แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง
เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง
พฤติกรรมการแสดงออก
เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ
ทางาน
32103210 321 0
24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ
25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร
26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา
27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์
28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์
29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย
30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย
31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย
32 นางสาวปรียากร ยางสุด
33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม
34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช
35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม
36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง
37 นางสาวรมิตา ขจร
38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์
39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์
40 นางสาวอริษา ผานิบุตร
ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)
ครูผสู้ อน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน
ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล
มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ
หมายเหตุ :
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน
ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน
ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน
ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน
ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาเพิ่มเตมิ เคมี 4 ว30224
ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5
หนว่ ยที่ 10 กรด-เบส เวลา 18 ชั่วโมง
เรอื่ ง การแตกตวั เป็นไอออนของน้ำ เวลา 2 ช่วั โมง
ครูผู้สอน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา
1. ผลการเรียนรู้
คำนวณค่า pH ความเขม้ ขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออนหรือไฮดรอกไซดไ์ อออนของสารละลายกรด
และเบส
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกสมบัติการนำไฟฟ้าของน้ำได้ (K)
2. บอกความสัมพันธ์ของค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนกับไฮ
ดรอกไซดไ์ อออนในน้ำบริสทุ ธทิ์ ่ี 25 องศาเซลเซียสได้ (K)
3. บอกความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประมาณการแตกตัวของนำ้ บรสิ ทุ ธ์ิกับอุณหภมู ไิ ด้ (K)
4. ตั้งใจเรยี นรู้และแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม
- น้ำบริสทุ ธิ์ท่ีอณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียสแตกตัวใหไ้ ฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน
ท่มี ีความเขม้ ขน้ เท่ากัน คอื 1.0 × 10-7 โมลต่อลิตร โดยมคี ่าคงที่การแตกตัวของน้ำ เทา่ กบั
1.0 × 10-14
- เมอื่ กรดหรือเบสแตกตวั ในน้ำ คา่ ความเปน็ กรด-เบสของสารละลายแสดงได้ด้วยค่า pH
ซ่ึงสมั พนั ธ์กับความเข้มขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออน โดยสารละลายกรดมีความเข้มขน้ ของ
ไฮโดรเนยี มไอออนมากกวา่ 1.0 × 10-7 โมลตอ่ ลิตร หรอื มีค่า pH นอ้ ยกว่า 7 สว่ นสารละลาย
เบสมีความเข้มข้นของไฮโดรเนยี มไอออนนอ้ ยกว่า 1.0 × 10-7 โมลต่อลติ ร หรือมคี า่ pH
มากกวา่ 7
4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
น้ำบรสิ ุทธท์ิ ี่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส แตกตวั ใหไ้ ฮโดรเนียมไอออน และไฮดรอกไซด์ไอออนที่มี
ความเข้มข้นเทา่ กนั คือ 1.0 × 10-7 โมลตอ่ ลติ ร โดยมคี า่ คงทก่ี ารแตกตัวของน้ำ เทา่ กับ 1.0 × 10-14
5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน
1) ทกั ษะการสงั เกต
2) ทักษะการสำรวจค้นหา
3) ทักษะการวิเคราะห์
4) ทกั ษะการเชือ่ มโยง
5) ทักษะการทำงานรว่ มกัน
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (2 ชั่วโมง)
ใชว้ ธิ ีการสอนแบบ 5E Learning
6.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครตู งั้ คำถามเพอื่ กระตนุ้ ความสนใจนกั เรยี นว่า “น้ำสามารถนำไฟฟา้ ได้หรือไม่ เพราะ
เหตใุ ด” ซ่ึงครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบทถี่ ูกตอ้ งกับนักเรียน
2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนงั สือเรยี นรายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์ เคมี
ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 กรด-เบส วา่ “ทอี่ ุณหภูมิปกติ นำ้ สามารถนำไฟฟา้ ได้
หรอื ไม่” แล้วใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ตอบคำถาม จากนนั้ ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภปิ ราย
(แนวตอบ : ทีอ่ ุณหภูมิปกติ น้ำสามารถนำไฟฟ้าไดเ้ ล็กน้อย)
6.2 ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. นกั เรยี นจับคกู่ บั เพื่อน โดยใหแ้ ต่ละคู่ศึกษาข้อมูลเก่ยี วกับการแตกตัวเปน็ ไอออนของ
น้ำ จากหนังสือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรูท้ ี่
4 กรด-เบส แล้วร่วมกันแสดงความคิดเหน็ จนเกิดความเขา้ ใจทตี่ รงกนั
2. จากน้ันนกั เรียนแตล่ ะคู่รว่ มกันฝึกคำนวณหาความเขม้ ขน้ ของ H3O+ หรอื OH- เม่อื
ภาวะสมดลุ เปลย่ี นแปลงไป จากตัวอย่างที่ 4.14 ในหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติม
วิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 กรด-เบส
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ )
6.3 ข้ันอธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
9. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกบั การรบกวนสมดลุ ของน้ำเมื่อเติมกรดซึ่งมี
H3O+ หรือเตมิ เบสซึ่งมี OH- ลงไป การปรบั ตัวเพ่ือรักษาสมดลุ ของนำ้
10. ครอู ธิบายเก่ียวกับสมดลุ การแตกตวั ของนำ้ และการหาค่าคงทก่ี ารแตกตัวของน้ำ
(Kw) โดยเนน้ วา่ “ณ ภาวะสมดลุ ที่ 25 องศาเซลเซียส ค่า Kw จะเท่ากบั 1.0 × 10-14
โดยความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- ในน้ำจะมีค่าเท่ากนั คือ 1.0 × 10-7 โมล/
ลูกบาศกเ์ ดซิเมตร”
11. ครสู ่มุ นกั เรียน 1 คู่ ออกมาแสดงวิธกี ารคำนวณตัวอย่างหน้าชน้ั เรยี นให้ถกู ต้อง โดยครู
คอยเสริมความรใู้ นส่วนที่นกั เรยี นยงั ไม่เข้าใจ
12. ครูตงั้ คำถามใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภิปราย เรอ่ื ง การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ ดงั นี้
1) ท่ีอณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส คา่ คงที่การแตกตัวของน้ำมีค่าเทา่ ใด
(แนวตอบ : 1.0 × 10-14)
2) เมือ่ อณุ หภมู ิสูงขน้ึ คา่ คงที่การแตกตัวของน้ำจะเปล่ยี นแปลงไปอย่างไร
(แนวตอบ : เมื่ออุณหภูมิสงู ข้ึน คา่ คงที่การแตกตวั ของน้ำจะมีคา่ สงู ขนึ้ )
3) เมื่อเติมเบสลงในนำ้ คา่ คงที่การแตกตัวของนำ้ ความเข้มข้นของ H3O+ และ
OH- จะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งไร
(แนวตอบ : คา่ คงทก่ี ารแตกตัวของน้ำจะมคี ่าเท่าเดิม ความเขม้ ข้นของ H3O+
จะมีคา่ น้อยกว่า 1.0 × 10-7 โมล/ลกู บาศก์เดซิเมตร สว่ นความเขม้ ขน้ ของ
OH- จะมีคา่ มากกว่า 1.0 × 10-7 โมล/ลกู บาศก์เดซเิ มตร)
4) เมือ่ เติมกรดลงในน้ำ คา่ คงทกี่ ารแตกตวั ของน้ำ ความเขม้ ข้นของ H3O+ และ
OH- จะเปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร
(แนวตอบ : คา่ คงท่กี ารแตกตัวของนำ้ จะมีคา่ เท่าเดิม ความเขม้ ขน้ ของ H3O+
จะมคี ่ามากกวา่ 1.0 × 10-7 โมล/ลกู บาศก์เดซเิ มตร ส่วนความเข้มขน้ ของ
OH- จะมีค่าน้อยกว่า 1.0 × 10-7 โมล/ลกู บาศก์เดซเิ มตร)
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล)
6.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
13. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั ในเนอื้ หา เร่ือง การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ
วา่ มสี ว่ นไหนท่ียงั ไมเ่ ข้าใจ และให้ความรเู้ พ่มิ เติมในส่วนนัน้ เพ่ือจะใช้เปน็ ความรู้
เบือ้ งตน้ สำหรับการเรียนในเนื้อหาตอ่ ๆ ไป
14. นกั เรียนทำแบบฝึกหดั ในหนังสือแบบฝกึ หัดรายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5
เลม่ 2 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 กรด-เบส
6.5 ข้ันประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ ผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรม
การทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกล่มุ
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน
7. สือ่ และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ เคมี เล่ม 4 สสวท. (ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
8. การวัดและการประเมนิ
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
1. ด้านความรู้ (K)
-การตอบคำถาม -ขอ้ คำถาม -ได้คะแนนในระดับ
1.บอกสมบัติการนำ 3 (ดี) ข้ึนไป
ไฟฟ้าของน้ำได้
2.บอกความสัมพันธข์ อง
ค่าคงที่การแตกตวั ของ
น้ำความเขม้ ข้นของ
ไฮโดรเนยี มไอออนกับไฮ
ดรอกไซด์ไอออนในน้ำ
บริสทุ ธิท์ ่ี25องศา
เซลเซียสได้
3.บอกความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งประมาณการ
แตกตัวของน้ำบรสิ ทุ ธกิ์ ับ
อุณหภมู ไิ ด้ (K)
2. ด้านคุณลักษณะอัน -การสังเกต -แบบประเมิน ไดค้ ะแนนในระดับ 3
พึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะอันพึง (ดี) ขึ้นไป
1. ต้งั ใจเรยี นรู้และ ประสงค์
แสวงหาความรู้
รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีท่ี
ไดร้ ับมอบหมาย
แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง
เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง
พฤติกรรมการแสดงออก
เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ
ทางาน
32103210 321 0
24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ
25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร
26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา
27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์
28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์
29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย
30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย
31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย
32 นางสาวปรียากร ยางสุด
33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม
34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช
35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม
36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง
37 นางสาวรมิตา ขจร
38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์
39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์
40 นางสาวอริษา ผานิบุตร
ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)
ครูผสู้ อน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน
ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล
มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ
หมายเหตุ :
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน
ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน
ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน
ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน
ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพ่ิมเตมิ เคมี 4 ว30224
ภาคเรยี นที่ 2/2564 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5
หน่วยท่ี 10 กรด-เบส เวลา 30 ช่ัวโมง
เรอื่ ง pH ของสารละลายกรดและเบส เวลา 3 ช่วั โมง
ครูผูส้ อน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา
ผลการเรียนรู้
คำนวณคา่ pH ความเขม้ ขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรด
และเบส
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความเป็นกรด-เบสของสารละลายเมอื่ ทราบ pH ได้ (K)
2. ตรวจสอบค่า pH ของสารละลาย เม่อื ทราบความเข้มขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออนหรือความ
เขม้ ขน้ ของไฮดรอกไซดไ์ อออนได้ (P)
3. ต้งั ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย (A)
สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรูเ้ พิ่มเตมิ
- เมือ่ กรดหรือเบสแตกตัวในน้ำ ค่าความเปน็ กรด-เบสของสารละลายแสดงได้ดว้ ยค่า pH
ซึง่ สมั พันธ์กบั ความเข้มขน้ ของไฮโดรเนยี มไอออน โดยสารละลายกรดมีความเข้มข้นของ
ไฮโดรเนียมไอออนมากกวา่ 1.0 × 10-7 โมลต่อลติ ร หรอื มคี ่า pH นอ้ ยกวา่ 7 ส่วนสารละลาย
เบสมีความเข้มขน้ ของไฮโดรเนียมไอออนน้อยกว่า 1.0 × 10-7 โมลต่อลติ ร หรือมีคา่ pH
มากกว่า 7
สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
pH เปน็ ค่าทีใ่ ชบ้ อกความเข้มข้นของ H3O+ ในสารละลาย โดยกำหนดให้ pH = -log [H3O+]
สารละลายท่มี สี มบัติเป็นกรดจะมี pH < 7 สารละลายทม่ี สี มบัติเปน็ กลางจะมี pH = 7 ส่วน
สารละลายท่มี ีสมบตั เิ ป็นเปน็ จะมี pH > 7
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ
1) ทักษะการสงั เกต 2. ใฝ่เรยี นรู้
2) ทักษะการสำรวจค้นหา 3. มุ่งม่ันในการทำงาน
3) ทักษะการวิเคราะห์
4) ทกั ษะการเช่อื มโยง
5) ทักษะการทำงานรว่ มกัน
กิจกรรมการเรียนรู้ (3 ชวั่ โมง)
ใช้วิธีการสอนแบบ 5E
ขนั้ ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครตู งั้ คำถามเพื่อทบทวนความรู้เดิมวา่
- เคร่อื งมือใดทีใ่ ชใ้ นทดสอบกรด-เบส มอี ะไรบา้ ง
(แนวตอบ : กระดาษลสิ มัส ยูนเิ วอร์ซัลอินดิเคเตอร์ pH meter )
- โบรโมไทมอลบลูเป็นอินดเิ คเตอรท์ ่ีเปล่ยี นสีในชว่ ง pH 6.0-7.6 โดยเปล่ยี นสจี าก
เหลือง-นำ้ เงนิ ถา้ สารละลายตัวอย่างมี pH = 6.8 จะให้ผลการทดสอบเป็นสีใด
(แนวตอบ : จะได้สารละลายสีเขียว)
- สารละลายท่ีมี pH เป็น 10 เมื่อเตมิ ฟีนอล์ฟทาลีนจะไดส้ ารละลายสใี ด
(แนวตอบ : จะไดส้ ารละลายสีชมพู เพราะ ฟนี อล์ฟทาลีน ใช้ทดสอบ pH ช่วง 8.3 –
10.0. (เหลอื ง-แดง) ถ้าสารละลายท่ีมี pH > 10 ผลทดสอบจะสงั เกตสารละลายจะมสี ี
ชมพู)
ขนั้ ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. นักเรียนแตล่ ะคนศึกษาขอ้ มลู เก่ียวกบั กิจกรรม
จากหนงั สอื เรียนรายวิชาเพ่มิ เตมิ เคมี ม.5 เล่ม 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10
กรด-เบส
2. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 3-5 คน คละความสามารถ โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่ม
ทำกจิ กรรมการทดลอง
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
ทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิรยิ าระหวา่ งกรดและเบส
วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
1. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
2. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
3. ตะเกยี งแอลกอฮอล์
4. ถว้ ยระเหยสาร
วธิ กี ารทดลอง
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ ปริมาตร 10 ml ใส่ลงในบีกเกอร์
2. ตวงสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ปริมาตร 10 ml ใสล่ งในบีกเกอร์ใบ
เดยี วกัน
3. นำสารละลายผสมระหว่างกรดไฮโดรคลอริกและโซเดียมไฮดรอกไซด์ใสล่ ง
ในถว้ ยระเหยสาร
4. นำถว้ ยระเหยสารต้ังบนตะเกียงแอลกอฮอล์ แล้วจดุ ตะเกียง ใหค้ วามรอ้ นไป
เรื่อยๆ แลว้ สงั เกตการทดลองและบันทึกผลการทดลอง
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอสรุปผลการทดลองของกลุ่มตนเองหน้าช้ันเรยี น
ทลี ะกล่มุ เพือ่ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นกนั จนครบทุกกลุ่ม
ขนั้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครสู มุ่ นักเรียน 5 กล่มุ ออกมาแสดงวธิ กี ารคำนวณตัวอยา่ งใหถ้ ูกตอ้ งโดยครูคอยเสริม
ความรใู้ นส่วนทน่ี ักเรยี นยังไม่เขา้ ใจ
2. ครยู กตัวอย่างโจทยเ์ กีย่ วกับ pH ของสารละลาย โดยครูเขยี นโจทยแ์ ละแสดงวธิ ีทำให้
นักเรยี นดบู นกระดาน ดงั นี้
1) สารละลาย NaOH เข้มขน้ 0.5 โมล/ลกู บาศกเ์ ดซเิ มตร จะมคี ่า pH เท่าใด
(กำหนดให้ log 2 = 0.3010)
วธิ ีทำ NaOH เปน็ เบสแก่ จึงแตกตวั ไดห้ มด ดังนัน้ สารละลาย NaOH 0.5
mol/dm3 จะแตกตัวให้ [OH-] 0.5 mol/dm3
[H3O+][OH-] = 1.0 × 10-14
[H3O+] × 0.5 = 1.0 × 10-14
[H3O+] = 1.0× 10−14
0.5
= 2 × 10-14
สารละลาย NaOH มี [H3O+] = 2 × 10-14
pH = -log [H3O+]
= -log(2 × 10-14)
= 14 – log2
= 14 – 0.3010
= 13.699
ดังน้ัน สารละลาย NaOH จะมคี ่า pH เท่ากบั 13.699
2) สารละลาย KOH มี pH เทา่ กับ 8 จะมีความเข้มขน้ เท่าใด
วธิ ีทำ สารละลาย KOH มี pH เท่ากับ 8 จะมี [H3O+] = 10-8 mol/dm3
[H3O+][OH-] = 1.0 × 10-14
10-8 × [OH-] = 1.0 × 10-14
[OH-] = 1.0× 10−14
108
= 2 × 10-6 mol/dm3
ดังน้นั สารละลาย KOH มีความเข้มขน้ 2 × 10-6 mol/dm3
5. นักเรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายเพอ่ื หาขอ้ สรปุ เก่ียวกับ pH ของสารละลาย ซง่ึ ได้
ขอ้ สรุป ดังน้ี
• pH เปน็ ค่าที่ใชบ้ อกความเข้มข้นของ H3O+ ในสารละลาย โดยกำหนดให้ pH
= -log [H3O+]
• สารละลายท่มี สี มบตั เิ ป็นกรดจะมี pH < 7 สารละลายท่ีมีสมบัติเป็นกลางจะมี
pH = 7 สว่ นสารละลายท่ีมสี มบตั เิ ปน็ เปน็ จะมี pH > 7
• ผลคณู ของ [H3O+] กับ [OH-] มีคา่ เท่ากับ 1.0 × 10-14 ซ่ึงเป็นค่าคงท่ี ที่
อณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส ดังน้นั สารละลายทม่ี ี [H3O+] มาก จะมี [OH-]
นอ้ ย ส่วนสารละลายทม่ี ี H3O+] นอ้ ย จะมี [OH-] มาก
• สารละลายท่ีมี [H3O+] มาก จะมคี วามเป็นกรดมาก คา่ pH จะต่ำ ส่วนสารละลายท่ีมี
[H3O+] นอ้ ย จะมคี วามเปน็ กรดน้อย ค่า pH จะสงู
• pH ของสารละลายอาจมีคา่ ต่ำกว่า 0 หรือสูงกวา่ 14 ก็ได้
ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสยั ในเนอ้ื หา เรื่อง pH ของสารละลาย ว่ามสี ่วน
ไหนที่ยงั ไม่เขา้ ใจ และให้ความรู้เพมิ่ เติมในส่วนนั้น เพื่อจะใชเ้ ปน็ ความรเู้ บือ้ งต้นสำหรับ
การเรียนในเนื้อหาตอ่ ๆ ไป
2. นกั เรียนทำใบงาน เร่ือง pH ของสารละลาย
ข้ันที่ 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าช้นั เรยี น
2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน เร่ือง pH ของสารละลายกรดและเบส
สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพิม่ เติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เร่อื ง pH ของสารละลายกรดและเบส
การวัดและการประเมิน
จุดประสงค์ วธิ กี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
-ใบงานท่ี 3 เรือ่ ง -ได้คะแนนร้อยละ
1. ดา้ นความรู้ (K) ปฏิกิริยาระหว่างกรด- 70
เบส
1.บอกความเป็นกรด- -ตรวจใบงานที่ 3 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
-ใบรายงานผลการ 70
เบสของสารละลายเม่ือ เร่ือง ปฏิกริ ยิ า ทดลอง -
ทราบ pH ได้ ระหวา่ งกรด-เบส -แบบประเมิน ได้คะแนนในระดับ 3
คุณลกั ษณะอนั พงึ (ดี) ขึ้นไป
2.ด้านทักษะ/ ประสงค์
กระบวนการคิด (P)
1.ตรวจสอบค่า pH ของ -ตรวจใบรายงานผล
สารละลายเม่อื ทราบ การทดลอง
ความเขม้ ขน้ ของไฮโดร
เนยี มไอออนหรอื ความ
เขม้ ข้นของไฮดรอกไซด์
ไอออนได้
3. ด้านคณุ ลักษณะอนั
พึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมคี วาม -การสงั เกต
รับผิดชอบตอ่ หน้าท่ี
ท่ีได้รบั มอบหมายและ
ทำงานรว่ มกบั คนอน่ื ได้
กรด-เบส ใบงาน เรอื่ ง pH ของกรด-เบส
ช่ือ-สกลุ ........................................................................... ช้ัน ม........... เลขท่ี.........
1. จงหาค่า log ตอ่ ไปน้ี 1.4 log 4 = ................
1.1 log 1 = ................ 1.5 log 5 = ................
1.2 log 2 = ................ 1.6 log 10 = ................
1.3 log 3 = ................
2. ข้อมูลในการใช้สูตรทเ่ี กีย่ วกับการคานวณหา pH ของสารละลาย มีอะไรบา้ ง
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
3. สารละลายกรดซัลฟวิ รกิ (H2SO4) เข้มข้น 0.2 โมลตอ่ ลิตร มีคา่ pH เท่าใด
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
4. ศึกษาขอ้ มลู จากตารางต่อไปน้ี
สาร A B C D E F
pH 2.3 5.5 1.9 11.0 7.0 7.9
เรียงลาดบั ความเป็นเบสของสารละลาย จากมากไปนอ้ ย
..................................................................................................................................................................
กรด-เบส ใบงาน เรอ่ื ง pH ของกรด-เบส
ชอ่ื -สกลุ ........................................................................... ชั้น ม........... เลขท่ี.........
5. สารละลายกรดแอซิตกิ (CH3COOH) 0.5 โมลต่อลิตร มีคา่ pH เทา่ ใด (Ka = 1.8x10-5)
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
6. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เขม้ ขน้ 5.0 x 10-3 โมลต่อลิตร มคี ่า pH เท่าใด
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
7. สารละลายโพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ (KOH) เขม้ ขน้ 1.0 x 10-2 โมลต่อลิตร มีคา่ pH เทา่ ใด
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
กรด-เบส ใบงาน เรื่อง pH ของกรด-เบส
ชื่อ-สกุล........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........
8. สารละลายกรดเปอร์คลอรกิ (H3PO4) เข้มขน้ 0.01 โมลตอ่ ลติ ร จะมีคา่ pH เท่าใด
(กาหนดให้ Ka ของ H3PO4 เท่ากับ 6.92 x 10-3)
สมการ H3PO4 + H2O ⇋ H2PO4- + H3O+
เริม่ ตน้
เปล่ยี นแปลง
สมดุล
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง
เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง
พฤติกรรมการแสดงออก
เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ
ทางาน
32103210 321 0
24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ
25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร
26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา
27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์
28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์
29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย
30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย
31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย
32 นางสาวปรียากร ยางสุด
33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม
34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช
35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม
36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง
37 นางสาวรมิตา ขจร
38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์
39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์
40 นางสาวอริษา ผานิบุตร
ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)
ครูผสู้ อน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน
ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล
มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ
หมายเหตุ :
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน
ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน
ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน
ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน
ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาเพมิ่ เติมเคมี 4 ว30224
ภาคเรียนที่ 2/2564 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5
หนว่ ยท่ี 10 กรด-เบส เวลา 28 ชั่วโมง
เร่ือง ปฏิกริ ิยาระหว่างกรดและเบส เวลา 2 ชว่ั โมง
ครูผู้สอน นางสาวมารสิ า แอ่งสุธา
ผลการเรียนรู้
เขียนสมการเคมแี สดงปฏิกิริยาสะเทนิ และระบุความเปน็ กรด-เบสของสารละลายหลัง
การสะเทนิ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายการเกิดปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งกรดและเบสได้ (K)
2. ทำการทดลองปฏิกริ ยิ าระหว่างกรดและเบสได้ (P)
3. ต้งั ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบต่อหน้าทท่ี ไี่ ด้รบั มอบหมาย (A)
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ
- ปฏกิ ิรยิ าสะเทนิ ระหวา่ งกรดแกแ่ ละเบสแก่ใหส้ ารละลายท่ีเปน็ กลาง ปฏกิ ิรยิ าสะเทินระหว่าง
กรดแก่และเบสอ่อน ใหส้ ารละลายทเ่ี ป็นกรด สว่ นปฏิกิริยาสะเทนิ ระหวา่ งกรดอ่อนและเบสแก่
ให้สารละลายทีเ่ ป็นเบส
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่ เม่อื สารละลายมี H3O+ และไอออนลบ สว่ นสารละลาย
เบสมีไอออนบวก และ OH- ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งกรดและเบสจึงเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าการถา่ ยโอน H+ ระหว่าง
H3O+ กบั OH- เรียกวา่ ปฏิกิรยิ าสะเทนิ ซงึ่ ไดผ้ ลิตภณั ฑ์เป็นเกลือกับนำ้
ปฏิกิริยาระหวา่ งกรดหรือเบสกับสารบางชนิด เมอื่ กรดกับเบสจะทำปฏิกิริยากนั ได้แลว้ กรด
หรือเบสยงั สามารถทำฏกิ ริ ิยากับสารประเภทอนื่ ได้อีกหลายชนดิ
ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลิซสิ เป็นปฏิกิริยาท่ีเกดิ จากไอออนบวกหรือไอออนลบของเกลือทำปฏิกิริยา
กบั นำ้ ได้ผลติ ภณั ฑ์เป็น H3O+ หรือ OH-
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา
3) ทกั ษะการวิเคราะห์
4) ทักษะการเชื่อมโยง
5) ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน
กจิ กรรมการเรียนรู้ (2 ชวั่ โมง)
ใช้วธิ กี ารสอนแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL)
ขัน้ ที่ 1 การทบทวนความรู้เดิม
1. ครตู ัง้ คำถามเพ่ือทบทวนความร้เู ดมิ วา่
- สารละลายที่มี pH เปน็ 10 เมือ่ เติมฟีนอลเรด จะไดส้ ารละลายสีใด
(แนวตอบ : สแี ดง เพราะ ฟีนอลเรดใชท้ ดสอบ pH ชว่ ง 6.8 – 8.4 (เหลือง-แดง) ถา้
สารละลายทม่ี ี pH > 10 ผลทดสอบจะสังเกตสารละลายจะมีสีแดง)
- โบรโมไทมอลบลูเป็นอนิ ดิเคเตอร์ท่เี ปลย่ี นสีในช่วง pH 6.0-7.6 โดยเปล่ยี นสีจาก
เหลอื ง-น้ำเงนิ ถา้ สารละลายตัวอย่างมี pH = 6.8 จะให้ผลการทดสอบเป็นสใี ด
(แนวตอบ : จะได้สารละลายสีเขยี ว)
- สารละลายทมี่ ี pH เป็น 10 เม่อื เตมิ ฟีนอล์ฟทาลนี จะได้สารละลายสีใด
(แนวตอบ : จะไดส้ ารละลายสีชมพู เพราะ ฟีนอล์ฟทาลนี ใช้ทดสอบ pH ช่วง 8.3 –
10.0. (เหลือง-แดง) ถา้ สารละลายท่มี ี pH > 10 ผลทดสอบจะสังเกตสารละลายจะมสี ี
ชมพู)
ขั้นที่ 2 การแสวงหาความรู้ใหม่
1. นักเรียนแตล่ ะคนศึกษาข้อมูลเกยี่ วกบั กจิ กรรมท่ี 3 การทดลองปฏกิ ิรยิ าระหว่างกรด
และเบส จากหนังสือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ เคมี ม.5 เลม่ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10
กรด-เบส
2. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 3-5 คน คละความสามารถ โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ
ทำกิจกรรมการทดลองปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส
จดุ ประสงค์การทดลอง
ทดลองเพอ่ื ศึกษาปฏกิ ิริยาระหว่างกรดและเบส
วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
1. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
2. สารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์
3. ตะเกยี งแอลกอฮอล์
4. ถ้วยระเหยสาร
วธิ ีการทดลอง
1. ตวงสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ปริมาตร 10 ml ใส่ลงในบีกเกอร์
2. ตวงสารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ ปรมิ าตร 10 ml ใส่ลงในบกี เกอรใ์ บ
เดียวกัน
3. นำสารละลายผสมระหวา่ งกรดไฮโดรคลอรกิ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ใส่ลง
ในถว้ ยระเหยสาร
4. นำถว้ ยระเหยสารตง้ั บนตะเกียงแอลกอฮอล์ แลว้ จุดตะเกียง ใหค้ วามรอ้ นไป
เร่ือยๆ แลว้ สังเกตการทดลองและบันทึกผลการทดลอง
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอสรุปผลการทดลองของกลุ่มตนเองหน้าชั้นเรยี น
ทลี ะกลมุ่ เพ่ือแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กันจนครบทุกกลุม่
ขั้นที่ 3 การศกึ ษาทำความเข้าใจขอ้ มูล/ความรู้ใหม่ และเช่อื มโยงความรใู้ หมก่ ับความรเู้ ดิม
1. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ทำใบงานที่ 3 เร่ือง ปฏิกิรยิ าระหว่างกรดและเบส
2. ครแู ละนกั เรยี นเฉลยใบงานท่ี 3 เร่ือง ปฏิกริ ิยาระหวา่ งกรดและเบส
3. ครูเขียนคำถามเก่ียวกับปฏิกริ ิยาระหว่างกรดและเบสบนกระดาน แล้วใหน้ กั เรียนแตล่ ะ
คนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1) กรดไฮโดรคลอริกทำปฏิกริ ิยากบั โซเดยี มไฮดรอกไซด์ จะเกิดผลิตภณั ฑใ์ ดข้ึน
(แนวตอบ : จะเกิดผลิตภัณฑ์เกลือที่มสี มบตั เิ ปน็ กลาง และนำ้ )
2) กรดแอซตี กิ ทำปฏิกิริยากับโพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ จะเกิดผลิตภณั ฑใ์ ดขนึ้
(แนวตอบ : จะเกิดผลิตภณั ฑ์เกลอื ท่ีมีสมบตั ิเป็นเบส และน้ำ)
3) กรดไฮโดรคลอริกทำปฏกิ ิรยิ ากับแอมโมเนีย จะเกดิ ผลิตภัณฑ์ใดขนึ้
(แนวตอบ : จะเกิดผลิตภัณฑ์เกลอื ท่ีมสี มบัตเิ ป็นกรด และน้ำ)
ข้ันที่ 4 การแลกเปลยี่ นความรคู้ วามเขา้ ใจกับกลมุ่
1. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันแลกวธิ กี ารหาความตอบในแตล่ ะข้อภายในกลุ่ม
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายถึงคำตอบในแตล่ ะข้อ
ข้นั ที่ 5 การสรปุ และจัดระเบียบความรู้
1. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันเขียนสรุปปฏกิ ิริยาระหว่างกรดและเบส ลงในกระดาน
ชาร์ต”
ขัน้ ท่ี 6 การปฏบิ ตั แิ ละ/หรอื การแสดงผลงาน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนเองไปติดบนกระดาน โดยให้นักเรียนทกุ
คนรว่ มกันพิจารณาความถูกตอ้ ง รวมทัง้ ให้กลมุ่ ทีม่ ีข้อผิดพลาดแกไ้ ขให้ถกู ต้อง
ขั้นที่ 7 การประยุกต์ใช้ความรู้
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ เล่นเกมการแข่งขันตอบคำถาม เพ่อื ทำกิจกรรมการแข่งขัน โดยให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มคำตอบการไทเทรตของโจทย์แต่ละข้อครูให้เวลาแต่ละกลุ่มระดม
ความคดิ ตามเวลาท่เี หมาะสม
2. ครใู ห้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาเขียนคำตอบของกลมุ่ ตวั เองบนกระดานหนา้ ชั้นเรียน
สอื่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2. รายงานผลการทดลอง เร่ือง ปฏิกริ ยิ าระหว่างกรดและเบส
3. ใบงาน เรื่อง ปฏกิ ิริยาระหว่างกรด-เบส
การวดั และการประเมนิ
จุดประสงค์ วิธีการวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
1. ดา้ นความรู้ (K)
1.อธบิ ายการเกิด -ตรวจใบงานที่ 3 -ใบงานที่ 3 เร่อื ง -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
ปฏกิ ิริยาระหว่างกรด- 70
ปฏกิ ริ ิยาระหว่างกรดกบั เรื่อง ปฏิกริ ิยา เบส
เบสและปฏิกิรยิ าระหว่าง ระหว่างกรด-เบส
กรดหรอื เบสกบั สารอื่น
ได้
2.ดา้ นทกั ษะ/ -ตรวจใบรายงานผล -ใบรายงานผลการ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
กระบวนการคดิ (P) การทดลอง ทดลอง 70
1.ทดลองการเกดิ -
ปฏกิ ริ ิยาระหว่างกรดกับ -การสงั เกต -แบบประเมนิ
เบสได้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ได้คะแนนในระดับ 3
3. ด้านคุณลักษณะอนั ประสงค์ (ดี) ขนึ้ ไป
พงึ ประสงค์ (A)
1. นกั เรียนมีความ
รับผิดชอบตอ่ หน้าที่ท่ี
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานรว่ มกบั คนอน่ื ได้
กรด-เบส ใบงาน เรือ่ ง ปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งกรดกบั เบส
ช่ือ-สกุล........................................................................... ชัน้ ม........... เลขท่ี.........
1. ปฏกิ ริ ยิ าสะเทิน มีความหมายว่าอยา่ งไร
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
2. จงเติมขอ้ ความลงในตารางให้ครบถ้วน
สารทเี่ ข้าทาปฏิกริ ิยากนั เกลอื ท่ีได้ pH ของเกลือ
กรดแก่ เบสแก่
กรดแก่ เบสออ่ น
กรดออ่ น เบสแก่
กรดออ่ น เบสออ่ น
3. จงเขียนสมการเคมี พรอ้ มระบุชนิดของเกลอื ทเี่ กิดขน้ึ
3.1 HCl กบั Mg(OH)2
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3.2 HNO3 กบั KOH
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3.3 CH3COOH กับ NaOH
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
3.4 H2SO4 กบั NH4OH
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
กรด-เบส ใบงาน เรอ่ื ง ปฏกิ ิริยาระหวา่ งกรดกบั เบส
ชือ่ -สกุล........................................................................... ช้ัน ม........... เลขท่ี.........
4. จงเขียนปฏิกิรยิ าไฮโดรไลซิสของเกลอื ทกี่ าหนดให้ตอ่ ไปน้ี
4.1 NaCl คือ ..........................................................................................................
เปน็ เกลอื ......................
4.2 NH4Br คอื ..........................................................................................................
เป็นเกลอื ......................
4.3 KCN คือ ..........................................................................................................
เปน็ เกลอื ......................
5. กาหนดให้ Ka ของ H2S เทา่ กบั 1.0 x 10-7
Kb ของ CH3COO- เท่ากับ 5.56 x 10-10
Kb ของ CN- เทา่ กับ 1.6 x 10-5
Ka ของ NH4+ เทา่ กับ 6.0 x 10-11
เม่อื นาเกลอื ต่อไปนี้มาละลายนา้ สารละลายทไี่ ดจ้ ะมีสมบัตเิ ปน็ กรดหรือเบส พร้อมทง้ั เขยี นสมการ
5.1 NaNO3
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
5.2 NH4CN
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
5.3 CH3COONH4
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง
เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง
พฤติกรรมการแสดงออก
เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ
ทางาน
32103210 321 0
24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ
25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร
26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา
27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์
28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์
29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย
30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย
31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย
32 นางสาวปรียากร ยางสุด
33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม
34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช
35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม
36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง
37 นางสาวรมิตา ขจร
38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์
39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์
40 นางสาวอริษา ผานิบุตร
ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)
ครูผสู้ อน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน
ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล
มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ
หมายเหตุ :
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน
ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน
ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน
ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน
ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพม่ิ เติมเคมี 4 ว30224
ภาคเรียนที่ 2/2564 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5
หนว่ ยที่ 10 กรด-เบส เวลา 30 ช่ัวโมง
เรือ่ ง การไทเทรตกรด-เบส เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผสู้ อน นางสาวมารสิ า แอ่งสุธา
ผลการเรียนรู้
1. ทดลอง และอธิบายหลกั การการไทเทรต และเลือกใชอ้ ินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการ
ไทเทรตกรด-เบส
2. คำนวณปริมาณสารหรือความเขม้ ข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกความหมายของการไทเทรต สารละลายมาตรฐาน และจดุ สมมลู ได้ (K)
2. บอกประเภทของกรด-เบสท่ีทำปฏกิ ิรยิ ากัน โดยพิจารณาจากกราฟของการไทเทรตได้ (K)
3. คำนวณหาปรมิ าณกรดหรอื เบสท่ีทำปฏกิ ริ ยิ าพอดีกนั โดยใช้ข้อมูลจากการไทเทรตได้ (K)
4. ตั้งใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย (A)
สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม
- การไทเทรตเป็นเทคนิคในการวิเคราะห์หาปริมาณ หรือความเข้มข้นของสารที่ทำปฏิกิริยา
พอดีกัน จุดที่สารทำปฏิกิริยาพอดีกันเรียกว่า จุดสมมูล ในทางปฏิบัติจุดสมมูลของปฏิกิริยา
อาจไม่สามารถสังเกตเห็นได้ จึงสังเกตจากการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ เพื่อบอกจุดยุติของ
การไทเทรต ดังนั้นอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมในการไทเทรตกรด-เบสควรเป็นอินดิเคเตอร์ท่ี
เปลี่ยนสีในชว่ ง pH ตรงกบั หรอื ใกลเ้ คียงกบั pH ของสารละลาย ณ จุดสมมูล
- ปรมิ าณกรดและเบสทที่ ำปฏิกิรยิ าพอดกี นั จากการไทเทรตกรด-เบส สามารถนำไปคำนวณ
ความเขม้ ข้นของกรดหรอื เบสที่ตอ้ งการทราบความเข้มขน้ ได้
สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การไทเทรตเป็นการหาปริมาณกรดและเบสที่ไม่ทราบค่าความเข้มข้น โดยการนำมาทำ
ปฏิกิรยิ ากับสารละลายมาตรฐานที่ทราบความเข้มข้น ซง่ึ อาจเปน็ สารละลายกรดหรือเบสก็ได้
จุดยุติ คือ จดุ ทอี่ นิ ดเิ คเตอร์เปล่ียนสี
จุดสมมูล คือ จุดที่สารละลายกรดและเบสทำปฏิกิริยาพอดีกัน จุดสมมูลจะมีค่าใกล้เคียงจุด
ยตุ เิ มื่อเลือกใช้อนิ ดเิ คเตอร์ท่เี หมาะสมในการไทเทรต
การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ ที่จุดสมมูล pH ของสารละลายมีค่าประมาณ 7
ความชันของกราฟมีค่า pH 3 - 11 เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วงนี้ได้หลายชนิด คือ
เมทลิ ออเรนจเ์ มทิลเรด โบรไทมอลบลู และฟนี อล์ฟทาลนี
การไทเทรตระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ ที่จุดสมมูล pH ของสารละลายมีค่ามากกว่า 7
ความชันของกราฟมีค่า pH 7-11 เลือกใช้อนิ ดิเคเตอร์ทเ่ี ปลีย่ นสีในชว่ งนไี้ ด้ คอื ฟีนอลฟ์ ทาลนี
การไทเทรตระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน ที่จุดสมมูล pH ของสารละลายมีค่าน้อยกว่า 7
ความชันของกราฟมีค่า pH 3-7 เลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วงนี้ได้ คือ เมทิลออเรนจ์
เมทลิ เรด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั รับผดิ ชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุง่ มั่นในการทำงาน
1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทกั ษะการสำรวจคน้ หา
3) ทักษะการวิเคราะห์
4) ทักษะการเชอื่ มโยง
5) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน
กิจกรรมการเรยี นรู้ (2 ชั่วโมง)
ใชว้ ธิ ีการสอนแบบซิปปา (CIPPA MODEL)
ขัน้ ที่ 1 การทบทวนความรู้เดมิ
1. ครตู ัง้ คำถามเพื่อทบทวนความรเู้ ดมิ ว่า
1) กรดไฮโดรคลอริกทำปฏกิ ริ ิยากับโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะเกิดผลติ ภัณฑ์ใดข้ึน
(แนวตอบ : จะเกิดผลติ ภณั ฑ์เกลือท่ีมสี มบตั ิเป็นกลาง และน้ำ )
2) กรดแอซตี กิ ทำปฏิกริ ิยากับโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ จะเกิดผลิตภัณฑ์ใดขน้ึ
(แนวตอบ : จะเกดิ ผลิตภัณฑ์เกลอื ที่มีสมบัติเปน็ เบส และน้ำ)
3) กรดไฮโดรคลอริกทำปฏกิ ิรยิ ากับแอมโมเนยี จะเกิดผลติ ภณั ฑ์ใดขน้ึ
(แนวตอบ : จะเกดิ ผลิตภัณฑ์เกลือที่มสี มบตั ิเปน็ กรด และน้ำ)
ข้นั ที่ 2 การแสวงหาความรูใ้ หม่
1. นักเรียนแต่ละคนศึกษาขอ้ มลู เกีย่ วกับกจิ กรรมท่ี 4 การไทเทรตของกรด-เบส
จากหนังสือเรียนรายวชิ าเพิ่มเตมิ เคมี ม.5 เล่ม 4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 10
กรด-เบส
2. ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 3-5 คน คละความสามารถ โดยให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่
ทำกจิ กรรมที่ 5 การไทเทรตของกรดและเบส โดยใชอ้ นิ ดเิ คเตอร์
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ทดลองเพ่อื ศกึ ษาการไทเทรต กรด-เบสโดยใช้อินดิเคเตอร์
2. เปรยี บเทียบจดุ ยุตขิ องอินดเิ คเตอร์แตล่ ะชนดิ
วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
1. สาระละลายกรดแอซิตกิ
2. สารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์
3. เมทิลออเรนจ์
4. ฟนี อลฟ์ทาลีน
5. ปเิ ปต ขนาด 10 ml
6. บิวเรต ขนาด 50 ml
7. ขวดรูปกรวย ขนาด 250 ml
8. บกี เกอร์ ขนาด 100 ml
9. หลอดหยด
10. กรวยกรอง
11. ขาตั้งพร้อมทีจ่ บั
12. ลกู ยางปิเปต
13. ขวดนำ้ กลน่ั
วธิ ีการทดลอง
1. ปิเปตกรดแอซิติก ใส่ขวดรูปกรวย 3 ขวด ขวดละ 100 ml แลว้ หยด
เมทลิ ออเรนจ์ 2 หยด ลงในแตล่ ะขวด ซ่งึ สารละลายจะมสี ีแดง
2. บรรจสุ ารละลายโซเดยี มไฮดรอกไซด์ 0.1 M ปริมาตร 40 ml ลงใน
บิวเรตต์ แล้วปรบั ระดบั ของสารละลายให้สามารถอ่านค่าได้ แลว้ บนั ทึก
ปรมิ าตรไว้
3. ไขบิวเรตให้ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ไหลลงในกรดแอซิตกิ ช้า
พร้อมเขยา่ ขวดใหส้ ารละลายผสมกนั ตลอดเวลา เม่ือสีเหลอื งท่ีเกดิ ขนึ้
เปลย่ี นเปน็ สีแดงไดช้ า้ ลง ให้ปรบั บวิ เรตทลี ะหยด พร้อมเขย่า และหยุดการ
ไททรตเมือ่ เกดิ สเี หลืองถาวร ใหบ้ นั ทึกปริมาตรของสารละลายโซเดียมไฮ
ดรอกไซด์
4. ทดลองซำ้ ขอ้ 3 และ 4 โดยใชส้ ารละลายในขอ้ 1 อีก 2 คร้งั จากน้นั
คำนวณปริมาตรเฉลี่ยของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดท์ ่ีทำปฏกิ ริ ยิ า
พอดีกบั กรดแอซิติก
5. ทำการทดลองซ้ำข้อ 1-4 แต่เปลยี่ นอนิ ดเิ คเตอรเ์ ป็นฟนี อลฟ์ทาลนี ซ่ึง
สารละลายจะเปลย่ี นจากสใี สเปน็ สชี มพู
6.
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอสรปุ ผลการทดลองของกลุ่มตนเองหน้าช้ันเรยี น
ทีละกลุ่มเพอ่ื แลกเปล่ียนความคิดเห็นกนั จนครบทุกกลุม่
ขั้นที่ 3 การศกึ ษาทำความเขา้ ใจขอ้ มูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม
1. ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละกลุม่ ทำใบงานท่ี 4 เรอ่ื ง การไทเทรตกรด-เบส
2. ครแู ละนักเรียนเฉลยใบงานท่ี 4 เรื่อง การไทเทรตกรด-เบส
3. ครูเขียนโจทยเ์ กยี่ วกบั การไทเทรตบนกระดาน แล้วใหน้ กั เรียนแต่ละคนตอบคำถาม
ต่อไปนี้
1) ถ้าในนำ้ ส้มสายชูมีกรดแอซีติกอยเู่ พียงชนิดเดยี ว จะมวี ธิ ีการหาความเข้มขน้
ของกรดแอซีตกิ ได้อย่างไร
(แนวตอบ : การจะทราบว่ากรดแอซตี ิกมคี วามเขม้ ขน้ เท่าใด จะต้องทำนำ้ สม้
สายชชูให้เจอื จางแล้วนำมาไทเทรตกบั สารละลายมาตรฐาน NaOH โดยใช้
ฟีนอล์ฟทาลีนเป็นอินดเิ คเตอร์ เม่ือทราบปริมาตรของสารละลาย NaOH ที่ใช้
ในการทำปฏิกิรยิ า กจ็ ะสามารถนำมาคำนวณหาความเขม้ ข้นของกรดแอซีติก
ในน้ำส้มสายชูได)้
2) กราฟของการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดมอนอโปรติก A และ B ซง่ึ มี
ความเข้มขน้ และปริมาตรเท่ากัน กบั สารละลาย NaOH ได้ผลดงั กราฟ
A
B
• pH ทีจ่ ุดสมมูลของการไทเทรตสาร A และ B มีค่าเทา่ ใด
(แนวตอบ : pH ท่จี ุดสมมูลของการไทเทรตสาร A มคี ่าประมาณ 8
pH ทจ่ี ดุ สมมลู ของการไทเทรตสาร B มีคา่ ประมาณ 6)
ขน้ั ที่ 4 การแลกเปลีย่ นความรคู้ วามเข้าใจกับกลุ่ม
1. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันแลกวิธกี ารหาความคำตอบในแตล่ ะข้อภายในกลุ่ม
2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายถึงวิธีการคำตอบของโจทย์ปัญหาในแตล่ ะขอ้ ในแต่ละข้อ
ขน้ั ท่ี 5 การสรปุ และจัดระเบียบความรู้
1. ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั เขียนสรปุ ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งการไทเทรตกรด-เบส ลงใน
กระดานชารต์ ”
ขนั้ ท่ี 6 การปฏิบตั แิ ละ/หรือการแสดงผลงาน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตนเองไปติดบนกระดาน โดยให้นักเรียนทุก
คนรว่ มกนั พจิ ารณาความถูกต้อง รวมทง้ั ให้กลุ่มทมี่ ขี อ้ ผิดพลาดแกไ้ ขให้ถูกต้อง
ขั้นท่ี 7 การประยุกตใ์ ช้ความรู้
1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ เล่นเกมการแข่งขนั ตอบคำถาม เพ่อื ทำกจิ กรรมการแข่งขัน โดยให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มคำตอบการไทเทรตกรด-เบสของโจทย์แต่ละข้อครูให้เวลาแต่ละกลุ่ม
ระดมความคดิ ตามเวลาที่เหมาะสม
2. ครใู หต้ วั แทนแตล่ ะกลุม่ ออกมาเขียนคำตอบของกล่มุ ตัวเองบนกระดานหนา้ ชน้ั เรยี น
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรียนรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ เคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
2. รายงานผลการทดลอง เร่ือง การไทเทรตกรด-เบส
3. ใบงานท่ี 4 เร่อื ง การไทเทรตกรด-เบส
การวดั และการประเมนิ
จดุ ประสงค์ วธิ ีการวัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน
1. ดา้ นความรู้ (K) -ใบงานท่ี 4 เรอ่ื ง -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
การไทเทรตกรด-เบส 70
1. 1. บอกความหมาย -ตรวจใบงานที่ 4
ข อ ง ก า ร ไ ท เ ท ร ต เรื่อง การไทเทรต
สารละลายมาตรฐาน กรด-เบส
และจดุ สมมูลได้
2. บอกประเภทของ
กรด-เบสที่ทำปฏิกิริยา
กัน โดยพิจารณาจาก
กราฟของการไทเทรตได้
2.ดา้ นทักษะ/
กระบวนการคดิ (P)
1.ทดลองการเกดิ -ตรวจใบรายงานผล -ใบรายงานผลการ ได้คะแนนรอ้ ยละ 70
ทดลอง ได้คะแนนรอ้ ยละ 70
ไทเทรตกรด-เบส การทดลอง -ใบงานการไทเทรต
กรด-เบส ได้คะแนนในระดบั 3
2.คำนวณหาปริมาณกรด -ตรวจใบงานการ (ด)ี ข้นึ ไป
-แบบประเมิน
หรือเบสทท่ี ำปฏกิ ิริยา ไทเทรตกรด-เบส คณุ ลักษณะอนั พึง
ประสงค์
พอดีกัน โดยใชข้ ้อมลู จาก
การไทเทรตได้
3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั
พึงประสงค์ (A)
1. นักเรยี นมีความ -การสงั เกต
รับผดิ ชอบต่อหน้าที่ท่ี
ได้รบั มอบหมายและ
ทำงานรว่ มกบั คนอ่ืนได้
กรด-เบส ใบงาน เรอ่ื ง การไทเทรตกรด-เบส
ช่ือ-สกุล........................................................................... ชัน้ ม........... เลขท่ี.........
1. จากภาพทกี่ าหนดให้ตอ่ ไปน้ี เปน็ การไทเทรตระหวา่ งกรดและเบสที่มีความเข้มขน้ เท่ากนั
pH pH pH
14 14 14
777
111
ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 3
1.1 ภาพใดคอื การไทเทรตเบสแกด่ ว้ ยกรดแก่ สังเกตจากอะไร
...............................................................................................................................................................
1.2 ภาพใดคือการไทเทรตเบสอ่อนด้วยกรดแก่ สังเกตจากอะไร
...............................................................................................................................................................
1.3 ภาพใดคอื การไทเทรตกรดออ่ นดว้ ยเบสแก่ สงั เกตจากอะไร
...............................................................................................................................................................
2. ต้องการไทเทรตสารละลาย HCl ทีไ่ ม่ทราบทราบความเขม้ ขน้ ปริมาตร 10.00 มิลลลิ ติ ร ดว้ ย
สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.20 โมลตอ่ ลิตร ปริมาตร 20 มลิ ลลิ ติ ร
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
กรด-เบส ใบงาน เรอ่ื ง การไทเทรตกรด-เบส
ชือ่ -สกลุ ........................................................................... ชัน้ ม........... เลขท่ี.........
3. การไทเทรตสารละลาย HNO3 ปรมิ าตร 25.00 มิลลิลติ ร ทาปฏกิ ิรยิ าพอดกี บั สารละลาย KOH
เขม้ ข้น 0.10 โมลต่อลติ ร ปริมาตร 20.00 มลิ ลิลติ ร สารละลาย HNO3 มคี วามเขม้ ข้นเท่าใด
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
3. เมอ่ื ตอ้ งการสะเทินสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์ Ba(OH)2 เข้มขน้ 0.02 โมลต่อลติ ร
ปรมิ าตร 20 มิลลลิ ติ ร ด้วยสารละลายกรดซัลฟิวรกิ (H2SO4) เข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ปรมิ าตร
กี่มลิ ลิลิตร
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง
เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์