The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bo.marin123, 2022-03-03 03:39:39

แผนการจัดการเรียนรู้

มาริสา แอ่งสุธา รหัส 113

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพิม่ เติมเคมี 4 ว 30224

ภาคเรยี นที่ 2/2564 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5

หน่วยท่ี 10 กรด-เบส เวลา 28 ช่ัวโมง

เรื่อง สารละลายบฟั เฟอร์ เวลา 2 ช่ัวโมง

ครูผสู้ อน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา

1. ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายสมบตั ิ องค์ประกอบ และประโยชน์ของสารละลายบัฟเฟอร์
2. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการใชป้ ระโยชน์และการแก้ปญั หาโดยใช้ความรเู้ กีย่ วกับ
กรด–เบส

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายสมบัตขิ องสารละลายบัฟเฟอร์ได้ (K)
2. อธบิ ายการเปล่ียนแปลงทเี่ กิดข้นึ กบั ระบบบฟั เฟอร์ในร่างกายและในธรรมชาตไิ ด้ (K)
3. ทำการทดลองการเปลี่ยนแปลง pH ของน้ำและสารละลายผสมระหวา่ งกรดแอซติ ิกกับ
โซเดียมแอซเิ ตดได้ (P)
3. ตงั้ ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A)

3. สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เติม

- สารละลายบัฟเฟอร์เป็นสารละลายของกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อนนั้น หรือเบสอ่อนกับ
เกลือของเบสอ่อนนั้น เมื่อเติมกรด เบส หรือน้ำ จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยกว่า
สารละลายท่วั ไป สมบตั เิ ฉพาะของสารละลายบฟั เฟอร์เป็นประโยชนต์ ่อการควบคุม pH
ของระบบในสง่ิ มีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม
- ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส สามารถนำมาใช้ประโยชน์ และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และการแพทย์พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
สารละลายบัฟเฟอร์ เป็นสารละลายที่มีสมบัติในการควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่ เมื่อมี
การเติมกรดแก่หรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อย ประกอบด้วยกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน หรือเบส
อ่อนกบั เกลือของเบสออ่ น

สารละลายที่มีกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อนชนิดนั้น หรือกรดอ่อนกับคู่เบสของกรดอ่อน
เรียกวา่ บฟั เฟอรก์ รด เมื่อเตมิ H+ จากกรดแก่ลงไป คเู่ บสจะทำปฏิกริ ิยากับ H+ ที่เตมิ ลงไป ทำให้
pH ลดลงไม่เกิน 0.01 ซึ่งถือว่าคงท่ี เมื่อเติม OH- จากเบสแก่ลงไป กรดอ่อนจะทำปฏิกิริยากับ
OH- ทเี่ ติมลงไป ทำให้ pH เพ่มิ ขน้ึ ไมเ่ กิน 0.01 ซ่ึงถือวา่ คงท่ี

สารละลายที่มีเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อนชนิดนั้น หรือเบสอ่อนกับคู่กรดของเบสอ่อน
เรยี กว่า บฟั เฟอร์เบส เมอ่ื เตมิ H+ จากกรดแกล่ งไป เบสอ่อนจะทำปฏิกริ ยิ ากับ H+ ที่เติมลงไป ทำ
ให้ pH ลดลง ไม่เกิน 0.01 ซึ่งถือว่าคงท่ี เมื่อเติม OH- จากเบสแก่ลงไป คู่กรดจะทำปฏิกิริยากับ
OH- ที่เติมลงไป ทำให้ pH เพิ่มขึน้ ไมเ่ กนิ 0.01 ซ่ึงถอื ว่าคงที่
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินัย รบั ผิดชอบ
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทักษะการสำรวจค้นหา
3) ทักษะการวเิ คราะห์
4) ทกั ษะการเชื่อมโยง
5) ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ( 2 ชั่วโมง)
ใชว้ ธิ ีการสอนแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL)
ขน้ั ที่ 1 การทบทวนความรู้เดมิ
1. ครถู ามคำถามเพ่ือทบทวนความรู้เดิมจากหนังสือเรยี นรายวิชาเพม่ิ เตมิ เคมี ม.5 เลม่ 4
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 10 กรด-เบส ว่า เพราะเหตใุ ดสารละลายกรดหรือเบสต่างชนดิ กัน
จึงมีค่า pH ต่างกนั ให้นกั เรียนร่วมกันตอบคำถาม จากน้ันครแู ละนักเรยี นร่วมกนั
อภิปราย
(แนวตอบ : เนอื่ งจากสารละลายกรดหรอื เบสแต่ละชนดิ จะมคี วามเข้มขน้ ของ H3O+
และ OH- ไมเ่ ทา่ กัน จงึ ทำให้มีคา่ pH ต่างกัน)
2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั ทบทวนความร้จู ากการศกึ ษาทผี่ า่ นมาเมอื่ หยดกรดหรือเบสลง
ในสารละลาย จะทำให้ pH ของสารละลายเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว เนอ่ื งจากความ
เข้มข้นของ H3O+ และ OH- เปลี่ยนแปลง

ข้นั ท่ี 2 การแสวงหาความรูใ้ หม่
1. นกั เรยี นแต่ละคนศึกษาข้อมูลเก่ยี วกบั กจิ กรรมการทดลองการเปลย่ี นแปลงค่า pH
ของนำ้ จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมเคมี ม.5 เล่ม 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 กรด-
เบส จากน้นั ร่วมกนั อภปิ รายจนเกดิ ความเข้าใจท่ีตรงกัน
2. ครใู ห้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 3-5 คน คละความสามารถ โดยให้นักเรยี นแต่ละกลุ่ม
ทำกจิ กรรมการทดลองการไทเทรตของกรด-เบส โดยใช้อนิ ดิเคเตอร์

จุดประสงคก์ ารทดลอง
1. ทดลองเพื่อศึกษา pH ของนำ้ และสารละลายผสมระหวา่ งกรดแอซติ ิก
และโซเดียมแอซเิ ตด
2. เปรยี บเทยี บการเปลีย่ นแปลง pH ของน้ำและสารละลายผสมกรดแอซติ ิก
และโซเดยี มแอซิเตด

วสั ดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
1. นำ้ กลั่น
2. สารละลายกรดแอซติ กิ
3. สารละลายกรดโซเดยี มแอซเิ ตด
4. ยูนิเวอรซ์ ัลอินดิเคเตอร์
5. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
6. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
7. หลอดทดลองขนาดเล็ก
8. หลอดหยด
9. กระบอกตวง

วิธีการทดลอง
1. ใส่สารละลายลงในหลอดทดลอง 4 หลอด ดงั น้ี
หลอดท่ี 1 และ 2 ใสน่ ำ้ กล่ัน หลอดละ 2 ml
หลอดที่ 3 และ 4 ใสส่ ารละลายผสมของกรดแอซเิ ตด 0.1 M ปริมาตร 1
ml และ โซเดยี มแอซเิ ตด 0.1 M ปริมาตร 1 ml ลงไปทั้งสองหลอด
2. หยดยนู เิ วอร์ซลั อนิ ดเิ คเตอร์ลงไปทุกหลอด หลอดละ 1 หยด เขย่าและ
สงั เกตสีของสารละลาย แลว้ เปรยี บเทียบกับแถบสีของยูนิเวอร์ซลั อินดีเค
เตอรท์ ่ี pH ต่างๆ ดังรูป พร้อมบนั ทกึ pH ในแต่ละหลอด

3. หยดกรดไฮโดรคลอริก 0.1 M ลงในหลอดทดลองท่ี 1 และ 3 หลอดละ 1
หยด บันทกึ สขี องสารละลายและค่า pH ของสารละลายในแต่ละหลอด

4. หยดโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 M ลงในหลอดท่ี 2 และ 4 หลอดละ 1 หยด
บันทกึ สขี องสารละลายและค่า pH ในแต่ละหยด

ข้นั ท่ี 3 การศกึ ษาทำความเขา้ ใจขอ้ มูล/ความรใู้ หม่ และเชอ่ื มโยงความรใู้ หมก่ บั ความรเู้ ดมิ
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเรื่อง สารละลายบัฟเฟอร์ จากหนังสือเรียนรายวิชา
เพิ่มเติมเคมี ม.5 เล่ม 4 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10 กรด-เบส แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น
จนเกิดความเขา้ ใจท่ตี รงกัน
2. ครูตง้ั คำถามใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ ราย เรอื่ ง สารละลายบัฟเฟอร์ ดังนี้
1) สารละลายบัฟเฟอร์หมายถงึ อะไร
(แนวตอบ : สารละลายที่มีสมบัติในการควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่
เมื่อมีการเติมกรดแก่หรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อย ประกอบด้วยกรดอ่อนกับ
เกลอื ของกรดอ่อน หรือเบสออ่ นกบั เกลือของเบสออ่ น)
2) เพราะเหตุใดเมื่อเติมกรดแก่ปริมาณเล็กน้อยลงไปในระบบที่ประกอบด้วย
สารละลาย CH3COOH และ CH3COONa ค่า pH ของสารละลายจึงเกิดการ
เปลีย่ นแปลงน้อยมาก
(แนวตอบ : ไอออนตา่ ง ๆ ทอ่ี ยใู่ นระบบ มีดังนี้
CH3COOH (aq) + H2O (l) ⇌ CH3COO- (aq) + H3O+ (aq)
CH3COONa (aq) → Na+ (aq) + CH3COO- (aq)
เมื่อเติม H3O+ ลงไปเล็กน้อย CH3COO- จะไปทำปฏิกิริยากับ H3O+ เกิดเป็น
CH3COOH ซึ่งทำให้ความเข้มข้นของ H3O+ ในสารละลายเปลี่ยนแปลงไป
น้อยมาก คา่ pH ของสารละลายจงึ เปลีย่ นแปลงนอ้ ยมาก)
3) จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาการควบคุม pH ของสารละลายบัฟเฟอร์เมื่อ
เตมิ กรดหรือเบสลงไป
• เมอ่ื เติมกรดลงในสารละลายบฟั เฟอร์ HCN/CN-
(แนวตอบ : H3O+ (aq) + CN- (aq) ⇌ H2O (l) + HCN (aq) )
• เมอื่ เตมิ เบสลงในสารละลายบฟั เฟอร์ HCN/CN-
(แนวตอบ : OH- (aq) + HCN (aq) ⇌ H2O (l) + CN- (aq) )

ขนั้ ท่ี 4 การแลกเปลย่ี นความรู้ความเข้าใจกบั กลุม่
1. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานำเสนอองค์ความรู้ เรอ่ื ง สารละลายบัฟเฟอร์
ทรี่ ่วมกันสรุปภายในกลมุ่ หน้าชั้นเรยี น
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมทำแบบฝึกทกั ษะที่ 5 สารละลายบัฟเฟอร์

ข้ันที่ 5 การสรุปและจัดระเบยี บความรู้
1. นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภิปรายเกย่ี วกับสารละลายบัฟเฟอร์ ซ่ึงได้ขอ้ สรปุ ว่า“สารละลาย
บัฟเฟอร์ เป็นสารละลายที่มีสมบัติในการควบคุม pH ของสารละลายให้คงที่ เมื่อมี
การเติมกรดแก่หรือเบสแก่ลงไปเล็กน้อย ประกอบด้วยกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อน
หรอื เบสอ่อนกับเกลอื ของเบสอ่อน”

ขั้นที่ 6 การปฏบิ ตั ิและ/หรือการแสดงผลงาน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันหาสารละลายบัฟเฟอร์ที่พบอยู่ในชีวิตประจำวันลงใน
กระดาษ ทคี่ รเู ตรียมไว้ให้

ข้ันท่ี 7 การประยุกต์ใชค้ วามรู้
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ เล่นเกมการแข่งขันตอบคำถาม เพื่อทำกิจกรรมการแข่งขัน โดยให้
นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มคำตอบครใู ห้เวลาแต่ละกล่มุ ระดมความคดิ ตามเวลาท่เี หมาะสม
7.2 ครใู หต้ วั แทนแตล่ ะกลุ่มออกมาเขยี นคำตอบของกลมุ่ ตวั เองบนกระดานหนา้ ช้นั เรียน

7. ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พ่ิมเติมเคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลกั สูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

8. การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน
-ขอ้ คำถาม
1. ดา้ นความรู้ (K) -ได้คะแนนในระดบั
3 (ด)ี ขน้ึ ไป
1. บอกส่วนประกอบของ -การตอบคำถาม

สารละลายบัฟเฟอร์ได้

2. อธบิ ายสมบตั ขิ อง

สารละลายบัฟเฟอร์ได้

3. อธบิ ายการ

เปลยี่ นแปลงทเี่ กิดขน้ึ กบั

ระบบบฟั เฟอร์ในรา่ งกาย
และในธรรมชาตไิ ด้

2. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั -การสงั เกต -แบบประเมนิ ไดค้ ะแนนในระดบั 3
พึงประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะอันพึง (ดี) ขึน้ ไป
1. ต้งั ใจเรยี นรู้และ ประสงค์
แสวงหาความรู้
รบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่ท่ี
ไดร้ ับมอบหมาย

กรด-เบส ใบงาน เร่ือง บฟั เฟอร์

ชือ่ -สกลุ ........................................................................... ช้นั ม........... เลขที่.........

1. สารละลายบฟั เฟอร์ คอื
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

2. บฟั เฟอรก์ รด คือ ................................................................................................. pH ........................
บัฟเฟอร์เบส คือ .................................................................................................. pH ........................

3. จากตารางต่อไปนี้ เม่อื สารทกุ ชนดิ มีความเขม้ ขน้ เทา่ กัน คู่ใดทีเ่ ป็นสารละลายบัฟเฟอร์

คู่ที่ สารละลายที่ 1 สารละลายท่ี 2

1 C6H5COOH C6H5COONa

2 NaF HF

3 Ca(OH)2 Ca(NO3)2
4 H3PO4 Na3PO4
5 HCOOH HCOOK

6 Na2HPO4 Na3PO3

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

4. สารละลายผสมระหวา่ ง CH3COOH 0.4 โมล กับ CH3COONa 0.8 โมล ในสารละลาย 1 ลติ ร
ค่า pH ของสารละลายบฟั เฟอรเ์ ป็นเทา่ ใด (กาหนดให้ Ka ของ CH3COOH เปน็ 1.8 x 10-5)
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพิม่ เติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรียนท่ี 2/2564 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยท่ี 10 กรด-เบส เวลา 30 ช่ัวโมง

เร่ือง การประยุกต์ใชค้ วามรู้เกยี่ วกับกรด-เบส เวลา 3 ช่ัวโมง

ครูผสู้ อน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา

ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตวั อย่างการใช้ประโยชนแ์ ละการแกป้ ญั หาโดยใชค้ วามรเู้ ก่ียวกับ

กรด–เบส
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. สืบคน้ ขอ้ มูลการใช้ประโยชน์โดยใชค้ วามรเู้ กี่ยวกบั กรด-เบสได้
2. นำเสนอตัวอยา่ งการใช้ประโยชน์โดยใช้ความรู้เกย่ี วกับกรด-เบสได้
3. ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื มีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็นภายในกลมุ่ ยอมรบั ฟัง
ความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน และรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรูเ้ พิม่ เตมิ
- ความรู้เก่ียวกบั กรด-เบสสามารถนำไปประยุกตใ์ ชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั และสามารถ
บรณู าการกับคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อใชป้ รบั ปรุงผลิตภณั ฑใ์ ห้มี
คุณภาพตามต้องการหรืออาจสร้างนวัตกรรมเพื่อป้องกันและแกป้ ัญหาทีเ่ กดิ จากกรด-เบส
โดยใชค้ วามรูเ้ ก่ยี วกับกรด-เบส เช่น การแกป้ ัญหาดินเปรยี้ ว การบำบดั น้ำเสยี เป็นต้น

สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
ความรู้เกยี่ วกับกรด-เบส สามารถนำมาใช้ประโยชน์ และแกป้ ญั หาในชีวิตประจำวัน

เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม และการแพทย์

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ทักษะการสังเกต 1. มีวินัย รบั ผดิ ชอบ
2. ทักษะการสำรวจคน้ หา 2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
4. ทกั ษะการเชื่อมโยง
5. ทกั ษะการทำงานร่วมกัน

กจิ กรรมการเรียนรู้ (3 ช่วั โมง)
ใช้วธิ กี ารสอนแบบ 5E
ข้นั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเกยี่ วกบั กรด-เบสในชีวติ ประจำวัน เชน่ ปฏกิ ริ ิยาของกรดกบั โลหะ

ปฏิกริ ยิ าระหวา่ งกรดกับเบส และปฏกิ ริ ยิ าของเบสกับโลหะ
2. ครถู ามคำถามกระตุน้ ความคดิ ของนกั เรียนวา่ ปฏกิ ิรยิ าของกรด-เบสที่เกดิ ขึ้นใน

ชวี ติ ประจำวนั มปี ระโยชน์และโทษต่อส่ิงมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร
(แนวตอบ : ข้ึนอยู่กับคำตอบของนักเรยี น)
3. กอ่ นเข้าสู่บทเรยี นครูนำภาพประกอบการสอนเกยี่ วกับผู้ได้รับความเสยี หายจากปฏิกิริยา
กรด-เบส เชน่ ภาพสง่ิ ก่อสรา้ งทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากฝนกรดมาใหน้ กั เรียนศึกษา รวมท้งั ภาพ

ผลติ ภัณฑ์ เช่น สบู่ซ่งึ เป็นผลติ ภัณฑท์ ผ่ี ลติ มาจากปฏกิ ิริยาเคมีกรด-เบส
4. ครนู ำฉลากของผลติ ภณั ฑ์สารเคมี เชน่ นำ้ ยาล้างหอ้ งน้ำ มาให้นกั เรยี นศกึ ษาเกี่ยวกับคำ

เตอื น วธิ แี ก้ไขเบ้ืองตน้ เม่ือได้รับอนั ตรายทเี่ ป็นผลมาจากปฏิกริ ิยาเคมีกรด-เบส แล้วอภปิ รายรว่ มกัน
เพือ่ ให้ได้ข้อสรปุ วา่ “เคมภี ัณฑม์ ีทงั้ ประโยชน์และโทษ ดงั นั้น นักเรียนจงึ จำเป็นตอ้ งมคี วามรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมที ีเ่ กิดข้นึ เพ่ือนำไปประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละหลกี เลี่ยงอันตรายจาก
ปฏิกิริยาเคมี รวมท้ังสามารถวางแนวทางการป้องกนั ได้จากอนั ตรายท่ีเกิดข้นึ ”

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ให้นักเรียนสบื ค้นข้อมลู การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้เก่ยี วกับกรด-เบส
2. ให้นักเรยี นจบั ครู่ ว่ มกันอภปิ รายการนำความรู้กรด-เบสไปใชป้ ระโยชนห์ รือแก้ปญั หาใน

ชีวติ ประจำวนั ลงในกระดาษ A4
3. ครูสมุ่ เรยี นนกั เรยี น 2-3 คู่ เสนอตัวอยา่ งของการใชป้ ระโยชน์โดยใชค้ วามร้เู กีย่ วกบั

กรด-เบส
4. เมือ่ นักเรยี นทราบเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์โดยใชค้ วามรู้เกีย่ วกบั กรด-เบสแล้ว ให้

นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน ทำกจิ กรรม ตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์โดยใชค้ วามรเู้ ก่ยี วกับกรด-
เบส โดยให้สมาชิกภายในกล่มุ แบ่งภาระและหน้าท่ีรับผดิ ชอบ เพ่ือจัดทำเป็นรายงานและปา้ ยนเิ ทศ

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอป้ายนิเทศ เรื่อง การนำความรู้กรด-เบสไปใช้ประโยชน์

หรือแกป้ ญั หาในชีวิตประจำวัน เม่ือนำเสนอจบแลว้ ให้ตัวแทนกลุ่มนำรายงานมาส่งครู
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายผลกิจกรรม เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า “การนำความรู้กรด-เบส

ไปใชป้ ระโยชนห์ รอื แกป้ ญั หาในชวี ิตประจำวันมมี ากมาย เชน่ การบำบดั น้ำเสยี ให้มคี า่ pH ทเี่ หมาะสม
เค้กเรดเวทที่มีเนื้อสีแดงสดน่ารับประทาน และการปรับสมดุล pH ในแชมพูเพื่อควบคุม pH ให้อยู่
ในชว่ งที่เหมาะสมกับสภาพเสน้ ผมของมนษุ ย์ เป็นตน้ ”

3. ครถู ามคำถามท้ายกจิ กรรมว่า นักเรยี นมแี นวทางป้องกันและแกไ้ ขปัญหาที่เกิด
จากปฏกิ ริ ยิ าเคมีกรด-เบสในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งไร

(แนวตอบ : ขึ้นอยูก่ บั คำตอบของนกั เรยี น)
ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แลว้ ครูกำหนดสถานการณ์เกยี่ วกบั ปฏิกิริยาเคมี
กรด-เบสทีอ่ าจเป็นปญั หาในชีวติ ประจำวัน เชน่ ราวตากผา้ เกิดสนมิ พนื้ ห้องน้ำสกึ กรอ่ น หรือให้
นักเรียนเลอื กกำหนดปัญหาเอง แล้วใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์สถานการณ์แลว้ นำความรเู้ รื่อง ประโยชน์
และโทษของปฏกิ ริ ิยาเคมี มาบูรณาการกบั วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีและวศิ วกรรมศาสตร์
เพอ่ื วางแผน ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา ปรับปรงุ ผลิตภณั ฑ์ หรอื สร้างนวัตกรรมท่ีใชแ้ ก้ปัญหาทเ่ี กิดขึน้
จากปฏิกริ ิยา

ขนั้ ท่ี 5 ประเมินผล (Evaluation)
1. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้เกย่ี วกบั ปฏิกริ ิยาเคมี แล้วให้นกั เรยี นสรปุ เป็นรปู แบบ

ผงั มโนทัศนล์ งในกระดาษ A4 แลว้ นำมาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
2. นักเรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทเพ่ือทบทวนความรู้

ส่อื และแหล่งเรียนรู้
1. หนังสอื เรียนรายวิชาวิทยาศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ เคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

การวัดและการประเมนิ วิธีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน
จดุ ประสงค์ -ตรวจใบงาน -ใบงาน -ได้คะแนนรอ้ ยละ
70
1. ดา้ นความรู้ (K)
1.สืบคน้ ขอ้ มูลการใช้ ได้คะแนนรอ้ ยละ
ประโยชนโ์ ดยใช้ความรู้ 70
เกย่ี วกบั กรด-เบสได้ -

2.ด้านทกั ษะ/ -ใบงานท่ี 1
กระบวนการคดิ (P) ทฤษฎีกรด-เบส
1.นำเสนอตัวอยา่ งการ -ตรวจการนำเสนอ
ใช้ประโยชนโ์ ดยใช้
ความรู้ เก่ียวกบั กรด-เบส
ได้

3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอัน -การสงั เกต -แบบประเมนิ ไดค้ ะแนนในระดับ 3
พึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะอันพึง (ด)ี ขนึ้ ไป
1. นักเรียนมีความ ประสงค์
รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ท่ี
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกับคนอื่นได้

แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 11

กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพ่ิมเติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5

หนว่ ยท่ี 11 เคมไี ฟฟา้ เวลา 23 ช่ัวโมง

เร่ือง เลขออกซเิ ดชนั เวลา 3 ช่ัวโมง

ครูผู้สอน นางสาวมารสิ า แอ่งสุธา

ผลการเรียนรู้
คำนวณเลขออกซิเดชนั และระบปุ ฏิกิรยิ าท่ีเปน็ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ระบเุ ลขออกซเิ ดชันของธาตตุ า่ ง ๆ ได้ (K)
2. ตรวจสอบคา่ เลขออกซิเดชนั ของธาตุในสารประกอบหรือไอออนได้ (P)
3. ตั้งใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้เพม่ิ เติม
- เคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาเกยี่ วกบั การเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานไฟฟา้ และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีทีม่ ี
การถา่ ยโอนอเิ ล็กตรอนแล้วทําใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ซึ่งเป็นเลขท่แี สดงประจุไฟฟ้า
หรอื ประจุไฟฟา้ สมมติของอะตอมธาตเุ รียกปฏิกริ ยิ าชนิดนี้ว่า ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์

สาระสำคญั
เลขออกซิเดชันเปน็ คา่ ประจุไฟฟา้ ทีส่ มมติข้ึนมาของไอออนหรืออะตอมของธาตุ โดยคำนวณ

จากการรบั หรือการจา่ ยอเิ ล็กตรอน หรอื การใชพ้ ันธะร่วมกัน ซึ่งการเขียนเลขออกซเิ ดชนั จะเขยี น
เครอื่ งหมาย + หรือ – ไวห้ น้าตวั เลขเสมอ

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. ทกั ษะการสงั เกต 1. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ
2. ทักษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝ่เรยี นรู้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
3. ทักษะการวิเคราะห์ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน
4. ทักษะการเชื่อมโยง
5. ทักษะการทำงานรว่ มกนั

กิจกรรมการเรยี นรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใช้วิธกี ารสอนแบบ 5E
ขั้นที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือวัดความรเู้ ดิมของนกั เรียน
2. ครใู ช้คำถามเพื่อนำเขา้ สู่บทเรยี น หนว่ ยท่ี 11 เคมีไฟฟ้า มีดงั นี้
- ปฏิกริ ิยารีดกั ชนั ปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชนั และปฏกิ ริ ิยารดี อกซค์ อื อะไร
- เซลล์ไฟฟา้ เคมีประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
- เซลลก์ ลั วานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลติกสามารถนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั
ได้อย่างไร
3. จากนน้ั ให้นกั เรียนในห้องร่วมกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็ โดยครูยังไม่ต้องเฉลย ซงึ่ เมอื่

เรยี นจบในเน้อื หาท่สี ามารถเฉลยคำถามขอ้ นั้นๆ ได้ ใหค้ รูถามคำถามข้อนนั้ แลว้ ให้นกั เรียนตอบอีก
ครงั้ หน่งึ

ขนั้ ที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับวธิ กี ารหาเลขออกซิเดชนั ของธาตุในสารประกอบ หรือไอออนและ

การคำนวณเลขออกซิเดชันของธาตใุ นสารประกอบหรอื ไอออนจากตวั อยา่ งจากนั้นตรวจสอบความ
ถูกต้อง และอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ในกรณีท่นี ักเรียนมีความเขา้ ใจที่คลาดเคล่ือน จนนักเรียนเกิดความเขา้ ใจ
ทตี่ รงกัน

2. นกั เรียนจบั ค่กู บั เพือ่ น โดยแต่ละคู่ศกึ ษาเกี่ยวกับวธิ กี ารหาเลขออกซเิ ดชนั ของธาตุใน
สารประกอบ หรือไอออน และรว่ มกนั ฝึกการคำนวณเลขออกซเิ ดชันของธาตุในสารประกอบหรือ
ไอออนจากตัวอย่างในหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ เคมี ม.5 เลม่ 4

ข้นั ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
1. ครูตง้ั คำถามให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปราย เรื่อง เลขออกซิเดชัน ดังนี้
1) ธาตุอสิ ระทุกชนดิ จะมีเลขออกซิเดชันเท่ากบั เทา่ ใด
(แนวตอบ : ศนู ย์)
2) เลขออกซเิ ดชนั ของออกซเิ จนในสารประกอบซูเปอร์ออกไซด์และ
สารประกอบเปอร์ออกไซดม์ ีค่าเทา่ กนั หรือไม่ อย่างไร

(แนวตอบ : ไม่เทา่ กัน ในสารประกอบซูเปอร์ออกไซด์ ออกซิเจนจะมีเลข
ออกซิเดชันเทา่ กบั - 1 สว่ นในสารประกอบเปอร์ออกไซด์ ออกซเิ จนจะมเี ลข

2

ออกซเิ ดชนั เทา่ กับ -1)
3) ธาตุแทรนซชิ ันทุกตัวจะมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่าใช่หรือไม่

(แนวตอบ : ไมใ่ ช่ Ag Zn และ Sc จะมเี ลขออกซิเดชันได้ค่าเดียว โดย Ag มี
เลขออกซเิ ดชันเท่ากับ +1 Zn มเี ลขออกซิเดชันเท่ากบั +2 และ Sc มเี ลข
ออกซิเดชนั เทา่ กบั +3)
4) สารประกอบจะมีผลรวมของเลขออกซเิ ดชันเปน็ เท่าใด
(แนวตอบ : ศนู ย)์
ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเน้ือหา เร่ือง เลขออกซเิ ดชัน ว่ามีส่วนไหนทีย่ ัง
ไมเ่ ขา้ ใจ และให้ความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นนน้ั เพ่ือจะใช้เป็นความรเู้ บ้ืองตน้ สำหรบั การเรยี นในเนอื้ หาต่อ
ๆ ไป
2. นักเรยี นทำใบงาน เรือ่ ง เลขออกซิเดชนั
ขนั้ ที่ 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงาน
รายบคุ คล พฤติกรรมการทำงานกล่มุ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงาน เร่ือง เลขออกซิเดชนั

ส่ือและแหล่งเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

2. ใบงานที่ 11.1 เรื่อง เลขออกซิเดชนั

การวัดและการประเมนิ

จดุ ประสงค์ วิธกี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

1. ดา้ นความรู้ (K)

1.ระบุเลขออกซิเดชนั -ตรวจใบงาน -ใบงาน -ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ

ของธาตตุ ่าง ๆ ได้ 70

จดุ ประสงค์ วิธีการวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
2.ด้านทักษะ/ -ตรวจใบงาน -ใบงาน
กระบวนการคิด (P) ได้คะแนนร้อยละ
1.ตรวจสอบคา่ -แบบประเมนิ 70
เลขออกซิเดชันของธาตุ คณุ ลักษณะอันพงึ -
ในสารประกอบหรือ ประสงค์
ไอออนได้ ไดค้ ะแนนในระดับ 3
(ด)ี ข้นึ ไป
3. ดา้ นคุณลักษณะอัน -การสังเกต
พงึ ประสงค์ (A)
1. นกั เรียนมคี วาม
รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีท่ี
ได้รับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกบั คนอ่นื ได้

เคมีไฟฟ้า ใบงาน เร่อื ง เลขออกซเิ ดชัน

ช่ือ-สกุล........................................................................... ช้ัน ม........... เลขท่ี.........

1. คานวณหาเลขออกซเิ ดชันในแตล่ ะขอ้ ใหถ้ ูกตอ้ ง

C ใน Na2CO3 P ใน H3PO4

Cr ใน K2Cr2O7 Mn ใน KMnO4

Zn ใน ZnSO4 S ใน H2SO4

Mn ใน Mn2O3 Fe ใน [Fe(CN)6]4-

Cr ใน CrO42- Sn ใน Na2SnO3





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 12

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเพิ่มเตมิ เคมี 4 ว30224

ภาคเรียนที่ 2/2564 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

หน่วยที่ 11 เคมไี ฟฟ้า เวลา 23 ชั่วโมง

เร่ือง ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ เวลา 3 ชั่วโมง

ครูผูส้ อน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา

ผลการเรยี นรู้
1. คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบุปฏิกริ ยิ าทีเ่ ปน็ ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์

2. วิเคราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงเลขออกซิเดชัน และระบุตัวรดี ิวซ์และตัวออกซิไดส์ รวมท้งั
เขียนครงึ่ ปฏกิ ริ ิยาออกซเิ ดชันและครึ่งปฏิกริ ยิ ารดี กั ชันของปฏกิ ิริยารีดอกซ์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของปฏิกิริยาออกซเิ ดชนั ปฏกิ ิริยารีดกั ชัน และปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ได้ (K)
2. เขยี นสมการแสดงปฏกิ ิรยิ าออกซเิ ดชัน ปฏิกิริยารีดกั ชัน และปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ได้ (P)
3. ตงั้ ใจเรียนร้แู ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม

- เคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาเก่ยี วกับการเปลย่ี นแปลงระหวา่ งพลังงานไฟฟ้าและการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีทม่ี ี
การถา่ ยโอนอเิ ลก็ ตรอนแล้วทําให้เกิดการเปลยี่ นแปลงเลขออกซิเดชัน ซ่ึงเปน็ เลขที่แสดงประจไุ ฟฟา้
หรอื ประจุไฟฟ้าสมมติของอะตอมธาตเุ รยี กปฏิกริ ิยาชนิดน้ีวา่ ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์
- ปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งครึ่งปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่ง
ปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน โดยสารที่ให้อิเล็กตรอนจะมีเลข
ออกซเิ ดชันเพม่ิ ขน้ึ เรียกว่า ตวั รดี วิ ซ์ สว่ นสารท่ีรบั อเิ ลก็ ตรอนจะมเี ลขออกซิเดชนั ลดลง เรยี กวา่ ตวั
ออกซไิ ดส์

สาระสำคัญ
ปฏกิ ิรยิ าที่สารจ่ายอเิ ล็กตรอน เรยี กวา่ ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั โดยสารที่ให้อิเลก็ ตรอนกบั สารอน่ื

แล้วมีเลขออกซเิ ดชนั เพิ่มขึน้ เรียกวา่ ตัวรดี วิ ซ์

ปฏกิ ริ ยิ าทส่ี ารรบั อิเลก็ ตรอน เรียกวา่ ปฏกิ ริ ยิ ารีดักชนั โดยสารทรี่ ับอเิ ลก็ ตรอนจากสารอื่น
แล้วมีเลขออกซิเดชนั ลดลง เรียกวา่ ตัวออกซิไดส์

ปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชนั และปฏกิ ิรยิ ารดี ักชันจดั เปน็ ครง่ึ ปฏิกริ ยิ า เมอ่ื รวมทั้งสองปฏิกิรยิ าเขา้
ด้วยกนั จะได้ปฏิกิริยาท่ีเรยี กวา่ ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ทกั ษะการสังเกต 1. มีวินัย รับผดิ ชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
4. ทักษะการเชื่อมโยง
5. ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั

กิจกรรมการเรียนรู้ (3 ช่ัวโมง)
ใชว้ ิธีการสอนแบบ 5E
ขั้นที่ 1 สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันทบทวนความรเู้ ก่ยี วกับเลขออกซิเดชนั จากนนั้ ครูอธบิ ายเพมิ่ เติม

วา่ “ในปฏิกริ ยิ าบางปฏิกริ ยิ าธาตุชนิดหน่งึ อาจมีเลขออกซเิ ดชันเพิม่ ขนึ้ ได้ สว่ นธาตุอกี ชนิดหนง่ึ อาจมี
เลขออกซเิ ดชันลดลงได้ ซ่งึ เรียกปฏิกิรยิ าทมี่ ีการเปล่ียนแปลงเลขออกซิเดชันของธาตุนวี้ ่า ปฏิกริ ยิ า
รดี อกซ์”

2. ครใู ช้คำถามเพื่อนำเข้าสู่เนื้อหา ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ มีดังนี้
- ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์คืออะไร
- ตัวรีดิวซ์คอื อะไร และมหี น้าท่ีอยา่ งไร
- ตัวออกซิไดส์คืออะไร และมีหนา้ ที่อย่างไร

3. จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นในห้องร่วมกันตอบและแสดงความคดิ เหน็ โดยครูยังไม่ต้องเฉลย ซึง่ เมื่อ
เรยี นจบในเนือ้ หาทีส่ ามารถเฉลยคำถามข้อนนั้ ๆ ได้ ใหค้ รูถามคำถามข้อนั้น แล้วใหน้ ักเรียนตอบอีก
คร้งั หน่งึ

ข้ันท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ของสารประกอบและการหาตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ และ

เลขออกซเิ ดชันท่เี ปลย่ี นแปลง จากตัวอย่างจากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพิ่มเติมในกรณี
ทีน่ กั เรียนมีความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคล่อื น จนนกั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจที่ตรงกนั

2. นกั เรยี นจบั คกู่ ับเพื่อน โดยแต่ละคู่ศกึ ษาเกี่ยวกบั วิธกี ารหาปฏิกิรยิ ารีดกั ชนั และปฏิกิริยา
รีดักชนั ของธาตุในสารประกอบ หรอื ไอออน และร่วมกันฝึกการคำนวณเลขออกซเิ ดชนั ของธาตุใน
สารประกอบหรือไอออนจากตัวอย่างในหนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่มิ เตมิ เคมี ม.5 เล่ม 4

ขนั้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครตู ั้งคำถามให้นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเกยี่ วกบั ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์ ดังนี้
1) จงระบวุ ่าปฏกิ ิรยิ าท่ีกำหนดใหต้ อ่ ไปนจ้ี ัดเปน็ ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซห์ รอื ไม่ เพราะ
เหตุใด

• CO2 + H2O → H2CO3
(แนวตอบ : ไม่เป็นปฏกิ ิริยารดี อกซ์ เนื่องจากเลขออกซเิ ดชนั ของสารไม่

เปล่ยี นแปลง)

• 2CeO2 + 8HCl → 2CeCl3 + Cl2 + 4H2O
(แนวตอบ : เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ เนื่องจากเลขออกซิเดชันของสาร
เปลี่ยนแปลง)

• CH4 + 2O2 → CO2 + 2H2O
(แนวตอบ : เปน็ ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ เนื่องจากเลขออกซเิ ดชนั ของสาร)

• SO2 + 2NaOH → Na2SO3 + H2O
(แนวตอบ : ไม่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ เนื่องจากเลขออกซเิ ดชนั ของสารไม่

เปลย่ี นแปลง)
2) จงเขยี นสมการแสดงคร่งึ ปฏกิ ิรยิ าทเ่ี ปน็ ปฏกิ ิริยาออกซิเดชันและครงึ่ ปฏกิ ิรยิ า

ท่เี ป็นปฏิกิรยิ ารีดักชนั ของปฏิกริ ิยารีดอกซ์ที่กำหนดให้ พรอ้ มท้งั ระบุ
ตวั ออกซิไดสแ์ ละตวั รดี วิ ซ์

• Mg (s) + 2H+ (aq) → Mg2+ (aq) + H2 (g)
(แนวตอบ : ปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชนั คอื Mg (s) → Mg2+ (aq) + 2e-

ปฏกิ ิรยิ ารดี ักชนั คอื 2H+ (aq) + 2e- → H2 (g)
ตวั ออกซิไดส์ คอื H+ (aq)
ตัวรดี ิวซ์ คือ Mg (s) )

• Zn (s) + 2Ag+ (aq) → Zn2+ (aq) + 2Ag (s)
(แนวตอบ : ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน คอื Zn (s) → Zn2+ (aq) + 2e-
ปฏกิ ริ ยิ ารีดกั ชัน คอื Ag+ (aq) + e- → Ag (s)
ตวั ออกซไิ ดส์ คือ Ag+ (aq)
ตวั รดี วิ ซ์ คือ Zn (s) )
• Ca (s) + Cl2 (aq) → Ca2+ (aq) + 2Cl- (aq)
(แนวตอบ : ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั คือ Ca (s) → Ca2+ (aq) + 2e-
ปฏิกริ ิยารดี ักชนั คอื Cl2 (aq) + 2e- → 2Cl- (aq)
ตวั ออกซไิ ดส์ คือ Cl2 (aq)
ตัวรีดวิ ซ์ คือ Ca (s) )
2. นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายเพ่อื หาข้อสรุปเก่ยี วกบั ปฏิกิริยารีดอกซ์ ซ่งึ ได้ข้อสรุป ดงั นี้
• ปฏกิ ิริยาที่สารจ่ายอิเล็กตรอน เรยี กว่า ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชนั โดยสารท่ีให้
อเิ ลก็ ตรอนกับสารอืน่ แลว้ มีเลขออกซิเดชันเพิ่มข้นึ เรยี กวา่ ตัวรดี ิวซ์
• ปฏกิ ิรยิ าทสี่ ารรับอิเลก็ ตรอน เรียกวา่ ปฏิกริ ิยารีดกั ชนั โดยสารท่รี ับอิเล็กตรอน
จากสารอ่นื แล้วมเี ลขออกซิเดชนั ลดลง เรียกว่า ตวั ออกซิไดส์
• ปฏกิ ิริยาออกซเิ ดชนั และปฏกิ ิริยารีดกั ชันจดั เป็นครง่ึ ปฏกิ ริ ยิ า เมือ่ รวมทงั้ สอง
ปฏิกริ ิยาเขา้ ดว้ ยกนั จะไดป้ ฏิกริ ยิ าที่เรยี กวา่ ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์
ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสยั ในเนอ้ื หา เรื่อง ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ วา่ มีสว่ นไหนที่
ยงั ไมเ่ ข้าใจ และให้ความรู้เพิม่ เตมิ ในส่วนนนั้ เพ่อื จะใช้เป็นความรู้เบื้องตน้ สำหรับการเรยี นในเน้ือหา
ตอ่ ๆ ไป
2. นักเรยี นทำใบงาน เร่ือง ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
ขัน้ ท่ี 5 ประเมินผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ ผลนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล พฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าช้นั เรียน
2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน เรื่อง ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์

ส่ือและแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตร์เพิม่ เตมิ เคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เร่อื ง ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์

การวัดและการประเมิน

จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
-ใบงาน -ได้คะแนนร้อยละ
1. ด้านความรู้ (K) 70
-ใบงาน
1.อธิบายความหมายของ -ตรวจใบงาน ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ
-แบบประเมนิ 70
ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชนั คุณลักษณะอนั พงึ -
ประสงค์
ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชนั และ ได้คะแนนในระดับ 3
(ดี) ขึ้นไป
ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ได้

2.ดา้ นทักษะ/ -ตรวจใบงาน
กระบวนการคดิ (P)
1.เขียนสมการแสดง
ปฏกิ ริ ิยาออกซิเดชนั
ปฏิกิริยารีดักชันและ
ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ได้

3. ด้านคุณลกั ษณะอนั -การสังเกต
พึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมีความ
รับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีที่
ไดร้ ับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกบั คนอน่ื ได้

เคมไี ฟฟา้ ใบงาน เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ยิ ารดี อ็ กซ์

ช่ือ-สกุล........................................................................... ช้ัน ม........... เลขที่.........

1. ปฏกิ ริ ยิ ารีด็อกซ์ คือ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

2. ตัวรดี ิวซ์ (reducing agent) คือ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3. ตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) คือ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

4. สมการตอ่ ไปน้ีเป็นสมการรดี ็อกซห์ รือไม่ เหตุเหตุใด

4.1 Zn(s) + CuSO4(aq) → ZnSO4(aq) + Cu(s)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

4.2 CH4(g) + O2(g) → CO2(g) + H2O(g)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

4.3 H2SO4(aq) + 2NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + 2H2O(l)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

4.4 Al(s) + Zn2+(aq) → Al3+(aq) + Zn(s)
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

เคมีไฟฟา้ ใบงาน เรอื่ ง ปฏิกิริยารดี อ็ กซ์

ชอ่ื -สกุล........................................................................... ช้นั ม........... เลขที่.........

5. ระบุปฏกิ ริ ิยาออกซเิ ดชนั ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชนั ตัวออกซิไดซ์ และตัวรดี วิ ซ์

ตวั อยา่ ง ปฏิกริ ิยาออกซเิ ดชัน

Zn(s) + CuSO4(aq) → ZnSO4(aq) + Cu(s)

ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซไิ ดซ์
ปฏกิ ริ ิยารีดกั ชัน

5.1
Au(s) + HNO3(aq) + HCl(aq) → HAuCl4(aq) + NO2(aq)

5.2
Zn(s) + MnO4-(aq) → Zn2+(aq) + MnO2(s)

5.3
Cu(s) + NO3-(aq) → Cu2+(aq) + NO(g)

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรื่อง ปฏิกิรยิ ารดี อ็ กซ์

ชอ่ื -สกุล........................................................................... ช้นั ม........... เลขท่ี.........

6. จากสมการท่กี าหนดให้
2MnO4-(aq) + H2O(l) + 3NO2-(aq) → 2MnO2(aq) + 3NO3-(aq) + 2OH-(aq)

พิจารณาวา่ ข้อใดถกู ต้องหรือไม่ถูกต้อง เพราะเหตุใด

6.1 NO2- ถกู ออกซิไดซด์ ้วย MnO2
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

6.2 ครึ่งปฏกิ ิรยิ าออกซิเดชันเขยี นเป็น NO2-(aq) + 2OH-(aq) → 3NO2-(aq) + H2O(l) + e-
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

6.3 ปฏิกิรยิ านมี้ ีการให้และรบั อเิ ล็กตรอนอยา่ งละ 2 ตัว
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

6.4 ธาตุ Mn ใน MnO4- มีเลขออกซเิ ดชนั +4
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

7. จากรปู ท่ีกาหนดให้ ใช้ตอบคาถามวา่ ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตใุ ด

โลหะ A 7.1 ผลิตภณั ฑข์ องปฏิกริ ิยารีดกั ชัน คือ B
ไอออน B+ ........................................................................................................
........................................................................................................
7.2 ปฏกิ ิรยิ ารดี กั ชนั ท่ีเกิดข้นึ A2+(aq) + 2e- → A(s)
........................................................................................................
........................................................................................................

7.3 ตวั ออกซิไดซข์ องปฏิกริ ยิ านคี้ ือ B+(aq)
........................................................................................................
........................................................................................................





แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพือ่ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครือ่ งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จริง

เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ พฤติกรรมการแสดงออก
มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการ
1 นางสาวญาณิศา สินธโุ์ พธ์ิ
2 นางสาวนัชชา ราชาทดั ทางาน
3 นางสาวอรษิ า สุระคาย
4 นางสาวชมพนู ชุ ศรีสรา้ งคอม 32103210 3 21 0
5 นางสาวชัญญานุช พาพิมพ์
6 นางสาวอภญิ ญา เหล็กพล
7 นางสาวณีรนุช อยุ ุตะ
8 นายสริ วชิ ญ์ บตุ รศรี
9 นางสาวชลลดา ดุงจำปา
10 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ สมบรู ณ์
11 นายภัทรวฒุ ิ ขนั ซอ้ น
12 นางสาวณัชชานันท์ ขารพ
13 นายภานพุ ล นามโคตร
14 นางสาวกติ ติญาภรณ์ บัวเข็ม
15 นางสาวจิรภญิ ญา ขมน้ิ เขียว
16 นางสาวภทั ราภรณ์ อทุ มุ พริ ัตน์
17 นางสาวสุภัทตรา ใจบญุ
18 นายนพณฐั ทักษณิ อุบล
19 นางสาวชลธชิ า เหลา่ เสน
20 นางสาวชวลั ลกั ษณ์ โสระบตุ ร
21 นายณฐั กมล ทวีผล
22 นางสาวนนชยาทิพย์ บตุ รสิม
23 นางสาวพรรณพชั ษา พรมศรจี ันทร์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คำชแ้ี จง การบันทกึ ใหท้ ำเครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤตกิ รรมท่เี กิดขนึ้ จริง

พฤติกรรมการแสดงออก

เลขที่ ช่ือ - นามสกุล มีวินยั ใฝ่ เรี ยนรู้ มุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

32103210 321 0

24 นางสาวภทั ราภรณ์ ประสมคณุ

25 นางสาวชนติ า ปงั คะบุตร

26 นางสาวชุติกาญจน์ อาสนา

27 นางสาวนฤภร โสภารักษ์

28 นางสาวนวรัตน์ เนตรทพิ ย์

29 นางสาวนัฏฐณิชา สรุ ะคาย

30 นางสาวนฏั ฐธิดา สรุ ะคาย

31 นางสาวนิสากรณ์ บงุ่ หวาย

32 นางสาวปรียากร ยางสุด

33 นางสาวพรธภิ า โพธศ์ิ รงี าม

34 นางสาวพรนชิ า อตุ ราช

35 นางสาวเพ็ญนภา เรืองชม

36 นางสาวภคั รมัย โพรทอง

37 นางสาวรมิตา ขจร

38 นางสาวสุภาวดี วิธิบรู ณ์

39 นางสาวอรนภิ า คณะสิทธิ์

40 นางสาวอริษา ผานิบุตร

ลงชอ่ื
………………………………………
(นางสาวมารสิ า แอง่ สุธา)

ครูผสู้ อน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีวินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น
ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันและรบั ผดิ ชอบในการทำงาน

ใฝเ่ รียนรู้ = แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ มีการจดบันทกึ ความรู้อย่างเป็นระบบ
สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล

มงุ่ ม่ันในการทำงาน = มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย มีความ
อดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ :

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างบางครง้ั ให้ 1 คะแนน

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างนอ้ ยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน

ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 7-9 คะแนน

ดี ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 2-3 คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 13

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเพิ่มเติมเคมี 4 ว30224

ภาคเรียนที่ 2/2564 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5

หน่วยท่ี 11 เคมีไฟฟ้า เวลา 23 ชั่วโมง

เรื่อง การดุลสมการรีดอกซ์ เวลา 3 ชว่ั โมง

ครูผู้สอน นางสาวมาริสา แอ่งสุธา

ผลการเรยี นรู้
ดุลสมการรีดอกซด์ ว้ ยการใชเ้ ลขออกซเิ ดชันและวิธคี ร่งึ ปฏิกิริยา

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายหลกั การดลุ สมการรดี อกซ์โดยใชเ้ ลขออกซเิ ดชนั และครงึ่ ปฏิกิรยิ าได้ (K)
2. ตรวจสอบการดุลสมการรดี อกซโ์ ดยใช้เลขออกซเิ ดชันได้ (P)
3. ต้ังใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีที่ได้รับมอบหมาย (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้เพิ่มเตมิ
- ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซเ์ ขยี นแทนไดด้ ้วยสมการรดี อกซ์ ซง่ึ การดุลสมการรีดอกซ์ทําไดโ้ ดยการใช้
เลขออกซเิ ดชันและวิธีครึ่งปฏิกริ ยิ า

สาระสำคญั
ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ เป็นปฏิกริ ิยาที่มกี ารเปลย่ี นแปลงเลขออกซิเดชันของธาตุที่อยใู่ น

สารประกอบในสมการเคมี หรือปฏกิ ิริยาที่มีการรับและจ่ายอเิ ล็กตรอน
การดลุ สมการรดี อกซ์ มี 2 วธิ ี คอื การดลุ สมการรดี อกซโ์ ดยใชเ้ ลขออกซิเดชนั ท่เี ปลย่ี นแปลง

และการดลุ สมการรดี อกซ์โดยใช้ครึง่ ปฏิกิริยา

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ทักษะการสงั เกต 1. มวี ินยั รับผิดชอบ
2. ทกั ษะการสำรวจค้นหา 2. ใฝเ่ รยี นรู้

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
3. ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน
4. ทักษะการเช่ือมโยง
5. ทักษะการทำงานร่วมกัน

กิจกรรมการเรยี นรู้ (3 ช่วั โมง)
ใชว้ ิธกี ารสอนแบบ 5E
ข้นั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูทบทวนปฏกิ ิริยารีดอกซ์ โดยใชค้ ำถามดงั ต่อไปนี้
- ปฏกิ ริ ยิ ารดี กั ชัน ปฏิกริ ิยาออกซเิ ดชนั และปฏกิ ริ ิยารดี อกซค์ ืออะไร
- เซลล์ไฟฟ้าเคมีประกอบดว้ ยอะไรบ้าง และแต่ละองค์ประกอบมหี น้าท่ีอย่างไร
- เซลล์กัลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลตกิ สามารถนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั
ได้อย่างไร
- การดุลสมการคืออะไร
2. จากนนั้ ครูยกตวั อย่างสมการเคมีของปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์และไม่ใชป่ ฏิกิริยารีดอกซ์ จากน้ันให้

นักเรียนร่วมกันดลุ สมการ และอภปิ รายเพอ่ื เช่ือมโยงเขา้ สู่การดลุ สมการรีดอกซ์โดยการใชเ้ ลข
ออกซิเดชนั และวิธีครงึ่ ปฏิกิรยิ า

ขั้นท่ี 2 สำรวจและค้นหา (Exploration)
1. ครูอธิบายเกี่ยวกับวิธีการดุลสมการรดี อกซ์โดยใช้เลขออกซิเดชันทีเ่ ปลี่ยนแปลงจาก

ตัวอย่างจากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง และอธบิ ายเพมิ่ เติมในกรณที ่นี ักเรยี นมีความเข้าใจท่ี
คลาดเคลือ่ น จนนักเรียนเกิดความเขา้ ใจทต่ี รงกัน

2. นักเรยี นจบั คู่กับเพือ่ น โดยใหแ้ ตล่ ะคู่ศกึ ษาเกย่ี วกับหลักการดลุ สมการรีดอกซ์โดยใชเ้ ลข
ออกซิเดชันทเ่ี ปลีย่ นแปลง และรว่ มกันฝึกการดุลสมการรีดอกซ์โดยใชเ้ ลขออกซเิ ดชันที่เปล่ียนแปลง
จากตวั อย่างในหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติมเคมี ม.5 เล่ม 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 11 ไฟฟ้าเคมี

ขัน้ ที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
1. ครูต้งั คำถามใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ ราย เร่อื ง การดุลสมการรดี อกซ์ ดังน้ี

1) จงดลุ สมการรีดอกซ์ต่อไปนี้ Fe2O3 + C → Fe + CO2 โดยใชเ้ ลขออกซเิ ดชนั
วิธีทำ เพิ่มขึน้ 4 × 3 = 12

+3 0 0 +4

Fe2O3 + C → Fe + CO2

ลดลง 3 × 4 = 12


2Fe2O3 + 3C → 4Fe + 3CO2

2) จงดลุ สมการรดี อกซ์ต่อไปนี้ NO2- + Al → NH3 + AlO2- โดยใช้คร่ึงปฏิกิรยิ าใน
กรด

วธิ ที ำ ปฏิกิรยิ ารีดักชนั : +3 -3

NO2- → NH3 ….. (1)
NO2- + 6e- → NH3
NO2- + 6e- → NH3 + 2H2O
NO2- + 6e- + 7H+ → NH3 + 2H2O
ปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชัน : 0 +3

Al → AlO2-

Al → AlO2- + 3e-

Al + 2H2O → AlO2- + 3e-

2(Al + 2H2O → AlO2- + 3e- + 4H+)

2Al + 4H2O → 2AlO2- + 6e- + 8H+ ….. (2)

(1) + (2) NO2- + 2Al + 4H2O → NH3 + 2AlO2- + H+)

3) จงดุลสมการรดี อกซ์ตอ่ ไปน้ี Fe2+ + MnO4- → Fe3+ + Mn2+ โดยใช้ครงึ่ ปฏิกิรยิ า

ในเบส

วธิ ีทำ: ปฏิกิรยิ ารดี กั ชนั : +7 +2

MnO4- → Mn2+ ….. (1)
MnO4- + 5e- → Mn2+
MnO4- + 5e- → Mn2+ + 4H2O
MnO4- + 5e- + 8H+ → Mn2+ + 4H2O
ปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชัน : +2 +3

Fe2+ → Fe3+

5(Fe2+ → Fe3+ + e-)

5Fe2+ → 5Fe3+ + 5e- ….. (2)

(1) + (2) 5Fe2+ + MnO4- + 8H+ → 5Fe3+ + Mn2+ + 4H2O

5Fe2+ + MnO4- + 8H+ + 8OH- → 5Fe3+ + Mn2+ + 4H2O + 8OH-

5Fe2+ + MnO4- + 8H2O → 5Fe3+ + Mn2+ + 4H2O + 8OH-

5Fe2+ + MnO4- + 4H2O → 5Fe3+ + Mn2+ + 8OH- )
ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration)

1. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเนือ้ หา เรื่อง ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ว่ามีสว่ นไหนท่ี
ยงั ไมเ่ ข้าใจ และให้ความรเู้ พม่ิ เติมในส่วนน้นั เพ่อื จะใช้เปน็ ความรูเ้ บื้องต้นสำหรับการเรยี นในเนื้อหา
ตอ่ ๆ ไป

2. นักเรยี นทำใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยารดี อกซ์
ข้นั ที่ 5 ประเมนิ ผล (Evaluation)

1. ครูประเมินผลนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหน้าชนั้ เรียน

2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงาน เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์

ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรียนรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2. ใบงาน เรื่อง ปฏกิ ิริยารีดอกซ์

การวัดและการประเมนิ วิธีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ
จดุ ประสงค์ -ตรวจใบงาน -ใบงาน -ไดค้ ะแนนร้อยละ
70
1. ด้านความรู้ (K) -ตรวจใบงาน -ใบงาน
1.อธบิ ายหลกั การดุล ได้คะแนนร้อยละ
สมการรีดอกซ์โดยใช้ 70
เลขออกซิเดชนั และ -
ครึง่ ปฏิกริ ิยาได้
2.ดา้ นทกั ษะ/
กระบวนการคิด (P)
1.ตรวจสอบการดุล
สมการรีดอกซโ์ ดยใช้
เลขออกซิเดชนั ได้

จดุ ประสงค์ วธิ ีการวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอัน -การสงั เกต
พงึ ประสงค์ (A) -แบบประเมิน ไดค้ ะแนนในระดบั 3
1. นักเรยี นมคี วาม คณุ ลักษณะอนั พึง (ด)ี ข้ึนไป
รับผิดชอบต่อหน้าที่ท่ี ประสงค์
ได้รับมอบหมายและ
ทำงานร่วมกับคนอน่ื ได้

เคมไี ฟฟ้า ใบงาน เรอื่ ง การดุลสมการรดี อ็ กซ์

ชอื่ -สกลุ ........................................................................... ชัน้ ม........... เลขที่.........

จงดลุ สมการรดี อ็ กซโ์ ดยใชเ้ ลขออกซเิ ดชัน
1. Al(s) + CuCl2(aq) → AlCl3(aq) + Cu(s)
ขน้ั ที่ 1 พิจารณาเลขออกซเิ ดชันท่เี ปลย่ี นแปลง

ขน้ั ท่ี 2 ดลุ เลขออกซิเดชันทเ่ี พม่ิ ข้นึ ใหเ้ ท่ากับเลขออกซิเดชันทลี่ ดลง

ข้ันที่ 3 ดลุ จานวนอะตอมของธาตุทไี่ มเ่ ปลยี่ นเลขออกซเิ ดชัน และไม่ใชอ่ ะตอม O และ H

ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

สารตั้งตน้ สารผลิตภัณฑ์

จานวนอะตอม

อะตอมของ Al
อะตอมของ Cu
อะตอมของ Cl
ผลรวมของประจุ

ดงั นนั้ สมการรดี อกซ์ทด่ี ลุ แล้ว เปน็ ดงั น้ี


Click to View FlipBook Version