The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwattananikorn, 2022-05-06 09:19:44

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

ทศวรรษแรก ชีวิตนักศึกษา มช. (6) ฉบับ e-book resize และเพิ่มปก พร้อม ISBN

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 91

ในส่วน สมช. ท่ีนอกจากประกอบด้วยกรรมการบริหารและ
ประธานฝ่ ายชุมนุมต่างๆ นัน้ ใหม้ ีนายกสโมสรนกั ศึกษาคณะต่างๆ ร่วม
เป็นกรรมการกลางด้วย โดย สมช. ทาํ หน้าท่ีในการดาํ เนินงานกิจกรรม
นักศึกษา มีสภานักศึกษาทําหน้าท่ีในการพิจารณ าโครงงานและ
งบประมาณในการดาํ เนินงานของ สมช. รวมทงั้ ติดตามผลการดาํ เนินงาน
ของ สมช. และเป็นศนู ยก์ ลางในการรบั ฟังความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ
ของนักศึกษา ในเร่ืองท่ีเก่ียวกับกิจการนักศึกษาทั้งปวง ส่วนตุลาการ
นักศึกษาทั้งหมด ทํางานในรูปแบบคณะกรรมการตุลาการ ทําหน้าท่ี
พิ จ า รณ า ก รณี พิ พ า ท ข อ งนัก ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า รก ระ ทํา ท่ี เข้า ข่ า ย ผิ ด วิ นั ย
นกั ศึกษาต่างๆ แลว้ สรุปผลการพิจารณา เพ่ือเสนอใหอ้ ธิการบดีเป็นผูส้ ่งั
การลงโทษตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ว่าดว้ ยโทษวนิ ยั นกั ศึกษา ท่จี ะมกี าร
ตราขนึ้ มาในภายหลงั

ในวันท่ี 4 มีนาคม 2515 มหาวิทยาลัยได้ทาํ ประกาศนียบัตรให้
กรรม การสโม สรนักศึกษ าและนักศึก ษ าท่ีเป็ นก รรม การร่างข้อบังคับ
องค์การนักศึกษ า มช. ทุกคน โดยผู้ลงนามในประกาศนียบัตร
ประกอบดว้ ยอธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ ายปกครอง และอาจารยส์ ขุ เดช
ชยั (อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา สมช.) ผมมาทราบในภายหลงั ว่ารองอธิการบดีฝ่าย
ปกครอง ได้นาํ ร่างระเบียบว่าด้วยองค์การนักศึกษา ฉบับนักศึกษา มช.
เสนออธิการบดี เพ่ือนําเสนอสภามหาวิทยาลัย ต่อมาศาสตราจารย์
นายแพทยบ์ ุญสม มารต์ ิน อธิการบดีทาํ การแทนนายกสภามหาวิทยาลยั
ได้ลงนามประกาศใช้ระเบียบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยองค์การ
นกั ศึกษา มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. 2515 ในเดือนมิถุนายน เป็นช่วงท่ี

92 / ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช.

รุน่ ของผมจบ มช. แลว้ และเป็นช่วงระยะเวลาหลงั การออกขอ้ บงั คับ มช.
ว่าดว้ ยวินยั นกั ศึกษา พ.ศ. 2515 ก่อนท่ีศาสตราจารยส์ กุ ิจ นิมมานเหมินท์
จะมาเป็นนายกสภามหาวิทยาลยั ของ มช.

นับได้ว่าองค์การนักศึกษา มช. ในรูปแบบท่ีมีสโมสรนักศึกษา
สภานกั ศกึ ษา และตลุ าการนกั ศกึ ษา เป็นสามองคป์ ระกอบท่ีมีอิสระต่อกนั
แต่รบั ผิดชอบร่วมกนั ไดถ้ ือกาํ เนิดเกิดขึน้ เป็นครงั้ แรกในประเทศไทยเม่ือปี
2515 ก่อนการก่อตั้งองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใ์ นปี
2516 และก่อนการกอ่ ตงั้ ศนู ยก์ ลางนิสติ นกั ศกึ ษาแห่งประเทศไทย นบั เป็น
เสีย้ วประวตั ิศาสตรห์ น่ึงของพฒั นาการองคก์ ารนกั ศกึ ษาในประเทศไทย ท่ี
คนท่วั ไปไม่ทราบ

ก่อนท่ีร่างระเบียบว่าดว้ ยองค์การนักศึกษา มช. จะออกมาเป็น
ระเบียบในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2515 นายสวัสดิเกียรติ โรจนสุวรรณ
(สังคมศาสตร์ 12) ไดร้ บั การเลือกตั้งเป็นนายก สมช. ไปแลว้ ตั้งแต่ตน้ ปี
2515 ตามจารีตเดิม ต่อมาในช่วงตน้ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2515 จึงมี
การเลือกตั้งสมาชิกสภานักศึกษาและตุลาการนักศึกษาตามระเบียบว่า
ดว้ ยองคก์ ารนกั ศกึ ษา มช.

ต่อมานายสุเทพ เทือกสุบรรณ (สงั คมศาสตร์ 12) ไดร้ บั การเลือก
จากท่ีประชุมสมาชิกสภานักศึกษาใหเ้ ป็นประธานสภานักศึกษาคนแรก
โดยผู้บริหารมหาวิทยาลัยถือว่ากรรมการบริหาร สมช. ชุดปี 2515 ท่ีมี
อาจารย์สุข เดชชัย เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา เป็ นส่วนหน่ึงขององค์การ
นกั ศึกษา มช. โดยใหส้ ภานักศึกษาพิจารณาโครงงาน-งบประมาณ และ
ตดิ ตามการดาํ เนินงานของ สมช. ชดุ ดงั กลา่ ว ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บวา่

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 93

ดว้ ยองคก์ ารนกั ศกึ ษา มช.
สาํ หรบั ตลุ าการนกั ศึกษา ระเบียบไม่ไดก้ าํ หนดใหม้ ีประธานตุลา

การนักศึกษา แต่กําหนดให้มีการเลือกตั้งตุลาการจากนักศึกษาชั้นปี
สุดทา้ ยของหลกั สตู รคณะละหนึ่งคน และใหต้ ลุ าการดว้ ยกนั เองเลือกคน
หนึ่งเป็นประธานการประชมุ ในบรรดาตลุ าการนกั ศึกษาชดุ แรกในปี 2515
มจี ากคณะวทิ ยาศาสตร์ คอื นายเรืองศกั ดิ์ ทรงสถาพร (รหสั 12)

ปีต่อมาในเดือนมกราคม 2516 มีการเลือกตงั้ ทั้งกรรมการ สมช.
สมาชิกสภานักศึกษา และตุลาการนักศึกษา พรอ้ มกันทั้งสามส่วนตาม
ระบบขององค์การนักศึกษาโดยสมบูรณ์ ผู้ได้รบั การเลือกตั้งเป็นนายก
สมช. คือนายยุติศกํ ดิ์ เอกอัคร (สังคมศาสตร์ 13) มีนักศึกษาจากคณะ
ต่างๆ รว่ มเป็นกรรมการบรหิ าร ไดแ้ ก่นายไพรชั พันธน์ รา และ น.ส. สมฤดี
นําธวัช - เป็ นอุปนายกฝ่ ายชายและหญิง น.ส. อรอุไร กิตติวรากูล -
เลขานุการ น.ส. อรพิน เรืองรอง - เหรญั ญิก นายทวีชัย เติมคุนานนท์ -
ประชาสัมพันธ์ นายประสิทธิ์ ธนณาเคนทร์ - ปฏิคม มีผมซ่ึงเข้าเป็น
อาจารยใ์ หม่คณะวทิ ยาศาสตร์ เป็นอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

ใน ส่ ว น ข อ ง ส ภ า นั ก ศึ ก ษ า น า ย นิ รัน ด ร์ กิ ติ ชั ย ว ร ร ณ
(สงั คมศาสตร1์ 3) ไดร้ บั การเลือกจากสมาชิกสภานกั ศึกษาทุกคณะใหเ้ ป็น
ประธานสภานกั ศกึ ษา โดยสภานกั ศกึ ษาชุดนีม้ ีอาจารยป์ ระดษิ ฐ วชิ ยั ดิษฐ
เป็นอาจารยท์ ่ีปรึกษาติดต่อกันเป็นปีท่ี 2 สาํ หรบั ตุลาการนักศึกษาจาก
คณะวทิ ยาศาสตรใ์ นปีนคี้ อื นายบณั ฑติ ตนั เสถียร (รหสั 13)

เป็นท่ีน่าเสียดายว่าบนั ทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการร่าง
ระเบียบ มช. วา่ ดว้ ยองคก์ ารนกั ศกึ ษาฯ และเอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง สญู หาย

94 / ทศวรรษแรกชวี ิตนกั ศกึ ษา มช.

(แถวน่ัง) อรพนิ เรอื งรอง ศ.นพ. โอกาส พลางกูร ศ.สุกิจ นิมมานเหมนิ ท์
(นายกสภามหาวทิ ยาลัย) ศ.น.อ. นพ. ตะวัน กังวานพงษ์ สมฤดี นําธวชั อรอไุ ร

กติ ติวรากลู (แถวยนื ) ยุติศักด์ิ เอกอัคร (นายก สมช. 2516) ไพรัช พันธ์นรา
ทวีชัย เตมิ คนุ านนท์ ศ.ร.ท. นพ. ยงยทุ ธ สัจจวาณิชย์ ร.น (รองอธกิ ารบดี

ฝ่ ายปกครอง) มงคล รายะนาคร (อ. ทีป่ รกึ ษา สมช. 2516) สุข เดชชัย
(อ. ทีป่ รึกษา สมช. 2515) ฉววี รรณ ทองสงิ ห์ ประสทิ ธ์ิ ธนณาเคนทร์

(เออื้ เฟื้อภาพจากปรดี า ศริ ริ งั ษี)

ไปจาก สมช. และมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2519 อย่างไรก็ดี ผู้ท่ีสนใจ
รายละเอียดเก่ียวกับเรื่องนี้ สามารถติดตามกาํ เนิดองคก์ ารนกั ศึกษา มช.
เพ่ืออ่านความคิดเห็นท่ีหลากหลายของนกั ศกึ ษาในสมยั นนั้ ไดท้ ่ี :

https://www.facebook.com/100002882877333/posts/4440683426037709/?d
=n

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 95
กรรมการบรหิ าร สมช. 2516 และ อ.ทปี่ รึกษา (จากซ้าย) อรพนิ เรืองรอง -
เหรัญญิก ทวีชัย เตมิ คุนานนท์ - ประชาสัมพนั ธ์ สมฤดี นําธวชั - อปุ นายก

ยตุ ิศักด์ิ เอกอคั ร - นายก สมช. มงคล รายะนาคร ( อ. ทีป่ รึกษา)
ไพรัช พันธน์ รา - อปุ นายก อรอุไร กติ ติวรากูล - เลขานุการ
ประสทิ ธ์ิ ธนณาเคนทร์ - ปฏคิ ม

96 / ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช.

ทําเนยี บนายกสโมสรนกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประธานสภานกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ และนายก
สโมสรนักศึกษาคณะตา่ งๆ ในช่ วงทศวรรษท่ีหน่งึ ของ

มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่

# นายกสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
พ.ศ. 2507 นายวทิ รู วิสทุ ธิ์เสรีวงศ์ (แพทยศาสตร์ รหสั 07..)
พ.ศ. 2508 นายรธั ชยั (เกรียงศกั ดิ)์ ฤทธาภรณ์ (แพทยศาสตร์

รหสั 07..)/นายเสรี เสนารตั น์ (แพทยศาสตร์ รหสั 03..)
พ.ศ. 2509 นายเกษม วฒั นชยั (แพทยศาสตร์ รหสั 04..)
พ.ศ. 2510 นายพิเชฐ โตวิชยธาํ รง (แพทยศาสตร์ รหสั 05..)
พ.ศ. 2511 นายวิศษิ ฏศ์ กั ดิ์ ไทยทอง (มนษุ ยศาสตร์ รหสั 08..)
พ.ศ. 2512 นายจติ ติคม จนั ทรศั มี (แพทยศาสตร์ รหสั 07..)
พ.ศ. 2513 นายนพพร สงิ หพทุ ธางกรู (มนษุ ยศาสตร์ รหสั 10..)
พ.ศ. 2514 นายโอสถ สาครนิ ทร์ (สงคมศาสตร์ รหสั 11..)
พ.ศ. 2515* นายสวสั ดเิ กียรติ โรจนสวุ รรณ (สงั คมศาสตร์ รหสั

12..)
พ.ศ. 2516** นายยตุ ศิ กั ดิ์ เอกอคั ร (สงั คมศาสตร์ รหสั 13..)

# ประธานสภานักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่*
พ.ศ. 2515* นายสเุ ทพ เทือกสบุ รรณ (สงั คมศาสตร์ รหสั 12..)
พ.ศ. 2516** นายนิรนั ดร์ กิตชิ ยั วรรณ (สงั คมศาสตร์ รหสั 13..)

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 97

*ปีพ.ศ.2515 เป็นปีแรกของการมีองคก์ ารนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เชียงใหม่
ท่ีประกอบด้วยสโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (สมช.) สภา
นักศึกษามหาวิทยาลยั เชียงใหม่ และตุลาการนักศึกษา โดยนายก สมช.
ไดร้ บั การเลือกตงั้ กอ่ นสมาชิกสภานกั ศกึ ษา และตลุ าการนกั ศกึ ษา

**ปี พ.ศ. 2516 เป็นปีท่ีนายก สมช. สมาชิกสภานักศึกษา และตุลาการนักศึกษา
ไดร้ บั การเลือกตั้ง พรอ้ มๆกัน ตามระเบียบมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ว่าดว้ ยองคก์ าร
นกั ศึกษา มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. 2515 ทงั้ นีใ้ นส่วนของตลุ าการนกั ศึกษา ไม่มี
ตาํ แหน่งประธานตลุ าการนกั ศึกษา แต่มีประธานท่ีประชุมตลุ าการนกั ศกึ ษา ท่ีไดร้ บั
การเลือกจากตุลาการนักศึกษาดว้ ยกันเอง ให้เป็นผู้ดาํ เนินการประชุมตุลาการ
นกั ศกึ ษา
(โ ป ร ด ดู ร า ย ล ะ เอี ย ด กํ า เนิ ด อ ง ค์ ก า ร นั ก ศึ ก ษ า ม ช . 2 5 1 5 ที่
https://www.facebook.com/100002882877333/posts/4440683426037709/?d
=n)

# นายกสโมสรนักศกึ ษาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
พ.ศ. 2506 นายเพ่ิมศกั ดิ์ วฒั นสินธ์ (รหสั 01..)
พ.ศ. 2507 นายดาํ รง ธนชานนั ทน์ (รหสั 02..)
พ.ศ. 2508 นายเสรี เสนารตั น์ (รหสั 03..)
พ.ศ. 2509 นายเกษม ศิรกิ ลการ (รหสั 04..)
พ.ศ. 2510 นายมนตรี จกั ษุพา (รหสั 05..)
พ.ศ. 2511 นายวชิ ยั อริยศรีวฒั นา (รหสั 06..)
พ.ศ. 2512 นายวทิ รู วสิ ทุ ธิเ์ สรวี งศ์ (รหสั 07..)
พ.ศ. 2513 นายวฒั นา วานิชสขุ สมบตั ิ (รหสั 08..)

98 / ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช.

พ.ศ. 2514 นายชยั วฒั น์ ศริ พิ งษ์ (รหสั 09..)
พ.ศ. 2515 นายกาํ ธร นติ ิมานพ (รหสั 10..)
พ.ศ. 2516 นายสมบตั ิ สรุ เบญจวงศ์ (รหสั 11..)

# นายกสโมสรนักศกึ ษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

พ.ศ. 2509 นายปรชี า นาํ เบญ็ จพล (รหสั 07..)
พ.ศ. 2510 นายชาญณรงค์ เรอื งยศ (รหสั 07..)
พ.ศ. 2511 นายสมศกั ดิ์ วนชิ าชีวะ (รหสั 08..)
พ.ศ. 2512 นายกิตตชิ ยั วฒั นานิกร (รหสั 09..)
พ.ศ. 2513 นายสิทธิพงศ์ ณ เชยี งใหม่ (รหสั 10..)
พ.ศ. 2514 นายมงคล รายะนาคร (รหสั 11..)
พ.ศ. 2515 นายประทีป จนั ทรค์ ง (รหสั 12..)
พ.ศ. 2516 นายสมเกียรติ แสนทวสี ขุ (รหสั 13..)

# นายกสโมสรนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2509 นายพิพฒั น์ ตงั้ สืบกลุ (รหสั 07..)
พ.ศ. 2510 นางสาวสารภี อารีมิตร (รหสั 07..)
พ.ศ. 2511 นายสมเดช ซิงค์ (รหสั 08..)
พ.ศ. 2512 นายสมโภช แกว้ กรู (รหสั 09..)/นางสาวจริ ายุ จนั ทรุ

เบกษา (รหสั 09..)
พ.ศ. 2513 นายเผชญิ เพชรจาํ รสั (รหสั 10..)
พ.ศ. 2514 นายสรศกั ดิ์ เลิศวิทยากาํ จร (รหสั 11..)
พ.ศ. 2515 นายภิญโญ ทองดี (รหสั 12..)

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 99

พ.ศ. 2516 นายวิชาญ ศริ ชิ ยั เอกวฒั น์ (รหสั 13..)

# นายกสโมสรนักศึกษาคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
พ.ศ. 2509 นายชยั วฒั น์ บณั ฑิตยารกั ษ์ (รหสั 07..)
พ.ศ. 2510 นายอดเิ รก ตนั สาโรจนว์ นิช (รหสั 07..)
พ.ศ. 2511 นายธีระ เวชสนุ ทร (รหสั 08..)
พ.ศ. 2512 นายวชั ระ ตนั ตรานน์ (รหสั 09..)
พ.ศ. 2513 นายทวี เลรามญั (รหสั 10..)
พ.ศ. 2514 นายภาณรุ ตั น์ มเี พยี ร (รหสั 11..)
พ.ศ. 2515 นายชนะ ปานวจิ ิตร (รหสั 12..)
พ.ศ. 2516 นายภวู ดล จฑุ ามาศ (รหสั 13..)

# นายกสโมสรนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
พ.ศ. 2510 นายนิรนั ดร โพธิกานนท์ (รหสั 07..)
พ.ศ. 2511 นายเฉลิมพล แซมเพชร (รหสั 08..)
พ.ศ. 2512 นายกนก ฤกษเ์ กษม (รหสั 09..)
พ.ศ. 2513 นายไพรชั บวั สาย (รหสั 10..)
พ.ศ. 2514 นายชลิต อาํ นวย (รหสั 11..)
พ.ศ. 2515 นายเกรกิ กิต ชยั รตั น์ (รหสั 12..)
พ.ศ. 2516 นายฉกรรจ์ แสงรกั ษาวงศ์ (รหสั 13..)

# นายกสโมสรนักศกึ ษาคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่
พ.ศ. 2511 นายฐิติ สถาพรวจนา (รหสั 11.. โดยเขา้ เรียนคณะ

ศกึ ษาฯ ในปีการศกึ ษา 2511 เป็นปรญิ ญาท่สี อง หลงั

100 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

พ.ศ. 2512 จบจากคณะวิทยาศาสตร์ มช. รหสั 07..)
พ.ศ. 2513 นายนิรุต สพุ รรณชาติ (รหสั 11..)
พ.ศ. 2514 นายบญุ ช่วย วงศเ์ ทศ (รหสั 11..)
พ.ศ. 2515 นายสจุ นิ ต์ แยม้ แพ (รหสั 11..)
พ.ศ. 2516 นางสาวสมบรู ณ์ บรรณศกั ดิ์ (รหสั 12..)
นายอดุ ม ศรที พิ ย์ (รหสั 13..)

# นายกสโมสรนักศกึ ษาคณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

พ.ศ. 2513 นายมนสั พวงมณี (รหสั 13..)
พ.ศ. 2514 นายมนสั พวงมณี (รหสั 13..)
พ.ศ. 2515 นายมนสั พวงมณี (รหสั 13..)
พ.ศ. 2516 นายอดิศร คาํ นวณศลิ ป์ (รหสั 13..)

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 101

ประสบการณใ์ นลา้ นนา
จากบนั ทึกชาว มช.

102 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

คําเมอื งกบั ปัญหาการส่อื สารของชาว มช.
ครงั� กระโน้น

โดย..เอนก กมิ สวุ รรณ

นักศึกษา มช. 4-5 รุ่นแรกท่ีมาจากภาคกลาง ภาคอีสาน และ
ภาคใต้ เม่อื มาเจอคนเชยี งใหมท่ ่พี ดู แต่คาํ เมือง ไม่พดู ไทยภาคกลาง หลาย
คนรู้สึกอึดอัด นักศึกษาหญิงจากภาคอ่ืนบางคนถึงกับรอ้ งไห้ เพราะ
แม่บ้านในหอหรือชาวบ้านท่ีรับซักเสือ้ ผ้าให้กับชาวหอ พูดแต่คาํ เมือง
ลว้ นๆ ส่ือสารกนั ไม่รูเ้ รอ่ื ง โมโหตวั เองกเ็ ลยปลอ่ ยโฮเฉยเลย

ในเรื่องปัญหาการสื่อสารกับคนเมืองนี้อาจารย์รอ้ ยเอกหญิง
กานดา โกษะโยธิน (คณะมนุษย)์ อาจารยร์ ุ่นบุกเบิกของ มช. เคยเล่าให้
ผมฟังว่า มีครงั้ หนึ่งอาจารยไ์ ปจ่ายตลาดท่ีกาดลาํ ไย ใจอยากซือ้ พรกิ ขีห้ นู
ไปทาํ นา้ํ พรกิ กะปิ เม่ือเจอแม่คา้ ขายพรกิ กถ็ ามไปว่า

“พรกิ ขายยงั ไง“
แม่คา้ ซง่ึ พดู แต่คาํ เมืองบอกว่า

“เมดละซาวหา้ ตงั เจา้ ” (หมายเหตุ ผมตงั้ ใจพมิ พ์ เมด โดยไม่ใสไ่ ม้
ไตค่ ู)้
อาจารยร์ ูส้ ึกแปลกใจเล็กนอ้ ย ทางกรุงเทพขายพรกิ โดยการช่งั นา้ํ หนกั แต่
ทางเชียงใหม่นับเม็ดขาย เออแปลกดี รูว้ ่าแพง แต่เอาเถอะ หน้าฝนพริก
ออกน้อย คงแพงตามฤดูกาล ตาํ นาํ้ พริกกะปิถ้วยใหญ่ใส่พริกขีห้ นูอย่าง
มากก็ไม่เกิน 12-15 เม็ด กินไปไดเ้ ป็นอาทิตย์ คิดไดอ้ ย่างนนั้ จึงบอกแม่คา้
ไปวา่

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 103

“งนั้ เอา 15 เม็ดกแ็ ลว้ กนั ”
แม่คา้ ตักพริกขีห้ นูขึน้ ช่ัง แลว้ ย่ืนห่อพริกท่ีทาํ จากใบตองตึงใหพ้ รอ้ มบอก
ราคา

“สามบาทเจ็ดสบิ หา้ เจา้ ”
อาจารยร์ บั ห่อใบตองตึงมาดว้ ยความขาํ ตัวเอง เราจะเอาแค่ 15
เมด็ น่ีมนั 300 กว่าเม็ดละมงั กินก่ีวนั ถงึ จะหมด จะเรียกแม่คา้ ใหเ้ อาออกก็
อายแม่คา้ เม่ือกลับเขา้ มช. อาจารย์ต้องนาํ พริกขีห้ นูไปแจกครอบครวั
อาจารย์ท่ีมีบ้านพักบริเวณอ่างแก้ว จนเหลือพริกท่ีพอกินสาํ หรบั ตัวเอง
แจกไปก็หัวเราะไป เพราะเพิ่งมารูว้ ่า คาํ ว่า เมด คนเชียงใหม่ครง้ั กระโนน้
ใชแ้ ทนคาํ ว่า ขีด บนตราช่งั 1 ขดี คอื 100 กรมั
พรกิ ขหี้ นขู องอาจารยก์ านดาในวนั นนั้ มีนาํ้ หนกั หนึง่ กโิ ลครง่ึ ถา้ จะ
น่งั นบั เมด็ กนั ละก็คงใชเ้ วลามากเลยทีเดียว
ยงั มีคาํ อีกหลายคาํ ท่ีชาวเหนืออ่านออกเสียงเหมือนคนกรุงเทพฯ
แต่ความหมายต่างกันโดยสิน้ เชิง ตัวอย่างเช่น “โวย“ ไม่ไดแ้ ปลว่าแสดง
ความไม่พอใจ แต่แปลว่าเร็ว “จอ้ ง“ ไม่ไดแ้ ปลวว่าเพ่งมอง แต่แปลว่าร่ม
“มอบตวั “ ไม่ไดแ้ ปลว่า ยอมตวั ใหอ้ ย่ใู นความควบคมุ แต่แปลตรงกนั ขา้ ม
ว่าไปซ่อนตัว หรือ “หนั “ ก็ไม่ไดแ้ ปลว่าเอีย้ วตวั แต่แปลว่าเห็น แมแ้ ต่คาํ
พนื้ ๆ เช่น “ขาํ “ ก็ไม่ไดแ้ ปลว่าตลก แต่แปลวา่ ติดแหง็ก สว่ นคาํ บางคาํ อาจ
หาคาํ แปลท่ีตรงๆ ในภาษากลางไมไ่ ด้ เช่น งดึ !
แต่ขณะเดยี วกนั กใ็ ชว่ ่านกั ศึกษาท่เี ป็นคนจาก 7 จงั หวดั ภาคเหนือ
ท่ีพูดคาํ เมืองเป็นภาษาแม่จะรูส้ ึกสบายๆ ในการสนทนากับเพ่ือนๆ ท่ีมา
จากภาคอ่ืน จริงอยู่ ความเป็นคนจากภาคเหนืออาจทาํ ใหร้ ูส้ ึกว่าตนเอง

104 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

เป็นเจา้ ถ่ิน คนุ้ เคยกบั สถานท่ีและผคู้ นสว่ นใหญ่ แต่การตอ้ งพดู ภาษาไทย
กลางกลบั เป็นเรื่องใหญ่สาํ หรบั พวกเขาเหมือนกัน ท่านอาจจะไม่เช่ือว่า
โรงเรียนท่ีมีช่ือเสียงในเชียงใหม่บางโรงในยุคนั้นไม่บงั คับใหน้ ักเรียนพูด
ภาษาไทยในชนั้ เรียน จนทาํ ใหบ้ างคนเม่ือเขา้ เรียนใน มช.ไม่มีความกลา้
พอท่ีจะถามอาจารยใ์ นห้องเรียน สาเหตุมาจากความกลวั ดา้ นภาษา 2
ประการ ประการแรกคือกลวั พดู ติดสาํ เนียงคาํ เมือง ประการท่ีสองคือ ขาด
ความม่นั ใจในการออกเสียงสระและพยญั ชนะบางตวั

ตวั ช ชา้ ง กลายเป็น ซ โซ่ ปรากฏการณ์นีเ้ ม่ือก่อนพบเห็นท่ัวไป
ครง้ั หน่ึงตอนเขา้ ค่าย รด.ปี 5 ผูก้ องทองอณุ หไ์ ดใ้ หจ้ ่าซ่ึงเคยบวชเรียนมา
ก่อนบรรยายธรรมะใหน้ ักศึกษาวิชาทหารฟังในคืนแรก สนั นิษฐานว่าจ่า
คนนีค้ งมีพืน้ ฐานมาจากอาํ เภอท่ีห่างไกล แมจ้ ะบวชเรียนมาแลว้ แต่ก็มี
ปัญหาในการออกเสียง

เม่ือจ่าบรรยายถึงมรรค 8 ทุกคนในนั้นตอ้ งทนทุกข์ทรมานเป็น
อย่างมาก เน่อื งจากตอ้ งอดกลนั้ ไม่ใหห้ วั เราะจนปวดทอ้ งปวดหลงั ไปตามๆ
กัน เพราะแต่ละมรรคท่ีจ่าบอกคาํ แปล ทุกคนตัวเกร็งไปหมด ผูก้ องทอง
อณุ หผ์ ูเ้ ดียวเทา่ นนั้ ท่สี ามารถทาํ หนา้ ปกติเหมือนไมม่ ีอะไรผดิ แปลก ผมยก
ให้ดู 2-3 มรรคเป็นตัวอย่างนะครบั 1. สัมมาทิฐิ (คิด ซอบ) 2. สัมมา
สงั กปั ปะ (ดาํ ริ ซอบ) 3. สมั มาวาจา (วาจา ซอบ) ...

คาํ เล็กๆ ท่ีพบบ่อยๆ ในช่วงแรกๆ ของนักศึกษาคนเมืองท่ีผันตัว
ขนึ้ มาเป็นกรรมการหรือหวั หนา้ หรือประธานชุมนุมฯ หรอื เป็นนายกสโมสร
เช่น คาํ ว่า สีท่า ซ่ึงตรงกับภาษาไทยกลางว่า ทีท่า หรือ ท่าที อย่างเช่น
ประโยค

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 105

“นอ้ งดสู ที ่าจะไม่สบาย ไปหาหมอไหม พจี่ ะไปสง่ ”
น่ีคือประโยคท่ีรุน่ พ่ีหว่ งใยรุน่ นอ้ งท่เี ป็นหญิง

คาํ ว่า ท่ีแลว้ โดยการนาํ คาํ นีม้ าต่อทา้ ยคาํ บอกเวลาท่ีบริบูรณอ์ ยู่
ในตวั อย่แู ลว้ โดยไมต่ อ้ งเตมิ อะไรเพิ่ม เช่น แทนท่จี ะพดู ว่า เม่ือวานซืน ก็จะ
มีการเติมเป็นคาํ ใหม่ว่า เม่ือวานซืนท่ีแลว้

สระท่ีน่ากลวั อีกตัวหนึ่งคือ สระอวย เช่น สวย จะออกเสียงเป็น
โสย เป็นตน้ แต่สระท่ีคนเหนือยุคนนั้ มีปัญหาในการออกเสียงมากท่ีสดุ คือ
สระเออื คาํ วา่ เม่ือ เพ่ือ เหลอื เน่ือง จะกลายเป็น เม่ีย เพ่ีย เหลีย เน่ียง

ดังนั้นเพลงท่ีคนเชียงใหม่หลายคนไม่กล้ารอ้ งโชว์ในยุคนั้นคือ
เพลง ผมน้อยใจ ของสุเทพ วงศ์กําแหง เพราะในเนื้อเพลงมีแต่คําท่ีมี
สระเอือ เช่น “มองฟ้ายงั เจอะดาว บางคราวก็เจอะเดือน ผมมองคุณกลบั
เบอื น หลบเลอื นลมื สมั พนั ธท์ กี่ อ่ นม“ี

ทา่ นอาจลองรอ้ งแบบคนเหนือยุคนนั้ ดซู ิครบั !

106 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

คา่ ยอาสาพัฒนาชนบทค่ายแรก ของ มช.

โดย..ประหยดั สายวเิ ชียร

คา่ ยอาสาครงั้ แรกไปทาํ กิจกรรมท่ี บา้ นป๊ อก อาํ เภอสะเมิง จงั หวดั
เชียงใหม่ ระหว่างวันท่ี 10-24 มีนาคม พ.ศ. 2510 นายอาํ เภอท่ีดาํ รง
ตาํ แหนง่ ในขณะนนั้ คือ ท่านนายอาํ เภอปกรณ์ ประพณิ

ก่อนการออกค่ายมีนักศึกษาจากกรุงเทพ (จําไม่ได้ว่าจาก
มหาวิทยาลยั ไหน) มาพดู ใหฟ้ ังเรื่องนกั ศกึ ษากบั การทาํ กิจกรรมในชนบท
โดยเฉพาะ มช. ท่ีอยู่ในส่วนภูมิภาคยิ่งจาํ เป็นตอ้ งทาํ การประชุมใชห้ อ้ ง
ประชุมคณะสงั คม มีสมาชิกท่ีสนใจจะไปออกค่ายเขา้ ฟังจาํ นวนมาก จาก
ทุกคณะ ซ่ึงเป็นเร่ืองใหม่มากๆ จาํ ไดว้ ่าตวั เองสนใจมาก และทางบา้ นไม่
ขดั ขอ้ ง แถมมีเพ่อื นซี้ โชตินารถ แดงดีเลศิ (รตั นสาขา) ไปค่ายครงั้ นีด้ ว้ ย

วนั ท่ีออกเดินทางมีรถจาก ตชด. รถทหาร และส่วนราชการพรอ้ ม
รถของ มช. มารบั หนา้ ศาลาธรรม เสน้ ทางท่ีไปขึน้ เขา ลงหว้ ย ผ่านแอ่งนาํ้
หลายแห่ง ทกุ คนสนุกสนานเบิกบานใจมาก จาํ ไดว้ ่าผูอ้ าํ นวยการค่าย คือ
กาํ พล แกลว้ ทะนง (คณะสงั คม) มีพ่ีๆ จากคณะแพทยห์ ลายคน สมาชิก
จากคณะวิทย์ คณะสงั คม และคณะมนษุ ย์

เน่ืองจากอากาศชืน้ ถนนขรุขระมากเป็นหลุมเป็นบ่อ รถบางคัน
ต้องใช้โซ้พันล้อ ทุกอย่างดูเป็นเรื่องใหม่ไปทั้งหมด เม่ือรถไปถึงมีท่าน
นายอําเภอ ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ มาต้อนรับ และช่วยนําทางสมาชิกขน
สมั ภาระสว่ นตวั ไปไวท้ ่ศี าลาวดั บา้ นป๊ อก สว่ นของท่จี ะนาํ ไปแจกชาวบา้ น

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 107

ขนไปไวท้ ่บี า้ นกาํ นนั
สถานท่ีพักคือ โรงเรียนประชาบาลบา้ นป๊ อก แบ่งเป็นสองส่วน

ชายและหญิง มีเส่ือใหป้ ูนอน ปรากฏว่าคืนแรกพวกเรานอนไม่ไดเ้ พราะ
อากาศหนาวมาก อาจารยต์ อ้ งช่วยประสานงานใหร้ ถกลับไปขนผา้ ห่ม
จากหอพกั มาใหจ้ งึ อย่ไู ดจ้ นปิดค่าย

“เข้าเมืองตาหล่ิว ต้องหล่ิวตาตาม” คือความจริงท่ีสมาชิกค่าย
ฝ่ายหญิงคน้ พบ อนั เน่ืองมาจากการอาบนาํ้ พวกเราตอ้ งเดินไปขออาบนาํ้
ตามบา้ นชาวบา้ น แรกๆ ก็เลือกมาก เพราะแต่ละบา้ นหอ้ งนาํ้ มีประตูปิด
เปิด แต่ไม่มีหลงั คา แมแ้ ต่ท่ีหอ้ งนา้ํ บา้ นพ่อหลวง พวกเราจึงสรุปวา่ “มาอยู่
กะชาวบา้ น ก็ทาํ ตวั แบบชาวบา้ น” หมดเรอ่ื งไป

กิจกรรมค่ายมีหลากหลายเพราะมีสมาชิกจากทุกคณะ เช่น กล่มุ
แพทยเ์ ย่ียมบา้ น ใหค้ าํ ปรึกษาเร่ืองสุขภาพ กลุ่มเกษตรใหค้ าํ แนะนาํ การ
ปลกู พืชเลีย้ งสตั ว์ กล่มุ แรงงานสรา้ งสถานีอนามยั และซ่อมกาํ แพงวดั และ
กลมุ่ อาหารปากทอ้ งชาวค่าย

สมาชิกท่ัวไปอย่างเราไดล้ องทาํ งานทุกอย่างท่ีสาํ คัญ เช่น งาน
ฉาบปนู ซ่อมกาํ แพงวัดและสรา้ งสถานีอนามัย ซ่ึงทาํ ใหไ้ ดแ้ ผลท่ีระลึกคือ
ปนู กัดมือ ไม่ใช่เราคนเดียว แต่เพ่ือนๆ หลายคนก็โดนปูนกดั มือดว้ ย มีคน
ถามว่าจะหยุดไหม แตเ่ ราขอทาํ ต่อ โดยเพ่อื นหาถุงมือมาใหใ้ ส่ ม่วนเลยทีนี้
วนั ทา้ ยๆ ตอ้ งทาํ งานกลางคนื ดว้ ยเพ่ือใหง้ านเสรจ็ ทนั เวลา

จาํ ไดว้ ่าช่วงอาหารเย็นจะสนุกสนานมาก เพราะสมาชิกกลบั มา
พรอ้ มหนา้ มกี ารเลน่ รอบกองไฟ เราไดร้ อ้ งเพลงทงั้ ลกู ทงุ่ ลกู กรุง เพลง

108 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.
โรงเรยี นบ้านป๊ อก ผู้เฒ่าและเดก็ กาํ ลังสนุก และกจิ กรรมเยี่ยมบ้าน

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 109
สมาชิกชาวค่ายขณะทาํ งาน หงุ หาอาหาร และสนุกสนานรอบกองไฟ

110 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

สากล แม้กระทั้งรอ้ งลิเก เพ่ือนหลายคนเล่นเครื่องดนตรีได้ ทําให้เพ่ิม
ความสนุกสนานมากขึน้ แถมยังชวนลูกชาวบ้านมาเต้นลิมโบล้ อดไม้ท่ี
กาํ ลงั ฮติ กนั อย่างสนกุ สนาน

คืนหน่ึงจาํ ไดแ้ ม่นคืออาจารยน์ รนิ ทร์ ทองศิริ ท่ีปรกึ ษาค่าย ไดเ้ ขา้
ไปสมทบและประกาศว่า

“ผมจะรอ้ งเพลง Yesterday ใหฟ้ งั ”
มเี สียงปรบมือสน่นั สกั ครูม่ เี สยี ง

“เมือ่ วานนี้ เรายงั ดกี นั อยู.่ ...”
จากนนั้ พลนั มีเสียงปรบมือดังยิ่งกว่าเดิม ตามดว้ ยเสียงหัวเราะท่ีดังสน่ัน
ม่วนขนาด!

นอกจากนัน้ ในช่วงกลางคืน ยังไดแ้ ลกเปล่ียนประสบการณ์ขาํ ๆ
ของการทาํ งาน การส่ือสารกบั ชาวบา้ น จากบนั ทกึ ของเพ่อื นตกิ เขยี นไวว้ ่า

“ตอนเย็นๆ เลิกงานแลว้ มักจะมีประสบการณ์ตลกๆ มา
เล่าใหก้ นั ฟงั อยูเ่ สมอ เช่น บณั ฑูรย์ ไปสาํ รวจทางเกษตรหลงั จาก
ทสี่ มั ภาษณ์แม่อยุ้ จบแลว้ จดั แจงแจกซองเมลด็ ผกั แต่ก่อนแจกก็
ตอ้ งสาธิตวิธีการปลูก การบาํ รุงรกั ษาก่อน เพราะเป็นการสาํ รวจ
ครัง้ แรก และแม่อุย้ ก็เฒ่ามากแล้ว บัณฑูรย์เลยอธิบายอย่าง
ละเอียดแถมแสดงท่าทางประกอบอกี ดว้ ย จบแลว้ จึงใหซ้ องเมล็ด
ผกั ไป แม่อยุ้ รบั มาทาํ ตาปริบๆ แลว้ ถามวา่

“ยานเี้ ปิ้นก๋ินแกไ้ ขอ้ ะหยงั้ ก๋นั ไอห้ นอ้ ย”
ตงั้ แต่วนั นัน้ บัณฑูรย์ไม่กลา้ เขา้ บา้ นที่มีแม่อุย้ อีก แต่เลือกเขา้
บา้ นทมี่ สี าวๆ แทน”

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 111

หลงั ปิดค่ายก่อนเดินทางกลบั มช. มกี ารพาสมาชกิ ค่ายไปเท่ยี วถา้ํ
หลวงแม่สาบและเหมืองท่ีบา้ นบ่อแกว้ ประสบการณ์จากงานค่ายอาสา
ครง้ั นั้นช่วยสรา้ งแนวคิดใหม่ในการช่วยเหลือสงั คมรูปแบบต่างๆ ใหเ้ กิด
ขนึ้ กบั เรามากกว่าท่คี ิด และทาํ ใหเ้ ราสนใจงานอาสาตราบจนปัจจบุ นั

ขอบคณุ ขอ้ มลู จาก ปรชี า - แพรวพรรณ นาํ เบ็ญจพล

112 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

แคบ่ อกใหเ้ พ่อื นหันไปมองโตะ๊ อ่ืน
เกือบโดนกระทืบ

โดย....เอนก กิมสวุ รรณ

ช่วงหลงั ปี 2500 นิดๆ เชียงใหม่มีแต่อันธพาลกระจายตามชุมชน
ต่างๆ แก๊งชา้ งม่อย แก๊งศรีวิศาล แก๊งอินทรีขาว เป็นช่ือท่ีใครๆ ในยุคนั้น
รูจ้ ักดี นอกเหนือจากนั้นทหารเกณฑ์ค่ายกาวิละ นักศึกษาแม่โจ้ ก็ใช่จะ
นอ้ ยหนา้ ในเร่อื งตีรนั ฟันแทง งานฤดหู นาว งานสงกรานต์ งานลอยกระทง
แมแ้ ต่งานวัดก็จะมีแต่เร่ืองการไล่ชกต่อยของกลุ่มเหล่านีอ้ ยู่บ่อยๆ เม่ือ
เฮโรอีนเร่มิ ระบาดนักเลงหวั ไมม้ ากมายกลายเป็นทาสของยาเสพติด การ
ชกต่อยท่ีเห็นจนชินตาจึงค่อยๆ จางหายไป แต่ก็ใช่ว่าจะหมดไปเสียเลย
ทีเดียว การชกั ปืนเตรียมทาํ รา้ ยในงานสงกรานตห์ รือแมแ้ ต่ในรา้ นคอฟฟ่ี ช็
อปผมกเ็ คยพบเจอมาแลว้

พ่ีพิพัฒน์ ตงั้ สืบกลุ (มนุษย์ 07) เคยเลา่ ใหผ้ มฟังว่า นกั ศึกษาแม่
โจซ้ ่งึ ถือวา่ เป็นสถาบนั เก่าแก่และมีช่ือเสียงเคยมารบกวนนกั ศกึ ษา มช. ถึง
หนา้ ประตูมหาวิทยาลัย มีอยู่ครง้ั หน่ึงขณะท่ีเหตุการณ์ดูเหมือนจะบาน
ปลาย พ่ีพิพัฒนไ์ ดเ้ ขา้ ไปพูดคุยกับกลุ่มนักศึกษาแม่โจ้ดว้ ยความสุภาพ
ขอร้องให้นักศึกษาแม่โจ้อย่าได้ใช้กําลัง ด้วยบุคลิกแบบผู้ใหญ่ของพ่ี
พิพฒั นท์ าํ ใหเ้ หตกุ ารณใ์ นวนั นนั้ สงบลง และตงั้ แต่นนั้ ก็ไม่มีการมารบกวน
ใหเ้ ห็นอีก นักศึกษา มช. รุ่นแรกๆ จึงไปเท่ียวสถานท่ีต่างๆ ในยามค่าํ คืน
เพ่ือรบั ประทานอาหารหรือเพ่ือพกั ผอ่ นไดอ้ ย่างสบายใจ

ระหว่างปี 2507-2512 บรเิ วณลานหนา้ โรงภาพยนตรส์ รุ วิ งศใ์ น

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 113

ตอนกลางคนื เป็นแหลง่ รา้ นอาหารท่นี กั ศกึ ษา มช. นิยมไปน่งั ทานน่งั ดื่มกนั
เป็นจาํ นวนมาก ตอนนั้นกําแพงประตูท่าแพยังไม่ได้สรา้ งยาวเหมือน
ปัจจุบนั ลานดังกล่าวจึงโล่งกวา้ ง มีการนาํ โต๊ะเกา้ อีม้ าวางไปจนถึงขอบ
ถนน (ดา้ นในตวั กาํ แพง) รา้ นท่โี ด่งดงั ท่ีสดุ ท่ีนกั ศึกษา มช. ตอ้ งไปน่งั ดื่มกิน
กนั คือรา้ นดาเรศ ซ่ึงขายนาํ้ ผลไมป้ ่ัน นาํ้ เตา้ หู้ รา้ นติดกันท่ีดังไม่แพก้ นั คือ
รา้ นพ่ีชะม้อยส้มตํา ผู้มีลีลาในการตําครกแบบส่ันพริว้ ไหวไปทั้งตัว
(ภายหลงั ไดย้ า้ ยมาอย่ตู กึ แถวหนา้ ประตู มช.)

รา้ นดาเรศเป็นท่ีโด่งดงั เพราะพ่ีสาวเจา้ ของรา้ นไดอ้ นุญาตใหช้ ่าง
ทาํ ผมหญิงประจาํ รา้ นของตน มาช่วยรา้ นนอ้ งชายในตอนกลางคืน ทาํ ให้
หนุ่มๆ นักศึกษาตลอดจนนักเรียนแพทยร์ ุ่นแรกๆ แวะเวียนมารา้ นนีเ้ ป็น
ประจาํ เชน่ เดยี วกนั กบั ผมและเพ่ือนๆ แต่ผมมารา้ นนีเ้ พราะลกู สาวเจา้ ของ
รา้ นกบั ผมเป็นเพ่อื นบา้ นกนั ไม่มีเหตอุ ่นื ใดเลย

เย็นวันหนึ่งผมชวนเพ่ือนบา้ นอีกสองคนมาน่ังกินกลว้ ยหอมป่ัน
เราสามคนน่ังคุยกันด้วยเรื่องท่ัวๆ ไป บงั เอิญโต๊ะห่างออกไป 2-3 โต๊ะมี
ผูช้ ายน่งั อยู่ 3 คน ผมรูจ้ ักสองคนในนนั้ ก็เลยบอกเพ่ือนใหห้ นั ไปดู พรอ้ ม
กับอธิบายว่า คนนั้นช่ือป๋ึง (ทรงพล เมธาทิพย์ สังคม 09) รุ่นพ่ีจาก
โรงเรียนปริน้ ส์ คนนีช้ ่ือกนก เหวียนระวี (เกษตร 09) จากนนั้ ผมและเพ่ือนก็
ดม่ื กนิ ตอ่ ไป

ผ่านไปไม่ถึง 5 นาที มีชายตัวสูงใหญ่ เดินมายืนเทา้ เอวขา้ งโต๊ะ
ผม ผมรูว้ ่าเขามาจากโต๊ะเพ่ือนตรงนั้น แต่ผมไม่รูจ้ ักเขา จึงเอามือตบ
บริเวณกระเป๋ ากางเกงเขาเบาๆ พรอ้ มกับพูดดว้ ยความเป็นมิตรว่า เชิญ

114 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

น่งั ๆ เห็นน่ังโต๊ะเดียวกบั พ่ีป๋ึงและกนก เขายืนดแู บบผิดหวงั เล็กนอ้ ยแลว้ ก็
เดินกลบั ไปน่งั โต๊ะของเขาดงั เดมิ

ต่อจากนนั้ พ่ีป๋ึงจึงเดินมาหาผมแลว้ บอกว่า “อ๊ายขอโทษตวย บ่า
ไดใ้ สแ่ วน่ ตา๋ หนยุ่ มนั จะมาตหี๋ วั เหนกฮูก้ อ่ ” (คาํ แปล พ่ีขอโทษดว้ ย ไม่ไดใ้ ส่
แว่นตา หน่ยุ เขาจะมาชกเอนกรูร้ เึ ปล่า) (หมายเหตุ: หนุ่ยก็ไม่ใช่ใครท่ีไหน
เป็นนกั ศกึ ษาแม่โจ้ พ่ีชายของอมรพนั ธุ์ นิมานนั ท์ (รฐั ศาสตร์ 11))

ผมกบั เพ่ือนอีกสองคนขนหัวลกุ เพราะไม่นึกว่า การท่ีเราหันไปดู
โต๊ะอ่ืนแลว้ หันมาพูดถึงโต๊ะดงั กล่าวจะนาํ มาซ่งึ การเขา้ ใจผิดคิดไปว่าเป็น
การนินทา ตงั้ แต่นนั้ มาผมเลกิ สนใจโต๊ะขา้ งๆ เปลี่ยนมาเป็นเดินไปทกั ทาย
ถึงท่โี ตะ๊ แทน

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 115

เป�นมคั คุเทศกใ์ ห้กบั PATA

โดย...เอนก กิมสวุ รรณ

ในปี 2512 จงั หวดั เชียงใหม่ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ป็นท่ีประชมุ ของสมาคม
สง่ เสรมิ การท่องเท่ียวภาคแปซิฟิก (Pacific Asia Travel Association หรือ
PATA) แขกท่ีไดร้ บั เชิญมาประชุมเป็นเจา้ ของกิจการท่องเท่ียว ผูจ้ ัดการ
โรงแรม เจา้ ของวารสารการท่องเท่ียว จากหลายประเทศ เช่น อเมริกา
สิงคโปร์ อินโดเนเซีย อินเดีย ออสเตรเลีย หน่วยงานราชการในจังหวัด
เชียงใหม่ได้เชิญผู้บริหารสถาบันการศึกษา เจา้ ของกิจการโรงแรม นัก
ธุรกิจ ตลอดจนบุคคลท่ีมีช่ือเสียงของจังหวัดเชียงใหม่เขา้ รว่ มประชุมเพ่ือ
เตรียมความพรอ้ มสาํ หรบั งานสาํ คญั ระดบั ประเทศครง้ั นี้

มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ไดส้ นองนโยบายของจงั หวดั โดยการจดั หา
นกั ศึกษาท่ีมีความรูภ้ าษาองั กฤษเขา้ ฝึกอบรมการเป็นมคั คเุ ทศกแ์ ละการ
ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ตามโรงแรมท่แี ขกของ PATA เขา้ พกั

คณุ วิสตู ร นิมานนั ท์ หรอื เฮียเลีย้ ง เจา้ ของบรษิ ัทท่องเท่ียว World
Travel Service ซ่ึงน่าจะเป็นบริษัทท่องเท่ียวแห่งแรกและแห่งเดียวของ
เชียงใหม่ท่ีเปิดบริการการท่องเท่ียวอย่างเป็นกิจลกั ษณะเป็นหวั หนา้ ทีมใน
ก ารฝึ ก อ บ รม นัก ศึ ก ษ าท่ี เข้าฝึ ก มี ป ระม าณ 15-20 ค น จ าก 3
สถาบนั การศกึ ษา ไดแ้ ก่ มช. วิทยาลยั ครู และวิทยาลยั เทคนิคภาคพายพั
การอบรมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม 2511 สถานท่ีฝึกอบรม คือวัดสาํ คัญ
ต่างๆ แหล่งเตาผลิตเคร่ืองเคลือบดินเผา รม่ บ่อสรา้ ง โรงงานทอผา้ แหล่ง
ท่องเท่ียวตามธรรมชาติ ในเชียงใหม่ ลาํ พนู และป่าซาง เฮยี เลยี้ งใชภ้ าษา

116 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

องั กฤษในการบรรยายตลอดการอบรม
ครงั้ หนึ่งบนรถบสั ขณะเดินทางไปอบรม ปรีมาวศตุ (09) ถามเฮีย

เลีย้ งเร่ืองเบีย้ เลีย้ งหรือค่าตอบแทนสาํ หรบั นักศึกษาในการทาํ งานครง้ั นี้
เฮียเลีย้ งไม่สามารถให้คาํ ตอบท่ีชัดเจนได้ อาจารยผ์ ู้ช่วยท่านหน่ึงจาก
วิทยาลยั ครูพูดเชิงรบั ประกนั เป็นม่นั เป็นเหมาะว่า ไดค้ ่าตอบแทนแน่ แต่
เทา่ ไหรแ่ ละเม่อื ไรยงั ไม่สามารถยืนยนั ได้ บรรยากาศการอบรมจึงอมึ ครมึ

วนั ท่ี 22 มกราคม 2512 งาน PATA เร่ิม อาคารสันทนาคารของ
คณะแพทยศาสตรเ์ ป็ นศูนย์ของ PATA workshop แขกต่างประเทศ
ทงั้ หมดเดินทางมาเชียงใหม่ทางเคร่ืองบิน คณะทาํ งานนาํ แขกเขา้ พกั ตาม
โรงแรมต่างๆ ไดอ้ ย่างเรียบรอ้ ย เวลานนั้ มีโรงแรมเพียงไม่กี่แห่ง อาทิเช่น
โรงแรมรถไฟ สรุ ิวงค์ สรุ พล ปริน้ ซ์ รนิ คาํ ท่ีโรงแรมแต่ละแห่งจะมีนกั ศกึ ษา
2 คนน่งั ประจาํ โตะ๊ ของ PATA คอยใหก้ ารบรกิ ารช่วยเหลอื ตลอดวนั

การทาํ งานของนักศึกษาเร่มิ ตัง้ แต่ 22 ไปจนถึง 25 มกราคม การ
ออกทัวรแ์ ต่ละวันแขกสามารถเลือกไดต้ ามความตอ้ งการ นักศึกษาท่ีทาํ
หนา้ ท่ีเป็นมัคคเุ ทศกจ์ ะตกลงกนั เองว่าอยากจะทัวรท์ ่ีไหนในแต่ละวัน ซ่ึง
ทําให้การทํางานมีความคล่องตัว นอกจากบางวันท่ีได้รับมอบหมาย
ภาระกิจเฉพาะ เช่น ผมตอ้ งไปเขา้ รว่ มพิธีบายศรีท่ีคมุ้ วงตะวนั ฟ้าฮ่าม ซ่ึง
จดั ขึน้ เฉพาะสาํ หรบั ภรยิ าของแขก นกั ศึกษาท่ีทาํ งานในงานครง้ั นนั้ มี ขจร
ศกั ดิ์ ณ ลาํ พูน (11) พ่ีชายของขจรศักดิ์ (11) เสรินทร์ (09) และผม พวก
เราตอ้ งน่งุ ผา้ ม่วง หมอบ คลาน อนั เป็นการแสดงใหแ้ ขกเห็นประเพณีของ
ทางเหนือแต่โบราณ

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 117

ตอนเย็นของแต่ละวันมีการจัดงานเลีย้ งแบบบุพเฟ่ ตามโรงแรม
ต่างๆ สลบั กนั ไป อาหารมีใหเ้ ลือกหลากหลายทงั้ ไทยและเทศ ท่ีน่าสนใจ
อย่างยิ่งคือ รา้ นอรุณไรซ่ึงโด่งดังมากในช่วงนั้นในเรื่องอาหารเหนือรสจัด
จา้ นแต่ไม่เผ็ดไดถ้ กู เลือกใหเ้ ป็นสถานท่ีจดั เลยี้ งอาหารเยน็ กบั เขาดว้ ย

เย็นวนั นัน้ เองผมไดม้ ีโอกาสพดู คยุ กับพนั ตรีสมชาย หิรญั กิจ (ยศ
ในขณะนั้น) ซ่ึงเป็นรอง พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์ ผูอ้ าํ นวยการองคก์ าร
สง่ เสรมิ การท่องเท่ียว(อสท) พันตรีสมชายอยู่ในวัยหนุ่มฉกรรจช์ วนผมไป
ต่อไนทค์ ลบั ซ่ึงในเวลานนั้ มเี พียงรินแกว้ บนถนนหว้ ยแกว้ ท่ดี นตรีพอจะโชว์
แขกบา้ นแขกเมืองได้ หากจาํ ไม่ผิด พีระพนั ธ์ เปรมภตู ิ (รฐั ศาสตร์ 10) ก็ไป
กบั ผมดว้ ย เราเตน้ และด่ืมกนั อย่างเมามนั เม่ือไนทค์ ลบั ปิด พนกั งานขบั รถ
ก็ขับไปส่งบา้ น ระหว่างทางพันตรีสมชายคุยไม่หยุด บอกว่า “ไอน้ อ้ ง ถา้
เอ็งจบเมื่อไหร่ เขียนมาบอกพี่ ตอนนี้ทางหน่วยงานท่องเที่ยวกําลัง
ตอ้ งการบุคลากร ย่ิงเรียนทางประวัติศาสตร์ก็เหมาะกับการท่องเที่ยว
ทีเดียว” จากนัน้ ก็ลว้ งเอานามบตั รใหผ้ มหน่ึงใบ แลว้ เวลาก็ผ่านไปจนผม
จบการศกึ ษา

การทาํ งาน PATA ไม่ใช่งานทาํ ทวั รก์ ินบุพเฟ่ ฟรีอย่างท่ีเลา่ มา การ
ไดพ้ บปะเจา้ ของกิจการชาวต่างชาติช่วยเปิดโลกทัศนข์ องผมใหก้ วา้ งขึน้
ผมไดม้ ีโอกาสรูจ้ กั เจา้ ของวารสารท่องเท่ียวฉบบั หน่ึงของฮาวาย บคุ คลผูน้ ี้
ไดท้ าํ ใหผ้ มรูว้ ่าท่มี หาวทิ ยาลยั ฮาวายเพง่ิ เปิดสาขาวิชาท่องเท่ยี วไปหมาดๆ
โ ด ย ใ ช้ ช่ื อ ว่ า School of TIM ซ่ึ ง ย่ อ ม า จ า ก Tourism Industry
Management ผมจึงวางแผนอนาคตว่าจะหาทุนไปศึกษาวิชานี้ท่ีน่ัน

118 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

โอกาสเป็นไปไดม้ ีอยู่ 2 ทางคือ สมัครทาํ งานท่ี อสท. เก็บเงินสกั กอ้ นแลว้
ไปศกึ ษาต่อ หรือ พยายามติดต่อขอทนุ การศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั ฮาวาย

ข่าวร้าย: ก่อนจบการศกึ ษาในเดือนมีนาคม 2513 ไดเ้ ขียนสมคั ร
งานไปท่ีอสท. โดยไม่ลืมอา้ งถึงประสบการณก์ ารเคยทาํ งานในการประชุม
PATA ท่เี ชียงใหม่ รอจนถงึ ทกุ วนั นยี้ งั ไมม่ คี าํ ตอบใดๆ กลบั มา

ข่าวดี: เดือนธันวาคม 2512 พ่ีนิรนั ดร (เกษตร 07) อาจารยว์ ัน
เพ็ญ (ภมู ิศาสตร)์ ซ่ึงไปสมคั รขอทุน DAAD พรอ้ มกบั ผม บอกผมว่า ไดร้ บั
จดหมายจากสถานฑูตเยอรมันว่าไดท้ ุนสาํ หรบั ศึกษาระดับปริญญาเอก
แลว้ ต่อมา เดือนมีนา 2513 ผมไดร้ บั แจง้ จากทางสถานฑูตว่า ใหท้ ุนไป
ศกึ ษาต่อเป็นเวลา 2 ปี

หมายเหตุ: เบีย้ เลีย้ งในการทาํ งาน PATA เป็นเวลา 4 วัน ผมได้
บนั ทกึ ไวว้ ่า “ไดร้ บั คา่ ทาํ งานพาตา้ 200 บาท” ทาํ งานชว่ ยชาตอิ ิม่ ใจครบั

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 119

พิชิตดอยอนิ ทนนท์

โดย......เฉลิมชยั วรวฒุ พิ ทุ ธพงศ์

“นักศึกษา มช. พิชิตดอยอินทนนท์” เป็นข่าวเล็กๆ ท่ีปรากฏใน
หนงั สอื พิมพท์ อ้ งถ่นิ

ดอยอินทนนทซ์ ่ึงเป็นภูเขาสูงสดุ ในประเทศ เป็นแหล่งกาํ เนิดตน้
นาํ้ ลาํ ธารจนกลายไปเป็นนา้ํ ตกนอ้ ยใหญ่ท่ีสวยงามซ่อนตัวอยู่ในป่ าเขา
ของเมืองเหนือ เช่น นา้ํ ตกแม่กลาง นา้ํ ตกวชิรธาร ในเขตอาํ เภอจอมทอง
ซง่ึ เปรยี บไดก้ บั สาวถ่ินไทยงามท่ีห่างไกลแสงสีของกรุงเทพฯ สมยั นนั้

เพ่ือนๆ คงไม่เถียงนะครบั ว่า รา้ นขายผ้าพื้นเมืองในเชียงใหม่
โดยเฉพาะบนถนนท่าแพ ต่างมีสาวงามขายของอย่แู ทบทกุ รา้ น ถนนในตวั
เมืองจึงคลาคล่าํ ไปด้วยหนุ่มๆ นักศึกษา มช. ท่ีเขา้ ไปอุดหนุนกันคึกคัก
ตา่ งก็เขา้ ไปเลือกดผู า้ แถมยงั ต่อรองราคาอย่นู ่นั แหละ! เพราะมีความสขุ ท่ี
ไดพ้ ดู คยุ ใกลช้ ดิ กบั เธอเหลา่ นนั้ แต่สดุ ทา้ ยกลบั ไม่ซือ้ เสยี น่!ี

บรรดาสาวงามท่ีมีนา้ํ ใจเหล่านีก้ ็ไม่ได้แสดงอาการขึง้ โกรธหรือ
เคียดแคน้ ใดๆ ยังคงพูดจาอ่อนหวาน “บ่อเป็นหยงั เจา้ ” และฝากรอยยิม้
กลบั มาใหเ้ สมอ ทาํ ใหห้ วั ใจหนมุ่ ๆ แทบละลาย ไม่ใช่แต่เฉพาะในเชยี งใหม่
เท่านนั้ นกั ศกึ ษา มช. ยงั เพ่นพ่านไปถึงลาํ พูน ป่ าซาง แควน้ ถ่ินคนงามใน
สมัยนัน้ เพราะหากจะกลบั กรุงเทพฯ ทางรถยนต์ ตอ้ งผ่านดินแดนแถบนี้
กอ่ นไปโผลอ่ อกท่อี าํ เภอเถนิ

พูดถึงสาวงามซะยาว ขอกลับเขา้ เรื่องเสียที ช่วงก่อนนั้นไม่นาน
นกั มีข่าวใหญ่วา่ สมเดจ็ ย่า (สมเด็จพระศรีนครนิ ทร)์ ซ่งึ เป็นศนู ยร์ วมจติ ใจ

120 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

ของบรรดาตาํ รวจตระเวนชายแดนทงั้ ประเทศ เสด็จพระราชดาํ เนินถึงยอด
ดอยอินทนนทข์ ณะอายุ 64 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รชั การท่ี
9 ถึงกบั เสด็จพระราชดาํ เนินมารอรบั ท่ีพระตาํ หนกั ภพู ิงคร์ าชนิเวศนข์ ณะท่ี
สมเด็จย่าเสด็จกลับจากดอย ทาํ ให้พวกเราหนุ่มๆ ท่ีรกั การผจญภัยจึง
อยากขนึ้ ไปบา้ ง

แต่การจะขึน้ ดอยนั้นนอกจากแต่ละคนตอ้ งมีสุขภาพแข็งแรง มี
ขอ้ มลู พรอ้ ม เชน่ ขอ้ มลู สภาพพืน้ ท่ี สภาพอากาศ ฯลฯ ตลอดจนมีเพ่ือนใน
กลมุ่ ท่ีพดู คาํ เมืองได้ ยงั ตอ้ งมีคนนาํ ทางชาวเขาท่ีคนุ้ เคยพนื้ ท่ีเป็นผูน้ าํ ทาง
และท่สี าํ คญั ตอ้ งมีเวลาว่างอยา่ งนอ้ ย 3-4 วนั

กลุ่มพวกเราท่ีต่างใฝ่ ฝันจะเดินขึน้ ดอยอินทนนทค์ รง้ั นัน้ มีหกคน
เรียนอยู่ชัน้ ปีสองทัง้ หมด มาจากภาควิชารฐั ศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
สามคน คือ เทอดศักดิ์ ชมเชย ประสิทธิ์ ศรีอักษร และผม คณ ะ
วิทยาศาสตรส์ องคนคือ ภาณุมาศ กานตศิลป์ และ สุชา พรหมขวัญ ซ่ึง
ลว้ นเป็นคนปักษ์ใตท้ ั้งสิน้ และมาจากคณะมนุษยศาสตรห์ น่ึงคนเป็นคน
เหนือคือ กมล ดํารงมณี เพราะในกลุ่มจําเป็ นต้องมีคนท่ีสื่อสารกับ
ชาวบา้ นและผนู้ าํ ทางได้ สว่ นคนนาํ ทางมีสองคนเป็นกะเหร่ยี งและมง้

เม่ือพวกเรารวบรวมส่ิงท่ีตอ้ งการไดค้ รบ ทั้งขา้ วสาร อาหารแหง้
ปลากระป๋ อง เสื้อผ้าและหมวกกันหนาว รวมถึงของใช้ต่างๆ เช่น
มดี ขวาน รวมถึงสิ่งละอนั พนั ละนอ้ ยแต่ขาดไม่ไดอ้ ย่างไมข้ ีดไฟ ตลอดจน
หยูกยาท่ีจาํ เป็น จากนนั้ จึงเร่มิ เดินจากนาํ้ ตกแม่กลางไปตามทางเดินของ
ชาวบา้ น หยดุ แวะหุงหาอาหารและพกั คา้ งคืนเป็นระยะ สาํ หรบั เรื่องนา้ํ ไม่
ตอ้ งห่วง เพราะเดินริมสายนา้ํ ไปตลอดในช่วงแรก แต่ดว้ ยความท่ีไม่คนุ้ กบั

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 121

การเดินป่ าจึงทุลกั ทุเลพอสมควร หลายครง้ั ตอ้ งตกลงกนั ว่า จะไปทางชัน
นอ้ ยแตไ่ กล.. หรือชนั มากแตใ่ กลก้ ว่า

สําหรับการพักค้างคืนในป่ านั้น นอกจากต้องกินข้าวท่ีสุกๆ
ดิบๆ เพราะหุงกันไม่ค่อยเป็ นแล้ว ยังมีเรื่องการกางเต้นท่ีเพ่ือนๆ
โดยเฉพาะเทอดศกั ดิ์ ตอ้ งงดั เอาวิชาลกู เสือโท ลกู เสือเอก ออกมาใชเ้ ต็มท่ี
ไม่ว่าการผูกเง่ือน การใชม้ ีด ใชข้ วาน ทัง้ นีเ้ พ่ือไม่ใหไ้ ดอ้ ายชาวบา้ นแถบ
นนั้

เม่ือวนั สองวนั แรกผ่านไปจึงเร่ิมเดินเขา้ สปู่ ่ ารกทึบเป็นช่วงๆ ท่ีทงั้
มืด ทั้งเย็น แถมชืน้ แฉะมีตัวทากยั้วเยีย้ คอยดีดตัวเข้ามาเกาะดูดเลือด
ตั้งแต่สะเอวลงไปในทันทีท่ีเทา้ แตะพืน้ ทาํ ใหอ้ ยู่น่ิงไม่ไดต้ อ้ งเคลื่อนไหว
ตลอด แถมตอ้ งดึงถุงเทา้ คลุมกางเกงขายาวมดั ดว้ ยหนังสติ๊กใหแ้ น่น และ
เดินเรียงหนึ่งคอยใชก้ า้ นไมไ้ ผ่ท่ีหวั ไมพ้ นั ดว้ ยเสน้ ยาบหุ ร่ีขีโ้ ย ผสมดว้ ยปนู
แดงชุบนา้ํ พอหมาดๆ คอยป้ายแตะท่ีตัวทากใหม้ ันมว้ นตัวหลดุ ตกลงดิน
ซ่งึ เป็นประสบการณท์ ่ีนา่ เบอ่ื และเสียเวลาเอามากๆ

เม่ือผ่านบริเวณป่ าทึบไปได้ ก็ต้องรีบถอดเสือ้ และกางเกง และ
ช่วยกนั ตรวจสอบว่ามีตวั ทากเกาะอย่อู ีกหรือไม่ จากนนั้ จึงรีบนาํ เสือ้ ผา้ ไป
ซกั ก่อนสะบดั แลว้ ใสก่ ลบั ทนั ทีและออกเดนิ ต่อ

เม่ือพูดถึงเร่ืองซกั ผา้ นึกขึน้ มาได้ ตอนอยู่หอ 3 หรือหอปากหมา
สมัยอยู่ปีหนึ่ง ปกติช่วงเย็นมกั มีนอ้ งๆ สาวชาวบา้ น ท่ีบรรดาชาวหอจา้ ง
ซักรีดนําผ้ามาส่ง เราก็ตะโกนถามมาจากชั้นบนว่า “น้อง น้อง ราคา
เท่าไหร่” เธอก็แหงนหนา้ บอกว่า “สิบป๋ าย จา้ ว ..!” เราก็คุยกับเพ่ือนว่า
แหมคนเมอื งนีด้ า่ เกง่ จรงิ ถามดีๆ กลบั ตอบวา่ “..ฉบิ บหาย !” น่ีคอื เหตผุ ล

122 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.
หกหนุ่ม มช. ผู้สลักรอยไว้บนยอดดอยอนิ ทนนทเ์ มอื่ ปี พ.ศ. 2510

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 123

ว่าทาํ ไมตอ้ งมีเพ่อื น กมล ไปคอยสง่ ภาษาให้ มิฉะนนั้ อาจหลงทางได้
ไม่เกินความพยายาม ในท่ีสุดพวกเราก็พิชิตยอดดอยสูงสุดใน

สยาม ท่ีเย็นยะเยือกแม้เป็นเดือนตุลาคมเป็นผลสาํ เร็จ จากนั้นจึงนํา
กระป๋ องนมขน้ ใชแ้ ลว้ ท่ีบรรจดุ ว้ ยกระดาษเขียนช่ือพวกเราทุกคน ผกู กบั ก่ิง
ไมป้ ักลงในกองหินท่ีมีคนก่อไวก้ ่อนแลว้ ต่อมาจึงอธิษฐานขอใหป้ ระสบ
ความสาํ เรจ็ ในชวี ติ ซง่ึ ถือเป็นธรรมเนียมของผพู้ ชิ ิดยอดดอยทงั้ หลาย

ไมท่ ราบเป็นเพราะแรงอธิษฐานในครง้ั นนั้ หรือไม่ ท่ีทาํ ใหผ้ มคลาด
แคลว้ จากอนั ตรายสมยั ไปทาํ งานท่ีก่ิงอาํ เภอสุคิริน นราธิวาส หลงั จบจาก
มช. ใหม่ๆ ซ่ึงมีภารกิจรว่ มกบั รอ้ ย ร. 4052 และนิคมแวง้ เก่ียวกบั โจรจีน
คอมมิวนิสตท์ ่ีสมยั นนั้ มีชุกชุม โดยเฉพาะบริเวณเหมืองทองโต๊ะโม๊ะ และ
ต่อมาภายหลงั ยังทาํ ใหไ้ ดก้ ลับมาเป็นนายอาํ เภอท่ีจอมทองถึงส่ีปี ซ่ึงใน
โอกาสนนั้ ไดร้ ่วมประสานงานกบั ทหารอากาศบนยอดดอยอนิ ทนนทใ์ นการ
ก่อสรา้ งพระมหาธาตนุ ภเมทนีดล และพระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ เน่ืองใน
วโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงเจริญ พระ
ชนมพรรษาครบหา้ รอบเม่ือปี พ.ศ. 2530

ที่สําคัญ คงด้วยแรงอธิษฐานครั้งนั้นทําให้ผมได้สร้าง
ครอบครัวที่อบอุ่นกับสาวเชียงใหม่ พรพิมล มช. รุ่น 10 จาก
ภาควิชาจิตวิทยา ซึ่งภายหลังเธอยังได้เข้ารับราชการเป็ นอาจารย์
ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทาํ ให้ผมจึงยังคงใกล้ชิดกับ มช. ตลอด
มาจนบ้นั ปลายชวี ิต

124 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

“อาจารย์กําลังหาอะไรอยูค่ รบั ”

โดย.. เอนก กมิ สวุ รรณ

ผมถามอาจารยห์ มอยงยุทธ สจั จวาณิชย์ ซ่ึงกาํ ลงั เดินกม้ หนา้ กม้
ตาหาบางอยา่ งบนพนื้ ดิน

“คุณมาเดินเรียงหนา้ กระดานกบั ผมหน่อยเถอะ ผมกําลงั หาหัว
กระสนุ ปืน บางทอี าจตกอยแู่ ถวน”ี้
เป็นคาํ ตอบจากอาจารยห์ มอ
ขณะนั้นภาพของนักศึกษาหญิงสายตาส้ันปี 1 รหัส 09.. รุ่น
เดียวกับผม ปรากฏขึน้ ในความคิดอีกครง้ั ผมเห็นเธอครงั้ แรกในบ่ายวัน
หนึ่งหลงั เปิดเรียนเทอมหนง่ึ มาไดส้ กั สองสามวนั ท่ีโรงละครคณะมนุษย์ วนั
นัน้ รุน่ พ่ี 07 ใหน้ ้องๆ มาประชุมเพ่ือเลือกผูแ้ ทนชัน้ ปี และเปิดโอกาสใหม้ ี
การแสดงออกดว้ ยการรอ้ งเพลง
ผมจาํ ช่ือของเธอไม่ไดแ้ ลว้ ตอนนี้ แต่รูว้ ่าเธอนามสกุล พลางกูร มี
ศักดิ์เป็นหลานของศาสตราจารย์นายแพทย์ โอกาส พลางกูร คณบดี
คณะแพทย์ (หากตาํ แหน่งไม่ถูกตอ้ ง ขออภัยดว้ ยครับ) เธอดึงมือเพ่ือน
หญิงสองคนขึน้ ไปรอ้ งเพลง “ผูใ้ หญ่ลี” เพลงฮิตติดอนั ดบั สมัยนนั้ เพ่ือนท่ี
ขึน้ ไปรอ้ งดว้ ยคือ ศรีอัปสร สัตยุตม์ และกัญจนา สุวรรณพิมพ์ เพ่ือนรุ่น
เดียวกับเธอ พวกเธอรอ้ งแลว้ จาํ เนือ้ ไม่ค่อยจะได้ โอภาส วัยวัฒน์ เพ่ือน
รว่ มรุน่ เดียวกนั จงึ เดินเขา้ ไปช่วยรอ้ ง
ต่อมาไม่นาน น่าจะประมาณเดือนกว่าๆ ก็มีข่าวรา้ ยเก่ียวกบั เธอ
“นกั ศกึ ษา มช. ชายหญิงถูกยิงเสยี ชีวติ ทีถ่ นนนิมมานเหมินทร์” สาเหตมุ า

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 125

จากการชงิ รถจกั รยานยนต์ เหตเุ กิดในตอนหวั ค่าํ รุง่ เชา้ ขา่ วเศรา้ ก็กระจาย
ไปทั้งเมือง พ่อค้าแม่ค้าในตลาดทราบเร่ืองก่อนข่าวจากทางวิทยุเสีย
อกี บา้ นผมอยหู่ นา้ ตลาดจงึ ไดท้ ราบข่าวอย่างรวดเรว็

ในช่วงบ่ายๆ ผมจึงข่ีรถเคร่ืองไปดสู ถานท่ีเกิดเหตุ ถนนนิมมานเห
มินทรเ์ ม่ือปี พ.ศ. 2509 เป็นทุ่งรา้ งและป่ าละเมาะ ไม่มีรถสัญจรไปมา
เหมือนปัจจบุ นั ไม่มีเสาไฟฟ้าใหไ้ ฟส่องสว่าง กลางคืนมืดสนิท โรงแรมริน
คาํ ยงั อย่รู ะหวา่ งก่อสรา้ ง ถนนนิมมานเหมินทล์ าดยางมะตอยหยาบๆ จาก
ส่ีแยกรินคาํ ไปทะลุถนนสุเทพ คนท่ีใชเ้ สน้ นีม้ ีจุดมุ่งหมายท่ีจะไปสถานี
วิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ เพราะบางช่วงจะมีการเล่นดนตรีและขาย
เครอ่ื งดม่ื มาทราบรายละเอยี ดเพิม่ เติมว่า นกั ศกึ ษาชายเป็นรุ่นพ่คี ณะวิทย์
รุน่ 08

ผมเดินเรียงหน้ากระดานกับคุณหมอยงยุทธและผูช้ ายอีกสามสี่
คน เร่มิ จากบริเวณท่ีปัจจุบนั นีเ้ ป็นอาคารสมาคมศิษยเ์ ก่า มช. เดินลกึ เขา้
ไปถึงบรเิ วณ Uniserv สิ่งท่พี บคือหยดเลือด ไม่พบหวั กระสนุ แลว้ ความจาํ
เร่อื งนขี้ องผมกจ็ บลงแค่นี้

สี่สิบหา้ ปีต่อมา คือ ราวปี พ.ศ. 2554 ผมไดม้ ีโอกาสเจอคณุ หมอ
ยงยุทธท่ีรา้ นแกงรอ้ นบา้ นสวน ผมยกมือสวสั ดีอาจารยแ์ ละแนะนาํ ตัวเอง
พรอ้ มกับเล่าเร่ืองในอดีตว่าเคยเดินคน้ หาหัวกระสุนกับคุณหมอท่ีถนน
นมิ มานฯ ผมไดม้ โี อกาสทราบรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ หลงั จากเขา้ ใจไม่ชดั เจน
มาตลอดถึงการจบั คนรา้ ยรายนีไ้ ด้ ก่อนนนั้ ผมเคยไดย้ ินมาว่า คนรา้ ยข่ีรถ
ท่ขี โมยมาไปตามเสน้ ทางอาํ เภอลีแ้ ลว้ ถกู จบั ท่ีน่นั

126 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

คุณหมอบอกว่า เร่ืองการจับคนรา้ ยไดน้ ั้นไม่ใช่ฝีมือการทาํ งาน
ของตาํ รวจ แต่เป็นความบงั เอิญท่ีน่าแปลก คนรา้ ยข่ีรถเคร่ืองไปทางเชียง
ดาวในช่วงบ่ายวนั หน่ึงหลงั จากชิงรถไปแลว้ หลายวนั เสน้ ทางนีป้ กติจะมี
รถผ่านไปมาเบาบาง เจา้ หนา้ ท่ีท่ีด่านไดเ้ ลา่ ถึงเหตกุ ารณก์ ารจบั คนรา้ ยให้
คณุ หมอฟังว่า ก่อนท่ีคนรา้ ยจะข่ีรถมาถึงด่านตนเองกาํ ลงั หลับอยู่ จู่ๆ ก็
เหมือนมีใครมาปลกุ ใหส้ ะดงุ้ ตื่น แลว้ ก็เห็นคนรา้ ยข่ีรถเคร่ืองเขา้ มาท่ีด่าน
พอดี จึงลงไปสอบถามพดู คยุ คนรา้ ยมีอาการพิรุธ จึงมีการสอบถามอย่าง
หนกั จนคนรา้ ยบอกวา่ เป็นรถท่ชี ิงมาจากนกั ศกึ ษา มช.

เร่ื อ ง นี้ จ บ ล ง ด้ ว ย ก า ร อ่ า น คํ า พิ พ า ก ษ า ข อ ง ศ า ล จั ง ห วั ด
เชียงใหมใ่ ห้ประหารชีวิตผตู้ ้องหารายนี้

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 127

เม่อื ผมตอ้ งซื�อปื น

โดย..สมศกั ดิ์ วนชิ าชวี ะ

ในชีวิตนี้ ผมไม่เคยคิดอยากจะมีปื นเลย เพราะคิดว่าอาชีพ
สอน คงไม่ตอ้ งมีเร่ืองราวกบั ใครทงั้ นนั้ และคงไม่มีใครมาทาํ อะไรเรา จึง
ไม่จาํ เป็นตอ้ งมีปืน แต่วนั หน่ึงผมก็ตอ้ งเปลี่ยนใจ หาซือ้ ปืนมาเพ่ือปอ้ งกนั
ตวั เอง หากทา่ นสงสยั โปรดตามผมมา ท่านจะไดเ้ ขา้ ใจดขี นึ้

ผมเร่มิ อาชีพสอนท่ภี าควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เม่ือเดือน
มิถุนายน ปี 2512 พรอ้ มกบั เพ่ือนท่ีจบดว้ ยกนั ปี 2516 เราสองคนสอบได้
ทนุ รฐั บาลองั กฤษภายใตแ้ ผนโคลมั โบท่ีใหม้ หาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และควร
จะเดินทางไปราวปลายเดือนมิถนุ ายนเพ่ือเรียนภาษาก่อนเขา้ เรยี น แต่ทาง
ทนุ หาท่ีเรียนใหไ้ มท่ นั จึงขอเล่อื นไปอีกหนง่ึ ปี ทาํ ใหเ้ กิดเร่ืองขึน้

ค่าํ วนั หน่ึงในตน้ เดือนพฤศจิกายน หลงั จากทาํ งานท่ีตึกเสร็จราว
สองท่มุ เพ่ือนอยากกินกวยจ๊บั จึงชวนซอ้ นทา้ ยรถมอเตอรไ์ ซดเ์ ขา้ ไปกินใน
เมือง (เพราะปี 2516 ทัง้ หนา้ และหลงั มช. ไม่มีอะไรขายเลย ดา้ นหลงั มืด
สนิท ถนนดา้ นหน้าอาจพอมีรา้ นขายขา้ วตามส่ังอยู่บา้ ง) เม่ือรถว่ิงเลย
ทางแยกดา้ นขวามือท่ีจะไปคณะเกษตรฯ ไปนิดเดียว ยงั ไม่ถึงสะพานขา้ ม
คลองชลประทาน รถวิ่งชา้ ๆ กาํ ลงั คุยกันเพลินเพราะเดือนสว่าง ถนนโล่ง
ลมเย็นนิดๆ ฉับพลันก็ตอ้ งสะดุ้ง เพราะมีชายหนุ่มสองคน ถอดเสือ้ ว่ิง
พรวดออกมาจากขา้ งทาง ใชเ้ ทา้ ถีบลอ้ หนา้ ของรถ

ผมร้องเฮ้ยอ้วน! ได้เท่านั้นรถก็แฉลบล้มไถลไปกับพื้นถนน
ประมาณสิบเมตร ผมลกุ ขึน้ ไดด้ ว้ ยความโกรธ ฮอรโ์ มน Adrenaline หล่ัง

128 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

ออกมา (คิดในใจว่ากูมาของกูดีๆ เสือกมาทาํ กูได)้ ลุกขึน้ ไดว้ ิ่งเขา้ หาเลย
กะว่าตะลมุ บอนกัน ไม่กลวั อะไรแลว้ ตอนนนั้ ปรากฏว่าคนหน่ึงยกปืนสน้ั
(คงเป็นลูกซองเถื่อน ยิงไดห้ นึ่งนัด) เล็งมาท่ีผม ผมเลยงา้ งหมัดคา้ ง สติ
กลบั มาทันทีว่ามือเปล่าสไู้ ม่ไดแ้ น่ เลยกวาดสายตาไปตามขา้ งถนนดวู ่ามี
ไมส้ กั ท่อนไหม ยาวสกั เมตร ถา้ มีก็จะเอาวิ่งเขา้ ไปตีกบั มนั แต่ปรากฏวา่ ไม่
มี

มนั เดินเขา้ หาผมอกี ในระยะสกั สิบเมตร ผมก็ถอยใหเ้ กิดระยะห่าง
แลว้ กม้ หาไมอ้ ีก ทาํ กนั แบบนีส้ กั สามครง้ั ทาํ ใหผ้ มเขา้ ใกลส้ ะพานมากขึน้
พอดีขณะนัน้ มีนกั ศึกษาหญิงซอ้ นกนั มาสองคน ผมจึงโบกมือแลว้ ตะโกน
ใหก้ ลบั ไปเขา้ ทางหนา้ มช. เพราะมีคนรา้ ยอยู่ สกั พกั มีนักศึกษาชายซอ้ น
กนั มาสามคน เขาจาํ ผมไดเ้ พราะเป็นคณะวทิ ยฯ์ ผมเลยบอกใหเ้ ขากลบั ไป
บอกยามท่ีประตหู ลงั และแจง้ ตาํ รวจดว้ ย จากนนั้ ผมก็วิง่ ขา้ มสะพานไปยัง
แปลงเพาะของฟอรด์ ตะโกนถามแขกยามว่ามีมีดดาบหรืออาวุธอะไรให้
ผมยืมบา้ งไหม? กะว่าจะว่ิงกลบั ไปสอู้ ีกถา้ มีอาวธุ แขกตอบว่าไม่มี (มนั คง
ไม่อยากย่งุ )

เม่ือแขกไม่มี ผมต้องว่ิงไปให้ถึงโรงแรมรินคาํ จึงจะเจอคนมา
ช่วย สมยั นนั้ ปี 2516 ถนนสายนีเ้ ปลี่ยวแทบไม่มีบา้ นคนเลย (ถนนนมิ มาน
เหมินทร)์ นอกจากตอนใกลร้ นิ คาํ (หนังคนละมว้ นกบั ปี 2561 ถา้ ผ่อนท่ีไว้
บา้ งตอนนีค้ งรวย) ผมวิ่งไปเร่อื ยๆ จนเกือบถึงโรงแรม รูส้ กึ เหน่ือยเพราะว่ิง
มาไกล พอดมี ีไฟรถสอ่ งตามหลงั มาจึงหยดุ แลว้ โบกมือ พ่ีคนนนั้ ก็หยดุ เลย
ขอแกพากลบั ไปชว่ ยเพ่ือนท่ีนอนสลบอยู่

เม่ือไปถงึ ท่เี กิดเหตุ รถหายไปแลว้ เพ่อื นกห็ ายไปดว้ ย จากแสง

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 129

จนั ทรม์ องเหน็ เพียงกองเลือดอยบู่ นถนน หนั ไปรอบๆ ดวู ่าเพ่ือนหายไปไหน
ปรากฏว่าเพ่ือนรูส้ ึกตัวพอดี ลกุ ขึน้ ยืนอยู่ในป่ าละเมาะขา้ งทาง (มันหาม
เพ่ือนผมไปโยนในป่ า คน้ เอาเงินเอาบตั รไปหมด แลว้ จึงเข็นรถวิ่งตามคัน
คลองไปทางแม่เหียะ เพราะรถคลชั หกั ข่ไี ม่ได้ ตอนหลงั ตาํ รวจว่งิ รถตามคนั
คลอง มนั จึงทิง้ รถแลว้ ว่งิ หนี จงึ ไดร้ ถคืน) ผมรบี วิ่งไปหาเพ่ือนดว้ ยความดี
ใจ แต่เห็นเลือดเต็มหนา้ กลวั ว่าจะถกู ลกู ตาดว้ ย จึงทดสอบโดยยกนิว้ ถาม
เพ่ือนว่าเห็นก่ีนิ้ว เพ่ือนตอบถูก จึงรีบพาขึ้นรถพ่ีผู้ใจดีขับไปส่งถึง
โรงพยาบาลสวนดอก ผมขอบคณุ พ่ีท่เี สียเวลามาช่วยทาํ ใหไ้ ปทาํ ธรุ ะชา้ ไป

จากนัน้ พาเพ่ือนเขา้ ไปเย็บแผลท่ีคิว้ 15 เข็มและตอ้ งนอนคา้ งท่ี
โรงพยาบาล ผมเดินกลบั มช. มาถึงบา้ นพักสาํ รวจดูตัวเองก่อนอาบนาํ้
ปรากฏว่ามีแผลครูดกบั ถนนท่ีแขนและขอ้ ศอกเลือดออกซบิ ๆ นาฬิกาไซโก้
เรือนแรกท่ีซือ้ 450 บาท (เงินเดือน 1,150 บาท) ครูดกับพืน้ ถนนกระจก
และเข็มหลดุ หมด นอนคิดว่าถา้ ผมมีปืนคงวง่ิ เขา้ ยงิ กนั สนกุ แน่ แต่วนั นีแ้ พ้
มนั เพราะไมม่ ที างสไู้ ด้

วนั รุง่ ขึน้ ตื่นเชา้ กินขา้ วแลว้ รีบไปขอใบอนุญาตซือ้ ปืนเลย เขาสอบ
ประวัติแลว้ รอหนึ่งอาทิตยไ์ ดใ้ บอนุญาต ผมรีบเบิกเงินทัง้ หมดท่ีมีเก็บไว้
3,500 บาท ขึน้ รถไฟไปกรุงเทพฯ ไปท่ีรา้ นคา้ สวสั ดิการกรมตาํ รวจ ซือ้ ปืน
revolver Smith & Wesson .22 magnum หนึ่งกระบอกราคา 3,000
บาท เขาแถมกระสนุ มา 200 นดั (ราคาตอนนีค้ งสามหม่นื กวา่ บาทแลว้ )

เม่ือกลบั ถึงเชียงใหม่ รอจนแผลท่ีเย็บของเพ่ือนหายสนิทในหน่ึง
เดือน จากนั้นผมชวนเพ่ือนใหข้ ่ีเส้นทางเดิมอีก เว้นบา้ งบางวันอีกส่ีครง้ั
คราวนีผ้ มถือปืนไปดว้ ยพรอ้ มกระเป๋ าใส่ลูกกระสุนสาํ รองหากยิงกันเกิน

130 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

กว่าหกนัด แขวนพระไปด้วย ไม่มีความกลัวเลย ถ้าได้เจออีกคราวนี้
กระโดดลงแลว้ ยิงกันสน่ันเลย พยายามอยู่แต่ไม่เจออีก สดุ ทา้ ยก็ถึงเวลา
ตอ้ งไปองั กฤษ เลยจบเร่อื งความแคน้ ไป

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 131

บรรยากาศ
สมยั เป�นนักศึกษา

132 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.
ศาลาธรรม อ่างแก้ว-เกาะลอย และร้านลุงหนวดหน้า มช. ราว 50 ปี ทีแ่ ล้ว

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 133

บรรยากาศใน มช. ช่วงทศวรรษแรก
ผ่านบทกลอน

โดย..สรุ ยี ์ ณ เชยี งใหม่

ยอ้ นราํ ลึกความเป็ นมาสถานนะ ในวาระ "เอ็นทร้านซ"์ ได้ใจเกษม
เป็ น "ลูกชา้ งรุ่นทสี่ ่"ี ใจปรีดเิ์ ปรม เอบิ อิม่ เอมอารมณน์ ุชสดุ ประมาณ
คอื "ลกู ช้างขาวบริสุทธิ-์ มนุษยศาสตร”์
ใสสะอาดด้วยวัยใจสุขศานต์
กา้ วสู่รัว้ มหาวทิ ยาลัยใจเบกิ บาน สุขสราญตามครรลองของชวี ี

ความรู้สกึ เหมอื นหลุดไปในโลกกวา้ ง มองทุกอย่างแปลกใหม่ในวิถี
ได้สมั ผสั แนวทางอย่างเสรี มีรุ่นพี่คอยรอรับประทบั ใจ
ธรรมชาตสิ ะอาดตาบรรยากาศ
แสนสุขสนั ตห์ นั มองไปทางใด รุกขชาตพิ ฤกษาพนั ธอุ์ นั สดใส
เหมือนอยใู่ นดินแดนแสนสวยงาม

"ต้นพยอม" หอมมาลดี อกสขี าว "ต้นทองกวาว" สแี สดใหด้ อกไหวหวาม

"ตน้ ตะแบก" ดอกม่วงพราวอยูว่ าววาม สลับตามฤดกู าลบานเรียงราย

"ศาลาธรรม" ตั้งเด่นเป็ นสง่า งามลาํ้ ค่าเคยี ง "ลานสกั " ประจักษห์ มาย

"ศาลพระภูม"ิ ค้มุ ขวญั พรรณราย กราบกรานกรายนอบน้อมพร้อมขอพร

เดินสถลวนซ้ายไปอา่ งแกว้ งามยิ่งแลว้ สงบนิ่งในสงิ ขร
เย็นวารีไหลลงมาสู่สาคร เอือ้ อาทรเลยี้ งหลอ่ ตอ่ ชวี นั
มี "เกาะลอย" โพน้ รอบขอบ "อ่างแก้ว" วางเป็ นแนวกนั้ ไว้ได้จดั สรร
ให้ "ลูกชา้ ง" มกี ิจกรรมสานสมั พันธ์ พบปะกนั ตามคะเน วัน เวลา

134 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. เป็ นพาหนะสญั จรร่อนไปหา
บา้ งไว้พาไปสงั สรรคก์ นั ในเมอื ง
"จักรยานยนต"์ มีกนั เหมอื นพนั ธะ
บา้ งมคี ู่ "ผู้รู้ใจ" ซ้อนไป-มา

ชาว มช. อยูห่ อพกั เป็ นสว่ นใหญ่ คนเชยี งใหมไ่ ป-กลบั เรยี นเวยี นตามเรื่อง

กาํ หนดทางวางเข็มทศิ ชวี ติ เรอื ง ใครจะเฟื่ องใครจะฟูได้รู้กัน

ถนนห้วยแกว้ ..ลาดยางผา่ นอยู่ดา้ นหน้า มรี ้านคา้ อาหารวางตา่ งแขง่ ขัน

"ร้านเจ๊ม้อย"-"ร้านลงุ หนวด" อวดประชนั เป็ นเพิงกนั้ แดดฝนพอทนไป

กติ ติศพั ท์ "ร้านลุงหนวด" อวดลือล่นั เครดติ กนั "แลว้ ชกั ดาบ!" ปราบไม่ไหว

ลุงใจถงึ "ลูกค้าหลบ!" ไมว่ ่าไร! จดเอาไว้ "ลงบญั ชี" มีมากมาย

ผ้มู ชี อ่ื ในบญั ชที เี่ ตบิ ใหญ่ มาเชียงใหมเ่ พอื่ ตรวจงาน "ทา่ นทงั้ หลาย"

รีบรุดเยีย่ ม "ลุงหนวด" กนั เรียงราย ด้วยมุ่งหมายคารวะซึง้ พระคุณ

จงึ เป็ นความสมั พันธอ์ นั บริสุทธิ์ ใจผอ่ งผุดโอบเอือ้ ชว่ ยเกือ้ หนุน
จติ สาํ นึกความดีทก่ี ารุณ วนเวียนหมุนกลบั มาเอือ้ อารี
มอี กี ร้านไดย้ า่ งกราย "ร้านฝายหนิ " ตั้งอย่ถู ิ่น "หลังเขา" เนาวิถี
อาหารอร่อยบริการเป็ นอยา่ งดี เพราะว่ามี "อาก"ู๋ อยบู่ ัญชา

ดว้ ยสายใยสมั พนั ธฉ์ ันพนี่ ้อง ทัง้ เพื่อนพ้อง "ลกู ชา้ ง" ตา่ งปรารถนา
อตตฺ านํ ทมยนตฺ ิ ปณฑฺ ติ า ฝึ กฝนมาสาํ เรจ็ ผลด้วยตนพลัน
คอื คาํ ขวญั พนั ผูกแด่ "ลกู ช้าง"
รุ่นสรู่ ุ่นมี "สีม่วง" บว่ งคลอ้ งกนั ให้กา้ วยา่ งอยา่ งเลศิ หรูสู่ความฝัน
เป็ นเกลียวฝั้นม่นั คนึงถงึ มช.

ทศวรรษแรกชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. / 135

ใครๆ กน็ ัดกันท่ี...ยูเนียน

โดย..ทวศี กั ดิ์ ระมงิ คว์ งศ์

นักศึกษา มช. รุ่นแรกๆ ทุกคนรูจ้ ัก “ยูเนียน” ตอ้ งบอกว่ายูเนียน
เป็นแลนดม์ ารค์ ของลกู ชา้ งรุ่นบุกเบิก ตอนเปิด มช. แรกๆ จะมีตึกอย่ไู ม่กี่
ตึก ท่ีสาํ คัญก็มีศาลาธรรม ตึกอธิการ หอ 1 หอ้ งสมุด คณะวิทยาศาสตร์
สงั คมศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์ และก็ “ยเู นียน”

ยเู นียนเป็นอาคารหลงั คาทรงสมยั ใหม่แปลกตา ตวั อาคารแยกกนั
เป็นสองส่วนคือส่วนท่ีทาํ งาน และท่ีพักผ่อน ส่วนท่ีทาํ งานเป็นของสโมสร
นักศึกษาแยกซอยเป็นห้องเล็กสามสี่ห้อง ซ่ึงเป็นทั้งท่ีทํางานและเก็บ
อปุ กรณข์ องชมรมต่างๆ ทงั้ กีฬา ดนตรี ส่วนท่ีพกั ผ่อนเป็นอาคารชนั้ เดียว
ทรงสูงเป็นโถงโล่งๆ ขา้ งในไม่มีเสาคา้ํ ยนั จึงทาํ ใหด้ กู วา้ งขวางมีพืน้ ท่ีมาก
หนา้ ต่างประตทู งั้ หมดเป็นกระจกใหค้ วามรูส้ ึกโปร่งโล่งสบายนอกจากใช้
เป็นท่พี กั ผอ่ นของนกั ศกึ ษาแลว้ บางครง้ั ใชเ้ ป็นท่ีแข่งกีฬาดว้ ย

ในเวลาปกติก็จะมีโต๊ะมา้ น่งั ใหน้ กั ศกึ ษาไดใ้ ชพ้ กั ผ่อนพดู คยุ กนั ทงั้
ในสว่ นอาคารและนอกอาคาร นกั ศกึ ษาจะใชย้ ูเนียนนีเ้ ป็นท่ีพกั ผ่อนพบปะ
สงั สรรคย์ ามว่างจากการเรียน ถา้ เป็นสมยั นีย้ เู นียนคงตอ้ งมีรา้ นกาแฟสด
หอมฉุยใหบ้ ริการอยู่ แต่ในสมยั โนน้ มีเพียงรา้ นขายขา้ วแกงเล็กๆหน่ึงรา้ น
พอใหน้ กั ศกึ ษาไดพ้ ่งึ พาไดบ้ า้ ง

พดู ไดเ้ ตม็ ปากวา่ สมยั แรกๆ “ใครๆกน็ ดั กนั ท่ี ยเู นียน”
ตอนอยู่ปีสองหรือตอนช่วงปี 2510 ผมกับเพ่ือนสามคนได้แก่..
เป็ด-วตั ร ลตี้ ระกลู ชาต-ิ อนชุ าติ อนนั ตเศรษฐ และโก๋ ปักก่งิ ไดร้ วมตวั กนั

136 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

นิธยิ า ประทมุ รัตน์ (รัตนาปนนท)์ นักศกึ ษารุ่นแรก (07) เต๊ะท่าที่ ยเู นียน

ฝึกซอ้ มหวงั จดั ตงั้ วงดนตรีแบบชาโดวข์ นึ้ มา เพลานนั้ การเป็นนกั ดนตรรี ูส้ กึ
ว่าเป็นอะไรท่ีมันเท่มาก เราได้สิทธิ์ใชเ้ ครื่องดนตรี กีตา้ ร์ และกลองของ
สโมสร (สมช.) และซอ้ มกนั อยใู่ นส่วนท่เี ป็นหอ้ งทาํ งานของชมรมดนตรี จาํ
ไดว้ ่าเพ่ือนๆ ท่ีเรียน รด. อย่ทู ่ีตกึ ชีววิทยา ซ่ึงตัง้ อยู่ไม่ไกลนักมาชมและบ่น
ใหผ้ มฟังวา่

“มึงเลน่ อะไรกนั วะ เสยี งดงั โคตร กูเหน็ มงึ ซอ้ มอย่เู พลงเดยี ว
เพลงอนื่ ไม่มีรึ?”
ยอมรบั ว่าเสยี งดงั แนเ่ พราะเลน่ กนั มนั โคตร แต่ท่ีเลน่ อย่เู พลงเดียว
กเ็ พราะว่าแคเ่ พลงเดียวยงั ไม่ผ่าน ซอ้ มไปลม่ ไปตลอด ผลก็คือวงนีไ้ ม่ไดผ้ ุด
ไมไ่ ดเ้ กิด ท่หี วงั อยากเท่ใหส้ าวมองตรมึ ก็บ๋ยุ ไป
อีกเหตุการณ์สาํ คัญท่ีผมจาํ ไดไ้ ม่ลืมก็คือ การไดม้ ีโอกาสแข่งขัน
แบดมินตนั ในอาคารยูเนียน เน่ืองจากเป็นอาคารทรงสงู และไม่มีเสาคา้ํ ยนั

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 137

ในอาคาร เพลานั้นยังไม่มีคอรต์ แบดมินตันมาตรฐานใน มช. ยูเนียนจึง
สามารถแปลงกายเป็นสนามแข่งขนั แบดมนิ ตนั ไดอ้ ย่างดี

ปีนั้นผมเป็นนักแบดมินตันของคณะวิทยาศาสตรแ์ ละวันนัน้ เป็น
วนั ท่ีคณะวิทยาศาสตรต์ อ้ งเจอกบั คณะสงั คมศาสตร์ เป็นการแข่งขนั ชาย
เด่ียวคู่ท่ีมันมากและต้องจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ เพราะนักแบด
วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นนอ้ งชาย (แทๆ้ ) ของนกั แบด (พ่ีชาย) สงั คมศาสตร์

สองพ่ีนอ้ งแข่งขนั กันอย่างเมามนั ผลดั กันรุกผลดั กันรบั ท่ามกลาง
เสียงเชียรข์ องนกั ศึกษาชายหญิงจากทงั้ สองคณะ นกั ศึกษาหญิงดทู ่าจะเท
เสียงเชียรม์ าใหน้ ักแบดวิทยาศาสตรเ์ ป็นหลกั ...แฮ่ สองเกมผ่านไปอย่าง
เมามันและเหน่ือยหอบของนกั แบดปรากฏว่าเสมอกนั หน่ึงต่อหนึ่ง ตอ้ งชิง
ดาํ กนั ในเกมท่สี าม ตดั ตอนมาว่าแมทชน์ นั้ สงั คมเฉือนชนะไปแบบเฉียดฉิว

ถา้ ถามว่าทาํ ไมผมแพก้ ็จะขอตอบแบบเดียวกบั ท่ีสามารถ พยคั ฆ์
อรุณ อดีตนักมวยแชมเปี้ยนโลก ท่ีใหส้ ัมภาษณ์นักข่าวตอนแพ้และเสีย
แชมป์ ใหก้ บั เจฟ ฟีนิกซน์ กั ชกชาวออสเตรเลยี วา่

“ผมไม่ไดแ้ พท้ างมวยเจฟ ฟีนกิ ซ์ แคแ่ พต้ วั เองเพราะเป็นลม
(ซอ้ มนอ้ ย)”
มาคราวเม่ืออยู่ปีสองตอนเทอมท่ีสอง มีอีกเหตุการณ์ระทึกท่ี
เกิดขึน้ ท่ียูเนียนท่ีผมไม่ลืม เพลานั้นพวกผมนักศึกษาปี สองเมเจอร์
ธรณีวิทยาประมาณย่ีสิบคน มีความรูส้ ึกวา้ ว่นุ ฮอรโ์ มนขึน้ สงู เก่ียวกับการ
สอนของอาจารยท์ ่านหน่ึง ซ่ึงพวกเราสรุปกันว่าสอนไม่รูเ้ ร่ืองและชอบมี
นาํ้ โหเม่ือพวกเราสอบถามซักไซ้ ท่านก็จะสอนไปหรือตัดบทพวกเราไป

138 / ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช.

แบบใหเ้ สียอารมณท์ งั้ สองฝ่าย เหตุการณม์ าถึงท่ีสุดวันท่ีอาจารยน์ ดั พวก
เราสอบมดิ เทอม

ไม่รูใ้ ครเป็นคนต้นคิด แต่พวกเราทุกคนตกลงกันว่าเราจะไม่เขา้
สอบกนั เรายกโขยงไปน่ังสุมหวั กนั ท่ียูเนียน หลายคนควกั บุหรี่ออกมาอัด
ลึก เราน่ังคุยวิจารณ์วิเคราะหว์ ่าอะไรจะเกิดขึน้ กบั พวกเรา แลว้ เราก็สรุป
กนั เองวา่ เราทาํ เพ่อื ใหเ้ กดิ สง่ิ ดีดกี บั รุน่ อ่ืนต่อไป

พวกผมน่งั ใจเตน้ กนั ไมน่ านนกั อาจารยท์ ่านนนั้ ก็ตามมาท่ียเู นียน
คาํ ขาดท่ีอาจารยใ์ หก้ บั พวกเราคือ

“ผมใหเ้ วลาพวกคณุ 15 นาทกี ลบั ไปเขา้ หอ้ งสอบ”
แลว้ อาจารยก์ ็เดินกลบั ไปแบบไม่สนอะไรพวกเราอีก ทว่า คาํ ขาดนั้นใช้
อะไรกับพวกเราไม่ได้ พวกเราไม่มีใครไปเข้าห้องสอบ ท้ายสุดหลังการ
สอบสวนใหป้ ากคาํ ผลสรุปก็คือ ถือว่าวิชานีไ้ ม่มีสอบมิดเทอมมีเพียงสอบ
ไฟนอลรอ้ ยคะแนน ไม่รูว้ ่าในสายตาของอาจารยอ์ าวโุ สสมัยนนั้ มองพวก
เราแบบใด และทา่ นอาจราํ พงึ ราํ พนั ว่า

“เฮอ้ เดก็ สมยั น”ี้
พอมาปีสี่เพ่ือนเรา เรศ-นเรศ สตั ยารกั ษ์ ไดร้ ่วมตงั้ ชมรมขึน้ มาท่ี
ยูเนียน ส่วนใหญ่สมาชิกก็ชาวธรณีอีกน่นั แหละ เพราะว่างมากเน่ืองจาก
วชิ าท่ีเรียนสอนโดยขา้ ราชการจากกรมทรพั ยากรธรณีเฉพาะเสาร-์ อาทิตย์
เพลงประจาํ ชมรมนีม้ ีเนือ้ รอ้ งวา่
"เฮ้ บูม ถยุ ถยุ ถยุ ถยุ
วแี คนถยุ ขากกก ถยุ "
คลบั คลา้ ยคลบั คลาว่า ประธานชมรมถยุ คือนา้ มล เคมี

ทศวรรษแรกชีวติ นกั ศกึ ษา มช. / 139

บันทกึ วนั เลือกผู้แทนชั�นปี 1

โดย..สวุ ฒั น์ กอไพศาล

ศุกรท์ ่ี 7 กรกฎาคม 2510 วันนีป้ ระชุมเชียรเ์ ช่นเคยและจะมีการ
เลือกผู้แทน (ประธาน ) ชั้นปี 1 ของคณะวิทยาศาสตร์ในท่ีประชุม
นักศึกษามาประชุมพร่งั พรอ้ มกว่า 300 คน จนตอ้ งยืนกนั ตามบันไดและ
ระเบียง ฉนั กม็ าประชมุ เหมอื นกบั เลือดวิทยาอ่นื ๆ

ไม่ตั้งใจมาก่อนเหมือนกันว่าจะมาสมัครหรือเตรียมตัวเลือก
ตาํ แหน่งนั้นกับเขา เพราะรูส้ ึกว่าหนักใจพอดูในภาระหน้าท่ีนั้น ฉันก็รบั
หน้าท่ีหัวหน้าเภสัชอยู่แล้ว แต่เม่ือเห็นรุ่นพ่ีพูดว่า ต้องการคนท่ีมีความ
ตงั้ ใจจริงๆ และเป็นคนท่ีเคยผ่านงานมายิ่งดี เลยทาํ ใหเ้ กิดกาํ ลงั ใจ จวบ
กบั เพ่ือน “จรูญ” เสนอช่ือขนึ้ ไป เลยจดบนกระดาษเลือก

ผูช้ ายท่ีไดร้ บั การเสนอช่ือมี 6 คนดว้ ยกัน ส่วนมากมาจากเตรียม
อดุ ม ส่วนผูห้ ญิงมี 2 คน มี เจา้ เขมรศั มี ขุนศึกเม็งราย กับคณุ พงษ์จนั ทร์
ชนะนนท์

มีการแนะนําตัวแต่ละบุคคล ฉันเองแนะนําไปว่า มาจากสวน
กหุ ลาบ ตาํ แหน่งท่ีเคยเป็น ประธานสภายุวกสิกรนครปฐม ประธานสภายุ
วกสิกรแห่งชาติ หัวหน้าชั้น หัวหน้านักศึกษาวิชาทหารสวนกุหลาบ
วิทยาลยั และตาํ แห่งสุดทา้ ยท่ีไดร้ บั คือหวั หนา้ คณะกรรมการเตรียมเภสชั
ศาสตร์ ปีท่ี 1 ผลงานผมมีเพียงนี้ หากว่าเป็นท่ีพึงพอใจแก่ท่านก็โปรด
เมตตาเลือกผมดว้ ย

140 / ทศวรรษแรกชีวิตนกั ศกึ ษา มช.

เสียงตบมือนานสน่นั กว่าใครๆ เม่ือพดู เสร็จ การพดู ผ่านไปทีละคน
เรียกคะแนนเสียงจากผูค้ นมากพอสมควร จากนัน้ ก็แจกบัตร ทุกคนก็กา
บตั รเลือกตามหลักประชาธิปไตย แลว้ มีการนับคะแนนเหมือนกนั กบั การ
นบั คะแนนตอนท่ีสมคั รตาํ แหนง่ ประธานสภายุวกสิกรนครปฐม เราเป็นคน
ท่ี 5 เบอร์ 5 คะแนนก็นาํ แต่แรกเรม่ิ ตน้ ทเี ดยี ว

ส่วนผู้หญิง เจ้าเขมรศั มี ขุนศึกเม็งราย กับคุณพงษ์จันทร์ ชนะ
นนท์ สูสีคู่คี่กันตลอด ทาํ เอานิสิตวิทยาศาสตรน์ ่ังหายใจไม่สะดวกตามๆ
กนั สว่ นคะแนนผชู้ ายฉนั ก็ยงั นาํ อย่ตู ลอด

ท่ีสุดเม่ือประกาศผลออกมา ประธานฝ่ ายชายได้แก่ฉันเอง
ประธานฝ่ ายหญิงไดแ้ ก่คณุ พงษ์จนั ทร์ ชมะนนท์ ฉันไดค้ ะแนน 138 (ไดท้ ่ี
1 จากผูส้ มคั รฝ่ ายชาย 6 คน) คณุ พงษ์จนั ทร์ ไดค้ ะแนน 139 (ไดท้ ่ี 1 จาก
ผสู้ มคั รฝ่ายหญิง 2 คน)

รูส้ ึกดีใจเป็นท่ีสดุ ไดข้ ึน้ ไปปราศรยั กลา่ วตอบขอบคุณ เย็นนีก้ ลบั
มาถงึ หอพกั (ว.1 อ.1) เขียนจดหมายถงึ คณุ พอ่ คณุ แม่...


Click to View FlipBook Version