The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwattananikorn, 2022-05-06 09:19:44

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 241

การรบั นกั ศกึ ษาภาคสมทบครงั้ นนั้ ทาํ ใหเ้ กิดการต่อตา้ นขึน้ ซ่งึ ผม
ในฐานะท่ีตอ้ งรกั ษาความสามัคคีของนกั ศึกษาในคณะ ไดเ้ ล็งเห็นว่าหาก
ปล่อยใหเ้ กิดเหตุการณ์เช่นนีอ้ ีก ก็อาจเกิดปัญหาการแตกความสามัคคี
ภายในคณะ จึงไดเ้ รียนขอรอ้ งกบั ทา่ นคณบดีและท่านอธิการบดีวา่ ขออย่า
ให้มีการรบั นักศึกษาภาคสมทบอีกในปีการศึกษาต่อๆ ไป ซ่ึงทางคณะ
ผู้ บ ริ ห า ร ก็ รับ ป า ก จึ ง เป็ น อั น ว่ า นั ก ศึ ก ษ า ภ า ค ส ม ท บ ข อ ง
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่มีเพยี งปีเดียวเทา่ นนั้ คือปีการศกึ ษา 2512

อย่างไรก็ตามการกระทบกระท่ังระหว่างนักศึกษาสองกลุ่ม
ดงั กลา่ วก็ไมป่ รากฏเหตกุ ารณร์ ุนแรง และเม่ือเวลาผ่านไปนกั ศกึ ษาทงั้ สอง
กลมุ่ ก็เขา้ กนั ไดด้ ี จนต่อมานกั ศึกษาภาคสมทบบางคนไดเ้ ขา้ มามีบทบาท
นาํ ในสภานักศึกษามหาวิทยาลยั เชียงใหม่ขณะเรียนอยู่ชนั้ ปีสดุ ทา้ ย และ
ภายหลงั ท่ีนักศึกษากลุ่มนีจ้ บการศึกษาก็กา้ วหนา้ ในอาชีพการงาน บาง
คนทําช่ือเสียงให้กับมหาวิทยาลัย เช่น สุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตรอง
นายกรฐั มนตรี พลเอกนินนาท เบีย้ วไข่มกุ เลขานกุ ารสว่ นตวั ของพลเอกสรุ
ยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกรฐั มนตรี และชลิต เฟ่ื องอารมณ์ ศิลปินท่ีมี
ช่อื เสยี ง เป็นตน้

นอกจากนั้นในปี การศึกษา 2512 ยังมีอีกเหตุการณ์หนึ่งคือ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรไ์ ด้ยกเลิกการเรียนการสอนระดับ
ปริญญาตรี จึงมีการยา้ ยนักศึกษาท่ีเรียนอยู่ในชั้นปีหน่ึงถึงปีสามไปยัง
ม ห า วิท ย า ลัย ต่ างๆ ส่ วน ห นึ่ งได้ย้าย ม าท่ี ค ณ ะสังค ม ศ าส ต ร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จํานวนร้อยกว่าคน โดยเข้าเรียนในสาขา
บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ ปรากฏว่าเกิดปัญหาการต่อต้านจาก

242 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

นักศึกษาภาคปกติซา้ํ ขึน้ อีก ตอ้ งใชเ้ วลาพอสมควรในการพูดคุยทาํ ความ
เขา้ ใจจนเหตกุ ารณค์ ล่ีคลาย

จําได้ว่าเมื่อนักศึกษากลุ่มนี้มาถึงเชียงใหม่ คณะกรรมการ
สโมสรคณะสังคมฯ ต้องเป็ นผู้ช่วยดูแลอาํ นวยความสะดวก แต่จน
แลว้ จนรอดกห็ าทพ่ี ักให้ไม่ได้ ในท่สี ุดเลยพาไปนอนในห้องกจิ กรรม
ของหอ 1 ซ่ึงไม่ได้เตรียมไว้เป็ นห้องนอน จึงนับเป็ นการต้อนรับท่ีผู้
มาใหม่คงจาํ ไมล่ ืม

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 243

ขบั เสยี งประสาน-วงชาโด-้ วง สมช.
และเพลงสนุ ทราภรณ์

โดย..เอนก กมิ สวุ รรณ

ห่างจากรวั้ มช. บนถนนหว้ ยแกว้ เพียงไม่ก่ีรอ้ ยเมตรมีสถานท่ีร่ม
รนื่ แห่งหนึ่งช่ือวา่ สวนเจ็ดริน คณะสงฆเ์ ยสอุ ติ รว่ มกบั คณะซิสเตอรอ์ รุ ส์ ลุ ิน
ได้ซือ้ ท่ีดินแปลงหน่ึงแล้วสรา้ งอาคาร 2 ชั้นขนาดใหญ่ ท่ีน่ีอนุญาตให้
นกั ศกึ ษาหลายรุน่ ไดจ้ ดั กิจกรรมต่างๆ ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเสยี ค่าใชจ้ า่ ย

ผมไดม้ ีโอกาสเขา้ มาร่วมกิจกรรมรอ้ งเพลงประสานเสียงกับเขา
ครงั้ หนง่ึ ในปี 2509 กิจกรรมนีใ้ ชช้ ่อื วา่ Glee Club จดุ ประสงคข์ องกิจกรรม
คือฝึกรอ้ งประสานเสียงเพ่ือเอาไวร้ อ้ งในวนั คริสตม์ าส โดยมีมาแมรม์ อรีส
เป็นครูฝึก นักศึกษาท่ีเขา้ กลมุ่ เป็นรุ่น 09 ทงั้ หมดจากคณะต่างๆ ราว 8-10
คน เท่าท่ีจาํ ได้มี สุรพงษ์ (ธรณี) เฉลิมชัย (รฐั ศาสตร)์ ไกรฤทธิ์ (แพทย์)
ชัยวัฒน์ (แพทย์) รวมอยู่ด้วย ช่วงซ้อมนักศึกษามาไม่ค่อยครบตามท่ี
วางตวั ไว้ เสยี งนกั รอ้ งชายตอ้ งการเสยี ง Bass และเสียง Tenor

ชัยวัฒ น์แม้จะเป็ นคนตัวเล็กผอมบาง แต่มีเสียงท่ีทรงพลัง
สามารถรอ้ งไดด้ งั และกดเสียงใหต้ ่าํ ไดแ้ บบสดุ ๆ เกินกว่าท่ีพวกเราในกล่มุ
จะทาํ ได้ จึงเป็นตวั ชูโรงท่ีผฟู้ ังจะตอ้ งยมิ้ ดว้ ยความสขุ เม่อื ถึงคิวชยั วฒั นโ์ ชว์
พลังเสียงของตน เม่ือถึงวันคริสต์มาส พวกเรารอ้ งกันได้ดี มาแมรม์ ี
ความสขุ แขกในงานช่ืนชมผลงานการรอ้ ง คริสตม์ าสปีถัดมาผมไม่ไดเ้ ขา้
รว่ ม คิดว่า Glee Club คงทาํ เพียงปีเดียว แต่น่นั ก็เป็นกิจกรรมหนึ่งท่ีลืมไม่
ลง ทาํ ใหไ้ ดร้ ูจ้ กั เพ่ือนใหม่ต่างคณะมากขึน้

244 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

ความท่ีหลงใหลในเสียงเพลงและชอบรอ้ งเพลงเป็นชีวิตจิตใจ จึง
ทุ่มความสนใจไปในกิจกรรมท่ีเป็นความบนั เทิงดา้ นดนตรี ในช่วง 2510-
2512 นักศึกษาหลายกล่มุ รวมตวั กนั เป็นวงชาโด้ คือ มีแค่ 4 คนก็ตงั้ วงได้
น่าเสียดายท่ีตวั เองเล่นเคร่ืองดนตรีไม่เป็นสกั ชิน้ จึงไม่มีโอกาสเขา้ ร่วมวง
กบั เขา มีอย่วู งหนึ่งท่ชี ่วงนนั้ เป็นท่ีสนใจเป็นอย่างมากเพราะนกั ดนตรีทงั้ 4
คนเป็นรุน่ 09 และเป็นหญิงลว้ น

วงนีช้ ่ือ The Jungle ผูเ้ ล่นประกอบดว้ ย ตี-้ อุไรลักษณ์ (สังคมฯ)
เป็นรีด อี๊ด-อรทัย (ศึกษาศาสตร)์ คอรด์ นุ้ย-ศิริกุล (มนุษย์) เบส และ
ปอ้ ม-สิวลี (สงั คมฯ) กลอง ถา้ เป็นเพลงสากล นยุ้ -ศิรกิ ลุ จะรอ้ งนาํ ตีก้ บั อี๊ด
รอ้ งแจม ส่วนป้อม-สีวลี จะรอ้ งเเต่เพลงไทยเท่านนั้ เจา้ ตวั บอกว่าไม่ถนัด
ออกเสียงภาษาองั กฤษ

The Jungle ในเวลานนั้ รบั เลน่ ตามงานท่วั ไป งานสงั สรรค์ งานรบั
เชิญ งานเตน้ ราํ ความเหลือเช่ือของวงนีค้ ือไดเ้ ล่นรายการเด็กท่ีทีวีช่อง 8
ลาํ ปางเป็นประจาํ โดยไดค้ ่าตอบแทน หากเล่นตามคณะต่างๆ จะเล่นให้
ฟรี วงนี้เล่นเด่ียวเป็นส่วนใหญ่ มีอยู่เป็นครัง้ คราวท่ีปะกบคู่กับวงของ
เพ่ือนๆ ท่ีเรยี นอย่วู ทิ ยาลยั เทคนคิ ภาคพายพั นอกจากสมาชิก The Jungle
จะรอ้ งเพลงเอาใจวยั รุ่นในยุคนนั้ ไดด้ ีแลว้ นักดนตรีทุกคนยงั เป็นคนน่ารกั
มบี คุ ลกิ ดี ไปเลน่ ท่ีไหน กลมุ่ หนมุ่ ๆ ยืนชิดขอบเวทีกนั เลยทีเดยี ว

ในปี พ.ศ. 2510 ผมได้มีโอกาสเห็นการก่อตั้งวงดนตรีของ มช.
โดยพลตาํ รวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ อธิการบดีในขณะนั้นไดอ้ นุมัติเงิน
ก้อนหน่ึงเพ่ือสร้างวง สมช. (ช่ือทางการ วงดนตรีสโมสรนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) นักรอ้ งจากคณะมนุษย์ท่ีเข้าไปร่วมวงในยุค

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 245

เร่มิ แรกมีหลายคน เช่น พัชรี (08) วลั ลภ และสรณีย์ (09) สองคนหลงั มัก
รอ้ งเพลงค่ขู องสนุ ทราภรณ์ จนเป็นนกั รอ้ งประจาํ วงท่ีติดตาแฟนๆ ตัวผม
คงมีความอดึ อดั ใจอย่บู า้ งในตอนนนั้ จึงไมไ่ ดข้ อเขา้ ไปเป็นนกั รอ้ งกบั เขา

นกั รอ้ งดาวรุ่งผูม้ ีเสียงสงู บาดหวั ใจผูฟ้ ังอีกคนหน่ึงก็เป็นนกั ศึกษา
จากคณะมนษุ ยเ์ ช่นกนั คือ สรุ ีย์ ณ เชียงใหม่ (10) เธอรอ้ งเพลงไทยไดเ้ ป็น
รอ้ ยเพลงโดยไม่ตอ้ งดูเนือ้ เพลง ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถึงอจั ฉรยิ ภาพในการเป็น
นกั รอ้ งมืออาชีพอย่างแทจ้ รงิ มอี ยู่คราวหนึ่ง ภาควิชาจติ วิทยานาํ นกั ศกึ ษา
ไปร่วมงานท่ีกรุงเทพ สรุ ียก์ ับเพ่ือนช่ือสุดา (10) รอ้ งเพลงตัง้ แต่รถเคลื่อน
ออกจากสถานีเชียงใหม่ไปจนถึงหัวลาํ โพงอย่างต่อเน่ืองโดยไม่เหน่ือย
เพ่อื นผมซง่ึ อยเู่ มเจอรจ์ ิตวิทยา และน่งั ในตเู้ ดียวกนั กบั สรุ ยี เ์ ลา่ ใหผ้ มฟังวา่

“สรุ ยี ฮ์ อ้ งเพลงตงึ คนื จ๋นฮาบ่าไดห้ ลบั ไดน้ อน พอถงึ กรุงเทพฮา
อดิ จ๋นปอจะเป๋ นลมเลย คงิ วา่ ”
ผมไดม้ ีโอกาสไดฟ้ ังเพลงท่ีเป็นทางการของ มช. เป็นครง้ั แรกตอน
อยู่ปี 1 พวกเราฟังและรอ้ งดว้ ยความภาคภูมิใจ เนือ้ เพลงเรา้ ใจ บรรเลง
โดยวงสนุ ทราภรณท์ ่ีโดง่ ดงั ในยคุ นนั้
ประวตั ิเพลงของ มช. แต่ละเพลงท่ีบรรเลงโดยวงสนุ ทราภรณ์ ไดม้ ี
บันทึกไวใ้ นเอกสารประชาสัมพันธ์ของคณะกรรมการบัณฑิตรุ่นท่ี 3 ปี
การศึกษา 2512-2513 โดยระบุไวท้ ั้งท่ีมา วัน เวลา และสถานท่ีในการ
บรรเลงครง้ั แรก สรุปไดด้ งั นคี้ รบั
เพลง ลาภูพิงค์ และ เพลง เอือ้ งขวัญ บรรเลงครงั้ แรกเม่ือ 24
มีนาคม 2507 เน่ืองในโอกาสท่ีสโมสรนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์
เชยี งใหม่ ตดิ ต่อขอไปยงั วงสนุ ทราภรณใ์ หช้ ่วยแตง่ เพลงให้

246 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.
ส่วนหนึง่ ของตํานานเพลงและดนตรี มช. มาแมรม์ อรสี และหนึ่งในนักร้อง
Glee Club เฉลมิ ชัย (09) ตามมาด้วยวง The Jungle และปิ ดท้ายด้วยนักร้อง
ของวง มช. เมอ่ื พ.ศ. 2510 พชั รี (08) วัลลภ และสรณีย์ (09)

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 247

เพลง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บรรเลงครงั้ แรกท่ีหอประชุมใหญ่
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เม่ือ 24 มิถุนายน 2509 เน่ืองมาจากกลุ่ม
ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัด
โตว้ าทกี ารกศุ ล ญตั ติ “ความรูค้ ่กู บั ความรกั ”

เพลง อ่างแก้ว และ เพลง อ่างแก้วขวัญใจ บรรเลงครงั้ แรกท่ี
หอประชมุ ใหญ่มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ เม่ือ 7 กรกฎาคม 2510 ในการ
จดั อภิปรายการกุศลในหัวขอ้ เรื่อง “ทาํ อย่างไรจึงจะเขา้ มหาวิทยาลยั ได”้
โดยชมุ นมุ จิตวิทยา คณะมนษุ ยศาสตร์

เพลง ลาแล้วเวียงขวัญ บรรเลงครงั้ แรก เม่ือ 5 กรกฏาคม 2511
เน่ืองในโอกาสท่ีแผนกปฏิคมสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลยั เชียงใหม่จัด
อภิปรายการกุศลเรื่อง “การศึกษาขั้นมหาวิทยาลัยในประเทศ ไทย“ ณ
หอประชมุ ใหญ่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

เพลง ราตรีอ่างแก้ว บรรเลงครงั้ แรก เม่ือ 16 ตุลาคม 2513 ท่ี
เวทีลีลาศลุมพินี กรุงเทพ เน่ืองในโอกาสท่ีคณะกรรมการผูก้ ่อตัง้ สมาคม
นกั ศกึ ษาเก่า มช. จดั งานเพ่ือหาทนุ ในการกอ่ ตงั้ สมาคม

เพลง มช. ถ่ินสวรรค์ และ เพลง รําวง มช. ยังรักเรยี น บรรเลง
ครงั้ แรกเม่ือ 15 มกราคม 2514 เน่ืองในโอกาสท่ีคณะกรรมการบณั ฑิตรุน่ ท่ี
3 จดั งานฉลองปรญิ ญา ท่ีขา้ งศาลาธรรมใน มช.

เพลง สวรรค์ มช. เพลง มาร์ชมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
เพลง มช.เกรียงไกร บรรเลงครง้ั แรก เม่ือ 4 กันยายน 2514 พรอ้ มกับ
บันทึกลงแผ่นเสียง ณ ห้องอัดเสียงศรีกรุง กรุงเทพฯ เน่ืองในโอกาสท่ี
คณะกรรมการบณั ฑิตรุ่นท่ี 3 ไดม้ ีมติใหจ้ ดั ทาํ แผ่นเสียงเพลงชุด มช. เพ่ือ

248 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

เผยแพร่ช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมอบรายได้สมทบทุน
ก่อตงั้ สมาคมนกั ศกึ ษาเกา่ มช.

การได้รําลึกถึงเหตุการณ์ที่เก่ียวกับความบันเทิงด้านวง
ดนตรีและเสยี งเพลง ช่วยแตง่ เตมิ สสี นั ใหก้ ับความทรงจาํ เม่ือครั้งยัง
เป็ นนักศกึ ษา มช. มากมายตราบเทา่ ทกุ วันนี้

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 249

เบอื� งหลงั งานฉลองรบั ปริญญาของรุน่ 09

โดย...วชั ระ ตนั ตรานนท์

การจัดงานฉลองรบั ปริญญาของรุ่น 09 เม่ือตน้ ปี พ.ศ. 2514 ผม
ในฐานะประธานกรรมการบณั ฑิตไดป้ รกึ ษาหารือเพ่ือนๆ เก่ียวกบั รูปแบบ
ของงาน ตลอดจนการเตรียมการในดา้ นงานประชาสัมพันธ์เพ่ือชักชวน
เพ่อื นๆ บณั ฑิตใหม้ ารว่ มงาน

ในตอนนั้นคณะกรรมการของพวกเรายังไม่มีงบประมาณในการ
จดั งานสกั บาท แต่กลบั คิดการใหญ่ คืออยากไดว้ งดนตรีสนุ ทราภรณเ์ ต็ม
วงมาบรรเลงในงานเตน้ ราํ คืนฉลองปริญญา เพราะเป็นวงท่ีมีช่ือเสียงมาก
ในขณะนั้น บรรเลงเพลงท่ีผูค้ นต่างหลงใหล ช่ืนชอบ ซ่ึงน่าจะสามารถ
ดงึ ดดู บณั ฑิตใหม้ ารว่ มงานกนั อย่างคกึ คกั

ผมเห็นดว้ ย แต่ก็ห่วงเร่ืองค่าใชจ้ ่าย เน่ืองจากวงสนุ ทราภรณเ์ ป็น
วงขนาดใหญ่และโด่งดงั ท่ีสดุ ในยคุ นนั้ ในท่ีประชุม อรุณ ฉัตรประไพ เพ่ือน
รุน่ 09 บณั ฑิตคณะสงั คมฯ หนึ่งในคณะกรรมการ ในฐานะแฟนตวั ยงของ
เพลงสนุ ทราภรณเ์ สนอวา่ ยินดจี ะรบั ไปติดตอ่ ให้

อรุณเป็นคนเรียบรอ้ ย ยิม้ แยม้ แจ่มใส อ่อนน้อมกับทุกคน และท่ี
สําคัญไม่เคยคุยโวโอ้อวดในเร่ืองใดๆ เม่ืออาสารบั หน้าท่ีติดต่อวงดัง
ระดบั ประเทศ จงึ ทาํ ใหท้ ุกคนในท่ีประชมุ วนั นนั้ ตกตลึง เพราะไม่อยากเช่ือ
ว่าอรุณจะทาํ ได้

อรุณเดินทางลงกรุงเทพแลว้ กลับมาพรอ้ มคาํ ตอบว่า วงสุนทรา
ภรณ์ยินดีรบั งานนีโ้ ดยมีค่าใชจ้ ่ายอยู่ท่ี 200,000 บาท ผมฟังแลว้ ก็อึง้ ไป

250 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

พกั หน่ึง เพราะคณะกรรมการขณะนนั้ ยังไม่มีทุนเลย ท่านลองคิดดูสิครบั
เวลานั้นทองคาํ หนัก 1 บาท ราคา 400 บาท (ปัจจุบันบาทละ 31,500)
ดงั นนั้ เงิน 200,000 บาทสมยั นนั้ จึงสามารถชือ้ ทองไดน้ าํ้ หนกั ถงึ 500 บาท
ซ่ึงราคาทองขนาดนนั้ ปัจจุบนั คงตกราว 15 ลา้ นบาทเลยทีเดียว ดงั นนั้ จะ
เห็นวา่ อตั ราคา่ จา้ งวงสนุ ทราภรณย์ คุ นนั้ โหดเพยี งใด

แถม ราคาท่ี ทางวงตั้งไว้ไม่ มีลด ไม่ มี ต่อรอง แต่ค วาม ท่ี
คณะกรรมการยังหนุ่มยังแน่นกันทั้งนั้น เป็นหมูไม่กลัวน้ํารอ้ น ใจสู้เสีย
อย่าง จึงกะกันว่า เงินท่ีไดจ้ ากการขายบัตรเขา้ งานคงจะพอนาํ มาชาํ ระ
ค่าจา้ งวงดนตรีได้ และเพ่ือใหค้ ุม้ ค่าเงินผมจึงไดต้ ่อรองใหท้ างวงสุนทรา
ภรณป์ ระพันธเ์ พลงใหแ้ ก่ มช. อีก 5 เพลง สองในหา้ เพลงใหน้ าํ มาบรรเลง
เป็นปฐมฤกษ์ในคืนวันงานใหบ้ ัณฑิต มช. ไดช้ ่ืนชมยินดี ทางวงสุนทรา
ภ รณ์ ต ก ล ง ต า ม เง่ือ น ไข ทุ ก วัน นี้เพ ล ง ทั้ง 5 เป็ น ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อ ง
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ประกอบดว้ ย

1) มช. ถิ่นสวรรค์ https://youtu.be/gFYwxomd0ZA
2) ราํ วง มช. ยงั รักเรยี น https://youtu.be/rVrWSJ9GkiQ
3) สวรรค์ มช. https://youtu.be/iQuuN8l6wqA
4) มารช์ มช. https://youtu.be/M3TOEzMgr8c
5) มช. เกรยี งใกร https://youtu.be/i_dLXFK5Rs8

โดยปกติวงสุนทราภรณ์เล่นอยู่แต่ในกรุงเทพฯ ดงั นัน้ เม่ือวงนีย้ ก
นักรอ้ งนักดนตรี 20 กว่าชีวิตมาเล่นท่ีเชียงใหม่เป็นครง้ั แรก บัตรจึงขาย
หมดเกลยี้ ง

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 251
ภาพแรก อรุณ ฉัตรประไพ (09) และดสุ ติ ศิรวิ รรณ (08) กบั ชาวคณะสนุ ทรา

ภรณ์ ภาพต่อมาเป็ นอลั บมั เพลงสุนทราภรณ์ในระบบสเตอริโอชุดแรกที่
คณะกรรมการบณั ฑติ รุ่นที่ 3 จัดทาํ จาํ หน่าย เพ่อื มอบสมทบทุนในการก่อตัง้

สมาคมนักศึกษาเก่า มช.

252 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

ภาพบัณฑติ ในงานฉลองปริญญาคืนนัน้

ในงานคืนนนั้ ซ่ึงจัดขึน้ หลงั วนั รบั พระราชทานปรญิ ญาหน่ึงวนั คือ
จัดในคืนวันท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2514 ท่านอดีตอธิการบดี พล.ต.อ
ประเสรฐิ รุจิรวงศ์ และคณะผูต้ ิดตาม 12 ท่านไดใ้ หเ้ กียรติมารว่ มงานดว้ ย
โดยร่วมเปิดฟลอรก์ ับบัณฑิตใหม่ของเรา จาํ ไดว้ ่า ป้อม-สิวลี เนียวกุล ได้
เปิดฟลอรค์ ู่กับ พล.ต.ต กฤษณ์ ปุณณกัณฑ์ หน่ึงในคณะของพล.ต.อ
ประเสรฐิ รุจิรวงศ์

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 253

คืนนนั้ บณั ฑิตชายในชุดสทู สีขาวผกู หูกระต่าย บณั ฑิตหญิงในชุด
ราตรียาวสีขาวท่ีสวยงาม พรอ้ มญาติมิตรเกือบพนั คนร่วมเตน้ ราํ กนั อย่าง
สนุกสนานเต็มท่ี บนฟลอรท์ ่ีจัดไวถ้ ึงหา้ ฟลอรใ์ นบรเิ วณลานสกั ขา้ งศาลา
ธรรม บรรยากาศของงานเป็นท่ีติดตราตรึงใจดังคาด ภายใต้อากาศท่ี
หนาวเย็นเป็นใจ พวกเราเตน้ ราํ กันจนรุ่งสางและจบดว้ ยการทาํ บุญตัก
บาตรรว่ มกนั ในตอนเชา้ นบั เป็นบนั ทึกเหตกุ ารณท์ ่ีอย่ใู นความทรงจาํ ของ
บณั ฑิตรุน่ 09 หลายๆ คนมาจนทกุ วนั นี้

เงินท่ีไดจ้ ากการจาํ หน่ายบตั รครงั้ นนั้ (รวมถึงท่มี อบใหโ้ ดยจอมพล
ถนอม กิติขจร 50,000 บาท ผ่านท่านพล.ต.อ. ประเสริฐ รุจิรวงศ)์ เม่ือหัก
ชาํ ระค่าจา้ งวงสุนทราภรณ์แลว้ ยังเหลืออีก 300,000 บาท ซ่ึงเป็นเงินท่ี
นกั ศกึ ษาเกา่ รุน่ 09 ใชม้ าจนปัจจบุ นั

254 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

หนอ่ ใหม่

โดย..ทวศี กั ดิ์ ระมงิ คว์ งศ์

ภาพใบนีถ้ ่ายเม่ือปี พ.ศ. 2512 หรือ 53 ปีท่ีแลว้ เป็นภาพท่ีถ่าย
บริเวณตึกฟิ สิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มช. เป็นภาพของหนุ่มนอ้ ยนักศึกษา
ธรณีปีท่ี 4 จาํ นวนเจ็ดคน เป็นภาพของอาจารยห์ นุ่มหล่อธรณีวิทยาหน่ึง
คน (คนท่ผี กู เน็คไทด)์

พลนั ก็ใหห้ วลคิดถึงช่วงหนึ่งของชีวิตท่ีอยากราํ พึงราํ พัน เป็นช่วง
ชีวิตท่ีช่างสดใสและเต็มไปดว้ ยความหวงั เพลานนั้ ผมเรียนจบปรญิ ญาตรี
แลว้ โดยใชเ้ วลา 3 ปีครง่ึ ไดร้ บั การบรรจเุ ป็นขา้ ราชการในตาํ แหน่งอาจารย์
ระดับ 3 เงินเดือน 1,250 บาท หนุ่มๆ นักศึกษาท่ีอยู่ในภาพทั้งหมดคือ
นกั ศกึ ษาธรณีปีท่ี 4 แทท้ ่จี รงิ แลว้ เขาเป็นเพ่อื นนกั ศกึ ษารุน่ เดียวกนั น่นั เอง

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 255

เม่ือเป็นอาจารยแ์ ลว้ ก็ย่อมมีหอ้ งทาํ งานส่วนตวั จาํ ไดว้ ่าเป็นหอ้ ง
ม่วั สมุ ของบรรดาเหล่าเพ่ือนๆ ว่างจากเรียนไม่ไดไ้ ปไหนก็แวะเขา้ มาน่งั ถุย
กันในห้องจานว่ี แถมเป็ น smoking room ด้วย ก็แน่ละควันคลุ้งฟุ้ง
กระจาย แถมจานว่ีมีรายได้แล้ว ซัพพลายบุหรี่จึงมีให้ตลอดไม่มีขาด
เพ่ือนๆ จะแว๊บออกไปประเด๋ียวเม่ือกลบั มาเรียนก็โยนสมั ภาระไวใ้ นหอ้ งนี้
เพ่ือนท่ีมีปัญหาวิชาการก็เขา้ มาขอความรู้ มาขอใหต้ ิว เวลาวงตะกรอ้ ขาด
คน ก็มาชวนจานว่ไี ปเตะดว้ ยกนั

เพลานั้นจึงเป็นเพลาท่ีผมมีความรูส้ ึกว่า ความสุขมันจับตอ้ งได้
เวลาท่ีเพ่ือนๆ จะตอ้ งท่องหนังสือเตรียมตัวสอบ ตอ้ งเขา้ สอบ ผมไม่ตอ้ ง
ท่องดว้ ย ไม่ตอ้ งเขา้ สอบดว้ ย มนั จงึ เป็นเพลาของความสขุ ท่เี หน็ ๆ

ผมเป็นอาจารยไ์ ดไ้ ม่ถึงหา้ เดือนเพ่ือนๆ ก็เร่ิมทยอยจบกนั เพ่ือนท่ี
ยังไม่จบก็เหลืออยู่อีกจาํ นวนหนึ่งก็ต้องเรียนต่อไป ผมจึงยังมีเพ่ือนรุ่น
เดียวกนั เขา้ มาทักทาย ม่วั สมุ แบบไม่เปล่ียนแปลง ตลุ าคม 2513 ผมก็ได้
ไปเรยี นต่อท่อี งั กฤษ หลงั ทาํ งานไดค้ รบหน่ึงปี

ช่วงทศวรรษแรกของ มช. เป็นช่วงของการวางรากฐาน เพ่ือการ
เติบใหญ่ ภายหน้าอย่างเข้มแข็ง มีทั้งพลังและคุณ ภาพ นักศึกษา
โดยเฉพาะรุ่นแรกๆ เป็นรุน่ ท่ีถือว่าเป็นการบ่มฟัก “หน่อใหม่” นกั ศกึ ษาท่ีมี
คณุ สมบตั ิเขา้ ตาหวั หนา้ ภาควิชา จะไดร้ บั การทาบทามใหเ้ ขา้ รบั ราชการ
โดยไม่มีขนั้ ตอนหรือพิธีรีตองมากนกั คนท่ีไดร้ บั การทาบทามหากตอบรบั
ก็จะไดร้ บั การบรรจุโดยไม่ตอ้ งมีการสอบคัดเลือก ทุกอย่างดูจะขึน้ อยู่กับ
หวั หนา้ ภาค ซง่ึ ถา้ หวั หนา้ ภาครบั ทกุ อยา่ งก็ดผู ่านหมด

จากขอ้ มลู จาํ นวน “หน่อใหม”่ รุน่ 07 ท่เี ขา้ มาศกึ ษาจาํ นวน 294

256 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

คน หลังสาํ เร็จการศึกษาไดเ้ ข้ารบั ราชการใน มช. กว่า 50 คน ซ่ึงเกือบ
ทัง้ หมดเขา้ เป็นอาจารย์ และหากคิดเป็นสดั ส่วนเทียบกับจาํ นวนอาจารย์
ทั้งหมดใน มช. เม่ือปี พ.ศ. 2511 ปีท่ีพวกเขาเข้าเป็นอาจารย์ จะเป็น
สดั ส่วนถึงเกือบรอ้ ยละย่ีสิบ ไม่เพียงเท่านนั้ “หน่อใหม่” ท่ีเขา้ เป็นอาจารย์
ยงั มีสัดส่วนสูงขึน้ ทุกปีอย่างต่อเน่ือง จนมาถึงประมาณรอ้ ยละส่ีสิบของ
จาํ นวนอาจารยท์ งั้ หมดเม่ือปี พ.ศ. 2514 และเพ่ิมขึน้ ถึงประมาณรอ้ ยละ
หา้ สบิ ในชว่ งทศวรรษแรก

เท่าท่ีผมไดส้ มั ผัส ทัศนคติการทาํ งานของบรรดา “หน่อใหม่” รุ่น
แรกๆ เม่ือแปลงสภาพจากนกั ศึกษามาเป็นอาจารย์ จากนกั เรียนมาเป็น
ผู้สอน พวกเขาจะทุ่มเททํางานทั้งกายและใจ ไม่ว่าจะเป็นภาระตาม
ตาํ แหน่งหนา้ ท่ี หรือภาระอ่ืนๆ ท่ีไดร้ บั การรอ้ งขอ ทงั้ นีค้ งเป็นเพราะความ
ผกู พนั และจติ วญิ ญาณท่มี ตี อ่ สถาบนั แหง่ นี้

วัฒนธรรมในกลุ่ม “หน่อใหม่” คือ พวกเขายินดีรบั ภาระท่ีไดร้ บั
มอบหมายด้วยใจ ด้วยการทุ่มเท เพ่ือส่วนรวมและเพ่ือ มช. เรื่อง
ค่าตอบแทนหรือการเรียกรอ้ งขอค่าตอบแทนเพ่ือภาระงานต่างๆ เป็นเร่ือง
ท่ีไกลตัว ทุกคนดูจะมีความสุขกับการไดท้ าํ งาน ไดเ้ ห็นความสาํ เร็จของ
งาน มากกว่าความพงึ พอใจจากรายไดพ้ เิ ศษใดๆ

ทศั นคติ วฒั นธรรม และความเช่ือของ “หน่อใหม่” ดงั กลา่ วขา้ งตน้
เกิดขึน้ ทั้งในบรรดาหน่อใหม่ท่ีทาํ หน้าท่ีอาจารย์ ขา้ ราชการ เพียงอย่าง
เดียว หรือผูท้ ่ีควบตาํ แห่งบริหารดว้ ย เพลานนั้ ไม่มีเรื่องเงินประจาํ ตาํ แหน่ง
ไม่วา่ ตาํ แหน่งบรหิ ารหรือตาํ แหนง่ วชิ าการ

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 257

ล่วงมาถึงเพลานี้ “หน่อใหม่” สิบรุ่นแรกท่ีจบการศึกษาจาก มช.
(รวมถงึ ผูท้ ่ีจบจากคณะแพทยศาสตรต์ งั้ แต่ปี พ.ศ. 2509) ต่างกไ็ ดเ้ กษียณ
ไปหมดแลว้ เหลือเพียงผลงานท่ีปรากฏใหเ้ ห็นท่วั ไป ภายในช่วงเวลากว่า
สามสบิ ปีท่ีทาํ งาน

เป็นท่ีประจักษ์แลว้ ว่า ไม่ว่า “หน่อใหม่” จะทาํ หนา้ ท่ีในฐานะมด
งาน เป็นขา้ ราชการสาย ก. สาย ข. สาย ค. หรือควบตาํ แหน่งบริหารระดบั
หัวหน้าภาควิชา หัวหนา้ หน่วยงาน คณบดี อธิการบดี จนถึงนายกสภา
มหาวิทยาลยั ในเวลาต่อมา พวกเขาทาํ เหมือนกัน คือ ทุ่มเทปฎิบตั ิหนา้ ท่ี
ตามความรบั ผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ เพ่ือความก้าวหน้าของ
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จนกลายมาเป็นมหาวทิ ยาลยั ระดบั นาํ แห่งหน่ึงของ
ประเทศในปัจจบุ นั

258 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

บทสง่ ทา้ ย

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 259

“ รม่ แดนช�าง ”

อาณาจกั ร “ร่มแดนช้าง” ทก่ี วา้ งใหญ่ รวมดวงใจรวมความรักสมัครสมาน
“ชูคบเพลิง” สวา่ งไสวใจสราญ พันธนาการดว้ ย “สมี ่วง” คล้องดวงใจ
ย้อนภวงั คร์ าํ พึงถงึ อดตี
ตา่ งฝึ กฝนตนเองไมเ่ กรงใคร ช่วงชวี ิตงามงดแสนสดใส
ก้าวทางใดชีแ้ นะมา “คณาจารย”์

น้อมราํ ลกึ พระคุณอนุ่ ดวงจติ น้อมบชู ิตวอนวากยฝ์ ากประสาน
วจใี จมีพร้อมนอ้ มกราบกราน จากดวงมานมุ่งม่นั กตัญ�ตุ า
ณ ตอนน้ัน “ปี สองพันห้าร้อยสิบ”
ได้ร่วมเรียนเพียรเพม่ิ เสรมิ ปัญญา จะขอหยบิ มาเรยี งร้อยถอ้ ยภาษา
พัฒนาองคค์ วามรู้คอยดูแล

“ร่มแดนชา้ ง ชคู บเพลงิ ”–เชียงใหม่ ตา่ งอย่ใู นนิยามตามกระแส
ความภูมิใจฝังฝากจากดวงแด จงึ ฉายแผส่ ู่ “ลูกช้าง” ตา่ งทรนง
ในท่ามกลางนาทที องของชวี ติ
เป็ นความรักนิรันดรท์ ม่ี ่นั คง มมี ิ่งมติ รผูกพนั ม่นั ประสงค์
ไดส้ บื สง่ ต่อกนั พนั ธนา

เวลานานผา่ นกรายหลายทศวรรษ เจิดจรัสรักม่ันกันแน่นหนา
เลอื ดสีมว่ งเขม้ ขน้ เสมอมา ไมค่ ลาดคลาสายสมั พนั ธอ์ นั ม่นั คง
ขอสง่ สาสนส์ ายใจให้ “ลกู ช้าง”
ยงั ปักใจผูกพนั ม่นั ดาํ รง แมอ้ ย่หู า่ งเพยี งใดไมใ่ หลหลง
จงึ สงู ส่งเป็ นเกลียวฝั้นม่นั ตราตรึง

ภาพภวงั คย์ งั มเี พ่อื นทเี่ ลอื นลบั หายไปกับวันวัยอาลยั ถงึ
พบสุขซึ่งเกษมสนั ตอ์ ยชู่ ัน้ ฟ้า
ขอส่งบญุ ส่ภู พหน้าพาราํ พงึ ยงั เกลื่อนกรุ่นไอรกั เป็ นนักหนา
ทัง้ เพอื่ นพ่ี “ลกู ชา้ ง” อยตู่ ่างรุ่น ทัง้ โลกา ลอื เลื่อง เฟ่ื องระบิล
มาถมรักเต็มตนื้ พนื้ พสธุ า

260 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

อาํ นวยพรอ้อนเออื้ นแด่เพอื่ นพ้อง ทัง้ พี-่ น้อง “ลกู ช้าง” อยูต่ า่ งถนิ่
มพี ลังทว่ มทน้ ลน้ ธรณนิ ทร์ เพือ่ จงจินตจ์ อดใจให้ มอ.ชอ.

ดว้ ยรกั และผกู พนั ม่นั คงเสมอมา
สรุ ีย์ ณ เชยี งใหม่ รหสั 101065 คณะมนษุ ยศาสตร์

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 261

รายช่ือสมาชิกกลมุ่ ไลน์
สนทนาประสา มช. รุน่ เดอะ

กติ ติชยั วฒั นานิกร ภญิ โญ ทองดี
จินดา ศรศรวี ชิ ยั มงคล รายะนาคร
จฑุ ามาศ บวั เงา ยวุ ดี พีรพรพิศาล
เฉลิมชยั วรวฒุ พิ ทุ ธพงศ์ รธั ชยั ฤทธาภรณ์
ชนินทร์ แจง้ กระจ่าง วรารกั ษ์ พฒั นเกียรติพงศ์
ชาญณรงค์ เรืองยศ
ชศู รี ไตรสนธิ วราวธุ สธุ ีธร
ทรงวิทย์ ศรีอ่อน วรศิ รา บญุ เจรญิ ตงั้ สกลุ
ทวศี กั ดิ์ ระมิงคว์ งศ์
ธรรมรกั ษ์ พิชญกลุ วชั ระ ตนั ตรานนท์
ธีรพงศ์ ธนสทุ ธิพิทกั ษ์ ศริ พิ ร วาศนราศรี
นธิ ิยา รตั นาปนนท์ สมชาย พลอยเล่ือมแสง
ประทีป จนั ทรค์ ง สมบรู ณ์ บรรณศกั ดิ์
ประสพสขุ ภชุ งคเ์ จรญิ สมศกั ดิ์ วนชิ าชีวะ
ประหยดั สายวเิ ชียร สงั วาล ดวงไทย
ผอ่ งศรี มงั กรทอง สรุ พงษ์ เลิศทศั นีย์
เผชิญ เพชรจาํ รสั สรุ ยี ์ ณ เชียงใหม่
พรทิพย์ จนั ทรมงคล สวุ ฒั น์ กอไพศาล
พณั ณทิพา ทองดี เสรนิ ทร์ จริ คปุ ต์
โสภา วฒั นานิกร
อรรณพ วราอศั วปติ

262 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช. โอภาส วยั วฒั น์

เอนก กมิ สวุ รรณ



" ระยะเริ�มต้นนี�อยากจะเห็นความราบรื�น ร�ืนรมย์
และประทับใจ...จึงได้ชวนนักศึกษารุ่นแรก ให้เดิน
ขึน� ไปนมัสการพระธาตุดอยสุเทพด้วยเท้าด้วยกัน...
แสดงถึงว่าเป็ นนักศึกษาของ มช. อย่างสมบูรณ์
ทางจิตใจแล้ว "

นพ.บุญสม มาร์ติน

รองอธิการบดี พ.ศ. ๒๕๐๗

พระธาตุดอยสุเทพ ๘ ส.ค. ๒๕๐๗


Click to View FlipBook Version