The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bo.marin123, 2022-03-03 03:39:39

แผนการจัดการเรียนรู้

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรื่อง การดุลสมการรดี อ็ กซ์

ช่อื -สกลุ ........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........

2. Au(s) + HNO3(aq) + HCl(aq) → HAuCl4(aq) + NO2(aq)
ขั้นที่ 1 พจิ ารณาเลขออกซิเดชันท่ีเปลย่ี นแปลง

ขัน้ ท่ี 2 ดลุ เลขออกซเิ ดชนั ทเ่ี พิ่มขึน้ ใหเ้ ทา่ กับเลขออกซเิ ดชนั ที่ลดลง
ข้นั ที่ 3 ดุลจานวนอะตอมของธาตทุ ไี่ ม่เปลี่ยนเลขออกซิเดชนั

ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

สารตง้ั ต้น สารผลิตภณั ฑ์

จานวนอะตอม

อะตอมของ Au
อะตอมของ H
อะตอมของ N
อะตอมของ O
อะตอมของ Cl
ผลรวมประจุไฟฟา้

ดงั นั้น สมการรดี อกซ์ท่ดี ุลแล้ว เป็นดงั น้ี

เคมีไฟฟา้ ใบงาน เรือ่ ง การดุลสมการรดี อ็ กซ์

ชือ่ -สกลุ ........................................................................... ช้ัน ม........... เลขที่.........

3. Zn(s) + MnO4-(aq) → Zn2+(aq) + MnO2(s) ในภาวะกรด
ขั้นที่ 1 พจิ ารณาเลขออกซิเดชันที่เปล่ียนแปลง

ขั้นท่ี 2 ดุลเลขออกซเิ ดชนั ทีเ่ พิ่มขน้ึ ใหเ้ ท่ากบั เลขออกซเิ ดชนั ทลี่ ดลง
ขน้ั ที่ 3 ดลุ จานวนอะตอมของธาตทุ ไ่ี ม่เปล่ียนเลขออกซเิ ดชัน

ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

สารตัง้ ตน้ สารผลิตภณั ฑ์

จานวนอะตอม

อะตอมของ Zn
อะตอมของ Mn
อะตอมของ O
อะตอมของ H
ผลรวมประจไุ ฟฟา้

ดงั นนั้ สมการรดี อกซ์ท่ีดลุ แล้ว เป็นดังน้ี

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรอื่ ง การดุลสมการรดี อ็ กซ์

ช่อื -สกุล........................................................................... ชั้น ม........... เลขท่ี.........

4. Cl2(g) + SO2(g) → SO42-(aq) + Cl-(aq) (ในสภาวะกรด)
ขน้ั ท่ี 1 พิจารณาเลขออกซเิ ดชนั ทเ่ี ปลี่ยนแปลง

ขั้นที่ 2 ดุลเลขออกซิเดชนั ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ให้เท่ากบั เลขออกซิเดชันท่ีลดลง
ขั้นท่ี 3 ดุลจานวนอะตอมของธาตทุ ่ีไมเ่ ปล่ยี นเลขออกซิเดชนั

ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

สารตง้ั ตน้ สารผลิตภณั ฑ์

จานวนอะตอม

อะตอมของ Cl
อะตอมของ S
อะตอมของ O
อะตอมของ H
ผลรวมประจุไฟฟ้า

ดังนัน้ สมการรดี อกซ์ที่ดลุ แล้ว เปน็ ดังนี้





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 14

กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพิม่ เติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5

หนว่ ยท่ี 11 เคมีไฟฟา้ เวลา 23 ชั่วโมง

เรื่อง เซลลก์ ัลวานิก เวลา 3 ชั่วโมง

ครผู ู้สอน นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า

ผลการเรียนรู้
1. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมไี ฟฟา้ และเขยี นสมการเคมขี องปฏิกิริยาทแี่ อโนดและแคโทด

ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์
2. คำนวณคา่ ศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ และระบปุ ระเภทของเซลลเ์ คมีไฟฟา้ ขัว้ ไฟฟ้า และ

ปฏกิ ริ ยิ าเคมีที่เกดิ ขึ้น

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกดิ กระแสไฟฟ้าในเซลล์กัลวานกิ และบอกได้ว่าข้ัวไฟฟา้ ใดเปน็ ขั้วแอโนดหรอื ข้วั

แคโทด รวมท้ังบอกหนา้ ท่ีของสะพานเกลือได้ (K)
2. เขียนสมการแสดงปฏิกริ ยิ าท่เี กดิ ข้นึ ทข่ี ้วั แอโนด ขั้วแคโทด และปฏิกิริยารดี อกซ์ได้ (P)
3. ต้ังใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อหนา้ ที่ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้เพ่ิมเตมิ

- เซลล์เคมไี ฟฟา้ ประกอบด้วยแอโนด แคโทด และสารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ ซึ่งอาจเช่ือมต่อกันด้วย
สะพานเกลือ โดยท่แี อโนดเกิดปฏกิ ิรยิ าออกซิเดชนั และแคโทดเกดิ ปฏกิ ิริยารดี ักชันทาํ ให้อิเลก็ ตรอน
เคลือ่ นทจ่ี ากแอโนดไปแคโทด เซลลเ์ คมไี ฟฟ้าสามารถเขียนแสดงได้ดว้ ยแผนภาพเซลล์
- ค่าศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์คาํ นวณไดจ้ ากคา่ ศักย์ไฟฟา้ มาตรฐานของคร่งึ เซลล์
ถา้ คา่ ศักยไ์ ฟฟา้ ของเซลลเ์ ปน็ บวก แสดงว่าปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์เกิดขึ้นได้เอง ซึง่ ทําใหเ้ กดิ กระแสไฟฟา้
เรียกเซลล์ชนดิ น้ีวา่ เซลลก์ ัลวานิก แตถ่ า้ คา่ ศักยไ์ ฟฟ้าของเซลล์เป็นลบ แสดงว่าปฏิกริ ิยารีดอกซ์ไม่
สามารถเกดิ ได้เอง ต้องมีการใหก้ ระแสไฟฟ้าจงึ จะเกิดปฏิกิริยาได้เซลล์ชนดิ นเ้ี รียกวา่ เซลลอ์ ิเลก็
โทรไลติก

สาระสำคัญ
เซลล์กัลวานิก หรือเซลล์โวลตาอิก เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงาน

ไฟฟ้า เกิดจากสารเคมีทำปฏิกิริยากันในเซลล์ แล้วเกิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงมากขึ้น โดยทั่วไป
เซลล์กัลวานิกจะประกอบด้วยครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์มาต่อกัน และเชื่อมให้ครบวงจรด้วยสะพาน
เกลือที่ตอ่ ไวใ้ นสารละลายในแตล่ ะครงึ่ เซลล์

ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (E0) เป็นค่าที่แสดงความสามารถในการรับอิเล็กตรอน
ของธาตหุ รอื ไอออน เมื่อเปรยี บเทียบกับกบั ครง่ึ เซลลไ์ ฮโดรเจนมาตรฐานทม่ี ีคา่ E0 เปน็ ศนู ย์ ค่า E0
ที่มีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่า ธาตุหรือไอออนในครึ่งเซลล์นั้นมีความสามารถในการรับ
อิเล็กตรอนสูงกว่า H+ ในครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน ถ้าค่า E0 มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่า
ธาตุหรือไอออนในครึ่งเซลล์นั้นมีความสามารถในการรับอิเล็กตรอนต่ำกว่า H+ ในครึ่งเซลล์
ไฮโดรเจนมาตรฐาน

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ทักษะการสงั เกต 1. มีวนิ ัย รบั ผิดชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
4. ทักษะการเช่ือมโยง
5. ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (3 ชัว่ โมง)
ใช้วิธีการสอนแบบ 5E
ขั้นท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครใู ชค้ ำถามเพื่อนำเข้าสบู่ ทเรยี น เรือ่ ง เซลล์กลั วัลนกิ มดี งั น้ี
- ถ่านไฟฉายกบั แบตเตอร่มี ีหลกั การทำงานอย่างไร
- เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าท่เี ปล่ยี นพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟฟ้า มีอะไรบา้ ง
2. จากน้นั ให้นักเรยี นยกตัวอย่างปฏิกริ ิยารีดอกซใ์ นชวี ิตประจำวนั จากน้ันนำเขา้ สู่ปฏกิ ริ ิยา

รดี อกซ์ ในเซลล์เคมีไฟฟา้

ข้ันท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวเซลล์ไฟฟ้าเคมี แล้วให้นักเรียนฝึกเขียนสมการเคมีที่แสดง

ปฏิกิริยาที่แอโนด แคโทด ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์ที่แสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น จากนั้น
ตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพมิ่ เติมในกรณีท่นี ักเรียนมคี วามเข้าใจที่คลาดเคล่ือน จนนักเรียน
เกิดความเข้าใจทีต่ รงกัน

2. นักเรียนจับคู่กับเพื่อน โดยแต่ละคู่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีเขียนแผนภาพเซลล์กัลวานิกที่แสดง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมี และร่วมกันฝึกการคำนวณตัวอย่าง ในหนังสือเรียนรายวิชา
เพ่ิมเตมิ เคมี ม.5 เล่ม 4 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 11 ไฟฟ้าเคมี

ขั้นที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครูสุ่มนักเรียนอีก 3 คู่ ออกมาแสดงวิธีการคำนวณตัวอย่างแต่ละข้อ จากนั้นตรวจสอบ

ความถูกต้อง และอธิบายเพิ่มเติมในกรณีที่นักเรียนมีความเขา้ ใจที่คลาดเคลื่อน จนนักเรียนเกิดความ
เข้าใจท่ตี รงกนั

2. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกับการนำค่า E0 มาใช้ประโยชน์ ซง่ึ ไดข้ ้อสรุป ดังน้ี
• คา่ E0 สามารถนำมาคำนวณหาคา่ ศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลล์ได้ ดงั น้ี

Ec0ell = Ec0athode - Ea0node

โดยคา่ ท่ีได้จะมีค่าเปน็ บวกเสมอ เพราะเปน็ เซลล์ท่ีให้กระแสไฟฟา้
• ค่า E0 ของเซลล์ หรอื E0 ของปฏิกิรยิ าที่คำนวณได้ สามารถนำมาใชท้ ำนายได้
ว่าปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ เกดิ ข้นึ ได้หรือไม่ และทิศทางของปฏิกิริยาดำเนินไปใน
ทิศทางใด ถ้าคา่ E0 ของปฏิกิรยิ ามคี ่าเปน็ บวก แสดงว่า ปฏิกิรยิ าเกิดขึ้นไดจ้ ริง
ตามสมการ ซึง่ ทำใหเ้ กิดกระแสไฟฟา้ ได้ เรยี ก เซลลช์ นิดนี้ว่า เซลล์กัลวานกิ
แต่ถา้ คา่ E0 ของปฏกิ ริ ิยามีคา่ เปน็ ลบ แสดงวา่ ปฏกิ ิริยาไมส่ ามารถเกิดขน้ึ ได้
เอง ตอ้ งให้กระแสไฟฟ้าจงึ จะเกดิ ปฏกิ ิริยาได้ เรียกเซลลช์ นิดนีว้ ่า เซลล์อเิ ลก็
โทรลิติก
ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัยในเนอ้ื หา เร่ือง เซลลก์ ลั วานิก วา่ มสี ว่ นไหนที่ยัง
ไมเ่ ข้าใจ และให้ความรู้เพมิ่ เติมในสว่ นนั้น เพ่ือจะใชเ้ ปน็ ความรเู้ บือ้ งตน้ สำหรับการเรยี นในเน้ือหาตอ่
ๆ ไป
2. นักเรยี นทำใบงาน เรอ่ื ง เซลล์กัลวานิก

ข้ันท่ี 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครูประเมนิ ผลนักเรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน

รายบคุ คล พฤติกรรมการทำงานกล่มุ และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรียน
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน เรือ่ ง เซลลก์ ัลวานิก

สอื่ และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่มิ เตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เรื่อง เซลลก์ ลั วานิก

การวดั และการประเมิน

จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ
-ใบงาน -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
1. ด้านความรู้ (K) 70
-ใบงาน
1.อธิบายวิธกี ารหาคา่ -ตรวจใบงาน ได้คะแนนรอ้ ยละ
-แบบประเมิน 70
ศักย์ไฟฟา้ มาตรฐาน คุณลกั ษณะอนั พงึ -
ประสงค์
ของครึ่งเซลล์และ ได้คะแนนในระดับ 3
(ดี) ขึน้ ไป
ความหมายของคา่

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน

ของครึ่งเซลลไ์ ด้

2.ด้านทกั ษะ/

กระบวนการคิด (P)

1.เขียนสมการแสดง -ตรวจใบงาน

ปฏกิ ิรยิ าที่เกิดขึ้นท่ี

ขว้ั แอโนดข้วั แคโทด และ

ปฏิกริ ิยารีดอกซไ์ ด้

3. ด้านคุณลกั ษณะอนั

พงึ ประสงค์ (A)

1. มคี วามรบั ผิดชอบต่อ -การสังเกต

หน้าทท่ี ่ีไดร้ ับมอบหมาย

และทำงานรว่ มกับคนอืน่

ได้

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เร่ือง เซลลก์ ลั วานิก

ชอื่ -สกุล........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........

1. จากรูปภาพตอ่ ไปน้ี ใช้ตอบคาถามใหถ้ ูกตอ้ ง
โวลต์มเิ ตอร์

ขัว้ ไฟฟา้ Zn สะพานเกลือ ข้วั ไฟฟา้ Cu

Zn2+ Cu2+

1.1 เขียนสมการครึ่งปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชนั
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

1.2 เขยี นสมการคร่ึงปฏกิ ิรยิ ารีดักชนั
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
1.3 เม่ือเกดิ ปฏิกิริยาขัว้ ไฟฟา้ จะมีมวลเท่าเดิมหรือไม่ จงอธบิ าย
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

1.4 เขียนสมการรีดอ็ กซ์
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

เคมไี ฟฟา้ ใบงาน เรอ่ื ง เซลลก์ ลั วานกิ

ชื่อ-สกลุ ........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........

2. จากรปู ภาพต่อไปน้ี ใช้ตอบคาถามใหถ้ กู ต้อง
โวลต์มิเตอร์

ข้ัวไฟฟา้ Fe สะพานเกลือ ขว้ั ไฟฟ้า Al

FeSO4 Al(NO3)3

1.1 คร่งึ เซลล์ใดเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชัน พร้อมเขียนสมการ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

1.2 คร่งึ เซลล์ใดเปน็ ปฏิกริ ิยารดี กั ชนั พร้อมเขียนสมการ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

1.3 ขวั้ ใดเปน็ ข้ัวแอโนด ขัว้ แคโทด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

1.4 ถ้าดงึ สะพานเกลือออกจะมผี ลอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

เคมไี ฟฟา้ ใบงาน เรอ่ื ง เซลลก์ ัลวานกิ

ชื่อ-สกุล........................................................................... ชัน้ ม........... เลขที่.........

3. จากสมการตอ่ ไปนี้ ใหเ้ ขยี นอย่ใู นรปู ของแผนภาพเซลล์

3.1 Mg(s) + 2Fe3+(aq) → Mg2+(aq) + 2Fe2+(aq)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.2 Zn(s) + 2H+(aq) → Zn2+(aq) + H2(g)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.3 2Cr(s) + 3Fe2+(aq) → 2Cr3+(aq) + 3Fe(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.4 H2(g) + 2Ag+(aq) → 2H+(aq) + 2Ag(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.5 2Ce4+(aq) + 2I−(aq) → 2Ce3+(aq) + 5I2(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.6 2Fe3+(aq) + 3Ni(s) → 2Fe(s) + 3Ni2+(aq)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.7 Br2(l) + 2Fe2+(aq) → 2Br-(aq) + 2Fe3+(aq)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.8 Cd(s) + 2Ag+(aq) → Cd2+(aq) + 2Ag(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรอื่ ง เซลลก์ ัลวานกิ

ชือ่ -สกลุ ........................................................................... ชั้น ม........... เลขที่.........

4. จากแผนภาพเซลล์ตอ่ ไปนี้ ใหเ้ ขียนอยู่ในรูปครงึ่ ปฏิกริ ยิ าออกซเิ ดชนั ครง่ึ ปฏิกิรยิ ารดี กั ชัน และ
ปฏิกริ ยิ าของเซลล์

3.1 Sn(s) l Sn2+(aq) ll Cu2+(aq) l Cu(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.2 Mg(s) l Mg2+(aq) ll Fe3+(aq) , Fe2+(aq) l Pt(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.3 Zn(s) l Zn2+(aq, 1 M) ll H+(aq, 1 M) l H2(g, 1 atm) l Pt(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.4 Fe(s) l Fe2+(aq) ll Cl-(aq) l Cl2(g) l Pt(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.5 Pt(s) l Sn2+(aq) , Sn4+(aq) ll Cr3+(aq) , Cr2+(aq) l Pt(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

3.6 Mn(s) | Mn2+(aq) || Cr3+(aq) , Cr2+(aq) | Pt(s)
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 15

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพิ่มเติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

หน่วยที่ 11 เคมไี ฟฟ้า เวลา 23 ช่ัวโมง

เร่อื ง ประเภทของเซลล์กลั วานกิ เวลา 3 ชั่วโมง

ครูผู้สอน นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า

]

ผลการเรยี นรู้

อธิบายหลักการทำงาน และเขยี นสมการแสดงปฏิกริ ยิ าของเซลล์ปฐมภมู ิและเซลลท์ ุตยิ ภูมิ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมายของเซลล์กัลวานิก เซลล์ปฐมภมู ิ และเซลล์ทุติยภูมิได้ (K)

2. เขยี นสมการแสดงปฏิกริ ิยาทีเ่ กดิ ขึน้ ในเซลล์ปฐมภูมิและเซลลท์ ตุ ยิ ภมู ชิ นดิ ตา่ ง ๆ ได้ (P)

3. ต้ังใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบต่อหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรเู้ พิม่ เตมิ

- เซลล์เคมไี ฟฟ้าสามารถนําไปใช้ประโยชนไ์ ดใ้ นชีวติ ประจําวนั เชน่ แบตเตอร่ี ซง่ึ มที ้งั เซลลป์ ฐมภมู ิ
และเซลลท์ ตุ ยิ ภมู ิ โดยปฏกิ ิรยิ าเคมที ีเ่ กิดข้นึ ภายในเซลลป์ ฐมภูมไิ มส่ ามารถทาํ ให้เกิดปฏิกิรยิ า
ย้อนกลับได้โดยการประจไุ ฟ จงึ ไมส่ ามารถนํากลับมาใช้ได้อกี ปฏิกิริยาเคมีทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในเซลล์
ทตุ ยิ ภูมิสามารถทาํ ใหเ้ กิดปฏกิ ริ ยิ าย้อนกลับได้โดยการประจุไฟ จงึ นํากลบั มาใชไ้ ด้อีก

สาระสำคญั
เซลลป์ ฐมภูมิเป็นเซลลก์ ลั วานิกที่ปฏิกริ ยิ าเคมภี ายในเซลลเ์ กิดขน้ึ อยา่ งสมบรู ณ์ เม่อื ใช้

หมดแลว้ จะไม่สามารถนำมาอัดไฟและนำกลบั มาใช้ใหม่ได้
เซลล์ทตุ ิยภมู ิเปน็ เซลลก์ ัลวานิกทปี่ ฏกิ ริ ยิ าเคมภี ายในเซลลเ์ กิดขน้ึ แลว้ สามารถทำให้

เกดิ ปฏกิ ิรยิ าย้อนกลับได้อีก โดยการอัดไฟเขา้ ไปใหม่

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. ทักษะการสงั เกต 1. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ทักษะการวเิ คราะห์ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน
4. ทกั ษะการเช่ือมโยง
5. ทักษะการทำงานร่วมกัน

กจิ กรรมการเรียนรู้ (3 ช่วั โมง)
ใชว้ ิธกี ารสอนแบบ 5E
ขั้นท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันทบทวนความรเู้ ก่ยี วกบั ส่วนประกอบ หลกั การทำงาน และปฏิกริ ยิ า

ทเ่ี กดิ ขึน้ ภายในเซลลก์ ัลวานกิ
2. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับประเภทของเซลล์กัลวานิกที่พบในชีวิตประจำวัน

วา่ “เซลล์กลั วานกิ ท่ีพบในชีวติ ประจำวนั บางชนดิ เมอ่ื ใชง้ านแล้วสามารถนำมาประจุไฟและใช้งานใหม่
ได้ ส่วนบางชนิดเมื่อใช้แล้วไม่สามารถประจุไฟเพื่อใช้งานใหม่ได้ เช่น ถ่านไฟฉายหรือเซลล์แห้งกับ
เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม” เพื่อนำไปสู่การสรุปว่าเซลล์กัลวานิกมี 2 ประเภท คือ เซลล์ปฐมภูมิและ
เซลล์ทุติยภมู ิ

ขั้นท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ปฐมภูมิชนิดต่าง ๆ ตาม

รายละเอียดในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมเคมี ม.5 เล่ม 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 ไฟฟ้าเคมี โดย
ศึกษาตามหวั ข้อต่อไปน้ี

• สว่ นประกอบและหลักการทำงานของเซลล์ปฐมภูมิ
• ปฏกิ ริ ยิ าท่เี กิดขึ้นภายในเซลล์
• ค่าศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลล์ และการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน
2. นักเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าทำเป็นรูปแบบต่าง ๆ ตามความคิดเห็นของแต่ละ
กลุ่ม เช่น แผนภาพ แผนผงั เขยี นบรรยาย

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนมานำเสนอเรื่องที่ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลและผลงานการ

จดั ทำข้อมลู ของกลุ่มตนเองหน้าชน้ั เรียนทลี ะกลุ่มเพ่อื แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กนั จนครบทุกกล่มุ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)

2. ครตู งั้ คำถามใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภิปราย เรื่อง เซลลป์ ฐมภมู ิ ดงั น้ี
1) เซลลป์ ฐมภมู มิ ลี กั ษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ : เซลล์ปฐมภมู ิเปน็ เซลลก์ ัลปว์ านิกทีป่ ฏิกริ ยิ าเคมภี ายในเซลลเ์ กิดข้นึ

อยา่ งสมบูรณ์ เม่ือใช้หมดแลว้ จะไมส่ ามารถนำมาอัดไฟและนำกลับมาใช้ใหม่ได้)
2) เซลล์เช้ือเพลิงมีลักษณะอย่างไร
(แนวตอบ : เซลล์เชือ้ เพลิงเป็นเซลล์กัลวานิกที่สามารถจา่ ยกระแสไฟฟา้ ได้
ตลอดเวลา ถา้ มีการผ่านสารต้ังต้นเข้าส่รู ะบบอยตู่ ลอด)
3) จงเปรียบเทียบถา่ ยไฟฉายกับเซลลแ์ อลคาไลนใ์ นหัวข้อต่อไปนี้
• สว่ นประกอบของเซลลท์ ี่ทำหนา้ ทีเ่ ป็นขวั้ แอโนด ข้ัวแคโทด และ
อิเลก็ โทรไลต์
(แนวตอบ : ถา่ ยไฟฉาย แอโนด คือ Zn แคโทด คือ แทง่ แกรไฟต์ อเิ ล็กโทรไลต์
คือ MnO2 NH4Cl ZnCl2 ผงคาร์บอน และแป้งเปยี ก เซลล์แอลคาไลน์
แอโนด คอื Zn แคโทด คือ แท่งแกรไฟต์ อิเลก็ โทรไลต์ คอื MnO2 ผสม KOH)
• ปฏิกริ ิยาท่ีขั้วแอโนด ขัว้ แคโทด และปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์
(แนวตอบ : ถา่ ยไฟฉายมีปฏิกิรยิ าเกิดข้นึ ดังนี้

ปฏิกริ ิยาท่ีขว้ั แอโนด : Zn (s) → Zn2+ (aq) + 2e-

ปฏิกิริยาท่ขี ั้วแคโทด : 2MnO2 (s) + 2NH4+ (aq) + 2e- → Mn2O3 (s) +
2NH3 (g) + H2O (l)

ปฏิกิริยารีดอกซ์ : Zn (s) + 2MnO2 (s) + 2NH4+ (aq) → Zn2+ (aq) +
Mn2O3 (s) + 2NH3 (g) + H2O (l)
เซลล์แอลคาไลน์มปี ฏกิ ริ ิยาเกิดขนึ้ ดงั นี้

ปฏกิ ิริยาที่ขั้วแอโนด : Zn (s) + 2OH- (aq) → ZnO (s) + H2O (l) + 2e-

ปฏิกิรยิ าทีข่ ้วั แคโทด : 2MnO2 (s) + H2O (l) + 2e- → Mn2O3 (s) + 2OH- (aq)

ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ : Zn (s) + 2MnO2 (s) → ZnO (s) + Mn2O3 (s) )
• ศกั ยไ์ ฟฟา้ ของเซลล์
(แนวตอบ : ถา่ ยไฟฉายและเซลลแ์ อลคาไลน์มคี วามต่างศักย์ไฟฟา้ ของเซลล์เท่ากับ 1.5 โวลต์)

ขัน้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเน้ือหา เร่ือง ประเภทของเซลล์กลั วานกิ ว่ามี

ส่วนไหนทยี่ ังไมเ่ ขา้ ใจ และให้ความรูเ้ พิ่มเตมิ ในส่วนนน้ั เพื่อจะใชเ้ ปน็ ความร้เู บ้ืองตน้ สำหรับการเรียน
ในเน้ือหาต่อ ๆ ไป

2. นักเรยี นทำใบงาน เร่อื ง ประเภทของเซลล์กลั วานิก
ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)

1. ครูประเมินผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหน้าชนั้ เรยี น

2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน เรือ่ ง ประเภทของเซลล์กัลวานกิ

ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพิม่ เติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เรอ่ื ง ประเภทของเซลล์กัลวานกิ

การวดั และการประเมนิ

จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
-ใบงาน
1. ด้านความรู้ (K) -ได้คะแนนร้อยละ
70
1.อธิบายความหมายของ -ตรวจใบงาน

เซลลก์ ลั วานิก เซลล์ปฐม

ภมู ิ และเซลลท์ ตุ ยิ ภูมิได้

2.ด้านทักษะ/ -ตรวจใบงาน -ใบงาน ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
กระบวนการคิด (P) 70
1.เขียนสมการแสดง -
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใน
เซลลป์ ฐมภมู ิและเซลล์
ทุตยิ ภูมิชนดิ ตา่ ง ๆ ได้

จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั -การสงั เกต
พึงประสงค์ (A) -แบบประเมนิ ได้คะแนนในระดบั 3
1. มีความรับผดิ ชอบต่อ คุณลักษณะอนั พึง (ดี) ข้นึ ไป
หน้าท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย ประสงค์
และทำงานร่วมกบั คนอ่นื
ได้

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรือ่ ง ประเภทของเซลลก์ ลั วานิกและการใช้ประโยชน์

ช่อื -สกุล........................................................................... ชน้ั ม........... เลขท่ี.........

1. ถ่านไฟฉาย
1.1 ปฏกิ ริ ิยาทีเ่ กิดข้ึนภายในเซลล์

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

1.2 ขอ้ จากดั /ขอ้ เสยี ของการใชเ้ ซลล์ถา่ นไฟฉาย
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

1.3 การนาไปใชป้ ระโยชน์
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

2. เซลลแ์ อลคาไลน์
2.1 ปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนภายในเซลล์

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

2.2 ขอ้ จากัด/ข้อเสียของการใชเ้ ซลล์แอลคาไลน์
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

2.3 การนาไปใช้ประโยชน์
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรอื่ ง ประเภทของเซลลก์ ัลวานิกและการใชป้ ระโยชน์

ชอื่ -สกุล........................................................................... ชั้น ม........... เลขที่.........

3. เซลลป์ รอท
3.1 ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กดิ ข้ึนภายในเซลล์

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

3.2 ข้อจากดั /ขอ้ เสียของการใช้เซลล์ปรอท
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

3.3 การนาไปใชป้ ระโยชน์
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

4. เซลลเ์ งนิ
4.1 ปฏกิ ิริยาที่เกิดข้นึ ภายในเซลล์

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

4.2 ข้อจากดั ของการใช้เซลลเ์ งิน
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

4.3 การนาไปใช้ประโยชน์
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 16

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพ่ิมเตมิ เคมี 4 ว30224

ภาคเรียนที่ 2/2564 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยท่ี 11 เคมไี ฟฟ้า เวลา 23 ชั่วโมง

เรือ่ ง เซลล์อเิ ลก็ โทรไลติก เวลา 3 ชั่วโมง

ครผู ้สู อน นางสาวมาริสา แอ่งสธุ า

ผลการเรียนรู้
ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า และอธบิ ายหลกั การทางเคมีไฟฟา้ ทใี่ ช้ใน

การชบุ โลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะใหบ้ ริสุทธิ์ และการปอ้ งกนั การกดั กร่อน
ของโลหะ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายหลักการแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า การชบุ ด้วยไฟฟา้ การทำโลหะให้บริสุทธ์ิ

โดยใชเ้ ซลลอ์ เิ ลก็ โทรไลติก (K)
2. ตงั้ ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อหน้าทีท่ ่ีได้รบั มอบหมาย (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้เู พ่ิมเติม
- เซลล์อเิ ลก็ โทรลิติกสามารถนําไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ทั้งในชวี ติ ประจาํ วนั และในอตุ สาหกรรมหลาย
ประเภท เชน่ การชบุ โลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟา้ การทําโลหะให้บรสิ ทุ ธ์ิการปอ้ งกนั
การกดั กร่อนของโลหะ

สาระสำคัญ
เซลล์อิเล็กโทรไลติก คือ เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเคมี เกิดจาก

การผ่านไฟฟา้ กระแสตรงลงในสารเคมีที่อยู่ในเซลล์ไฟฟ้าเคมี แล้วทำให้เกดิ ปฏิกริ ยิ าขึ้น
เซลล์อเิ ลก็ โทรลิติกสามารถนําไปใชป้ ระโยชน์ได้ทั้งในชวี ติ ประจําวัน และในอุตสาหกรรม

หลายประเภท เชน่ การชุบโลหะ การแยกสารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟ้า การทําโลหะให้บริสุทธ์ิ
การปอ้ งกนั การกัดกร่อนของโลหะ

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ทักษะการสงั เกต 1. มวี นิ ัย รับผิดชอบ
2. ทักษะการสำรวจคน้ หา 2. ใฝ่เรียนรู้
3. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน
4. ทักษะการเช่ือมโยง
5. ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใช้วิธกี ารสอนแบบ 5E
ขน้ั ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรู้เดมิ เกี่ยวกับความหมายและหลักการทำงาน

เบือ้ งตน้ และคา่ ศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของเซลลอ์ ิเล็กโทรลิติก
2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกีย่ วกบั การนำหลักการของเซลล์อิเลก็ โทไลติกมาใช้

ประโยชนใ์ นทางอุตสาหกรรม
ขัน้ ที่ 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน เพอื่ รว่ มกันศึกษาข้อมูลเกีย่ วกบั เซลล์อิเล็กโทรไลตกิ จาก
หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติมเคมี ม.5 เลม่ 4 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 11 ไฟฟ้าเคมี ดังนี้
• เซลลอ์ เิ ลก็ โทรไลตกิ
• ความแตกต่างระหวา่ งเซลล์กลั วานิกและเซลล์อเิ ลก็ โทรไลตกิ
• การแยกสารประกอบไอออนิกหลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟา้
• การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟา้
2. นกั เรียนนำข้อมูลที่ไดจ้ ากการคน้ ควา้ ทำเปน็ รปู แบบตา่ ง ๆ ตามความคดิ เหน็ ของแต่ละ
กลมุ่ เช่น แผนภาพ แผนผัง เขียนบรรยาย
3. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอเรื่องท่ีไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ข้อมูลและผลงาน
การจดั ทำข้อมลู ของกลมุ่ ตนเองหน้าช้นั เรียนทีละกล่มุ เพอ่ื แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กนั จนครบทกุ กลุม่
4. นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกับการแยกสารละลายดว้ ยกระแสไฟฟา้ ซ่ึงได้ ข้อ

สรปุ ว่า “ในการพจิ ารณาวา่ จะทขี่ ้วั แอโนดและแคโทดจะเกิดปฏิกิริยาใด สามารถสงั เกตไดจ้ ากคา่ E0
โดยทีข่ ้วั แคโทดจะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทมี่ ีค่า E0 สูง สว่ นท่ีขัว้ แอโนดจะเกดิ ปฏิกริ ยิ าทีม่ ีค่า E0 ตำ่ ”

5. ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมวา่ “การใช้ค่า E0 เปน็ เกณฑใ์ นการพจิ ารณาการเกิดปฏิกิรยิ าในเซลลอ์ ิ
เล็กโทรไลติก อาจไมส่ อดคล้องกับคา่ E0 ทีน่ ำมาพจิ ารณา เชน่ การแยกสารละลาย NaCl ซง่ึ ถา้
พิจารณาจากคา่ E0 จะพบว่า ที่ขัว้ แคโทดควรเกิดแกส๊ ออกซเิ จน แตใ่ นทางปฏิบตั ิกลบั เกิดแกส๊ คลอรนี
แทน ทง้ั น้ีเนื่องจากยังมีปัจจยั อืน่ ๆ ทจ่ี ะต้องนำมาประกอบการพิจารณา เชน่ ศกั ย์ไฟฟ้าทผี่ ่านเข้า
ไปในเซลล์ ความเข้มขน้ ของสารละลาย”

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แล้วร่วมกนั ศกึ ษาเกี่ยวกับการทำโลหะใหบ้ รสิ ุทธโ์ิ ดยใช้

เซลลอ์ เิ ล็กโทรไลติก จากหนังสอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เติมเคมี ม.5 เล่ม 4 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 11 ไฟฟา้
เคมี ดังนี้

• การทำทองแดงให้บรสิ ทุ ธิ์
• การเตรียมโลหะโซเดียม
• การผลติ โลหะอะลูมเิ นียม
• การผลิตโลหะแมกนีเซียม

จากน้นั รว่ มกนั อภิปรายความรจู้ นสมาชกิ ทกุ คนในกลมุ่ เกิดความเข้าใจทตี่ รงกัน
2. นักเรยี นส่งตวั แทนแตล่ ะกลุ่ม ออกมาอธิบายเรื่องทไ่ี ด้ศกึ ษาใหเ้ พ่อื นกลมุ่ อนื่ ฟัง
จากน้นั ให้นกั เรียนทกุ คนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูคอยเสรมิ ความรู้ จนนักเรยี นทั้งหอ้ งเกดิ
ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งตรงกัน
3. นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกบั การทำโลหะใหบ้ ริสทุ ธิ์ ซ่ึงได้ข้อสรุป ดังน้ี
• จดั โลหะทต่ี ้องการทำให้บริสทุ ธ์ิเป็นข้ัวแอโนด และจัดโลหะทบ่ี รสิ ุทธ์เิ ปน็ ข้ัวแคโทด
• สารละลายอิเล็กโทรไลต์ท่ีใช้ต้องมไี อออนของโลหะที่เปน็ โลหะท่ีตอ้ งการทำใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ
• ต้องใชไ้ ฟฟ้ากระแสตรงที่มีศกั ย์ไฟฟ้าเหมาะสมสำหรบั การทำโลหะนัน้ ๆ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์
ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามขอ้ สงสยั ในเนอื้ หา เรื่อง เซลล์อเิ ล็กโทรไลติก วา่ มีส่วน
ไหนทีย่ งั ไมเ่ ขา้ ใจ และให้ความรู้เพม่ิ เติมในส่วนนน้ั เพ่ือจะใช้เป็นความรู้เบ้อื งตน้ สำหรบั การเรยี นใน
เนอ้ื หาตอ่ ๆ ไป
ขน้ั ท่ี 5 ประเมินผล (Evaluation)
1. ครูประเมนิ ผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชนั้ เรยี น
2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน เร่อื ง เซลล์อเิ ล็กโทรไลติก

สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พม่ิ เติมเคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

การวดั และการประเมิน

จุดประสงค์ วธิ กี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
-ใบงาน
1. ด้านความรู้ (K) -ไดค้ ะแนนร้อยละ
70
1.อธิบายหลักการ -ตรวจใบงาน

แยกสารละลายด้วย

กระแสไฟฟา้ การชบุ

ด้วยไฟฟ้าการทำโลหะให้

บรสิ ุทธโ์ิ ดยใชเ้ ซลลอ์ ิเลก็

โทรไลติกได้

2. ดา้ นคุณลกั ษณะอัน -การสงั เกต -แบบประเมิน ไดค้ ะแนนในระดบั 3
พึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะอนั พงึ (ดี) ข้นึ ไป
1. มีความรบั ผดิ ชอบต่อ ประสงค์
หน้าทที่ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
และทำงานรว่ มกับคนอนื่
ได้





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 17

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าเพม่ิ เติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรียนท่ี 2/2564 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยท่ี 11 เคมีไฟฟ้า เวลา 23 ชั่วโมง

เร่ือง การป้องกันการกดั กร่อนของโลหะ เวลา 3 ช่ัวโมง

ครูผู้สอน นางสาวมารสิ า แอ่งสุธา

ผลการเรียนรู้
ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้า และอธิบายหลกั การทางเคมีไฟฟา้ ท่ใี ช้ใน

การชุบโลหะ การแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะใหบ้ ริสทุ ธ์ิ และการป้องกันการกดั กร่อน
ของโลหะ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกวิธปี ้องกนั การกดั กร่อนของโลหะได้ (K)
2. ต้ังใจเรียนร้แู ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีที่ได้รับมอบหมาย (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม
- เซลลอ์ เิ ล็กโทรลิติกสามารถนําไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ท้ังในชวี ิตประจาํ วัน และในอตุ สาหกรรมหลาย
ประเภท เช่น การชุบโลหะ การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทําโลหะใหบ้ ริสุทธิ์
การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ

สาระสำคัญ
การกัดกรอ่ นของโลหะ เป็นการทโ่ี ลหะทำปฏิกิรยิ ากบั สารต่าง ๆ ในสง่ิ แวดล้อมรอบ ๆ โลหะ

แล้วทำให้โลหะนั้นเปลี่ยนสภาพเป็นไอออน หรือกลายเป็นสารประกอบออกไซด์หรือ
สารประกอบไฮดรอกไซด์

การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ ทำได้หลายวิธี เช่น การป้องกันไม่ให้ผิวของโลหะถูกน้ำ
และอากาศ การทาผิวของโลหะด้วยสารยับยัง้ การกดั กรอ่ น การทำแคโทดิกโดยใชโ้ ลหะที่มีคา่ E0
ต่ำกว่าไปพันไว้กบั โลหะทีไ่ ม่ต้องการให้เกิดสนมิ การทำอะโนไดซ์โดยใช้กระแสไฟฟ้าทำให้ผิวหนา้

ของโลหะกลายเปน็ โลหะออกไซด์ และการทำรมดำซ่งึ เปน็ กระบวนการทางเคมที ี่ทำใหเ้ กิดสารใหม่
ทม่ี ีสตี ่าง ๆ กันบนผวิ ของโลหะ

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ทกั ษะการสังเกต 1. มวี นิ ยั รบั ผิดชอบ
2. ทักษะการสำรวจคน้ หา 2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
4. ทกั ษะการเช่ือมโยง
5. ทักษะการทำงานรว่ มกัน

กิจกรรมการเรยี นรู้ (3 ชัว่ โมง)
ใช้วธิ ีการสอนแบบ 5E
ขน้ั ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครใู หน้ ักเรียนยกตัวอยา่ งเครอื่ งใชโ้ ลหะท่ีเกิดการกัดกร่อนที่พบในชวี ิตประจำวนั คนละ 1

ตัวอยา่ ง
2. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกับปจั จัยท่ีทำใหเ้ ครื่องใช้โลหะเกิดการกดั กรอ่ น และ

วิธกี ารป้องกนั เคร่ืองใช้โลหะเกดิ การกัดกร่อน
ขนั้ ท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)

1. นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน โดยแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกบั ลกั ษณะของการกัด
กร่อน หรือการเกิดสนิม ปจั จยั ทสี่ ่งผลให้โลหะเกดิ สนมิ และการเกิดสนิมของเหล็กในสภาวะทีเ่ ป็น
กลางและสภาวะทเ่ี ปน็ กรด จากหนังสือเรยี นรายวิชาเพ่ิมเติม เคมี ม.5 เลม่ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 11
ไฟฟ้าเคมี

2. นกั เรียนนำข้อมลู ท่ีได้จากการคน้ ควา้ ทำเป็นรูปแบบตา่ ง ๆ ตามความคดิ เห็นของแต่ละ
กลมุ่ เชน่ แผนภาพ แผนผงั เขียนบรรยาย

3. นักเรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนมานำเสนอเรื่องที่ได้ศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลและผลงานการ
จัดทำข้อมลู ของกลุ่มตนเองหน้าชนั้ เรยี นทลี ะกลุม่ เพอ่ื แลกเปลย่ี นความคิดเห็นกันจนครบทุกกล่มุ

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

1. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทน ออกมาอธบิ ายเรอื่ งท่ีได้ศกึ ษาให้เพ่ือนกลมุ่ อื่นฟัง จากน้ันให้

นักเรยี นทกุ คนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูคอยเสริมความรู้จนนักเรียนท้ังห้องเกดิ ความเขา้ ใจท่ี

ถกู ต้องตรงกนั

2. ครตู ั้งคำถามให้นักเรยี นร่วมกันอภปิ ราย เร่ือง การกดั กร่อนของโลหะ ดังน้ี

1) การป้องกนั การกัดกรอ่ นของโลหะด้วยวิธีแคโทดกิ มหี ลกั การอยา่ งไร

(แนวตอบ : ใช้โลหะที่มี E0 ต่ำกว่า ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นขัว้ แอโนด ไปพันไว้กับ

โลหะทไี่ ม่ตอ้ งการให้เกดิ สนมิ ซง่ึ จะทำหน้าท่ีเปน็ ข้ัวแคโทด)

2) การป้องกนั การกดั กรอ่ นของโลหะด้วยวิธีอะโนไดสม์ ีหลักการอยา่ งไร

(แนวตอบ : ใชก้ ระแสไฟฟ้าไปทำใหผ้ วิ หน้าของโลหะกลายเป็นโลหะออกไซด)์

3) ควรนำตะขอสร้อยคอที่ทำดว้ ยโลหะเงนิ มาแขวนพระเล่ียมทองหรือไม่ เพราะ

เหตุใด

(แนวตอบ : ไม่ควร เพราะโลหะทองคำมีค่า E0 สูงกว่าโลหะเงิน จะทำให้

ตะขอทที่ ำด้วยโลหะเงินเสยี อิเล็กตรอน และเกิดการกรอ่ นไปเรอื่ ย ๆ )

ขนั้ ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามขอ้ สงสยั ในเนือ้ หา เร่ือง เซลลก์ ลั วานิก ว่ามสี ว่ นไหนท่ียงั

ไมเ่ ขา้ ใจ และให้ความรู้เพมิ่ เติมในส่วนน้ัน เพื่อจะใช้เป็นความร้เู บ้อื งตน้ สำหรับการเรียนในเน้ือหาต่อ

ๆ ไป

ข้ันที่ 5 ประเมินผล (Evaluation)

1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน

รายบคุ คล พฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรยี น

ส่อื และแหล่งเรียนรู้

1. หนังสือเรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

การวดั และการประเมิน

จุดประสงค์ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ด้านความรู้ (K)

-การตอบคำถาม -8e5k, -ไดค้ ะแนนร้อยละ
1.บอกวิธีป้องกนั การกัด 70
กรอ่ นของโลหะได้

จดุ ประสงค์ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
2. ด้านคุณลักษณะอนั -การสงั เกต
พงึ ประสงค์ (A) -แบบประเมิน ได้คะแนนในระดบั 3
1. มคี วามรับผดิ ชอบต่อ คณุ ลักษณะอนั พงึ (ด)ี ขน้ึ ไป
หน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ประสงค์
และทำงานร่วมกับคนอื่น

กรด-เบส ใบงาน เร่ือง บฟั เฟอร์

ชือ่ -สกลุ ........................................................................... ช้นั ม........... เลขที่.........

1. สารละลายบฟั เฟอร์ คอื
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

2. บฟั เฟอรก์ รด คือ ................................................................................................. pH ........................
บัฟเฟอร์เบส คือ .................................................................................................. pH ........................

3. จากตารางต่อไปนี้ เม่อื สารทกุ ชนดิ มีความเขม้ ขน้ เทา่ กัน คู่ใดทีเ่ ป็นสารละลายบัฟเฟอร์

คู่ที่ สารละลายที่ 1 สารละลายท่ี 2

1 C6H5COOH C6H5COONa

2 NaF HF

3 Ca(OH)2 Ca(NO3)2
4 H3PO4 Na3PO4
5 HCOOH HCOOK

6 Na2HPO4 Na3PO3

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

4. สารละลายผสมระหวา่ ง CH3COOH 0.4 โมล กับ CH3COONa 0.8 โมล ในสารละลาย 1 ลติ ร
ค่า pH ของสารละลายบฟั เฟอรเ์ ป็นเทา่ ใด (กาหนดให้ Ka ของ CH3COOH เปน็ 1.8 x 10-5)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์


Click to View FlipBook Version