The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bo.marin123, 2022-03-03 03:39:39

แผนการจัดการเรียนรู้

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

แผนการจัดการเรยี นรู้

วิชาเพิ่มเติมเคมี 4 รหัสวิชา ว30224

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

นางสาวมารสิ า แอ่งสธุ า

ตาแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์

โรงเรยี นเพ็ญพิทยาคม

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 20
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการจดั การเรียนรู้
วชิ าเพม่ิ เตมิ เคมี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนเพ็ญพทิ ยาคม

นางสาวมารสิ า แอ่งสธุ า
รหสั ประจำตวั นักศกึ ษา 60100141113

สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ (เคม)ี

การฝึกปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1
รหัสวชิ า ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2)

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

แผนการจดั การเรยี นรู้
วชิ าเพ่ิมเติมเคมี 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนเพ็ญพิทยาคม

นางสาวมารสิ า แอ่งสธุ า
รหสั ประจำตัวนกั ศึกษา 60100141113

สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (เคม)ี

การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1
รหัสวิชา ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2)

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

1

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติมเคมี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว30224 เล่ม
นี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและให้นักเรียนบรรลุ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ /ตัวช้วี ดั ท่ีกำหนดไว้ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้พื้นฐานให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
และนำปัญหาที่พบจากประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการอบรมสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเทคนิคและวิธีการสอนการวัดผลประเมินผล จิตวิทยาการเรียนรู้ ตลอดจนความรู้ที่ได้จาก
การศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง มาจัดทำแผนการจัดการเรียนร้ใู นครั้งน้ี

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ในหน่วยการเรียนรู้จะมีรายละเอียดของกิจกรรมการเรีย น
การสอนแหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลรวมทั้งยงั มีใบกิจกรรมประกอบดว้ ยสามารถนำไปให้
นักเรียนทำประกอบกับการสอนได้ นอกจากนี้ยังมีใบกิจกรรมไว้ให้สำหรับครูผู้สอนด้วย ซึ่งจะทำให้
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนบรรลุมาตรฐาน การเรียนรู้ได้เต็ม
ศกั ยภาพอย่างแท้จริง

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้สอนเองและ
เป็นประโยชน์ต่อผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน และผู้สอนแทนเป็นอย่างมาก หากผิดพลาดประการใด
ผู้จดั ทำก็ขออภยั มา ณ โอกาสนี้

มาริสา แอ่งสธุ า

สารบัญ หน้า

เร่อื ง ข
คำนำ 1
สารบัญ 2
ความเปน็ มาและความสำคัญ 3
เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ 3
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 4
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 7
คำอธิบายรายวิชา 9
โครงสรา้ งรายวิชา 10
หนว่ ยท่ี 10 กรด-เบส 18
30
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 ปฐมนเิ ทศ 40
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ทฤษฎกี รด-เบส 49
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 คู่กรด-เบส 59
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 การแตกตัวของกรดและเบส 72
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 การแตกตวั ของไอนำ้ 84
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 pH ของกรดและเบส 96
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ปฏิกริ ยิ าระหว่างกรดและเบส 108
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 การไทเทรตกรดและเบส 115
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 สารละลายบฟั เฟอร์ 116
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 10 การประยุกต์ใช้ความรู้ 126
หนว่ ยที่ 11 เคมไี ฟฟา้ 139
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 11 เลขออกซเิ ดชัน 153
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 12 ปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์ 159
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 การดลุ สมการรีดอกซ์ 180
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14 เซลล์กัลวัลนกิ 189
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15 ประเภทของเซลล์กัลวัลนิก 199
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16 เซลล์อิเล็กโทรไลต์ 208
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17 การปอ้ งกนั การกดั กร่อนของโลหะ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 18 ความก้าวหนา้ การกดั กร่อนของโลหะ
เอกสารอา้ งอิง

1

กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ความเปน็ มาและความสำคัญ
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.

๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ได้กำหนดสาระ การ
เรยี นรอู้ อกเป็น ๔ สาระ ได้แก่ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระ
ที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยีมีสาระเพิ่มเติม ๔ สาระ ได้แก่ สาระ
ชีววิทยาสาระเคมีสาระฟิสิกส์และสาระโลกดาราศาสตร์และอวกาศซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตร ท้ัง
ในด้านของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสำคัญ
อย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ให้มี ความต่อเนื่อง
เชื่อมโยงกัน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สำหรับกลุ่มสาระ การเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียน เป็นพื้นฐาน
เพื่อให้สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชีวิตหรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้ วิทยาศาสตร์ได้โดย
จัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาแต่ละสาระในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยง ความรู้กับ
กระบวนการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเปน็
เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะ กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูล หลากหลายและ
ประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย(ี สสวท.) ตระหนัก
ถึงความสำคัญ ของการจัดการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ท่ีมุ่งหวงั ให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้
จัดทำตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา
ครูผู้สอน ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ
ได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครูสื่อประกอบการเรียน การสอน ตลอดจนการวัด
และประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับ
ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้น
นี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระ การเรียนรู้เดียวกัน และระหว่าง
สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดจน การเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทาง

2

วิทยาศาสตร์กบั คณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มี ความทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลง
และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับ นานาชาติกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์

เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรม์ งุ่ เน้นใหผ้ ้เู รียนได้คน้ พบความร้ดู ว้ ยตนเองมากทีส่ ดุ เพือ่ ให้

ได้ทั้งกระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้ มา
จัดระบบเปน็ หลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จงึ มีเป้าหมายที่
สำคัญ ดงั นี้

๑. เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจหลกั การ ทฤษฎีและกฎที่เปน็ พื้นฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
๒. เพ่ือให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละข้อจำกดั ในการศกึ ษา
วชิ าวิทยาศาสตร์
๓. เพ่ือให้มที ักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นควา้ และคิดค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพือ่ ใหต้ ระหนักถึงความสัมพันธร์ ะหว่างวิชาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยมี วลมนุษย์ และ
สภาพแวดล้อมในเชิงท่มี ีอทิ ธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกัน
๕. เพือ่ นำความรู้ความเข้าใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ตอ่
สงั คมและการดำรงชีวิต
๖. เพือ่ พฒั นากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หา และ การ
จดั การ ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ

๗. เพ่อื ให้เปน็ ผทู้ ม่ี ีจิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมในการใช้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์

จากความเปน็ มาและความสำคญั ดังกล่าวข้างต้น การจดั การเรียนการสอนในรายวิชาเคมี 4
ว30224 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 จงึ จำเป็นอย่างยง่ิ ท่ีตอ้ งจดั ทำเอกสารหลักสตู รระดบั ช้นั เรียนกลุ่ม
สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560) ข้ึนเพื่อใชเ้ ป็นกรอบและแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู หส้ อดคล้องกบั ตวั ชีว้ ดั
และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรท์ ีก่ ำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560)

3

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใช้

ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ตอ่ รองเพอ่ื ขจดั และลดปญั หาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไมร่ บั ข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผล
และความถกู ต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วธิ ีการสือ่ สาร ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อ
ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรอื สารสนเทศเพอื่ การตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา
ใช้ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา และมีการตดั สินใจท่มี ีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำ
กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
บุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล
กระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีดา้ น
ตา่ ง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้
การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

4

7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

ทกั ษะกระบวนการ/ทักษะการคดิ
1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
2. กระบวนการแกป้ ญั หา
3. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
4. กระบวนการกลุม่

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี :

1. เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบัติ
ของสาร แกส๊ และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทั้ง
การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. เขา้ ใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธใ์ นปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า
เคมี สมดุลในปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมบตั แิ ละปฏกิ ิริยาของกรด-เบส ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟา้
รวมทัง้ การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

5

คำอธิบายรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาเพ่ิมเตมิ เคมี 3 รหสั ว30224

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2/2564

เวลาเรยี น 60 ชั่วโมง (3ชั่วโมง/สปั ดาห)์ จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส คำนวณความสามารถใน
การแตกตัวหรอื ความแรงของกรดและเบส pH ความเขม้ ขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออน หรือไฮดรอกไซด์
ไอออนของสารละลายกรดและเบส ศึกษาปฏิกิริยาสะเทินและปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเกลือ
การไทเทรต และการเลือกใช้อินดิเคเตอร์ คำนวณปริมาณสารและความเข้มข้นของสารละลายกรด
หรือเบสจากการไทเทรต ศึกษาสมบัตแิ ละองค์ประกอบของสารละลายบัฟเฟอร์ รวมท้งั การนำความรู้
เกีย่ วกบั กรด-เบส ไปใชป้ ระโยชน์

ศึกษาเลขออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและ
ครึ่งปฏิกิริยารีดอกซ์ เปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ การเขียนและ
ดุลสมการรีดอกซ์ ด้วยการใช้เลขออกซิเดชันและวิธีครึง่ ปฏิกิริยา ศึกษาหลักการทางเคมีไฟฟ้าที่ใช้ใน
การชุบโลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บริสุทธิ์และการป้องกันการกัดกร่อน
ของโลหะรวมทัง้ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที ่เี กยี่ วข้องกบั เซลลเ์ คมีไฟฟา้ ในชวี ติ ประจำวัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
การวเิ คราะห์ การสืบคน้ ขอ้ มลู การสงั เกต วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ อธบิ าย และสรุป เพือ่ ให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร
สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. ระบแุ ละอธบิ ายว่าสารใดเปน็ กรดหรอื เบส โดยใช้ทฤษฏกี รด-เบสของอารเ์ รเนยี ส เบรนิ สเตด-
ลาวรี และลิวอิส

๒. ระบุคกู่ รด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี
๓. คำนวณและเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตวั หรอื ความแรงของกรดและเบส

6

๔. คำนวณค่า pH ความเขม้ ข้นของไฮโดรเนียมไอออน หรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด
และเบส

๕. เขียนสมการเคมแี สดงปฏิกริ ยิ าสะเทินและระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังสะเทนิ
๖. เขยี นปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรไลซสิ ของเกลือ และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ
๗. ทดลองและอธบิ ายหลกั การการไทเทรต และเลอื กใชอ้ ินดเิ คเตอรท์ ี่เหมาะสมสำหรบั การไทเทรต

กรด-เบส
๘. คำนวณปรมิ าณสารและความเขม้ ข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
๙. อธบิ ายสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของสารละลายบัฟเฟอร์
๑๐.สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์และการแก้ปญั หาโดยใช้ความรู้เกย่ี วกบั กรด-

เบส
๑๑.คำนวณเลขออกซเิ ดซันและระบปุ ฏิกริ ิยาทเ่ี ป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
๑๒.วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงเลขออกซเิ ดซันและระบุตวั รดี ิวซ์และตวั ออกซิไดส์ และรวมท้งั เขยี น

ครง่ึ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดซนั และครึ่งปฏิกิริยารดี กั ชนั ของปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์
๑๓.ทดสอบและเปรยี บเทียบความสามารถในการเปน็ ตัวรดี วิ ซ์หรอื ตัวออกซิไดส์ และเขยี นแสดง

ปฏิกิริยารดี อกซ์
๑๔.ดุลสมการรีดอกซด์ ้วยการใช้เลขออกซเิ ดซนั และวธิ ีครง่ึ ปฏิกิริยา
๑๕.ระบอุ งคป์ ระกอบของเคมไี ฟฟา้ และเขยี นสมการเคมีของปฏิกิรยิ าแอโนดและแคโนด ปฏิกิรยิ า

รวม และแผนภาพเซลล์
๑๖.คำนวณค่าศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ และระบุประเภทของเซลล์เคมไี ฟฟา้ ขว้ั ไฟฟ้า และ

ปฏกิ ริ ิยาที่เกิดขึน้
๑๗.อธบิ ายหลกั การทำงานและเขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าของเซลลป์ ฐมภูมิและเซลล์ทตุ ยิ ภมู ิ
๑๘.ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า และอธิบายหลักกการทางเคมีไฟฟา้ ทใี่ ชใ้ น

การชบุ โลหะ การแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้บรสิ ุทธ์ิ และการป้องกันการกดั
กร่อนของโลหะ
๑๙.สบื ค้นขอ้ มลู และนำเสนอตัวอยา่ งความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที เี่ กี่ยวขอ้ งกับเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ใน
ชวี ิตประจำวนั

รวมท้ังหมด ๑๙ ผลการเรียนรู้

7

โครงสร้างรายวิชาเพ่มิ เติม เคมี ม.5 เลม่ 4

ลำดบั ชือ่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ ชว่ั โมง คะแนน

1 บทที่ 10 ๒. เข้าใจการเขียนและ ศกึ ษาทฤษฎกี รด-เบส 30 25

กรด-เบส ก า ร ด ุ ล ส ม ก า ร เ ค มี ของ อาร์เรเนียส
ปริมาณสัม พั น ธ ์ ใ น เบรนิ สเตด-ลาวรี และลิว

ปฏิกิริยาเคมี อัตราการ อิส คำนวความสามารถใน

เกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุล การแตกตัวหรอื ความแรง

ในปฏิกิริยาเคมี สมบัติ ของกรดและเบส pH

และปฏิกิริยาของกรด- ความเขม้ ขน้ ของ

เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ ไฮโดรเนยี มไอออน หรือ

และเซลล์เคมีไฟฟ้า ไฮดรอกไซด์ไอออนของ

รวมทั้งการนำความรู้ไป สารละลายกรดและเบส

ใช้ประโยชน์ ศกึ ษาปฏิกริ ยิ าสะเทนิ และ

ปฏกิ ิริยาไฮโดรไลซสิ ของ

เกลอื

การไทเทรต และการ
เลือกใชอ้ นิ ดเิ คเตอร์
คำนวณปริมาณสารและ
ความเขม้ ขน้ ของ
สารละลายกรดหรอื เบส
จากการไทเทรต ศึกษา
สมบตั ิและองค์ประกอบ
ของสารละลายบฟั เฟอร์
รวมทงั้ การนำความรู้
เกยี่ วกบั กรด-เบส ไปใช้
ประโยชน์

8

ลำดบั ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ ชว่ั โมง คะแนน

2 บทที่ 11 ๒. เขา้ ใจการเขยี นและ ศกึ ษาเลขออกซเิ ดชัน 30 25
เคมไี ฟฟ้า การดุลสมการเคมี ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ ตัวรีดิวซ์ 70
ปริมาณสัมพนั ธ์ใน ตวั ออกซไิ ดส์ ครึง่
ปฏกิ ริ ิยาเคมี อัตราการ ปฏกิ ิรยิ าออกซเิ ดชันและ
เกิดปฏิกริ ิยาเคมี สมดลุ ครึง่ ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์
ในปฏิกิรยิ าเคมี สมบัติ เปรียบเทียบ
และปฏกิ ริ ยิ าของ ความสามารถในการเปน็
กรด-เบส ปฏิกิริยา ตัวรดี ิวซ์หรือตัวออกซิไดส์
รดี อกซ์และเซลล์ การเขยี นและ
เคมไี ฟฟา้ รวมทง้ั การ ดลุ สมการรีดอกซ์ ดว้ ย
นำความรไู้ ปใช้ การใชเ้ ลขออกซิเดชันและ
ประโยชน์ วธิ ีครง่ึ ปฏิกริ ิยา ศึกษา
หลกั การทางเคมีไฟฟ้าท่ี
รวมคะแนนระหว่างเรยี น ใช้ใน
การชุบโลหะ การแยก
สารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟา้
การทำโลหะให้บริสุทธิ์
และการป้องกนั การกดั
กรอ่ นของโลหะรวมทั้ง
ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั
เซลลเ์ คมไี ฟฟ้าใน
ชีวิตประจำวนั

คะแนนทดสอบ 30

รวมทง้ั สิ้น 60 100

9

หน่วยท่ี 10 กรด-เบส
แผนท่ี 1-10

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพิ่มเติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรียนที่ 2/2564 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยที่ 10 กรด-เบส เวลา 28 ช่ัวโมง

เร่ือง การปฐมนเิ ทศ เวลา 1 ชัว่ โมง

ครูผสู้ อน นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า

ผลการเรยี นรู้
การศึกษาขอบข่ายเนื้อหา ผลการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน เกณฑ์การวัดและประเมินผล และ

กติกาต่าง ๆ ในการเรยี นรายวชิ า เคมี 4 ว30224 ทำให้นักเรียนเกดิ ความพรอ้ มในการเรียน ปฏบิ ตั ติ น
เพื่อให้เกิดผลดีต่อการเรยี นรู้ และเกดิ เจตคตติ ่อรายวชิ าน้ี

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกภาพรวมของเนื้อหาของรายวชิ าเคมี 4 ได้ (K)
2. กำหนดและเลือกข้อตกลงร่วมกนั ถึงภาระงาน เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลและ

แนวปฏิบัตใิ นการเรยี นรายวชิ าเคมี 4 รหสั ว 30224 ได้ (P)
3. นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมายและทำงานรว่ มกบั คนอื่นได้ (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรูเ้ พิ่มเติม
1. หนว่ ยการเรียนรู้และภาระงานของรายวชิ าเคมี 4
2. ผลการเรยี นรู้ของรายวิชาเคมี 4
3. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลของรายวชิ าเคมี 4
4. ภาระงาน/ชิ้นงาน รายวิชาเคมี 4

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ทกั ษะการสังเกต 1. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. ทักษะการทำงานรว่ มกนั 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (1 ชัว่ โมง)
ใช้วธิ กี ารสอนแบบ 5E
ข้ันที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1.ครูและนกั เรยี นทักทายทำความรูจ้ ักซงึ่ กนั และกัน โดยใหค้ รเู ร่ิมแนะนำตัวเองกอ่ น แลว้ คอ่ ย

ใหน้ ักเรยี นตวั แนะนำจนครบทุกคน
ข้นั ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1.ครใู หน้ กั เรียนดภู าพบน power point แลว้ ใหน้ กั เรียนเดาวา่ เทอมนีเ้ ราจะเรยี นเกีย่ วกับ
อะไร
ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูเชื่อมโยงคำตอบของนักเรียน แล้วชี้แจงจุดหมายว่า การเรียนในภาคเรียนนี้นักเรียน

จะต้องต้งั ใจเรยี น และใหค้ วามร่วมมือในทุกกิจกรรมครแู นะนำขอบข่ายเนื้อหาทนี่ ักเรียนจะต้องเรียน
ในวิชาเคมี 4 รหสั ว30224

2. จากนั้นให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมารับเอกสารผลการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 4
รหัส ว30224 แล้วอภิปรายร่วมกนั ถึงเน้อื หาของแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ และคะแนนการวดั รายบคุ คล
จุดประสงค์ การวัดผลกลางภาคเรียน และการวดั ผลปลายภาคเรียน
ขัน้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครใู ห้นกั เรียนเขยี นความคาดหวังในภาคเรยี นน้ลี งในหน้าแรกของสมดุ ประจำตัวของ
นกั เรียน

ขน้ั ท่ี 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงาน

รายบคุ คล

ส่ือและแหล่งเรยี นรู้
1. สมุดประจำตัวนกั เรียน
2. เอกสารผลการเรียนรู้ รายวชิ าเคมี 4 รหสั ว30224

การวัดและการประเมิน

จดุ ประสงค์ วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
-ถามตอบ
1. ด้านความรู้ (K) -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
70
1.บอกภาพรวมของ -การตอบคำถาม

เน้ือหาของรายวิชาเคมี 4

ได้

2.ดา้ นทักษะ/

กระบวนการคดิ (P)

1.กำหนดและเลือก -การตอบคำถาม -ถามตอบ -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
ขอ้ ตกลงรว่ มกันถึง 70
ภาระงานเกณฑ์การวดั -การสงั เกต
และประเมนิ ผลและแนว พฤติกรรมการ -แบบสงั เกต ได้เกณฑ์ในระดบั ดี
ปฏบิ ัติในการเรียน ทำงาน
รายวชิ าเคมี 4 รหสั ฟฤติกรรมการทำงาน ขน้ึ ไป
30224 ได้
3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมีความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ท่ี
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกบั คนอ่ืนได้





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพิ่มเตมิ เคมี 4 ว30224

ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

หนว่ ยที่ 10 กรด-เบส เวลา 28 ชั่วโมง

เร่อื ง ทฤษฎีกรด-เบส เวลา 3 ช่ัวโมง

ครูผู้สอน นางสาวมารสิ า แอ่งสุธา

ผลการเรียนรู้
ระบุและอธบิ ายวา่ สารเป็นกรดหรอื เบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี

และลวิ อสิ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายของกรดและเบสตามทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี
และลวิ อสิ ได้ (K)
2. บอกได้ว่าสารใดเปน็ กรดและสารใดเปน็ เบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรไี ด้ (K)
3. ตง้ั ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเตมิ
- สารในชีวิตประจำวันหลายชนดิ มสี มบัติเปน็ กรดหรือเบส ซงึ่ พิจารณาไดโ้ ดยใชท้ ฤษฎกี รด-เบส
ของอาร์เรเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรี หรอื ลวิ อิส

- ตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เมอ่ื กรดหรือเบสละลายน้ำหรอื ทำปฏิกริ ิยากับสาร
อืน่ จะมีการถ่ายโอนโปรตอนระหว่างสารต้ังต้นท่เี ป็นกรดและเบส เกิดเปน็ ผลติ ภัณฑ์ซ่งึ เป็น
โมเลกุลหรือไอออนท่เี ปน็ คูก่ รด-เบสของสารตัง้ ตน้ น้นั โดยสารทเี่ ปน็ คกู่ รด-เบสกันจะมโี ปรตอน
ตา่ งกัน 1 โปรตอน

สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ทฤษฎีกรด-เบสของอารเ์ รเนียส กล่าววา่ กรด คือ สารทีล่ ะลายน้ำแลว้ แตกตวั ใหไ้ ฮโดรเจน

ไอออน ส่วนเบส คือ สารทลี่ ะลายน้ำแล้วแตกตัวใหไ้ ฮดรอกไซดไ์ อออน

ทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี กล่าวว่า กรด คือ สารทใี่ หโ้ ปรตอนแก่สารอืน่ สว่ นเบส
คอื สารที่รบั โปรตอนจากสารอ่นื สารที่เปน็ คู่กรด-เบสกันจะมีจำนวนโปรตอนตา่ งกัน 1 โปรตอน

สารบางชนดิ สามารถทำหนา้ ที่เปน็ ได้ท้ังกรดและเบส เชน่ นำ้ เรียกสารประเภทนว้ี า่
แอมโฟเทอริก หรือแอมฟโิ พรตกิ

ทฤษฎีกรด-เบสของลิวอสิ กล่าวว่า กรด คือ สารทีร่ บั คู่อิเล็กตรอนจากสารอื่น สว่ นเบส คอื
สารทใี่ หค้ ูอ่ เิ ล็กตรอนแก่สารอ่ืน

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. ทักษะการสังเกต 1. มีวินัย รบั ผิดชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
4. ทักษะการเชื่อมโยง
5. ทักษะการทำงานร่วมกนั

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใช้วธิ กี ารสอนแบบ 5E
ขนั้ ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครตู ง้ั คำถามเพอื่ สรา้ งความสนใจ โดยใชค้ ำถามดังต่อไปน้ี
- ให้นักเรียนยกตัวอยา่ งสารที่มสี มบัตเิ ปน็ กรด เป็นเบส หรือเปน็ กลางท่ีพบในชวี ติ ประจำวนั
มาคนละ 1 ตวั อย่าง
- ถ้าทดสอบนำ้ สบู่ดว้ ยกระดาษลสิ มัสสีแดง จะใหผ้ ลการทดสอบเปน็ สใี ด
(แนวตอบ : กระดาษลสิ มสั จะเปลี่ยนจากสีแดงเปน็ นำ้ เงิน)
- ถ้าทดสอบนำ้ ส้มสายชดู ว้ ยกระดาษลิสมสั สีนำเงิน จะให้ผลการทดสอบเปน็ สีใด
(แนวตอบ : กระดาษลิสมสั จะเปล่ยี นจากสนี ้ำเงนิ เปน็ แดง)
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูใหน้ ิยามของกรด-เบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเ์ รเนยี ส จากน้นั ใหน้ กั เรยี น
อธิบายว่า เพราะเหตุใด HCl และ HI จงึ เปน็ กรด สว่ น NaOH และ Ca(OH)2 จงึ เป็นเบส จากน้ัน
ให้นกั เรียนยกตวั อยา่ งสารท่ีเปน็ กรดและเบสตามทฤษฎี
2. ครยู กตวั อยา่ งปฏกิ ิรยิ าเคมีระหว่างแก๊ส HCl และ NH3 แล้วให้นักเรียนระบุวา่

สารใดเป็นกรดหรอื เบสตามทฤษฎกี รด-เบสอารเ์ รเนียส ซง่ึ ไม่สามารถระบุได้ เน่ืองจากปฏิกริ ิยาน้ี
ไม่ไดเ้ กดิ ข้นึ ในน้ำ และไม่มี H3O+และ OHเกิดขึน้ เพือ่ นำเขา้ สูก่ ารอธบิ ายทฤษฎีกรด-เบสเบรนิ ส
เตด-ลาวลี

3. ครูใหน้ ิยามของกรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสเบรินสเตด-ลาวลี จากนัน้ ให้นักเรยี นใช้
ทฤษฎีดงั กลา่ วระบวุ า่ ในปฏกิ ิริยาเคมีระหวา่ งแกส๊ HCl และ NH3 สารใดเปน็ กรด สารใดเปน็ เบส

(แนวคำตอบ : แก๊ส HCl เปน็ กรดเพราะใหโ้ ปรตอน ส่วนแกส๊ NH3 เปน็ เบสเพราะรบั
โปรตอน)
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทำใบงานที่ 1 เร่ือง ทฤษฎีกรด-เบส
2. ครูและนักเรยี นเฉลยใบงานท่ี 1 เร่ือง ทฤษฎกี รด-เบส

ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครยู กตัวอย่างกรดหรือเบสบางชนิดทไ่ี มส่ ามารถอธบิ ายความเป็นกรด-เบสโดยใช้

ทฤษฎกี รด-เบสของอาร์เรเนยี สและทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี ได้ เช่น BF3
เพอื่ ชใี้ หเ้ ห็นถึงข้อจำกัดของการใช้สองทฤษฎนี ี้ เพ่ือเชื่อมโยงเขา้ สู่การอธิบายสมบัติของกรด-เบสโดย
ใช้ทฤษฎกี รด-เบสของลิวอิส

2. นกั เรยี นแตล่ ะคนศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎกี รด-เบสของลิวอิส จากนนั้ ครตู ้ังคำถามให้
นักเรยี นร่วมกันอภปิ ราย เร่ือง ทฤษฎกี รด-เบสของลิวอสิ ดงั น้ี

1) จงอธบิ ายนิยามของกรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของลิวอิส
(แนวคำตอบ : กรด คอื สารที่รบั คูอ่ ิเลก็ ตรอนจากสารอน่ื ส่วนเบส คอื สารที่ให้
ค่อู ิเล็กตรอนแกส่ ารอ่ืน)
2) เพราะเหตุใดทฤษฎีกรด-เบสของลวิ อิสจึงใช้อธิบายความเปน็ กรด-เบสได้ดีกวา่
ทฤษฎีอนื่
(แนวคำตอบ : เนื่องจากสารทุกชนดิ มีอเิ ล็กตรอน จงึ สามารถระบุได้วา่ เมอ่ื สารทำ
ปฏิกริ ิยากัน สารใดใหแ้ ละสารใดรับอเิ ลก็ ตรอน
ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)

1. ครปู ระเมินผลนักเรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงานท่ี 1 ทฤษฎีกรด-เบส

สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พ่มิ เติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
2. ใบงานที่ 1 ทฤษฎีกรด-เบส

การวดั และการประเมนิ

จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน

1. ด้านความรู้ (K) -ใบงานท่ี 1 -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
ทฤษฎกี รด-เบส 70
1.อธิบายความหมายของ -ตรวจใบงานท่ี 1

กรดและเบสตามทฤษฎี ทฤษฎีกรด-เบส

กรด-เบสของอาร์เรเนียส

เบรนิ สเตด-ลาวรี และลวิ

อสิ ได้

2.ดา้ นทักษะ/ -ตรวจใบงานที่ 1 -ใบงานที่ 1 ได้คะแนนร้อยละ 70
กระบวนการคดิ (P) ทฤษฎีกรด-เบส ทฤษฎีกรด-เบส -
1.บอกได้วา่ สารใดเปน็
กรดและสารใดเปน็ เบส
ตามทฤษฎกี รด-เบส
ของเบรนิ สเตด-ลาวรไี ด้

3. ดา้ นคุณลกั ษณะอัน -การสงั เกต -แบบประเมิน ไดค้ ะแนนในระดบั 3
พงึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ (ด)ี ข้นึ ไป
1. นกั เรียนมคี วาม ประสงค์
รับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีท่ี
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานรว่ มกับคนอื่นได้

กรด-เบส ใบงาน เร่ือง ทฤษฎีกรด-เบส

ช่ือ-สกลุ ........................................................................... ชน้ั ม........... เลขที่.........

1. จงเติมคานยิ ามของทฤษฎกี รด-เบสต่อไปนี้
➢ ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนยี ส

กรด คอื ...........................................................................................................................................
เบส คอื ............................................................................................................................................
➢ ทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตต-ลาวรี
กรด คือ ...........................................................................................................................................
เบส คือ ............................................................................................................................................
➢ ทฤษฎกี รด-เบสของลวิ อสิ
กรด คือ ...........................................................................................................................................
เบส คือ ............................................................................................................................................

2. จากสมการทกี่ าหนดให้ต่อไปนี้ จงระบุว่าสารต้ังต้นเม่อื ทาปฏิกริ ิยากบั น้า มสี มบตั ิเป็นกรดหรอื เบส
ตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเ์ รเนียส พร้อมใหเ้ หตุผล

2.1 HCl(aq) H2O H+(aq) + Cl-(aq)
HCl มีสมบัติเป็น .......... เพราะ ................................................................................................

2.2 HSO4-(aq) H2O H+(aq) + SO42-(aq)
HSO4- มีสมบัติเป็น .......... เพราะ ............................................................................................

2.3 NH4+(aq) H2O H+(aq) + NH3(aq)
NH4+ มสี มบตั เิ ปน็ .......... เพราะ ..............................................................................................

2.4 NaOH(aq) H2O Na(aq) + OH-(aq)
NaOH มสี มบัตเิ ป็น .......... เพราะ ............................................................................................

กรด-เบส ใบงาน เร่อื ง ทฤษฎีกรด-เบส

ชอ่ื -สกุล........................................................................... ชน้ั ม........... เลขที่.........

3. จากสมการท่กี าหนดใหต้ อ่ ไปน้ี จงระบุว่าสารตั้งตน้ ใดมีสมบตั เิ ป็นกรดสารตัง้ ตน้ ใดมีสมบัติเบส
ตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตต-ลาวรี

3.1 CN-(aq) + H2O(l) → HCN(aq) + OH-(aq)
กรด คอื ........................ เบส คือ .........................

3.2 HSO4-(aq) + H2O(l) → SO42-(aq) + H3O+(aq)
กรด คอื ........................ เบส คอื .........................

3.3 CH3COOH(aq) + H2O(l) → CH3COO-(aq) + H3O+(aq)
กรด คือ ........................ เบส คอื .........................

3.4 NO3-(aq) + H2O(l) → HNO3(aq) + OH-(aq)
กรด คือ ........................ เบส คอื .........................

3.5 H2S(aq) + H2O(l) → HS-(aq) + H3O+(aq)
กรด คือ ........................ เบส คอื .........................

3.6 F-(aq) + H2O(l) → HF(aq) + OH-(aq)
กรด คือ ........................ เบส คอื .........................

3.7 HI(aq) + H2O(l) → I-(aq) + H3O+(aq)
กรด คือ ........................ เบส คอื .........................

3.8 H2PO4-(aq) + H2O(l) → H3PO4(aq) + OH-(aq)
กรด คอื ........................ เบส คือ .........................

กรด-เบส ใบงาน เรือ่ ง ทฤษฎีกรด-เบส

ชื่อ-สกุล........................................................................... ชั้น ม........... เลขท่ี.........

3. จากสมการท่ีกาหนดให้ต่อไปนี้ จงระบวุ า่ สารตั้งต้นใดมีสมบัติเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของลิวอสิ
3.1 Ag+(aq) + 2NH3(aq) →
สารทม่ี สี มบตั เิ ป็นเบส คอื ......................

3.2 (CH3)2NH(aq) + AlCl3(aq) →
สารทม่ี ีสมบัตเิ ป็นเบส คือ ......................

3.3 BF3(aq) + NCl3(aq) →
สารที่มีสมบัตเิ ป็นเบส คอื ......................

3.4 AlF3(aq) + CH3-O-CH3(aq) →
สารทม่ี ีสมบตั ิเป็นเบส คอื ......................

4. จงเขียนสมการการแตกตัวของสารที่กาหนดใหเ้ ม่อื แตกตวั ในน้า

สาร สมการการแตกตัวเปน็ ไอออนในน้า
HCN
HCOOH
HClO4
LiOH
NH3





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพิ่มเตมิ เคมี 4 ว30224

ภาคเรียนท่ี 2/2564 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยที่ 10 กรด-เบส เวลา 28 ช่ัวโมง

เรื่อง คู่กรด-เบส เวลา 3 ชั่วโมง

ครูผูส้ อน นางสาวมารสิ า แอ่งสธุ า

ผลการเรยี นรู้
ระบคุ ู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรนิ สเตด-ลาวรี

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของกรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอารเ์ รเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี

และลิวอสิ ได้ (K)
2. บอกไดว้ า่ สารใดเป็นกรดและสารใดเปน็ เบสตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรีได้ (K)
3. ตง้ั ใจเรียนรูแ้ ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ที่ได้รบั มอบหมาย (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เติม
- สารทเ่ี ป็นค่กู รด-เบสกนั จะมีจำนวนโปรตอนตา่ งกัน 1 โปรตอนสารบางชนดิ สามารถทำหนา้ ท่ี
เป็นได้ทง้ั กรดและเบส เชน่ นำ้ เรยี กสารประเภทนว้ี า่ แอมโฟเทอริก หรอื แอมฟโิ พรตกิ

สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เมอื่ กรดหรือเบสละลายนำ้ หรอื ทำปฏิกิรยิ ากับสาร

อน่ื จะมีการถ่ายโอนโปรตอนระหว่างสารต้งั ต้นทเ่ี ป็นกรดและเบส เกิดเป็นผลติ ภัณฑ์ซงึ่ เป็นโมเลกุล
หรือไอออนทเี่ ป็นคกู่ รด-เบสของสารต้ังต้นน้ัน โดยสารที่เป็นคกู่ รด-เบสกันจะมีโปรตอนต่างกัน 1
โปรตอน

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. ทกั ษะการสังเกต 1. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ

2. ทักษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

4. ทักษะการทำงานรว่ มกนั

กจิ กรรมการเรียนรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใช้วธิ ีการสอนแบบ 5E
ขนั้ ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครยู กตัวอยา่ งปฏกิ ิริยาของกรดไฮโดรคลอริกในนำ้ แล้วใหน้ ักเรียนระบุว่า สารต้ังตน้ แตล่ ะ

ชนิดเปน็ กรดหรอื เบสตามทฤษฎีกรด-เบสเบรนิ สเตด-ลาวลี
(แนวคำตอบ : HCI เป็นกรดและ H2O เปน็ เบส)

2. จากนน้ั ให้นกั เรยี นพิจารณาปฏกิ ิรยิ ายอ้ นกลับและระบุความเปน็ กรด-เบสของ H3O+
และ CI−

(แนวคำตอบ : H3O+ เปน็ กรด และ CI− เปน็ เบส)
ข้นั ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)

1. ครใู หค้ วามรเู้ กย่ี วกับความหมายของค่กู รด-เบสโดยใชต้ ัวอย่าง CI− ซึง่ เปน็ คู่เบสของกรด
HCI จากน้ันใชค้ ำถามว่า สารใดเป็นค่กู รดของ H2O

(แนวคำตอบ : H3O+)
2. นักเรียนจบั คู่กบั เพอื่ น โดยแต่ละคู่ศึกษาเกย่ี วกับคูก่ รด-เบสของสาร แลว้ ร่วมกนั
แสดงความคิดเห็นจนเกิดความเข้าใจท่ีตรงกัน
ขั้นที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครตู งั้ คำถามใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปราย เรือ่ ง คูก่ รด-เบสของสาร ดังน้ี

1) จงระบคุ ู่เบสของ H3O+ HCI H2SO4 และ HCIO4 ตามลำดับ
(แนวคำตอบ : H2O CI− HSO−4 และ CIO4− ตามลำดับ)

2) จงระบคุ กู่ รดของ OH− H2O และ NH3 ตามลำดับ
(แนวคำตอบ : H2O , H3O+และ NH4+ ตามลำดบั )
4) ในหมู่และในคาบเดียวกนั ความแรงของกรดไฮโดรจะเพ่ิมขน้ึ ตามค่าใด
(แนวคำตอบ : ในหมเู่ ดยี วกนั ความแรงของกรดไฮโดรจะเพมิ่ ขน้ึ ตามเลขอะตอม
ของอโลหะในคาบเดยี วกัน ความแรงของกรดไฮโดรจะเพม่ิ ขนึ้ ตามคา่ อิเลก็ โทรเนกาตวิ ติ ขี องอโลหะ)

5) กรดออกซีที่มีธาตุองคป์ ระกอบเหมือนกัน ความแรงของกรดจะเพม่ิ ขนึ้ ตามค่าใด
(แนวคำตอบ : กรดออกซีท่ีมธี าตอุ งค์ประกอบเหมือนกนั ความแรงของกรดจะ
เพม่ิ ขึน้ ตามเลขออกซเิ ดชันที่เพิ่มขน้ึ )
2. นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายเพอื่ หาขอ้ สรุปเก่ยี วกับคู่กรด-เบสของสาร ซ่งึ ได้
ข้อสรุป ดังน้ี • สารทีเ่ ปน็ คู่กรด-เบสกนั จะมีจำนวนโปรตอนต่างกัน 1 โปรตอน
ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครอู ธิบายความหมายของสารแอมโฟเทอริก พร้อมยกตัวอย่าง จากน้นั ใหน้ ักเรียน
รว่ มกันตอบคำถาม ดงั น้•ี จากตวั อย่างปฏกิ ิรยิ าการแตกตัวของ H2SO4 และ S2− ในน้ำ นอกจาก
H2SO4 และ S2− แล้ว ยังมีสารใดอกี ที่เป็นสารแอมโฟเทอริก
(แนวคำตอบ : สารแอมโฟเทอรกิ คือ H2O และ HPO24− )
2. ครใู หน้ กั เรียนเขยี นสมการแสดงการแตกตัวของสารแอมโฟเทอริกในน้ำ โดยใชป้ ฏกิ ริ ยิ า
ของ HCO−3 ในน้ำ
ข้นั ที่ 5 ประเมินผล (Evaluation)
1. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปเกีย่ วกับคู่กรด-เบสของสาร ซงึ่ ได้ข้อสรปุ ดังน้ี
• สารที่เปน็ คูก่ รด-เบสกนั จะมีจำนวนโปรตอนตา่ งกนั 1 โปรตอน
• สารบางชนดิ สามารถทำหน้าท่เี ปน็ ได้ทั้งกรดและเบส เช่น นำ้ เรียกสารประเภท
นวี้ า่ แอมโฟเทอริก หรือแอมฟโิ พรติก
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน เร่ือง คู่กรด-เบส
สื่อและแหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เรอื่ ง คู่กรด-เบส
การวัดและการประเมิน

จดุ ประสงค์ วิธกี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

1. ดา้ นความรู้ (K) -ใบงานท่ี 1 -ไดค้ ะแนนร้อยละ
ทฤษฎีกรด-เบส 70
1.อธบิ ายความหมายของ -ตรวจใบงานท่ี 1

กรดและเบสตามทฤษฎี ทฤษฎกี รด-เบส

กรด-เบสของอาร์เรเนียส

เบรนิ สเตด-ลาวรี และลิว

อสิ ได้

จุดประสงค์ วธิ กี ารวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
2.ดา้ นทกั ษะ/ ได้คะแนนร้อยละ 70
กระบวนการคิด (P) -ตรวจใบงานท่ี 1 -ใบงานที่ 1 -
1.บอกได้วา่ สารใดเปน็ ทฤษฎีกรด-เบส ทฤษฎกี รด-เบส
กรดและสารใดเป็นเบส ไดค้ ะแนนในระดับ 3
ตามทฤษฎกี รด-เบส (ด)ี ขน้ึ ไป
ของเบรนิ สเตด-ลาวรีได้

3. ด้านคุณลกั ษณะอนั -การสงั เกต -แบบประเมิน
พงึ ประสงค์ (A) คุณลกั ษณะอนั พึง
1. นกั เรยี นมคี วาม ประสงค์
รบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ที่
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกับคนอ่นื ได้

กรด-เบส ใบงาน เรื่อง คกู่ รด-เบส

ชอ่ื -สกลุ ........................................................................... ชนั้ ม........... เลขที่.........

คู่กรด-เบส คอื สารทม่ี ีโปรตอน (H+) ตา่ งกัน 1 ตัว โดยทีค่ ู่กรดจะมี H+ มากกวา่ คู่เบส 1 ตวั
1. ระบุคกู่ รด-เบสของสารในปฏิกริ ิยาตอ่ ไปน้ี

1.1 HNO3(aq) + H2O(l) → NO3-(aq) + H3O+(aq)

1.2 NH2-(aq) + H2O(l) → NH3(aq) + OH-(aq)

1.3 HCOOH(aq) + H2O(l) → HCOO-(aq) + H3O+(aq)

1.4 H2S(aq) + H2O(l) → HS-(aq) + H3O+(aq)

1.5 Br-(aq) + H2O(l) → HBr(aq) + OH-(aq)

1.6 H2SO4(aq) + H2O(l) → HSO4-(aq) + H3O+(aq)

กรด-เบส ใบงาน เรื่อง คู่กรด-เบส

ชื่อ-สกลุ ........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........

2. เขียนสมการและแผนภาพแสดงคู่กรด-เบส เม่อื ละลายในนา้
2.1 H2CO3

2.2 H3PO4

2.3 NH4+

3. จงบอกค่กู รด-เบสของสารที่ก้าหนดให้ 3.2 คกู่ รดของสารตอ่ ไปนี้

3.1 คู่เบสของสารต่อไปนี้ 3.2.1. HPO42- .....................
3.1.1. H2S ..................... 3.2.2 CO32- .....................
3.1.2 HSO3- ..................... 3.2.3 OH- .....................
3.1.3 H2PO4- .....................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพิม่ เติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรยี นที่ 2/2564 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5

หนว่ ยท่ี 10 กรด-เบส เวลา 30 ชั่วโมง

เร่อื ง การแตกตวั ของกรดและเบส เวลา 3 ชั่วโมง

ครูผู้สอน นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า

ผลการเรยี นรู้
คำนวณ และเปรยี บเทยี บความสามารถในการแตกตวั หรือความแรงของกรดและเบส

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกความหมายและระบวุ ่าสารเปน็ กรดแก่ เบสแก่ กรดอ่อน เบสออ่ นได้
2. คำนวณความเข้มข้นของไฮโดรเนยี มไอออนและไฮดรอกไซดไ์ อออน ร้อยละ

การแตกตัว และคา่ คงท่ีการแตกตัวของกรดและเบสได้
3. ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเห็นภายในกลุ่ม ยอมรับฟงั

ความคิดเห็นของผู้อืน่ และรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย
สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ
- กรดแก่และเบสแก่เป็นอเิ ล็กโทรไลตแ์ ก่ ซง่ึ แตกตัวเป็นไอออนไดด้ มี าก หรือแตกตวั ไดห้ มด
- กรดอ่อนแตกตวั เปน็ ไอออนไดน้ อ้ ย การแตกตวั ของกรดอ่อนเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลบั ได้
ในสารละลายจงึ มีท้ังโมเลกลุ ของกรดอ่อนและไอออนทเี่ กิดจากการแตกตัว
- เบสอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้น้อย การแตกตวั ของกรดเบสเป็นการเปล่ยี นแปลงท่ผี นั กลับได้
ในสารละลายจงึ มที ้ังโมเลกลุ ของเบสอ่อนและไอออนทเี่ กดิ จากการแตกตวั

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
กรดและเบสแตล่ ะชนดิ สามารถแตกตัวในน้ำได้แตกต่างกัน กรดแก่หรือเบสแก่สามารถแตกตวั

เปน็ ไอออนในนำ้ ไดเ้ กือบสมบูรณ์ สว่ นกรดอ่อนหรือเบสอ่อนแตกตวั เป็นไอออนได้นอ้ ย
โดยความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดหรือเบสอาจพิจารณาไดจ้ ากค่าคงที่

การแตกตัวของกรดหรอื เบส หรอื ปริมาณการแตกตวั เปน็ ร้อยละของกรดหรอื เบส

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ทักษะการสังเกต 1. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ทักษะการวิเคราะห์ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
4. ทกั ษะการเชื่อมโยง
5. ทกั ษะการทำงานร่วมกนั

กิจกรรมการเรยี นรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใช้วิธกี ารสอนแบบ 5E
ขั้นท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1. ครทู บทวนความรู้เดมิ วา่ กรดและเบสส่วนใหญ่แตกตวั ในนำ้ โดยครูเขียนสมการเคมีแสดงการ
แตกตวั ของ HCl CH3COOH NH3 และ NaOH แลว้ ช้ใี หเ้ หน็ ว่าผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ด้จากการแตกตวั เป็น
ไอออนทำให้สารละลายนำไฟฟา้ ได้

2.ครูให้นักเรียนสังเกตความสว่างของหลอดไฟที่ต่อเข้ากับแหล่งกำเนิดแสงและระหว่า ง
สารละลาย HCl CH3COOH NH3 และ NaOH ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน จากนั้นครูตั้งคำถามนำว่า
กรดและเบสแต่ละชนิดแตกตัวเป็นไอออนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร เพื่อนำเข้าสู่เรื่อง การแตกตัว
ของกรดและเบส

(แนวคำตอบ : กรดและเบสแตล่ ะชนิดแตกตวั เป็นไอออนได้ไม่เท่ากัน โดย HCl แตกตวั ได้
ดีกวา่ CH3COOH และ NaOH แตกตัวไดด้ กี ว่า NH3)
ขั้นที่ 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)

1. ครูทบทวนความร้วู า่ กรดมี pH นอ้ ยกวา่ 7 ส่วนเบสมี pH มากกว่า 7 จากนัน้ ให้
ความรวู้ ่า ความสามารถในการแตกตวั ของกรดและเบสสมั พันธก์ ับค่า pH โดยสารละลายท่ีมี
ความเขม้ ข้นเทา่ กนั กรดท่ีแตกตัวได้ดีกวา่ มี pH ต่ำกว่า และเบสทีแ่ ตกตัวไดด้ ีกว่ามี pH สูงกวา่

2. ครใู หค้ วามรเู้ กีย่ วกบั การแตกตวั ของกรดแก่ โดยเขยี นสมการเคมีแสดงการแตกตวั
ของกรด HX ในนำ้ จากนั้นครอู ธบิ ายวา่ เบสแกแ่ ตกตวั เป็นไอออนในน้ำไดส้ มบรู ณ์เช่นเดยี วกับ
กรดแก่ แล้วยกตวั อย่างการแตกตวั ของเบสแก่ NaOH

3. ครใู ห้นักเรยี นเขียนสมการแสดงการแตกตวั ของ Ba(OH)2ซ่งึ เป็นเบสแก่ จากน้ัน
กำหนดความเขม้ ข้นของ Ba(OH)2 แล้วให้นกั เรยี นระบุความเขม้ ข้นของ Ba2+ และ OH−
(แนวคำตอบ : Ba2+ มีความเขม้ ขน้ เทา่ กบั Ba(OH)2สว่ น OH− มีความเข้มข้นเป็น 2
เทา่ ของ Ba(OH)2

ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครอู ธบิ ายวิธกี ารคำนวณความเข้มข้นของไอออนในสารละลายกรดแก่และเบสแก่

จากนัน้ สมุ่ นกั เรยี น 3 คู่ ออกมาแสดงวิธกี ารคำนวณตัวอยา่ งแตล่ ะข้อหนา้ ชน้ั เรียนใหถ้ ูกต้อง โดยครู
คอยเสรมิ ความรใู้ นสว่ นท่นี กั เรยี นยงั ไมเ่ ข้าใจ ดงั น้ี

2. นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายเพ่อื หาขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั การแตกตวั ของกรดแก่และ
เบสแก่ ซง่ึ ไดข้ อ้ สรปุ ว่า “กรดแกแ่ ละเบสแกเ่ ป็นอเิ ล็กโทรไลต์แก่ ซึ่งแตกตัวเป็นไอออนได้ดีมาก หรือ
แตกตวั ได้หมด”
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครใู หค้ วามรู้เกยี่ วกับการแตกตัวของกรดอ่อน โดยเขียนสมการเคมีแสดงการแตกตวั ของ
กรดอ่อน HA ในนำ้ จากน้ันให้นักเรียนศกึ ษาการคำนวณร้อยละการแตกตวั ของกรดอ่อน

2. ครสู ุ่มนกั เรียน 3 คู่ ออกมาแสดงวิธกี ารคำนวณตัวอยา่ งแต่ละข้อหนา้ ช้นั เรยี นให้ ถกู ต้อง
โดยครคู อยเสริมความรู้ในสว่ นทนี่ ักเรียนยังไมเ่ ข้าใจ ดังนี้

3. ครูใหค้ วามรู้เกยี่ วกับการแตกตวั ของเบสอ่อน จากนั้นอธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง

ค่าคงที่ของเบสอ่อน (Kb) ของ NH3 กบั ความเขม้ ข้นของสารในสารละลาย

4. ครูสุม่ นกั เรียน 3 คู่ ออกมาแสดงวธิ ีการคำนวณตวั อย่างแต่ละข้อหนา้ ชั้นเรียนให้ ถกู ต้อง
โดยครคู อยเสรมิ ความรูใ้ นสว่ นทน่ี ักเรยี นยังไม่เข้าใจ ดังน้ี 1)
ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)

1. นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายเพอื่ หาข้อสรุปเก่ียวกบั แตกตัวของกรดออ่ นและ เบสอ่อน
ซ่ึงได้ข้อสรปุ ดงั นี้

• กรดออ่ นแตกตัวเป็นไอออนไดน้ ้อย การแตกตัวของกรดออ่ นเป็นการ เปลีย่ นแปลงที่ผัน
กลับไดใ้ นสารละลายจงึ มีทั้งโมเลกลุ ของกรดอ่อนและไอออนทเ่ี กดิ จากการแตกตวั

• ความสามารถในการแตกตัวของกรดอ่อนอาจบอกเปน็ ร้อยละ หรอื บอกเป็น คา่ คงที่การ
แตกตัวของกรด (Ka )

• กรดมอนอโปรติกแตกตวั ได้ขนั้ เดียว จึงมคี ่า Ka เพยี งคา่ เดยี ว กรดไดโปรติก แตกตวั ได้สอง
ขนั้ จงึ มคี า่ Ka ได้ 2 คา่ สว่ นกรดพอลโิ ปรติกแตกตวั ไดห้ ลายข้ัน จงึ มคี า่ Ka หลายค่า เท่ากบั จำนวน
ขน้ั ที่แตกตัวได้

• ค่า Ka ขน้ั แรกจะมคี ่าสูงกวา่ คา่ Ka ในขน้ั ต่อไป ตามลำดับ
• ในการเปรียบเทยี บปรมิ าณการแตกตัวเปน็ ไอออนของกรด ถา้ สงู กวา่ มาก ประมาณ 103
เท่า สามารถใชค้ ่าเพยี งค่าเดียวได้
• กรดทม่ี ีค่า Ka สูงจะมีความแรงของกรดมากกวา่ กรดท่ีมคี ่า Ka ตำ่

• เบสออ่ นแตกตัวเป็นไอออนได้น้อย การแตกตวั ของกรดเบสเป็นการ เปล่ยี นแปลงท่ีผันกลับ

ได้ ในสารละลายจึงมีทั้งโมเลกุลของเบสอ่อนและไอออนท่ีเกิดจากการแตกตวั

• ความสามารถในการแตกตวั ของเบสออ่ นอาจบอกเปน็ ร้อยละ หรอื บอกเป็น คา่ คงท่ีการ

แตกตัวของเบส (Kb)

• เบสทมี่ คี ่า Kb สูงจะมคี วามแรงของเบสมากกว่ากรดท่มี ีค่า Kb ตำ่

2. ครใู หน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมร้อยละการแตกตวั ของกรดและเบส เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ

ส่อื และแหล่งเรียนรู้

1. หนังสือเรียนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

การวัดและการประเมนิ

จดุ ประสงค์ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

1. ดา้ นความรู้ (K)

1.บอกความหมายและ -ตรวจใบงานที่ 1 -ใบงานที่ 1 -ได้คะแนนรอ้ ยละ
ระบุวา่ สารเป็นกรดแก่ ทฤษฎกี รด-เบส ทฤษฎกี รด-เบส 70
เบสแก่ กรดอ่อน เบส
-ใบงานที่ 1 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70
อ่อนได้ ทฤษฎกี รด-เบส -

2.ด้านทักษะ/ -แบบประเมนิ ไดค้ ะแนนในระดบั 3
คณุ ลกั ษณะอันพงึ (ดี) ข้ึนไป
กระบวนการคิด (P) ประสงค์

1.คำนวณความเข้มขน้ -ตรวจใบงานท่ี 1

ของ ไฮโดรเนียมไอออน ทฤษฎีกรด-เบส

และไฮดร อกไซด์ไอออน

ร้อยละ การแตกตัว และ

คา่ คงที่การ แตกตัวของ

กรดและเบสได้

3. ด้านคุณลักษณะอนั

พึงประสงค์ (A)

1. นักเรยี นมคี วาม -การสังเกต

รบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ีที่

ได้รับมอบหมายและ

ทำงานรว่ มกับคนอน่ื ได้


Click to View FlipBook Version