งแล้วพบว่ามีข้อมูลที่แตกต่างกัน แล้วยังหาข้อสรุปไม่ได้

นักเรียนคิดว่าจะเชื่อถือข้อมูลจาก แหล่งใดเพราะอะไร (อาจเลือกเชื่อถือข้อมูลจากเว็บไซต์ของ หน่วยงาน
ราชการ หน่วยงานดา้ นการศึกษาจากแหล่งทีศ่ ึกษา เรื่องนั้นโดยตรง หรืออาจเลือกที่จะไม่เชื่อถือใครและสรุป
เรื่องนัน้ ว่ายงั หาข้อสรุปไม่ได)้

- นักเรยี นสามารถนำความรู้เกีย่ วกับการค้นหาข้อมลู ไปใช้ ในชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งไร

5. ข้ันประเมิน (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด

ใดบ้างทีย่ ังไม่เข้าใจหรือยังมขี ้อสงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ
2. นกั เรยี นร่วมกันประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ

แกไ้ ขอย่างไรบ้าง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ

กิจกรรม และการนำความรูท้ ี่ได้ไปใชป้ ระโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล
การประเมนิ การเรยี นรู้ของนกั เรียนทำได้ ดงั นี้
1. ประเมินความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรยี น
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กจิ กรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนักเรียน

การประเมินจากการทำกิจกรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรุง

รหัส ส่ิงทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมูล

S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

C4 การสื่อสาร

C5 ความรว่ มมอื

8. ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ี่เชอ่ื มตอ่ อนิ เทอรเ์ น็ต

9. ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดงั นี้
1. เปน็ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
 นำไปใชไ้ ด้จรงิ
 ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................
(.................................................)

วนั ที่........เดอื น...............พ.ศ. ...........

10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอืน่ ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแกไ้ ข

ลงชอื่ ..................................................ครผู ู้สอน
(.................................................)

ตำแหนง่ ............................................

ข้อเสนอแนะ
1. ครอู าจจดั กิจกรรมบรู ณาการกับการทำรายงานในวิชาอ่นื ๆ ได้ โดยเฉพาะกบั วชิ าภาษาไทยในเร่ือง

ของการเขียนรายงาน การเขยี นเรยี งความ
2. ในเรือ่ งการค้นหาข้อมลู จากหลายแหล่งท่ีพบข้อมลู แตกตา่ งกัน ครูอาจยกตัวอย่างข้อมลู อ่ืน ๆ ใน

ปจั จบุ ันมาให้นกั เรียนพจิ ารณา และตัง้ คาํ ถามเพ่ือให้ นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะหว์ ่า ข้อมลู จากเว็บไซตใ์ ดท่ี
น่าเช่อื ถอื มากกว่า เพราะเหตุใดและหากมผี อู้ ่ืนเช่ือตามข้อมลู ทไี่ มจ่ ริงเหลา่ นจี้ ะส่งผลเสยี หรอื ไม่อยา่ งไร

3. ในหนังสอื เรียนได้ยกตวั อย่างโปรแกรมคน้ หาของ Google ซงึ่ ครูอาจใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบัตเิ กย่ี วกบั
การค้นหาข้นั สงู โดยใช้โปรแกรมค้นหาอื่น เช่น Bing, Duck Duck Go, Yahoo แลว้ เปรียบเทียบผลการค้นหา
ว่าเหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่อยา่ งไร

4 ครอู าจให้นักเรียนสง่ คำตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบทผ่านทางอีเมล หรือแชรไ์ ฟลโ์ ดยให้นักเรียนจับ
ภาพ (capture) หนา้ จอท่ีมีคําค้นและผลการค้นหาวางไว้ในไฟล์ทสี่ ง่ ให้ครู

แนวคำตอบแบบฝกึ หดั ท้ายบท
ขอ้ 1. พมิ พค์ ำค้น “ชอื่ สตั ว์ท่ีเลือกตามดว้ ย site:ac.th” เชน่ “มา้ น้ำ site:ac.th” สว่ นคำตอบท่ีเป็น

เวบ็ ไซต์ใหค้ ุณครูพจิ ารณาความเหมาะสม
ขอ้ 2. พมิ พค์ ําคน้ เชน่ “ม้าน้ำ filetype:pptx”
ข้อ 3. พมิ พ์คำค้น “สวนสัตวเ์ ชยี งใหม”่ แล้วเลือกเมนู “เครอ่ื งมือ” คลกิ ที่ “เวลาใดกไ็ ด้” เลอื ก

“ระบุวันท”่ี แล้วเลือกวันทจ่ี ากปฏิทนิ ต้ังแต่ 27 พฤษภาคม 2009 ถึงวันท่ี 27 พฤษภาคม 2009 จะได้ผลการ
ค้นหาทีน่ ่าสนใจ คือ หลินฮยุ คลอดลูก ผลการคน้ หามีดงั นี้

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 27

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา ..........

เรอ่ื ง นำ้ นองเตม็ ตล่งิ คน้ ความจรงิ ให้กระจา่ ง ตอน ชานมไข่มุก เวลา 1 ชั่วโมง

ครูผสู้ อน.........................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตวั ชว้ี ัด ป.6/3 ใช้อินเทอรเ์ น็ตในการค้นหาขอ้ มูลอย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (ความร,ู้ ทักษะ, เจตคต)ิ
1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู
2. นกั เรยี นสามารถค้นหาขอ้ มูลขนั้ สงู เรยี บเรยี งและสรปุ ขอ้ ความจากแหลง่ ขอ้ มูลหลายแหล่งได้
3. นักเรียนมีเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ วชิ าวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้

3. สาระสำคัญ
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานทางด้านการศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน

ราชการ
การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตแบบเฉพาะเจาะจง เช่น การค้นหาโดยระบุ เว็บไซต์ทำได้โดยพิมพ์

คําค้นที่ต้องการ ตามด้วย site: แล้วตามด้วยเว็บไซต์ที่ต้องการ ค้นหา การค้นหาตามชนิดไฟล์ทำได้โดยพิมพ์
คําค้นทตี่ ้องการ ตามด้วย filetype: แล้วตามด้วยชนิดของไฟล์ท่ีตอ้ งการ

การค้นหาโดยระบชุ ่วงเวลาทำได้โดยคลิกท่ปี ุ่มเครื่องมือ (Tools) จากนั้นคลิก ทปี่ ุ่ม เวลาใดกไ็ ด้ (Any
time) แล้วคลิกท่คี ำส่ัง ระบุวันที่ (Custom range) เพ่อื ระบุ ชว่ งเวลาท่ีต้องการค้นหา

หลังจากพิมพ์คำค้นและได้ผลการค้นหาแล้วในกรณีที่ต้องการดูภาพที่เกี่ยวข้อง สามารถคลิกที่คำว่า
“ค้นรูป” (Images) หากต้องการค้นหาวิดีโอให้คลิกที่คำว่า “วิดีโอ” (Videos) นอกจากนี้ ยังสามารถค้นหา
ขอ้ มูลชนดิ อ่นื ๆ เชน่ ข่าวสาร (News) แผนท่ี (Maps)

การค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานควรค้นหาจากหลายแหล่งและค้นหาให้ รอบด้าน แล้วสรุปข้อมูลดว้ ย
ภาษาของตนเอง หรอื หากค้นหาขอ้ มูลจากหลายแหลง่ แลว้ ไม่พบข้อสรุปให้เขียนแสดงข้อมลู ทแี่ ตกต่างกัน และ

อ้างอิงแหล่งที่มาเพื่อให้ผู้อ่าน ได้ศึกษาเพิ่มเติมและหาข้อสรุปได้เอง บรรณานุกรมเป็นการอ้างอิงแหล่งที่มา
ของข้อมลู ในท้ายเล่ม เพือ่ ใหเ้ กียรติเจา้ ของผลงานและประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่านในการศึกษาข้อมลู เพิม่ เติม

4. สาระการเรยี นรู้
1. การค้นหาขอ้ มลู ขน้ั สูง
2. การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู
3. การเรียบเรยี งและสรปุ ความจากแหลง่ ข้อมลู หลายแหลง่

5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝเ่ รียนรู้
2. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

5. ชนิ้ งานหรือภาระงาน
ใบกิจกรรมที่ 8.2 ชานมไข่มกุ

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

โดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ดำเนินการเรยี นการสอนดงั ตอ่ ไปนี้

1. ขัน้ สรา้ งความสนใจ (engagement)
1. ครูทบทวนความร้เู รอ่ื งการสืบคน้ ขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ โดยตั้งคําถามกบั นักเรยี น ดังนี้
- ในช่วงนน้ี ักเรียนใช้อินเทอร์เนต็ ค้นหาขอ้ มูลเรื่องอะไร และใชค้ าํ ค้นวา่ อะไร
- คำค้นที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ควรมีลักษณะ อย่างไร (ชัดเจน ตรง

ประเดน็ )
- ถ้าค้นหาแลว้ ยังไม่ไดผ้ ลลัพธห์ รือข้อมลู ที่ต้องการ ควรทำอย่างไร (ปรบั ปรุงคาํ คน้ เปลี่ยน

แหลง่ ข้อมูล)
- นอกจากการใช้โปรแกรมค้นหาในการหาข้อมูลแล้ว เรายังใช้ โปรแกรมค้นหาเป็น

เคร่ืองมอื ในการทำสิ่งใดได้อีก (แปลภาษา สอบถามอณุ หภมู ิ แปลงค่าหนว่ ยวัด สอบถามขอ้ มลู พยากรณอ์ ากาศ
คาํ นวณ)

2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คําถามจากหัวข้อสำรวจความรู้ก่อนเรียนในหนังสือเรียนบทที่ 8
นำ้ นองเต็มตลิ่ง คน้ ความจริงให้กระจา่ ง หนา้ 197 และอาจใชค้ าํ ถามเพมิ่ เตมิ เช่น

- ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายใหท้ ำรายงาน นักเรียนจะค้นหาข้อมูลเพื่อทำรายงานอย่างไร
(คน้ หาจากหนังสอื ท่เี ก่ยี วข้อง กับรายงานนนั้ สอบถามผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งนน้ั คน้ หาจากอินเทอร์เน็ต)

- ในการคน้ หาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเพ่ือทำรายงาน นักเรียนจะเลือกใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์
ก่แี หง่ เพราะเหตใุ ด

- ในการทำรายงาน นักเรยี นเคยเขยี นอา้ งองิ แหลง่ ทีม่ าของขอ้ มูลหรือไม่ เขียนอยา่ งไร
2. ข้นั สำรวจและค้นหา (exploration)

1. ครนู ำนกั เรียนศึกษาเนื้อหาในหนงั สอื เรียนหน้า 204-213 จากนั้นครตู งั้ คาํ ถาม เช่น
- โป้งและกอ้ ยเลือกทำรายงานเก่ยี วกบั ประเพณีอะไร (ประเพณลี อยกระทง)
- หลังจากโป้งและก้อยค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับนางนพมาศจากหลายแหล่งแล้วโป้งและก้อย

พบข้อมูลว่าอย่างไร (โป้งพบว่า นางนพมาศ คือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงในสมัยสุโขทัย ส่วน
ก้อยพบวา่ นางนพมาศ คือ ตัวละครใน วรรณคดี สมัยรชั กาลท่ี 3)

- เม่อื โปง้ และกอ้ ยคน้ ขอ้ มลู จากหลายแหลง่ แลว้ พบวา่ ข้อมูล ทไี่ ดไ้ มต่ รงกนั จงึ ปรึกษาคุณครู
คุณครูแนะนำว่าอย่างไร (ครูแนะนำให้เขียนประวัติของนางนพมาศทั้งสองแบบลงไป ในรายงานและเขียน
อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของขอ้ มลู เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ น สามารถศกึ ษาเพ่มิ เตมิ และหาขอ้ สรปุ ได้เอง)

- ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลโดยระบุชนิดของไฟล์ต้องระบุในคำค้น อย่างไร (พิมพ์คำค้นตาม
ด้วย filetype: นามสกุลของไฟล์) ถ้าต้องการค้นหาข้อมูลโดยระบุช่วงเวลา ต้องกำหนดใน โปรแกรมค้นหา
อยา่ งไร (ไปทีเ่ คร่อื งมอื เลือกเวลาใดก็ได้ เปลยี่ นเป็นระบุวันท่ี เลอื กวนั ท่ีเริม่ ตน้ และสิ้นสุดจากปฏิทนิ )

- ถ้านกั เรียนตอ้ งทำรายงานเรอ่ื งประเพณีลอยกระทง จะมี หวั ขอ้ อะไรเพมิ่ เติมจากรายงาน
ของโป้งและก้อยบ้าง (ประเพณีลอยกระทงในประเทศอื่น ๆ ผลกระทบจากการใช้ กระทงที่ประดิษฐ์จากวัสดุ
ตา่ ง ๆ)

- การเขียนอา้ งองิ ท้ายเลม่ เรียกวา่ อะไร (บรรณานุกรม)
- การเขียนบรรณานุกรม มีข้อมูลอะไรบ้าง (ชื่อผู้เขียนหรือ หน่วยงาน ปีที่เผยแพร่ ชื่อ
เอกสาร วนั ทส่ี บื คน้ URL ของเวบ็ ไซตห์ รือเอกสาร)
- นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดจึงต้องเขียนอ้างอิงแหล่งที่มา ของข้อมูลที่นำมาประกอบ
รายงาน (เปน็ การให้เกียรติเจา้ ของ ผลงานและเพอ่ื ประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่านให้สามารถศึกษาเพม่ิ เติมได)้
- นักเรียนเคยลอยกระทงออนไลน์หรือไม่ นักเรียนคิดว่าการลอยกระทงออนไลน์กับการ
ลอยกระทง ในสถานท่ีจรงิ มขี ้อดขี ้อเสยี อย่างไร และนักเรียนเลือกทีจ่ ะ ลอยกระทงในรูปแบบใด เพราะเหตุใด
3. ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน และชี้แจงการทำใบกิจกรรมที่ 8.2 ชานมไข่มุก
จากนัน้ ครสู มุ่ นกั เรียนนำเสนอคำตอบ แล้วครนู ำนกั เรียนอภปิ รายด้วยประเดน็ คำถาม เชน่
- เว็บไซตแ์ ตล่ ะแห่งใหข้ ้อมลู อะไรบ้าง
- เว็บไซต์แต่ละแห่งให้ข้อมูลที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้างนักเรียนสรุปข้อมูลจาก
ทง้ั 3 แหลง่ ไดว้ ่าอยา่ งไร

- คำตอบของนกั เรยี นเหมอื นหรอื แตกต่างจากของกลุ่มเพื่อนหรอื ไม่ อยา่ งไร เพราะอะไร
- มีงานหรือกิจกรรมใดบ้างที่เราควรรวบรวมข้อมูลจาก หลายแหล่ง แล้วจึงเรียบเรียงสรุป
อกี คร้งั (ทำรายงานเขียนเรยี งความ ข่าว ความร้ทู ่นี ่าสนใจ)
4. ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration)
1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกับความรู้ทไี่ ด้รบั โดยใช้ประเด็นคําถามต่อไปน้ี
- นักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล(ผู้เขียนเว็บไซต์ทาง
ราชการวนั ท่เี ผยแพรก่ ารอา้ งอิงแหลง่ ทม่ี า)
- นักเรียนได้รับความรู้อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ (การค้นหาข้อมูล โดยระบุชนิดไฟล์ ระบุ
ช่วงเวลา ระบุชนดิ ของเวบ็ ไซต์ การเลอื กแหล่งข้อมูล การประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมลู )
- หากนักเรียนค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ 2 แห่ง แล้วได้ข้อมูล ไม่สอดคล้องกัน นักเรียนจะ
ทำอยา่ งไร (คน้ หาข้อมูลเพม่ิ เตมิ จากแหลง่ อืน่ ๆ แลว้ สรปู )
- หากค้นหาข้อมูลจากหลายแหล่งแล้วพบว่ามีข้อมูลที่แตกต่างกัน แล้วยังหาข้อสรุปไม่ได้
นักเรียนคิดว่าจะเชื่อถือข้อมูลจาก แหล่งใดเพราะอะไร (อาจเลือกเชื่อถือข้อมูลจากเว็บไซต์ของ หน่วยงาน
ราชการ หน่วยงานดา้ นการศึกษาจากแหล่งที่ศึกษา เรื่องนั้นโดยตรง หรืออาจเลอื กทีจ่ ะไมเ่ ชื่อถือใครและสรปุ
เร่อื งนั้นวา่ ยงั หาข้อสรุปไม่ได)้
- นกั เรยี นสามารถนำความรูเ้ กีย่ วกับการคน้ หาขอ้ มูลไปใช้ ในชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งไร
5. ขั้นประเมนิ (evaluation)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุด
ใดบา้ งทย่ี ังไม่เขา้ ใจหรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพิ่มเติมใหน้ กั เรยี นเข้าใจ
2. นักเรยี นรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ
แก้ไขอย่างไรบา้ ง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
กิจกรรม และการนำความรทู้ ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์

7. กระบวนการวัดและประเมินผล
การประเมินการเรียนร้ขู องนักเรยี นทำได้ ดงั นี้
1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรียน
2. ประเมินการเรียนรู้จากคำตอบของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึก

กิจกรรม
3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทำกิจกรรม

ของนกั เรียน

การประเมนิ จากการทำกิจกรรม

ระดบั คะแนน

3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรงุ

รหัส ส่ิงท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

S1 การสงั เกต

S8 การลงความเห็นจากข้อมลู

S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21

C4 การส่ือสาร

C5 ความร่วมมือ

8. สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สสวท.
- เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่เชือ่ มต่ออินเทอรเ์ น็ต

9. ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.......................................................... แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรงุ
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..................................................
(.................................................)

วันท่ี........เดือน...............พ.ศ. ...........


Click to View FlipBook Version