The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม นิพนธ์ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หมวดธรรมมีอยู่มากมาย แต่เฉพาะที่แสดงในหนังสือนี้ ได้คัดเลือกและรวบรวมไว้เพียงส่วนหนึ่ง โดยถือหลักเกณฑ์ที่สำคัญคือ
1) มุ่งเอาหมวดธรรมที่มาในพระไตรปิฎกโดยตรงเป็นพื้น ส่วนที่มาในคัมภีร์อื่นพยายามจำกัดเฉพาะ
คัมภีร์สำคัญในระดับรองลงมา ที่นิยมนับถือ ใช้ศึกษาและอ้างอิงกันอยู่ทั่วไปในวงการศึกษาพระ
พุทธศาสนา
2) มุ่งเอาหมวดที่แสดงหลักธรรมโดยตรง ให้สมกับชื่อที่เรียกว่า “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เป็น
เพียงเกร็ดความรู้ หรือคำแถลงเรื่องราวอื่นๆ เว้นแต่จะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับหลักธรรมอย่างใกล้ชิด
3) คัดเอาเฉพาะหมวดธรรมที่ควรรู้หรือที่ต้องรู้ โดยฐานเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนาบ้าง เป็น
หลักที่เห็นว่าน่ารู้และมีประโยชน์มากบ้าง เป็นหลักที่ใช้หรืออ้างอิงอยู่เสมอ หรือรู้จักกันอยู่ทั่วไปบ้าง
เป็นหลักที่ท่านกำหนดให้เรียนในหลักสูตรการศึกษาพระพุทธศาสนาระบบต่างๆ ในประเทศไทยบ้าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by preecha.s, 2021-04-01 23:54:16

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม นิพนธ์ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หมวดธรรมมีอยู่มากมาย แต่เฉพาะที่แสดงในหนังสือนี้ ได้คัดเลือกและรวบรวมไว้เพียงส่วนหนึ่ง โดยถือหลักเกณฑ์ที่สำคัญคือ
1) มุ่งเอาหมวดธรรมที่มาในพระไตรปิฎกโดยตรงเป็นพื้น ส่วนที่มาในคัมภีร์อื่นพยายามจำกัดเฉพาะ
คัมภีร์สำคัญในระดับรองลงมา ที่นิยมนับถือ ใช้ศึกษาและอ้างอิงกันอยู่ทั่วไปในวงการศึกษาพระ
พุทธศาสนา
2) มุ่งเอาหมวดที่แสดงหลักธรรมโดยตรง ให้สมกับชื่อที่เรียกว่า “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เป็น
เพียงเกร็ดความรู้ หรือคำแถลงเรื่องราวอื่นๆ เว้นแต่จะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับหลักธรรมอย่างใกล้ชิด
3) คัดเอาเฉพาะหมวดธรรมที่ควรรู้หรือที่ต้องรู้ โดยฐานเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนาบ้าง เป็น
หลักที่เห็นว่าน่ารู้และมีประโยชน์มากบ้าง เป็นหลักที่ใช้หรืออ้างอิงอยู่เสมอ หรือรู้จักกันอยู่ทั่วไปบ้าง
เป็นหลักที่ท่านกำหนดให้เรียนในหลักสูตรการศึกษาพระพุทธศาสนาระบบต่างๆ ในประเทศไทยบ้าง

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

33

ประมาณ 4 158 ปหาน 5 224
ประโยชนจากโภคทรพั ย 5 232
ประสตู ิ 188 ปหานปธาน 156
ปรตั ถะ 133
ปรมปฺ ราย 317 ปหานปรญิ ญา 92
ปราโมทย 220
ปริจจาคะ 326 ปหานภาวนารามตา 203
ปริจเฉทรปู 1 40, 359
ปรญิ ญา 205, 206 ปหานวนิ ัย 243
ปริญญา 3 92
ปรญิ ไญยธรรม 206 ปหานสฺ า 331
ปริณตโภชี 250
ปริตตสุภา 351 ปคคาหะ 328
ปรติ ตาภา 351
ปริเทวะ 340 ปง สุกลู กิ ังคะ 342
ปรินพิ พาน 188
ปรินพิ พุตสถาน 188 ปจจยปริคคหญาณ 92, 345
ปริปุจฉา 339
ปรมิ ติ ปานโภชนา 138 ปจ จยาการ 12 105, 340
ปริยตั ธิ รรม 306, 332
ปริยัติศาสนา ปจจเวกขณญาณ 345
ปรยิ ัตสิ ทั ธรรม 51
ปรยิ ายทสฺสาวี 121 ปจจฺ ตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺ หู ิ 306
ปรยิ ายสทุ ธิ 219
ปริเยสนา 2 54 ปจ จัย 4 159, 202, 203
ปรวิ ัฏฏ 3 33
ปริวาร 73 ปจ จัย 24 350
ปรสิ สารชั ชภัย 75
ปรสิ ัญุตา 229 ปจจัยนิสิต 342
ปลาสะ 287
ปวิเวก 347 ปจจยั ปจจเวกขณ 243
ปวิเวกกถา 294
ปสงั สา 314 ปจจัยสนั นิสิตศลี 160
ปสนนฺ านํ ภยิ ฺโยภาวาย 296
ปสาทรูป 5 327 ปจจยั สมั ปทา 190
ปหาตัพพธรรม 40, 359
ปหานะ 206 ปจจัยใหเ กดิ สัมมาทฏิ ฐิ 2 34
ปหาน 3 205, 206
224 ปจ จุบนั 340

ปจ จบุ ันเหตุ 340

ปจ จุปปนนังสญาณ 72

ปจเจกพทุ ธเจา 142

ปจ ฉาชาตปจจยั 350

ปจ ฉิมทิศ 265

ปญจกัชฌาน 9, 356

ปญ จกนยั 9

ปญจทวาราวัชชนะ 343, 348, 356

ปญ จมฌาน 9

ปฺจมชฌฺ านกุสลจิตตฺ ํ 356

ปญจวิญญาณฐาน 343

ปฺ า 324

ปญ ญา 37, 67, 124, 183, 197, 204, 228,

237, 249, 251, 292, 301, 325, 346

ปญญา 3 93

ปญ ญากถา 314

ปญ ญาขนั ธ 218

ปญญาคุณ 217, 305

34

ปญ ญาจักขุ 217 ปาณาตปิ าตา เวรมณี 238, 240, 319

ปญ ญาปนบัญญตั ิ 28 ปาปณกิ ธรรม 3 95

ปฺาปนโต ปฺตตฺ ิ 28 ปาปณกิ ังคะ 95

ปญญาปย บญั ญตั ิ 28 ปาปมิตตะ 199

ปฺาปยตฺตา ปฺตฺติ 28 ปาปา, อารตี วิรตี 353

ปญ ญาพละ 229, 230 ปาปจ ฉา 308

ปญญาภาวนา 37 ปาพจน 2 35, 75

ปญญาวิมุต 62, 63 ปาราชิก 75

ปญญาวิมุตติ 43, 252 ปาริจรยิ านตุ ตรยิ ะ 127

ปญญาวุฒิ 179 ปารสิ ุทธิศีล 4 160, 285

ปญ ญาวฑุ ฒิธรรม 4 179, 193 ปาสาทโิ ก 322

ปญ ญาสมั ปทา 191, 229 ปาหุเนยโฺ ย 307

ปญญินทรีย 63, 349, 355 ปฏก 3 75

ปญญินทรียเจตสกิ 355 ปฏ กสมปฺ ทาเนน 317

ปฏฐาน 75 ปณ ฑปาตปฏสิ ังยตุ ต 342

ปณฑฺ ิตานฺจ เสวนา 353 ปณ ฑปาตสนั โดษ 203

ปตตปณฑิกังคะ 342 ปณ ฑปาตกิ ังคะ 342

ปต ตานุโมทนามัย 89 ปณ ฑิยาโลปโภชนะ 159

ปตติทานมยั 89 ปตติวสิ ยั 198, 351

ปพ พชติ ะ 150 ปตฆุ าต 245, 275

ปพ พชิตปธาน 32 ปย กรณ 273

ปพพชิตอภิณหปจ จเวกขณ 10 248 ปยวินาภาวตา 247
ปยรูป สาตรูป 6 × 10 266
ปพ พชั ชา 123

ปพ พัชชาจารย 211 ปย วาจา 186, 229

ปสสัทธิ 220, 281, 328 ปโย 278

ปสสฺ าส 346 ปส ณุ ํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ 320

ปากกาล 338 ปสณุ าวาจา 321

ปากทานปรยิ าย 338 ปส ุณาย วาจาย เวรมณี 319

ปาจติ ติยะ 75 ปต กสณิ 315

ปาฏบิ ุคลกิ ทาน 12 ปติ 9, 220, 281, 328, 355

ปาฏปิ ุคฺคลิกา ทกขฺ ิณา 12 ปต ิ 5 226

ปาฏิโมกข (ปาติโมกข) 75, 160, 222, 243, ปตสิ ุเขกคฺคตาสหติ ํ 356

252, 254, 322, 344 ปุคคลปโรปรัญุตา 287

ปาฏิโมกขสงั วร (ปาตโิ มกขสงั วร) 222, 243 ปุคคลปญญัตติ 75

ปาฏโิ มกขสังวรศลี (ปาติโมกขสังวรศีล) 160 ปคุ คลสปั ปายะ 286

ปาฏิหาริย 3 94 ปุคคลญั ตุ า 287

ปาณาตบิ าต 137, 321 ปคุ คลาปเทส 166

ปาณาติปาตํ ปหาย ฯเปฯ 320 ปญุ ญาภิสังขาร 129

35

ปุตตฺ ทารสฺส สงฺคโห 353 ผสั สะ 6 272
ปุตตฺ สงฺคห 353
ปถุ ุชน 345, 351 ผัสสาหาร 212
ปถุ ชุ นกบั โลกธรรม 296
ปุพพเปตพลี 232 ผฏุ สสฺ โลกธมฺเมหิ จติ ตฺ ํ น กมปฺ ติ 353
ปุพพฺ นฺตาปรนเฺ ต อฺาณํ 209
ปพุ ฺพนฺเต อฺาณํ 209 ผุสนะ 343
ปพุ เพกตปญุ ญตา 140
ปพุ เพกตวาท 101 โผฏฐัพพะ 6, 40, 266, 277
ปพุ เพกตเหตวุ าท 101
ปุพเฺ พ จ กตปุ ฺตา 353 โผฏฐพั พตณั หา 264, 266
ปพุ เพนิวาสานุสสติ 274, 297
ปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ 106, 323 โผฏฐัพพธาตุ 348
ปุรัตถิมทิศ 265
ปุริสเมธ 187 โผฏฐัพพวจิ าร 266
ปรุ สิ ตั ตะ 40
ปรุ สิ นิ ทรยี  40, 349 โผฏฐพั พวิตก 266
ปเุ รชาตปจจยั 350
ปฬุ ุวกะ 336 โผฏฐพั พสัญเจตนา 263, 266
ปชู นียสถาน, ปูชนียวตั ถุ 289
ปชู า จ ปูชนียานํ 353 โผฏฐัพพสญั ญา 266, 271
ปตู ิมตุ ตเภสชั 159
เปตตวิ ิสยั 351 พนนั 200
เปตวัตถุ 75
เปยยวชั ชะ 186, 229 พยาธิตะ 83, 84, 150
เปรต (ดู สัตตาวาส 7 ดว ย) 198, 284, 351
เปสลานํ ภกิ ขฺ นู ํ ผาสุวิหาราย 327 พยาธธิ ัมมตา 247

ผรณาปต ิ 226 พยาบาท 225, 321, 329, 347
ผรุสวาจา 321
ผรุสํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ 320 พยาบาทวติ ก 70
ผรสุ าย วาจาย เวรมณี 319
ผล พร 4, 5 227
ผล 4 7
ผลจติ 165, 310, 332 พรหม, พรหมโลก 16 284, 298, 351
ผลญาณ
ผลสมังคี 356 พรหมจรรย 241
ผัสสะ 345
57 พรหมจกั ร 180
340, 355
พรหมจารี 250, 290

พรหมปารสิ ัชชา 351

พรหมปุโรหิตา 351

พรหมโลก 103

พรหมวหิ าร 4 161, 227

พระเจาจกั รพรรดิ 142, 287, 339

พระธรรม* 100, 116

พระพุทธเจา 100, 116, 142, 287, 290, 337

พระพุทธรูป 141

พระสงฆ 100, 116, 265

พฺรหฺมจรยิ ฺจ 353

พราหมณ 173

พราหมณคฤหบดี 339

พราหมณบรษิ ัท 152

*คาํ นําหนาดวย พระ ถา ไมม ใี นที่นี้ ใหต ัดคาํ วา พระ
ออก แลว ดูในตําแหนง ของคําน้ันๆ

36

พละ 227 พุทธโอวาท 3 97
พทุ ธัตถจรยิ า 96
พละ 4 229 พุทธานุมัต 201
พทุ ธานุสติ 335
พละ 5 228, 352 พทุ ธาปเทส 166
พุทธิจริต 262
พละ 5 ของพระมหากษัตรยิ  230 พุทฺโธ 303
เพียรของคฤหัสถ, ความ 32
พลกาย 339 เพียรของบรรพชติ , ความ 32
แพศย 173
พลี 289 โพชฌงค 7 281, 352
โพธิปก ขยิ ธรรม 37 51, 352
พลี 5 232 ไพบูลย 2 44

พหกุ ารธรรม 4 140

พหุการธรรม 7 292

พหกุ ารธรรม 10 324

พหุลกรรม 338

พหสุ สฺ ุตา 231

พหุสสฺ โุ ต 322

พหูสูต 231, 251, 252, 253, 254

พหูสูตมีองค 5 231 ภควา 303

พัฒนา 37 ภคนิ ภี รยิ า 282

พาลานํ, อเสวนา จ 353 ภพ (ดู วิโมกข ดว ย) 340

พาหาพละ 230 ภพ 3 98

พาหิรายตนะ 6 277 ภยญาณ, ภยตปู ฏ ฐานญาณ 311

พาหสุ จจฺ 324 ภยาคติ 196

พาหุสัจจะ 237, 292 ภรรยา 265

พาหสุ จฺจจฺ 353 ภรรยา 7 282

พชี นิยาม 223 ภวจกั ร 105, 340

พุทธ ดู พระพทุ ธเจา ภวตัณหา 74, 204, 206, 357

พทุ ธกจิ 304 ภวโยคะ 170

พุทธคารวตา 261 ภวราคะ 288, 330

พุทธคุณ 2 304 ภวังคะ 343

พทุ ธคุณ 3 305 ภวาสวะ 135, 136

พทุ ธคุณ 9 303 ภโวฆะ 215

พทุ ธจริยา 3 96 ภังคญาณ, ภงั คานปุ สสนาญาณ 311

พทุ ธจักขุ 217 ภพั พตาธรรม 6 267

พทุ ธเจดีย 4 141 ภพพฺ รปู ตาย 317

พุทธบัญญัติ 290 ภัย 5 229

พทุ ธภาวะ 304 ภัสสปริยันตะ 222

พทุ ธรปู 141 ภสั สสปั ปายะ 286

พุทธลลี าในการสอน 4 172 ภาวนา 205, 206

พุทธวงส 75 ภาวนา 2 36

พทุ ธวจนะ 302 ภาวนา 3 99

37

ภาวนา 4 37 มนสานเุ ปกขฺ ติ า 231
ภาวนาปธาน 156
ภาวนามยปญ ญา 93 มนสกิ าร 355
ภาวนามัย 88, 89
ภาวนีโย 278 มนายตนะ 356
ภาวรปู 2 40, 359
ภาวิต 4 37 มนนิ ทรยี  349, 356
ภาวติ กาย 37
ภาวติ จติ 37 มนษุ ย 161, 181, 235, 238, 248, 284, 351
ภาวติ ปญ ญา 37
ภาวติ ศีล 37 มนษุ ยธรรม 238
ภาวิตตั ต 280
ภาเวตัพพธรรม 36, 206 มนษุ ยโลก 103
ภิกขุนีวภิ ังค 75/1ก
ภิกขวุ ิภงั ค 75/1ก มนุษยสมบตั ิ 114
ภกิ ขอุ ปรหิ านยิ ธรรม 71 290
ภกิ ขอุ ปริหานยิ ธรรม 72 291 มโน (ดู ปย รูป สาตรปู ดว ย) 276, 356
ภิกษุณบี ริษัท 151
ภิกษบุ รษิ ัท 151 มโนกรรม 66
ภตู กสิณ 4 315
ภตู รูป 38, 39, 146 มโนกรรม 3 319, 320, 321
ภูมิ 284
ภมู ิ 4 162 มโนทวาร 77, 78
ภมู ิ 4, 31 351
ภูมิประเภท (จิต) 356 มโนทวาราวชั ชนะ 343
เภสชั 159, 203
โภคะ 227 มโนทวฺ าราวชฺชนํ 356
โภคพละ 230
โภควภิ าค 4 163 มโนทุจรติ 80
โภคสุข 192
โภคอาทยิ ะ, โภคาทิยะ 5 232 มโนธาตุ 348
โภชนสัปปายะ 286
โภชเนมัตตญั ตุ า 128 มโนมยทิ ธิ 297

มงคล 259 มโนวญิ ญาณ 266, 268
มงคล 38 353
มตะ 83, 84, 150 มโนวญิ ญาณธาตุ 348
มทะ 347
มโนสังขาร 120

มโนสัญเจตนาหาร 212

มโนสมั ผัส 266, 272

มโนสัมผสั สชาเวทนา 113, 266

มโนสจุ ริต 81

มรณะ 340

มรณธมั มตา 247

มรณภัย 229

มรณสติ 335

มรรค 7, 204, 205, 241

มรรค 4 164, 310, 332

มรรคปจจัย 350

มรรคภาวนา 352

มรรคมีองค 8 293, 352

มรรคสมังคี 57

มละ 9 308

มหากิรยิ าจิต 8 356

มหากุศลจิต 8 356

มหานิทเทส 75

38

มหาปกรณ 75 มานะ 9 309
มหาปเทส 41 166
มหาปเทส 42 167 มานัส 356

มายา 308, 347

มหาพรหมา 351 มาร 5 234

มหาภูต 4 38, 39, 146 มารดาบดิ า 265

มหาภตู รูป 4 39, 359 มาลาคนธฺ ฯเปฯ วิภูสนฏานา เวรมณี 242

มหายญั 5 187 มา อนุสสฺ เวน ฯเปฯ 317

มหาราช 4 270 มคิ ปก ษี 339

มหาวรรค 75 มจิ ฉตั ตะ 10 334

มหาวิบาก 8 356 มิจฉากัมมันตะ 334

มหาวิบากจิต 8 356 มิจฉาญาณ 334

มหาวภิ งั ค 75/1ก มิจฉาทฏิ ฐิ 34, 308, 321, 334

มหาสงฆ 254, 255 มจิ ฉาวณิชชา 5 235

มกั ขะ 308, 347 มิจฉาวาจา 334

มักนอย 294 มิจฉาวายามะ 334

มัคคจิต 4 356 มจิ ฉาวมิ ุตติ 334

มัคคญาณ 345 มิจฉาสติ 334

มัคคสมังคี (ดู มรรคสมังคี) มจิ ฉาสมาธิ 334

มัคคงั คะ 293 มจิ ฉาสงั กัปปะ 334

มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ 285, 328 มจิ ฉาอาชีวะ 334

มังสจกั ขุ 217 มิตรเทียม 4 168

มงั สวณิชชา 235 มติ รแท 4 169

มัจจมุ าร 234 มิตรแนะประโยชน 169

มจั ฉรยิ ะ 308, 330, 347, 355 มติ รปฏริ ูปก 4 168

มจั ฉริยะ 5 233, 257 มิตรมนี ้ําใจ 169

มชชฺ ปานา จ สฺโม 353 มติ รรวมสุขรว มทกุ ข 169

มชั ชวณิชชา 235 มติ รสหาย 265

มัชฌมิ นิกาย 75 มติ รอุปการะ 169

มชั ฌมิ าปฏปิ ทา 15, 204, 293 มิทธะ 355

มัตตญั ุตา 287 มญุ จิตกุ มั ยตาญาณ 311

มัททวะ 326 มุทิตา 161, 355

มนั ทกมุ าร 84 มทุ ตุ า 40

มาฆบูชา 97 มุสาวาท 137, 308, 321

มาตาปต ุอปุ ฏฐาน 123 มุสาวาทํ ปหาย ฯเปฯ 320

มาตาปตอุ ุปฏ านํ 353 มุสาวาทา เวรมณี 238, 240, 319

มาตาภรยิ า 282 มลู 2 340

มาตุฆาต 245, 275 มลู เหตุแหง การบญั ญตั พิ ระวินัย 10 327

มานะ 91, 288, 318, 329, 330, 347, 355 เมตตา 67, 161, 325

39

เมตตากายกรรม 273 ราคคั คิ 130
เมตตามโนกรรม 273
เมตตาและกรณุ า 239 ราชธรรม 10 326
เมตตาวจีกรรม 273
เมถนุ สงั โยค 7 283 ราชพลี 232
โมมูหจิต 2 356
โมหะ 4, 68, 318, 355 ราชสังคหวัตถุ 4 187
โมหจรติ 262
โมหมูลจิต 2 356 รกุ ขมลู เสนาสนะ 159
โมหัคคิ 130
โมหาคติ 196 รุกขมลู กิ งั คะ 342

ยกยอ ง 256, 257 รูป, รูปะ 6, 40, 157, 216, 266, 277, 298
ยถาภตู ญาณ 285 รปู 21, 28 38
ยถาพลสนั โดษ 122 รปู 22 41
ยถาลาภสนั โดษ 122
ยถาสนั ถติกังคะ 342 รปู 28 38
ยถาสารปุ ปสนั โดษ 122
ยมก 75 รปู ขันธ 216
ยส 296
ยกั ษ 270 รูปฌาน 4 7, 8, 9, 10, 299, 313
ยามา
โยคะ 4 270, 351 รปู ตณั หา 264, 266
โยคพหุโล 170
โยนิ 4 269 รปู ธรรม 19, 345
โยนโิ สมนสิการ 171
โยนโิ สมนสกิ ารสมั ปทา รูปธาตุ 348
2, 34, 179, 193
รส, รสะ 280 รปู ประมาณ 158
รสตัณหา
รสธาตุ 6, 40, 266, 277 รูปพรหม 16 351
รสวิจาร 264, 266
รสวติ ก 348 รปู ภพ 98
รสสญั เจตนา 266
รสสญั ญา 266 รปู ราคะ 329
รตตฺ ฺู 263, 266
รตั นตรัย 266, 271 รูปรปู 18 359
ราคจรติ 322
100, 116 รปู โลก 104
262
รปู วจิ าร 266

รูปวิตก 266

รปู วิบาก 5 343

รูปสัญเจตนา 263, 266

รปู สัญญา 266, 271

รปู ปปมาณกิ า 158

รูปสสฺ กมฺมฺ ตา 40

รปู สฺส ชรตา 40

รปู สสฺ มทุ ตุ า 40

รูปสสฺ ลหตุ า 40

รูปสฺส สนฺตติ 40

รูปสฺส อนิจฺจตา 40

รปู สฺส อปุ จย 40

รปู าวจร 8

รปู าวจรกริ ิยาจติ 5 356

รูปาวจรกุสลจติ 5 356

รปู าวจรจิต 15 356

40

รปู าวจรภมู ิ 16 162, 351 โลกุตตรธรรม 20, 306
รูปาวจรวบิ ากจติ 5 356 โลกตุ ตรธรรม 9, 46 310, 332
รปู าวจรสมาธิ 99 โลกตุ ตรภมู ิ 162, 351
รปู โน ธมฺมา 19 โลกตุ ตรวบิ ากจิต 4 (20)
ฤทธ์ิ 2 42 โลภะ 356
โลภมูลจิต 8 4, 68, 318, 355, 359
ลหุตา 40 โลหติ กะ
ลกั ขณรูป 4 40, 359 โลหิตกสิณ 356
ลกั ขณปู นชิ ฌาน โลหติ ุปบาท 336
ลกั ษณะตัดสินธรรมวินัย 7 7 315
ลักษณะตัดสินธรรมวนิ ยั 8 295 245, 275
ลทั ธนิ อกพทุ ธศาสนา 3 294
ลาภ 101 วจนกฺขโม 278
ลาภมจั ฉริยะ 296
ลาภานุตตริยะ 233, 257 วจสา ปริจติ า 231
ลีลาการสอน 4 127
ลูขประมาณ 172 วจกี รรม 66
ลขู ปั ปมาณกิ า 158
เล่ือมใส 158 วจกี รรม 4 241, 319, 320, 321
โลก (เที่ยง ไมเทยี่ ง ฯลฯ) 256
โลก 31 337 วจีทวาร 77
โลก 32 102
โลก 33 103 วจีทุจริต 80
โลกธรรม 8 104
โลกธมเฺ มหิ 296 วจีบรม 168
โลกนาถ 353
โลกบาล 4 304 วจีวิญญตั ิ 40
โลกบาลธรรม 2 270
โลกวิทู 23 วจสี งั ขาร 119, 120
โลกตั ถจรยิ า 303
โลกาธปิ ไตย วจสี ุจริต 81
โลกียญาณ 96
โลกียธรรม 125 วณชิ ชา 5 235
โลกียภมู ิ 345
โลกียอภญิ ญา 20 วธกาภริยา 282
โลกตุ ตรกุศลจติ 4 (20) 162, 351
โลกุตตรจิต 8 (40) 63, 274 วรรณะ 227, 248
โลกุตตรญาณ 356
356 วรรณะ 4 173
345
วรรณกสณิ 4 315

วโย ปฺายติ 117

วสวตั ดี 270

วัชชอี ปริหานิยธรรม 7 289

วัฏฏะ 3 105, 340

วัฑฒิ หรือ วัฒิ หรือ วฒุ ิ 5 249

วัฒนมุข 6 201

วัณณะ 227, 277

วัณณมจั ริยะ 233, 257

วตฺตา จ 278

วัตถกุ าม 5

วตั ถุประสงคการบญั ญัติวินัย 10 327

วตั ถสุ มั ปทา 190

วตั รปฏิบัติ 251

41

วาจา, สภุ าสติ า จ ยา 353 วิญญาณาหาร 212

วาจาเปยยะ 187 วติ ก 9, 355

วาชเปยะ 187 วิตก 6 266

วาโยกสณิ 315 วิตกจริต 262

วาโยธาตุ 39, 146, 147, 148 วติ กกฺ วิจารปต ิสุเขกคคฺ ตาสหิตํ 356

วิกขมั ภนนโิ รธ 224 วิธปี ฏบิ ัติตอ ทุกข– สุข 4 174

วิกขัมภนปหาน 224 วิธูโร 95

วิกขายติ กะ 336 วนิ ยั 35, 75, 166, 167, 243, 294, 295

วกิ ขิตตกะ 336 วินัย 2 243

วกิ ารรูป 3, 5 40, 359 วนิ ัยปฎ ก 75

วกิ าลโภชนา เวรมณี 240 วินยานคุ ฺคหาย 327

วคิ ตปจ จัย 350 วนิ โย จ สุสิกฺขโิ ต 353

วจิ ฉทิ ทกะ 336 วินปิ าตกิ ะ 284, 312

วิจาร 9, 355 วนิ ลี กะ 336
วิบัติ 41 175
วจิ าร 6 266 วบิ ัติ 42 176

วจิ ารปต สิ ุเขกคฺคตาสหติ ํ 356

วิจกิ จิ ฉา 225, 288, 318, 329, 330, 355 วิปจิตัญู 153

วิจิกจิ ฺฉาสมฺปยตุ ฺตํ 356 วิปปยตุ ตปจ จยั 350

วิเจยยฺ เทติ 300 วปิ ริณามทกุ ขตา 79

วชิ ชมานบัญญตั ิ 28 วิปริตมนสิการ 359

วิชชา 3 106 วปิ ล ลาส, วิปลาส 4 178

วิชชา 8 297 วิปล ลาสนิมติ 107

วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน 303 วิปสสนา 7, 47, 346

วชิ ชาภาคิยธรรม 36 วปิ สสนาญาณ 9 285, 297, 311, 345

วิชชามาเนนวิชชมานบญั ญตั ิ 28 วปิ ส สนาญาณ 10 311

วชิ ชามาเนนอวชิ ชมานบญั ญตั ิ 28 วิปสสนาธรุ ะ 26

วญิ ญัติรูป 2 40, 359 วปิ สสนาภาวนา 36

วิญญาณ 340, 356 วิปส สนายานกิ 61

วิญญาณ 6 266, 268 วิปส สนูปกเิ ลส 10 285, 328

วญิ ญาณกสิณ 315 วิปากจิต 36 (52) 356

วญิ ญาณกจิ 14 343 วปิ ากจิตตฺ ํ 356

วญิ ญาณขนั ธ 216, 356 วิปากปจ จัย 350

วญิ ญาณฐติ ิ 7 284 วิปากวัฏฏ 105

วญิ ญาณธาตุ 148, 149 วิปากสทั ธา 181

วญิ ญาณปวตั ต,ิ วิญญาณปวัตติอาการ 343 วปิ ุพพกะ 336

วญิ ญาณญั จายตนะ 207, 284, 298, 312 วิภวตัณหา 74, 204, 357

วิฺ าณจฺ ายตนกุสลจติ ตฺ ํ 356 วภิ ังค (วินัย) 75

วญิ ญาณญั จายตนภมู ิ 351 วภิ ังค (อภธิ รรม) 75

42

วมิ ังสา 213 วิสุทธคิ ณุ 305
วมิ านวตั ถุ 75/2
วิมตุ ตานุตตริยะ 126 วิสทุ ธเิ ทพ 82
วิมตุ ติ 227, 252
วิมุตติ 2 43 วิหิงสาวิตก 70
วิมตุ ติ 5 224, 236
วมิ ุตติกถา 314 วฑุ ฒิธรรม 4 179, 193
วมิ ตุ ติขันธ 218
วิมตุ ติญาณทัสสนกถา 314 วุฑฒิธรรม, วุฑฒิธรรม 5 249
วิมุตตญิ าณทัสสนขนั ธ 218
วิมุตโฺ ต 322 วุฒมิ ขุ 201
วโิ มกข 3 107
วิโมกข 8 298 วุตตฺ ํ เหตํ ภควตา 302
วริ ชํ 353
วริ ตเี จตสกิ 3 355 เวทนา 340, 355
วริ ตั ิ 3 108
วิราคะ 294, 295 เวทนา 2 110
วริ าคะ 5 224
วิราคสฺ า 331 เวทนา 3 111
วิริยะ 213, 228, 281, 325, 355
วริ ิยนิสิต 342 เวทนา 5 112
วิรยิ ปฏสิ งั ยตุ ต 342
วริ ิยพละ 229 เวทนา 6 113, 266, 358
วิริยสังวร 243
วิรยิ ารมฺภ 324 เวทนา 108 358
วิรยิ ารัมภะ 2, 237, 294, 301
วิรยิ ารมั ภกถา 314 เวทนาขันธ 216
วริ ิยนิ ทรยี  349
วิรูปก ษ 270 เวทนาเจตสกิ 5 359
วริ ูฬหก 270
วเิ วก 3 109 เวทนานุปสสนา, เวทนานุปส สนาสติปฏ ฐาน 182, 346
วเิ วก 5 224
วสิ มโลภสสฺ ปหานํ 339 เวทนานุปส สนาจตุกกะ 346
วิสวณชิ ชา 235
วิสังโยค 294 เวทลลฺ ํ 302
วสิ ยั รูป 4, 5 40, 359
วิสทุ ธิ เวทพหุโล 269
วสิ ทุ ธิ 7 92
285 เวปลุ ละ 2 44

เวปุลลธรรม 6 269

เวยยฺ ากรณํ 302

เวยยาวัจจมัย 89

เววณณฺ ยิ 248

เวสสวณั 270

เวสารัชชะ 4 180

เวสารัชชกรณธรรม 5 237

เวสารชั ชญาณ 4 180

เวหัปผลา 351

โวฏฐพั พนะ, โวฏฐปนะ 343, 356

โวสสัคคะ 5 224

ศรัทธา 183, 237, 249, 259, 292, 301

ศรัทธา 4 181

ศรัทธาไทย 255, 256, 257

ศาสนา 2 51

ศษิ ย 265

ศลี (ดู สลี วา ดวย) 37, 124, 183, 194, 201, 204,

43

227, 237, 249, 252, 253, 254, 259, 292, 324, สมติงสบารมี 325
สมถะ 346
325, 326, 346 สมถภาวนา 36
สมถยานิก 61, 63
ศลี 5 238 สมนนั ตรปจจยั 350
สมบตั ิ 31 114
ศีล 8 240 สมบตั ิ 32 115
สมบตั ิ 4 177
ศีล 8 ท้งั อาชวี ะ 241 สมบตั ขิ องอุบาสก 5 259
สมบัตขิ องอบุ าสก 7 260
ศลี 10 242 สมปญ ญา 183
สมมตกิ ถา 18
ศลี วิบตั ิ 175 สมมตเิ ทพ 82
สมมตเิ ทสนา 18
ศทู ร 173 สมมติสจั จะ 50
สมสัทธา 183
สกทาคามิผล 165 สมสลี า 183
สมันตจักขุ 217
สกทาคามผิ ลจิตตฺ ํ 356 สมาทปนา 172
สมาทานวริ ัติ 108
สกทาคามิมรรค 164 สมาธิ (ดู พละ 5 ดวย) 37, 124, 204, 220,
258, 281, 346
สกทาคามิมคฺคจิตตฺ ํ 356 สมาธิ 2 45
สมาธิ 31 46
สกทาคามี 56, 57, 351 สมาธิ 32 47
สมาธกิ ถา 314
สกทาคามี 3, 5 59 สมาธิขันธ 218
สมาธินทรยี  63, 349
สขภี รยิ า 282 สมาธิภาวนา 4 184
สมานสุขทกุ ข 169
สงเคราะห 273 สมานตั ตตา 186, 229
สมาบัติ 8 299
สจิตตฺ ปริโยทปนํ 97 สมุจเฉทนิโรธ 224
สมุจเฉทปหาน 224
สติ 3, 25, 228, 281, 301, 324, 355 สมุจเฉทวริ ตั ิ 108
สมุตเตชนา 172
สตินทรีย 349 สมุทยวาร 340
สมทุ ัย 204, 205
สตปิ ฏฐาน 346

สติปฏ ฐาน 4 182, 352

สตสิ งั วร 243

สติสมั ปชัญญะ 184, 239

สทารสนั โดษ 239

สนธิ 3 340

สนิทานธัมมเทสนา 134

สปทานจาริกังคะ 342

สพรหมจารี 290

สมจาคา 183

สมชีวติ า 144

สมชีวิธรรม 4 183

สมณบริษัท 152

สมณพราหมณ 265, 339

สมณพราหมณปริปุจฉา 339

สมณานฺจ ทสสฺ นํ 353

สมโณ โน ครูติ 317

สมดึงสบารมี 325

44

สยมั ภญู าณ 204 สงั คหพละ 229
สรณะ 3 100, 116
สรรพเมธะ สังคหวัตถุ 4 186
สวนะ 187
สรรี ะ 343 สังคหวัตถุของผคู รองแผนดิน 4 187
สวนานตุ ตริยะ 337
สวรรค 6 127 สงฺคโห, าตกานจฺ 353
สวรรคสมบตั ิ 270
สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม 114 สงคฺ โห, ปุตตฺ ทารสสฺ 353
สฺวาคตปาฏโิ มกโฺ ข 306
สสงั ขารปรนิ พิ พายี 322 สงฆฺ คตา ทกขฺ ณิ า 12
สหชาตปจ จัย 60
สเหตกุ กามาวจรกริ ยิ าจติ 8 350 สงั ฆคารวตา 261
สเหตุกกามาวจรกศุ ลจิต 8 356
สเหตุกกามาวจรวิบากจติ 8 356 สงั ฆคุณ 9 307
สฬายตนะ 356
สอปุ าทิเสสนิพพาน 276, 340 สังฆทาน 12
สอุปาทเิ สสบุคคล 27
สักกะ 27 สังฆบดิ ร 290
สกั กายทฏิ ฐิ 270
สคั คกถา 329 สงั ฆปริณายก 290
สังกิเลส 246
สงั ขตธรรม 33 สงฺฆผาสตุ าย 327
สงั ขตลกั ษณะ 3 21
สงั ขตสงั ขาร 117 สงั ฆเภท 245, 275
สงขฺ าเยกํ ฯเปฯ 185
สังขาร 2 202 สงฆฺ สุฏุตาย 327
สังขาร 31 48
สงั ขาร 32 119 สงั ฆานสุ ติ 335
สงั ขาร 4 120
สังขารขันธ 185 สงั ฆาปเทส 166
สังขารทกุ ขตา 216
สงั ขารโลก 79 สังยุตตนกิ าย 75
สังขารุเปกขาญาณ 102
สงั เขป 4 311 สังโยชน 7 288
สังคณี 340 สงั โยชน 101 164, 329
สงั คหะ 2 75/3 สังโยชน 102
สังคหะ 4 49 330
340
สังวร 5 243

สังวรปธาน 156

สงั วรวนิ ยั 5 243

สงั วรศลี 243

สังเวชนยี สถาน 4 188

สงั สารจกั ร 105

สงั เสทชะ 171

สัจจะ 139, 197, 239, 325

สจั จะ 2 50

สจั จญาณ 73

สจั จานโุ ลมิกญาณ 311

สัจฉกิ าตพั พธรรม 206

สัจฉกิ ริ ยิ า 205, 206

สญั เจตนา 6 263, 266

สัญเจตนากาย 263

สัญญมะ 123

สัญญา 284, 312, 355

สญั ญา 6 266, 271

45

สัญญา 10 331 สันติ 197
สัญญาขันธ 216 สนั ติบท 352
สญั ญาวิปลาส 178 สนั ตรี ณะ, สันตีรณจติ 343, 356
สัญญาเวทยิตนโิ รธ 119, 298, 313 สนั ตฏุ ฐกิ ถา 314
สตั ตวณชิ ชา 235 สนตฺ ุฏี 324
สตั ตกั ขัตตุงปรมะ 58 สนฺตฏุ  ี จ 353
สัตตาวาส 9 312 สนั ตุฏฐี 2, 294, 353
สัตถวณิชชา 235 สนฺตฏุ โ 322
สตฺถา เทวมนุสสฺ านํ 303 สันทัสสนา 172
สัตถุคารวตา 261 สนทฺ ิฏโิ ก 306
สัตถสุ าสน 166, 294, 295 สัปปาฏิหาริยธัมมเทสนา 134
สัตว 337 สปั ปายะ 7 286
สัตวโลก 102 สปั ปายการี 250
สัททะ 6, 40, 266, 277 สัปปายสมั ปชัญญะ 189
สัททตัณหา 264, 266 สปั ปายมตั ตญั ู 250
สทั ทธาตุ 348 สปปฺ ุรสิ กมฺมนโฺ ต 301
สัททบญั ญัติ 28 สปปฺ ุรสิ จินฺตี 301
สทั ทวิจาร 266 สปั ปรุ ิสทาน 8 300
สทั ทวติ ก 266 สปปฺ รุ ิสทานํ เทติ 301
สทั ทสัญเจตนา 263, 266 สปฺปุริสทฏิ ี 301
สัททสัญญา 266, 271 สปั ปุริสธรรม 71 287
สัทธรรม 1, 2, 34, 352 สปั ปุรสิ ธรรม 72 301
สัทธรรม 3 121 สปั ปุริสธรรม 8 301
สัทธรรม 7 301, 344 สปั ปรุ ิสธรรม 10 320
สัทธรรม 10 332 สปปฺ รุ สิ ธมมฺ สมนนฺ าคโต 301
สทฺธมฺมสมนนฺ าคโต 301 สัปปุรสิ บญั ญัติ 3 123
สทั ธมั มสวนะ 179, 193 สปปฺ ุรสิ ภตฺตี 301
สทธฺ มมฺ ฏ ิตยิ า 327 สปปฺ รุ สิ มนฺตี 301
สัทธา (ดู ศรัทธา ดว ย) 228, 355 สปปฺ ุริสวาโจ 301
สัทธาจรติ 262 สปั ปุรสิ สังเสวะ 179, 193
สทั ธานุสารี 63 สัปปุริสปู สสยะ 140
สทั ธาวิมุต 63 สพั พจิตตสาธารณเจตสิก 7 355
สทั ธาสัมปทา 191, 229 สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ 97
สทั ธนิ ทรยี  63, 349 สพฺพโลเก อนภิรตสฺา 331
สนั ดสุ ิต 270 สพพฺ สงขฺ าเรสุ อนิฏสฺ า 331
สันโดษ (ดู สนั ตฏุ ฐี ดวย) 65, 294 สัพพญั ตุ าญาณ 217
สนั โดษ 3, 12 122 สพั พตั ถคามินีปฏทิ าญาณ 323
สันตติ 40 สัพพากุสลสาธารณเจตสิก 4 355

46

สพเฺ พ สงขฺ ารา ฯเปฯ 86 สมั มาสมั พุทธปฏิญญา 180

สัมปชญั ญะ 2, 25, 182 สมฺมาสมฺพุทโฺ ธ 303

สมั ปชญั ญะ 4 189 สมั มาอาชวี ะ 239, 293, 241, 333, 355

สัมปฏจิ ฉนะ, สมั ปฏจิ ฉันนะ, สัมปฏิจฉนั นจิต 343, สัสสตทฏิ ฐิ 13

348, 356 สัสสเมธ 187

สมั ปทา 4 190 สาตถกสัมปชัญญะ 189

สมั ปทาของอุบาสก 260 สาเถยยะ 308, 347

สมั ปทาคณุ 4 190 สาธารณโภคี 273

สมั ปยุตตปจ จยั 350 สามเณร, สามเณรี 242

สัมปรายิกตั ถะ 3, 132 สามัคคีธรรม 289

สมั ปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 191 สามัญญผล 4 165

สมฺปรายิกานํ อาสวานํ ปฏฆิ าตาย 327 สามญั ลักษณะ, สามญั ลกั ษณ 3 76, 86

สัมปหังสนา 172 สามิสสขุ 53

สัมปต ตวิรตั ิ 108 สามี 265

สัมผปั ปลาปะ 321 สามีจปิ ฏปิ นโฺ น 307

สมผฺ ปปฺ ลาป ปหาย ฯเปฯ 320 สามุกกังสิกาธรรมเทศนา 204

สมฺผปฺปลาปา เวรมณี 319 สายนะ 343

สมั ผัส 6 268, 272 สาระ 4 218

สมั พหลุ เถราปเทส, สมั พหุลัตเถราปเทส 166 สารณียธรรม 6 273

สัมโพธะ 295 สารัมภะ 347

สมั มสนญาณ 311, 345 สาราณียธรรม 6 273

สมั มัตตะ 10 333 สาวก 142

สมั มปั ปธาน 4 156, 352 สาสน 2 51

สมั มากัมมันตะ 241, 293, 333, 355 สิกขฺ ติ 346

สมั มาญาณ 333 สกิ ขา 3 124

สมั มาทสั สนะ 222, 285 สิกขาคารวตา 261

สมั มาทิฏฐิ 2, 34, 293, 319, 333 สกิ ขานุตตรยิ ะ 127

สมมฺ าทิฏิ 319 สกิ ขาบท 290

สมมฺ าทิฏ ิโก 320 สิกขาบท 5 238

สมั มาปฏิปทา 51 สกิ ฺขาปทํ สมาทิยามิ 240

สัมมาปาสะ 187 สิงคาลกมาณพ 200

สัมมาวาจา 293, 241, 333, 355 สิปปฺ จฺ 353

สัมมาวายามะ 293, 333 สีล (ดู ศีล ดว ย) 324

สัมมาวิมุตติ 333 สลี กถา 246, 314

สัมมาสติ 293, 333 สีลขนั ธ 218

สมั มาสมาธิ 293, 333 สลี ภาวนา 37

สมั มาสงั กปั ปะ 293, 333 สีลมยั 88, 89

สัมมาสัมพุทธเจดีย 4 141 สลี วา (ดู ศีล ดว ย) 250, 322

47

สีลวิสทุ ธิ 285 สุทธาวาส 5 244, 351

สลี สงั วร 243 สุทธิ 2 54

สลี สมั ปทา 2, 191, 229, 280, 344 สปุ ฏิปนฺโน 307

สีลสามญั ญตา 273 สภุ กิณหา 284, 312, 351

สลี พั พตปรามาส 329, 330 สุภรตา 294

สีลพั พตปุ าทาน 214 สุภาสิตา จ ยา วาจา 353

สลี านุสติ 335 สรุ า 200

สีสงั คะ 342 สุราธตุ ตะ 199

สหี นาท 180 สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏ านา เวรมณี 238, 240

สุกขวิปส สก 61, 62 สสุ ุกาภยั 210

สขุ , สุขะ 9, 174, 220, 227, 296, 328 สหุ ทมติ ร 4 169
สขุ 21 52
สขุ 22 53 สูตร 166

เสขะ 1, 2, 55

สขุ ของคฤหัสถ 4 192 เสขปฏปิ ทา 344

สุขเวทนา (ดู เวทนา ดว ย) 111 เสตฆุ าตวิรตั ิ 108

สขุ สหคตํ 356 เสนาสนะ 159

สุขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิ ฺ า 154 เสนาสนปฏิสังยุตต 342

สขุ า ปฏปิ ทา ทนธฺ าภิฺ า 154 เสนาสนสัปปายะ 286

สุขินทรยี  112, 349 เสนาสนสันโดษ 203

สเุ ขกคคฺ ตาสหิตํ 356 เสนาสนะปา 290

สุคติ 351 เสรีธรรม 352

สุคโต 303 เสวนา, ปณฑฺ ติ านฺจ 353

สจุ รติ 81 เสยี ง (ดู สทั ทะ)

สุจึ เทติ 300 โสก 1, 340

สุญญตะ 7 โสไจย 10 320

สญุ ญตวโิ มกข 107 โสดาบนั 56, 57, 275, 351

สุญญตสมาธิ 47 โสดาบัน 3 58

สตุ ะ 201, 249, 302 โสดาปตตผิ ล 165

สตุ ํ ปริโยทเปติ 221 โสดาปต ติมรรค 164

สุตฺตํ 302 โสตะ 40, 266, 276

สุตตนิบาต 75 โสตทวาร 78

สตุ ตวภิ ังค 75 โสตธาตุ 348

สตุ ตนั ตนัย 329 โสตวญิ ญาณ 266, 268, 356

สุตตนั ตปฎก 75 โสตวญิ ญาณธาตุ 348

สุตมยปญญา 93 โสตสมั ผัส 266, 272

สุทสั สา 351 โสตสมั ผสั สชาเวทนา 113, 266

สุทัสสี 351 โสตาปตฺติผลจิตตฺ ํ 356

สุทธวิปส สนายานิก 61 โสตาปตตฺ ิมคคฺ จิตตฺ ํ 356

48

โสตาปตติยังคะ 41 193 อกุศลจติ ตปุ บาท 12 85
โสตาปตตยิ ังคะ 42 194
โสตาปต ตยิ งั คะ 43 195 อกศุ ลเจตสกิ 14 355
โสตินทรีย 349
โสภณจติ 59 (92) 356 อกุศลธรรม 85
โสภณเจตสิก 25 355
โสภณสาธารณเจตสิก 19 355 อกุศลมูล 3 4, 68
โสมนสั 112, 358
โสมนสฺสสหคตํ 356 อกุศลวิตก 3 70
โสมนัสสนิ ทรยี  349
โสรจั จะ อกศุ ลวิบากจิต 7 356
โสวจสสฺ ตา 24
โสสานิกงั คะ 324, 353 อคติ 4 196
โสฬสญาณ
โสฬสวตั ถุกอานาปานสติ 342 องค 12 (ปฏจิ จสมปุ บาท) 340
345
346 องคคณุ ของกลั ยาณมิตร 7 278

องคประกอบของการศกึ ษา 34

องคป ระกอบภายนอก 1

องคประกอบภายใน 2

องคมรรค 293

องคแหงธรรมกถกึ 5 219

องคแหง ภกิ ษใุ หม 5 222

อดเิ รกลาภ 159

หตวิกขติ ตกะ 336 อดตี 340

หทัย 356 อดีตเหตุ 340

หทัยรปู 1 40, 359 อตัปปา 351

หทยั วตั ถุ 40 อตชิ าตบุตร 90

หลกั การแบงทรัพย 4 สว น 163 อติถิพลี 232

หลกั กําหนดธรรมวินัย 7 295 อติมานะ 347

หลักกาํ หนดธรรมวนิ ัย 8 294 อตตี ังสญาณ 72

หสิตุปปฺ าทจิตตฺ ํ 356 อทนิ นาทาน 137, 321

หิริ 23, 292, 301, 355 อทินนฺ าทานํ ปหาย ฯเปฯ 320

เหฏฐมิ ทิศ 265 อทนิ นฺ าทานา เวรมณี 238, 240, 319

เหตปุ จจัย 350 อทกุ ขมสขุ เวทนา (ดู เวทนา ดวย) 111

อโทสะ 4, 67, 355

อกนฏิ ฐา 351 อธนานํ ธนานุปปฺ ทานํ 339
อกรณียวณชิ ชา 5 235
อกปั ปยะ 167 อธมมฺ การปฏกิ ฺเขโป 339
อกาลิโก 306
อกริ ิยทฏิ ฐิ 14 อธมมฺ ราคสฺส ปหานํ 339
อกริ ิยา 101
อกุศล 1, 2, 317 อธรรมการนเิ สธนา 339
อกุศลกรรม
อกุศลกรรมบถ 10 4 อธกิ รณสมุปฺปาทวูปสมกสุ โล 322
อกุศลจติ 12 321
356 อธิคมสทั ธรรม 121

อธิจติ ตสกิ ขา 124

อธิปติปจ จัย 350

อธปิ ไตย 3 125

อธปิ จ จสลี วนั ตสถาปนา (ดู อาธปิ จ จสลี วนั ตสถาปนา)

49

อธิปญญาสิกขา 124 อนิฏฐารมณ 296
อนมิ ติ ตะ 7
อธโิ มกข 328, 355 อนมิ ติ ตวโิ มกข
อนมิ ิตตสมาธิ 107
อธิศีล 124, 255, 260 อนุกมั ปกะ 47
อนุชาตบุตร 169
อธษิ ฐาน 325 อนุตตฺ รํ ปุฺ กฺเขตตฺ ํ โลกสสฺ 90
อนตุ ตริยะ 3 307
อธิษฐาน 4 197 อนตุ ตริยะ 6 126
อนุตฺตโร ปรุ สิ ทมมฺ สารถิ 127
อธษิ ฐานธรรม 4 197 อนุทยตํ ปฏจิ จฺ 303
อนบุ ุพพนิโรธ 219
อธสิ ลี สิกขา 124 อนุบพุ พวิหาร 9 313
อนปุ ปย ภาณี 313
อนณสุข 192 อนุปาทนิ นกรูป 168
อนุปาทินนกสังขาร 41
อนภชิ ฌฺ า 319 อนุปาทินนธรรม 48
อนุปาทิเสสนิพพาน 22
อนภิชฺฌาลุ 320 อนปุ าทิเสสบคุ คล 27
อนปุ ุพฺพิกถํ 27
อนรยิ ปริเยสนา 33 อนุปพุ พิกถา 5 219
อนยุ นต 246
อนวัชชพละ 229 อนรุ ักขนาปธาน 339
อนโุ ลมญาณ 156
อนวัชชสขุ 192 อนุโลมเทศนา 311, 345
อนโุ ลมปฏจิ จสมปุ บาท 340
อนวชฺชานิ กมฺมานิ 353 อนโุ ลมปฏปิ ทา 340
อนสุ ติ 10 51
อนญั ญตัญญสั สามตี ินทรีย 349 อนุสสตานุตตริยะ 335, 354
อนสุ ฺสเวน 127
อนตั ตตา 76, 107 อนสุ ยั 7 317
อนสุ าวรีย 288
อนตั ตลักษณะ 47 อนุสาสนีปาฏหิ ารยิ  289
อเนสนา 94
อนตตฺ สฺ า 331 อโนตตัปปะ 203
อบาย 4 318, 355
อนตตฺ า 86 อบายภมู ิ 4 198, 351
อบายมขุ 4 198, 351
อนัตตานปุ สสนา 107 199

อนนั ตรปจจัย 350

อนันตรกิ กรรม, อนันตริยกรรม 5 245, 275

อนากุลา จ กมมฺ นฺตา 353

อนาคต 340

อนาคตผล 340

อนาคตงั สญาณ 72

อนาคามิผล 165

อนาคามผิ ลจิตตฺ ํ 356

อนาคามิมคคฺ จิตฺตํ 356

อนาคามิมรรค 164

อนาคามี 56, 57

อนาคามี 5 60

อนกิ ขฺ ิตฺตธุโร 269

อนจิ จตา 40, 76, 107

อนจิ จลกั ษณะ 47

อนิจฺจสฺ า 331

อนิจจฺ า 86

อนจิ จานปุ สสนา 107

50

อบายมขุ 6 200, 201 อภสิ งั ขรณกสังขาร 185
อปจยะ 294 อภิสงั ขาร 3 129
อปจายนมัย 89 อภิสงั ขารมาร 234
อปทาน 75 อภิสัมพทุ ธสถาน 188
อปรนเฺ ต อฺาณํ 209 อมตบท 352
อปราปริยเวทนียกรรม 338 อมัจจพละ 230
อปรยิ าปน นภูมิ 162 อโมหะ 4, 67, 355
อปริหานยิ ธรรม 71 289 อยส 296
อปรหิ านยิ ธรรม 72 290 อโยนิโสมนสิการ
อปริหานิยธรรม 73 291 อรรถ 31 34
อปณณกปฏิปทา 3 อรรถ 32 132
อปส เสนะ, อปสเสนธรรม 4 128, 344 อรรถบัญญตั ิ 133
อปายโกศล 202 อรหํ
อปายสหาย 71 อรหัตตผล 28
อปญุ ญาภิสงั ขาร 168 อรหตฺตผลจติ ตฺ ํ 303
อปปฺ ฏวิ าณิตา ปธานสมฺ ึ 129 อรหตั ตผลวมิ ุตติ 63, 165, 227
อพยาบาทวิตก 65 อรหตั ตมรรค 356
อพยาบาทสังกปั ป 69 อรหตตฺ มคคฺ จติ ฺตํ 333
อพฺยาปนนฺ จติ ฺโต 293 อรหันต 164
อพยฺ าปาท 320 อรหนั ต 2 356
อพฺรหฺมจริยา เวรมณี 319 อรหนั ต 4, 5, 60 37, 56, 57, 289
อภัพพฐาน 240 อรหันตฆาต 61
อภิชาตบุตร 275 อรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา 62
อภิชฌา 90 อริยะ 245, 275
อภชิ ฌาวสิ มโลภะ 321 อริยกันตศีล 287
อภิชจั จพลัง 347 อริยทรพั ย 7 351
อภญิ ญา 230 อรยิ ธรรม 10 194
อภิญญา 6 295 อริยบคุ คล 2 292
อภญิ ญาเทสติ ธรรม 37 274 อริยบคุ คล 4 320
อภิญญายธัมมเทสนา 352 อริยบคุ คล 7 55
อภฐิ าน 6 134 อรยิ บคุ คล 8 56
อภิณหปจ จเวกขณ 275 อริยปริเยสนา 63
อภิณหปจ จเวกขณ 10 247 อริยมรรค 10 57, 345
อภิณฺหํ เทติ 248 อริยวงศ 4 33
อภิธรรม 300 อริยวฑั ฒิ 5 320
อภธิ รรมนัย 75 อรยิ สจั จ 203
อภิธรรมปฎ ก 330 อริยสจั จ 4 249
อภสิ ังขตสงั ขาร 75 อริยสจจฺ าน ทสฺสนํ 205
185 204, 208, 209, 246
353

51

อริยสาวกกบั โลกธรรม 296 อสงั ขารปรนิ พิ พายี 60
อสงขฺ ารกิ ํ 356
อริยอฏั ฐงั คกิ มรรค 1, 2, 204, 241, 293 อสังสัคคกถา 314
อสัญญภี พ, อสญั ญสี ัตว 312, 351
อรูป 4 207, 354 อสนตฺ ุฏ ิตา กุสเลสุ ธมฺเมสุ 65
อสนฺตุฏ ิพหโุ ล 269
อรปู ฌาน 4 7, 10, 63, 207, 299, 313 อสัมภนิ นงั คะ 342
อสัมโมหสัมปชญั ญะ 189
อรปู ธรรม 19 อสโิ ลกภัย 229
อสภุ ะ 10 336, 354
อรปู ภพ 98 อสภุ สฺ า 331
อสุรกาย 198, 351
อรูปราคะ 329 อเสขะ 55
อเสขธรรม 10 333
อรูปโลก 104 อเสวนา จ พาลานํ 353
อโสกํ 353
อรูปวิบาก 4 343 อหิงสา 123
อหิรกิ ะ 318, 355
อรปู าวจร 8 อเหตุกกริ ิยาจติ 3 356
อเหตกุ จติ 18 356
อรูปาวจรกิริยาจิต 4 356 อเหตุกทฏิ ฐิ 14
อเหตวุ าท 101
อรปู าวจรกศุ ลจิต 4 356 อเหตอุ ปจ จยั วาท 101
อโหสิกรรม 338
อรูปาวจรจิต 12 356 อกั โกธะ 326
อักขธุตตะ 199
อรปู าวจรภูมิ 4 162, 351 อคั คิ 31 130
อคั คิ 32 131
อรปู าวจรวิบากจิต 4 356 อัคคิปาริจริยา 3 131
อังคุตตรนิกาย 75
อรูปโ น ธมฺมา 19 อัชฌตั ติกายตนะ 6 266, 276
อฺชลิกรณีโย 307
อลาภ 296 อัญญถตั ตะ 117, 118
อญั ญทตั ถหุ ร 168
อลีนตา 201 อญั ญมัญญปจ จัย 350
อญั ญสมานาเจตสกิ 13 355
อโลภะ 4, 67, 355 อญั ญสัตถารทุ เทส, อญั ญสัตถุทเทส 275
อัญญาตาวนิ ทรีย 349
อวชาตบตุ ร 90

อวคิ ตปจจัย 350

อวชิ ชมานบญั ญัติ 28

อวชิ ชา 206, 288, 329, 330, 340

อวิชชา 4 208

อวชิ ชา 8 209

อวชิ ชมาเนนวชิ ชมานบัญญตั ิ 28

อวิชชามาเนนอวชิ ชมานบญั ญัติ 28

อวิชชาโยคะ 170

อวชิ ชาสวะ 135, 136

อวิชโชฆะ 215

อวิโรธนะ 326

อวิหา 351

อวหิ ิงสา 326

อวิหงิ สาวติ ก 69

อวิหิงสาสังกปั ป 293

อสงั ขตธรรม 21

อสังขตธาตุ 1 310

อสังขตลกั ษณะ 3 118

52

อญั ญินทรยี  349 อปฺปฏวิ าณิตา ปธานสมฺ ึ 65

อัฏฐศลี 240 อัปปฏิวภิ ัตตโภคี 273

อัฏฐังคกิ มรรค 293 อัปปณหิ ติ ะ 7

อฏั ฐิกะ 336 อปั ปณหิ ติ วิโมกข 107

อัณฑชะ 171 อัปปณหิ ิตสมาธิ 47

อตั ตกลิ มถานโุ ยค 15, 293 อัปปนาภาวนา 99

อตั ตนาถะ 304 อัปปนาสมาธิ 45, 46

อัตตวาทปุ าทาน 214 อัปปมญั ญา 4 161, 227, 354

อตั ตสัมปทา 2, 280 อัปปมัญญาเจตสิก 2 355

อัตตสมั มาปณิธิ 140 อปั ปมาณสุภา 351

อตฺตสมฺมาปณธิ ิ 353 อัปปาณาภา 351

อตั ตหติ สมบัติ 304 อปั ปมาทะ 2, 3, 239

อัตตญั ุตา 287 อปั ปมาทคารวตา 261

อัตตัตถะ 133 อปั ปมาทสัมปทา 2, 280

อตั ตา 337 อปปฺ มาโท จ ธมเฺ มสุ 353

อัตตาธิปไตย 125 อปฺปสนนฺ านํ ปสาทาย 327

อตฺตานจฺ ปรฺจ อนปุ หจจฺ 219 อปั ปจฉกถา 314

อัตตาภนิ ิเวส 107 อปั ปจฉตา 2, 294

อัตถะ 144, 191 อพภฺ ูตธมฺมํ 302

อัตถะ 2 64 อัพโภกาสิกังคะ 342
อตั ถะ 31 132
อัตถะ 32 133 อพั ยากตธรรม 85

อยั ยาภริยา 282

อัตถจริยา 186, 229 อัสสเมธะ 187

อตั ถทวาร 201 อสฺสาส 346

อตั ถปฏสิ ัมภทิ า 155 อสสฺ ตุ ํ สณุ าติ 221

อัตถประมขุ 201 อากัปกริ ยิ า 251

อตั ถักขายี 169 อาการ 12 73

อตั ถญั ตุ า 287 อาการ 20 340

อตั ถปิ จจัย 350 อาการ 32 147

อตั ถสิ ขุ 192 อาการท่พี ระพุทธเจา ทรงสั่งสอน 3 134

อทั ธา 3 340 อาการปริวติ กเฺ กน 317

อนั ตคาหิกทิฏฐิ 10 337 อากาสกสณิ 315

อันตราปรินิพพายี 60 อากาสธาตุ 40, 148, 149

อันตรายของภกิ ษุสามเณรผูบวชใหม 4 210 อากาสานญั จายตนะ 207, 284, 298, 312

อันตรายิกธรรมวาทะ 180 อากาสานฺจายตนกุสลจิตฺตํ 356

อนั ตา 2 15 อากาสานญั จายตนภูมิ 351

อันโตชน 339 อากิญจัญญายตนะ 207, 284, 298, 312

อันวตั ถปฏปิ ทา 51 อากิจฺ ฺ ายตนกสุ ลจิตฺตํ 356

53

อากิญจัญญายตนภูมิ 351 อายตนะ 12 341

อาจารย 265 อายตนะภายนอก 6 266, 277, 341

อาจารย 4, 5 211 อายตนะภายใน 6 266, 276, 341

อาจารวิบัติ 175 อายมขุ 201

อาจณิ ณกรรม 338 อายุ 227

อาชชวะ 326 อายุวัฒนธรรม 5 250

อาชีวะ 241 อายสุ สธรรม 5 250

อาชวี ปาริสทุ ธิ 243 อารตี วริ ตี ปาปา 353

อาชวี ปาริสทุ ธศิ ีล 160 อารมณ 6 277

อาชีววิบัติ 175 อารมณ 150 359

อาชวี ฏั ฐมกศีล 241 อารยธรรม 10 320

อาชวี ิตภัย 229 อารยวัฒิ 5 249

อาณาจกั ร 287 อารยอษั ฎางคกิ มรรค (ดู อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค

อาตมนั 337 ดว ย) 1, 2

อาทิกัมมิกะ 75/1ก อารักขสมั ปทา 144

อาทิพรหมจรรย 241 อารักขา 289

อาทีนวญาณ, อาทีนวานปุ ส สนาญาณ 311 อารญั ญิกงั คะ 342

อาทนี วสฺา 331 อารมั มณปจ จยั 350

อาเทศนาปาฏหิ ารยิ  94 อารัมมณปู นชิ ฌาน 7

อาธิปจจะ 227 อารุปป 4 8, 207

อาธปิ จจสลี วนั ตสถาปนา 138 อาโรคยะ 201

อานาปานสติ 182, 331, 335 อาโลกกสณิ 315

อานาปานสติ 16 ฐาน 346 อาโลกพหโุ ล 269

อาเนญชาภสิ งั ขาร 129 อาวฏภัย 210

อาโปกสณิ 315 อาวัชชนะ 343

อาโปธาตุ 39, 146, 147, 148 อาวาสมัจฉรยิ ะ 233, 257

อาพาธกิ ะ 83, 84, 150 อาวาสสัปปายะ 286

อาภัสสรา (ดู สัตตาวาส 9 ดวย) 284, 351 อาวาสโสภณ 253
อาวาสกิ ธรรม 51 251
อามิสทาน 11 อาวาสกิ ธรรม 52 252
อาวาสกิ ธรรม 53 253
อามิสบูชา 30 อาวาสิกธรรม 54 254
อาวาสกิ ธรรม 55 255
อามสิ ปฏิสนั ถาร 31 อาวาสกิ ธรรม 56 256
อาวาสกิ ธรรม 57 257
อามสิ ปริเยสนา 33

อามิสไพบลู ย 44

อามิสฤทธิ์ 42

อามสิ เวปุลละ 44

อามสิ สงเคราะห 49 อาสยานสุ ยญาณ 217

อามิสสังคหะ 49 อาสวะ 3 135

อายโกศล 71 อาสวะ 4 136, 170, 215

54

อาสวกั ขยะ 184 อจุ จากุลนี ตา 227

อาสวักขยญาณ 106, 274, 297, 323 อจุ จฺ าสยนมหาสยนา เวรมณี 240

อาสนั นกรรม 338 อจุ เฉททฏิ ฐิ 13

อาเสวนปจ จยั 350 อุชปุ ฏปิ นโฺ น 307

อาหาร 4 212 อฏุ ฐานสมั ปทา 144

อาหารปจ จัย 350 อดุ มมงคล 353

อาหารรูป 1 40, 359 อุตตรทิศ 265

อาหาเรปฏกิ ูลสญั ญา 354 อุตตฺ ริ จฺ ปตาเรติ 269

อาหเุ นยฺโย 307 อตุ ุนยิ าม 223

อาหไุ นยคั คิ 131 อุตสุ ปั ปายะ 286

อฏิ ฐารมณ 296 อุทเทสิกเจดีย 141

อติ ถัตตะ 40 อทุ ธังโสโตอกนฏิ ฐคามี 60

อิตถนิ ทรีย 40, 349 อุทธจั จะ 318, 329, 355

อติ ถีธุตตะ 199 อทุ ธจั จกกุ กุจจะ 225

อิติกิราย 317 อุทฺธจจฺ สมฺปยตุ ตฺ ํ 356

อติ ปิ  โส ภควา 303 อุทธัมภาคิยสังโยชน 5 329

อิติวุตตกะ 75, 302 อุทธมุ าตกะ 336

อิทธบิ าท 4 213, 227, 352 อุทยพั พยญาณ = อุทยพั พยานุปสสนาญาณ

อิทธิปาฏหิ ารยิ  94 อุทยพั พยานุปสสนาญาณ 92, 311

อิทธิวิธา, อทิ ธิวธิ ิ 274, 297 อุทาน 75

อทิ ปั ปจจยตา 340 อุทานํ 302

อิทปปฺ จฺจยตาปฏิจฺจสมปุ ฺปนฺเนสุ ธมเฺ มสุ อเุ ทศาจารย 211

อฺาณํ 209 อุบาสกธรรม 5 259

อนิ ทร 270 อุบาสกธรรม 7 260

อนิ ทรยี  5 228, 258, 352 อุบาสกบรษิ ทั 151

อนิ ทรยี  6 276 อุบาสกปทุม 259

อินทรีย 22 349 อุบาสกรัตน 259

อนิ ทริยปโรปรยิ ตั ตญาณ 217, 323 อุบาสกิ าบริษัท 151

อนิ ทรียปจจัย 350 อเุ บกขา 9, 161, 281, 325, 328, 358

อินทรียสงั วร 128, 222, 243 อุเบกขาเวทนา 111, 112

อินทรยี สังวรศีล 160 อเุ บกขาสันตรี ณะ 2 343

อิรยิ าบถ 182 อโุ บสถ, อโุ บสถศีล 240

อริ ิยาปถสัปปายะ 286 อปุ การกะ 169

อิศวรกรณวาท 101 อุปกิเลส 16 347

อิสสรนิมมานเหตวุ าท 101 อุปฆาตกกรรม 338

อสิ สา 308, 330, 347, 355 อุปจยะ 40, 359

อคุ คหนมิ ติ 87 อุปจารภาวนา 99

อุคฆฏิตญั ู 153 อุปจารสมาธิ 45, 46

55

อุปธิวบิ ัติ 176 อุปายาส 1, 340
อุปธวิ เิ วก 109
อุปธสิ มบัติ 177 อเุ ปกขฺ าสหคตํ 356
อปุ นาหะ 347, 359
อุปนิสยั 4 202 อุเปกขนิ ทรีย 349
อปุ นสิ สยปจ จัย 350
อุปบารมี 325 อุเปกฺเขกคฺคตาสหิตํ 356
อุปปชชเวทนยี กรรม 338
อปุ ปตตเิ ทพ 82 อพุ เพคาปต ิ, อพุ เพงคาปติ 226
อปุ ปต ติภพ 340
อปุ ฺปาโท ปฺ ายติ 117 อภุ โตภาควิมุต 61, 62, 63
อปุ ปฬกกรรม 338
อุปรมิ ทศิ 265 อุภยตั ถะ 133
อปุ สมะ 197, 295
อปุ สมานสุ ติ 335 อมู ิภัย 210
อุปสมั ปทาจารย 211
อปุ หัจจปรนิ ิพพายี 60 เอกเถราปเทส, เอกตั เถราปเทส 166
อุปญญาตธรรม 2 65
อุปฏฐาน 328 เอกพชี ี 58
อุปตถมั ภกกรรม 338
อปุ าทาน 340 เอกัคคตา 9, 355
อปุ าทาน 4 214
อปุ าทานขันธ 5 206 เอกนั ตนพิ พทิ า 295
อปุ าทารปู , อปุ าทายรปู 24 38, 40
อุปาทนิ นกรปู 41 เอกาสนกิ งั คะ 342
อุปาทินนกสังขาร 48
อุปาทินนธรรม 22 เอกภี าพ 273
อุปายโกศล 71
เอเกน โภเค ภุ เฺ ชยยฺ 163

เอหิปสสฺ ิโก 306

โอกกนั ตกิ าปต ิ 226

โอกาสโลก 102

โอฆะ 4 215

โอตตัปปะ 23, 292, 301, 355

โอทาตกสณิ 315

โอปนยโิ ก 306

โอปปาติกะ 171

โอภาส 328

โอรมั ภาคยิ สงั โยชน 5 329

โอวาทของพระพทุ ธเจา 3 97

โอวาทปาฏิโมกข (โอวาทปาติโมกข) 97

โอวาทาจารย 211



เอกกะ — หมวด 1

Groups of One

(including related groups)

[1] กัลยาณมิตตตา (ความมกี ลั ยาณมติ ร คอื มผี แู นะนาํ สงั่ สอน ทป่ี รกึ ษา เพอื่ นทคี่ บหา

และบุคคลผูแวดลอมท่ีดี, ความรูจักเลือกเสวนาบุคคล หรือเขารวมหมูกับทานผทู รงคุณทรง

ปญ ญามคี วามสามารถ ซงึ่ จะชว ยแวดลอ ม สนับสนุน ชักจงู ช้ชี องทาง เปนแบบอยาง ตลอดจน

เปนเครอื่ งอุดหนนุ เกื้อกูลแกกัน ใหด ําเนนิ กาวหนา ไปดวยดี ในการศึกษาอบรม การครองชีวติ
การประกอบกจิ การ และธรรมปฏิบตั ,ิ สิง่ แวดลอ มทางสงั คมทดี่ ี — Kalyànฺamittatà: having
good friends; good company; friendship with the lovely; favourable social

environment) ขอนเ้ี ปน องคป ระกอบภายนอก (external factor; environmental factor)

“ภิกษุท้ังหลาย เมื่อดวงอาทิตยอุทัยอยู ยอมมีแสงอรุณข้ึนมากอน เปน บุพนิมิต ฉันใด ความมี
กัลยาณมิตรกเ็ ปน ตัวนํา เปน บุพนมิ ติ แหง การเกิดข้ึนของอารยอษั ฎางคิกมรรค แกภกิ ษุ ฉันน้ัน”

“ความมีกัลยาณมติ ร เทากับเปนพรหมจรรย (การครองชีวิตประเสริฐ) ท้งั หมดทีเดยี ว เพราะวา ผมู ี
กลั ยาณมิตรพงึ หวงั ส่ิงนไี้ ด คอื จักเจรญิ จกั ทําใหมากซ่ึงอารยอัษฎางคกิ มรรค”

“อาศยั เราผเู ปน กลั ยาณมิตร เหลา สัตวผูมีชาตเิ ปนธรรมดา ก็พน จากชาติ ผูมีชราเปนธรรมดา ก็พนจาก
ชรา ผมู มี รณะเปนธรรมดา ก็พน จากมรณะ ผมู โี สกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนสั และอุปายาสเปนธรรมดา ก็พน
จากโสกะ ปริเทวะ ทกุ ข โทมนัส และอปุ ายาส”

“เราไมเล็งเห็นองคประกอบภายนอกอ่ืนแมสักอยางเดียว ที่มีประโยชนมากสําหรับภิกษุผูเปนเสขะ
เหมอื นความมีกลั ยาณมติ ร, ภกิ ษุผูมีกัลยาณมติ ร ยอมกาํ จัดอกุศลได และยอมยงั กุศลใหเกดิ ข้ึน”

“ความมีกลั ยาณมติ ร ยอมเปน ไปเพ่ือประโยชนย ่งิ ใหญ, เพ่อื ความดํารงม่ัน ไมเ ส่อื มสูญ ไมอนั ตรธาน
แหงสทั ธรรม” ฯลฯ

S.V.2–30; A.I.14–18; It.10. ส.ํ ม. 19/5–129/2–36; องฺ.เอก. 20/72–128/16–25; ขุ.อติ ิ. 25/195/237.

[2] โยนิโสมนสิการ (การใชความคิดถกู วิธี คอื การทําในใจโดยแยบคาย มองสิ่งทง้ั

หลายดวยความคิดพจิ ารณาสบื คน ถงึ ตนเคา สาวหาเหตผุ ลจนตลอดสาย แยกแยะออกพิเคราะห

ดูดวยปญ ญาทค่ี ิดเปน ระเบียบและโดยอบุ ายวธิ ี ใหเ ห็นสิ่งนนั้ ๆ หรอื ปญหาน้นั ๆ ตามสภาวะและ
ตามความสัมพันธแหง เหตปุ จจัย — Yonisomanasikàra: reasoned attention; systematic

attention; analytical thinking; critical reflection; thinking in terms of specific

conditionality; thinking by way of causal relations or by way of problem-solving)

ขอนีเ้ ปน องคป ระกอบภายใน (internal factor; personal factor) และเปน ฝา ยปญญา (a

factor belonging to the category of insight or wisdom)

“ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เมื่อดวงอาทติ ยอ ุทัยอยู ยอมมีแสงอรณุ ขนึ้ มากอน เปน บุพนมิ ิต ฉันใด ความถึงพรอม

[3] 58 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

ดวยโยนิโสมนสิการ กเ็ ปน ตวั นํา เปน บพุ นมิ ติ แหง การเกดิ ข้ึนของอารยอัษฎางคกิ มรรค แกภ กิ ษุ ฉันนั้น”

“เราไมเ ล็งเห็นองคป ระกอบภายในอ่นื แมส ักอยา งเดียว ที่มีประโยชนม าก สําหรับภกิ ษผุ เู ปนเสขะ เหมอื น
โยนโิ สมนสกิ าร ภิกษผุ ูมโี ยนิโสมนสิการ ยอ มกําจดั อกศุ ลได และยอมยงั กุศลใหเกดิ ขน้ึ ”

“เราไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมสักขอ หน่ึง ซึง่ เปน เหตใุ หสมั มาทฏิ ฐิท่ียงั ไมเ กิด ก็เกดิ ขึ้น ทเี่ กิดขนึ้ แลว ก็
เจรญิ ยิง่ ขึ้น เหมอื นโยนิโสมนสกิ ารเลย”

“เราไมเ ล็งเหน็ ธรรมอื่น แมส กั ขอ หนง่ึ ซ่ึงจะเปนเหตุใหความสงสยั ทย่ี งั ไมเกิด กไ็ มเ กิดข้ึน ที่เกิดขน้ึ แลว
ก็ถูกขจัดเสยี ได เหมอื นโยนิโสมนสิการเลย”

“โยนิโสมนสิการ ยอมเปน ไปเพอื่ ประโยชนยิง่ ใหญ, เพื่อความดํารงมัน่ ไมเส่อื มสูญ ไมอ ันตรธานแหง
สทั ธรรม” ฯลฯ

ธรรมขอ อื่น ที่ไดรบั ยกยอ งคลายกับโยนโิ สมนสิการนี้ ในบางแง ไดแ ก อปั ปมาทะ (ความไม
ประมาท — earnestness; diligence), วิรยิ ารัมภะ (การปรารภความเพยี ร, ทําความเพียรมุง
ม่นั — instigation of energy; energetic effort), อัปปจ ฉตา (ความมกั นอ ย, ไมเหน็ แกไ ด
— fewness of wishes; paucity of selfish desire), สนั ตุฏฐี (ความสนั โดษ —
contentment), สมั ปชัญญะ (ความรตู วั , สาํ นกึ ตระหนักชดั ดวยปญญา — awareness; full
comprehension); กุสลธัมมานุโยค (การหม่นั ประกอบกุศลธรรม — pursuit of wholesome
states; devotion to good things); สีลสัมปทา (ความถึงพรอมแหง ศีล — possession of
virtue); ฉนั ทสัมปทา (ความถึงพรอ มแหงฉันทะ — possession of will), อตั ตสมั ปทา (ความ

ถงึ พรอ มแหงตนคือมจี ติ ใจซงึ่ พัฒนาเต็มที่แลว — self–realization, self-actualization),

ทฏิ ฐิสมั ปทา (ความถงึ พรอมแหงทิฏฐิ — possession of right view), และ อปั ปมาทสมั ปทา

(ความถึงพรอ มแหง อัปปมาทะ — possession of earnestness)

S.V.2–30; A.I.11–31; It.9. ส.ํ ม. 19/5–129/2–36; องฺ.เอก.20/60–186/13–41; ข.ุ อิติ. 25/194/236.

[3] อัปปมาทะ (ความไมป ระมาท คือ ความเปน อยอู ยางไมขาดสติ หรือความเพียรทม่ี สี ติ

เปนเครื่องเรงเราและควบคุม ไดแก การดาํ เนินชีวิตโดยมีสติเปนเคร่ืองกํากับความประพฤติ

ปฏิบตั แิ ละการกระทาํ ทุกอยาง ระมดั ระวงั ตวั ไมย อมถลาํ ลงไปในทางเสื่อม แตไ มยอมพลาด

โอกาสสําหรับความดีงามและความเจริญกาวหนา ตระหนักในสิ่งท่ีพึงทําและพึงละเวน ใสใจ

สาํ นกึ อยูเ สมอในหนาทอ่ี ันจะตอ งรับผดิ ชอบ ไมยอมปลอยปละละเลย กระทาํ การดวยความจริง

จงั รอบคอบ และรดุ หนาเร่ือยไป — Appamàda: earnestness; diligence; heedfulness)

ขอ นีเ้ ปน องคป ระกอบภายใน (internal factor; personal factor) และเปนฝา ยสมาธิ (a

factor belonging to the category of concentration)

“ภิกษุทั้งหลาย เมือ่ ดวงอาทิตยอ ุทยั อยู ยอมมีแสงอรุณขนึ้ มากอน เปนบุพนมิ ติ ฉันใด ความถงึ พรอ ม
ดว ยความไมประมาท ก็เปนตวั นํา เปน บุพนิมิตแหงการเกดิ ขนึ้ ของอารยอษั ฎางคกิ มรรค แกภิกษุ ฉันน้ัน”

“ธรรมเอก ที่มีอุปการะมาก เพื่อการเกิดข้นึ แหง อารยอษั ฎางคกิ มรรค ก็คือ ความถึงพรอ มดว ยความไม
ประมาท”

หมวด 1 59 [3]

“เราไมเลง็ เหน็ ธรรมอนื่ แมส กั ขอหนึ่ง ซงึ่ เปนเหตุใหอ ารยอษั ฎางคิกมรรคทย่ี งั ไมเกิด กเ็ กดิ ขึ้น ท่เี กดิ ขึ้น
แลว ก็เจริญบริบูรณ เหมือนอยางความถึงพรอ มดวยความไมประมาทน้เี ลย”

“รอยเทา ของสตั วบ กทง้ั หลาย ชนิดใดๆ กต็ าม ยอ มลงในรอยเทาชางไดท ัง้ หมด, รอยเทาชาง เรยี กวา
เปน ยอดของรอยเทา เหลา นน้ั โดยความใหญ ฉนั ใด กศุ ลธรรมทง้ั หลาย อยางใดๆ กต็ าม ยอ มมีความไม
ประมาทเปน มลู ประชมุ ลงในความไมป ระมาทไดท ง้ั หมด ความไมป ระมาท เรยี กไดว า เปน ยอดของธรรมเหลา
นน้ั ฉนั นนั้ ”

“ผูมีกลั ยาณมติ ร พงึ เปนอยโู ดยอาศัยธรรมเอกขอ นี้ คอื ความไมประมาทในกุศลธรรมท้ังหลาย”

“ธรรมเอกอันจะทําใหย ดึ เอาประโยชนไวไดทงั้ 2 อยา ง คอื ท้ังทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ (ประโยชนปจ จุบัน
ประโยชนเฉพาะหนา หรือประโยชนส ามญั ของชีวติ เชน ทรพั ย ยศ กามสขุ เปนตน ) และสมั ปรายิกตั ถะ
(ประโยชนเ บอ้ื งหนา หรอื ประโยชนข ั้นสงู ขนึ้ ไปทางจติ ใจหรือคณุ ธรรม) กค็ อื ความไมป ระมาท”

“สังขาร (ส่งิ ที่ปจจยั ปรุงแตง ข้นึ ) ท้งั หลาย มคี วามเสือ่ มสน้ิ ไปเปนธรรมดา ทา นท้ังหลายจงยังประโยชนท ี่
มงุ หมายใหส าํ เรจ็ ดว ยความไมป ระมาทเถดิ ”

“ความไมป ระมาท ยอมเปน ไปเพ่ือประโยชนย ่งิ ใหญ, เพ่ือความดํารงมน่ั ไมเสื่อมสญู ไมอ นั ตรธานแหง
สัทธรรม” ฯลฯ

D.II.156; S.I.86–89; S.V.30–45; ท.ี ม. 10/143/180; สํ.ส. 15/378–384/125–129;

A.I.11–17; A.III.365; A.V.21. สํ.ม. 19/135–262/37–66; องฺ.เอก. 20/60–116/13–23;

อง.ฺ ฉกกฺ . 22/324/407; อง.ฺ ทสก. 24/15/23.

ทุกะ — หมวด 2

Groups of Two

(including related groups)

[4] กรรม 2 (การกระทํา, การกระทาํ ทป่ี ระกอบดว ยเจตนา ทางกายกต็ าม ทางวาจาก็ตาม

ทางใจกต็ าม — Kamma: action; deed)
1. อกศุ ลกรรม (กรรมท่ีเปนอกศุ ล, กรรมช่ัว, การกระทําท่ีไมดี ไมฉลาด ไมเ กดิ จากปญ ญา ทาํ

ใหเส่ือมเสียคณุ ภาพชีวติ หมายถึง การกระทําทเี่ กดิ จากอกศุ ลมูล คือ โลภะ โทสะ หรอื โมหะ —
Akusala-kamma: unwholesome action; evil deed; bad deed)
2. กุศลกรรม (กรรมท่เี ปน กุศล, กรรมด,ี การกระทําท่ดี ี ฉลาด เกดิ จากปญญา สงเสรมิ

คณุ ภาพของชวี ิตจติ ใจ หมายถึง การกระทําทเี่ กดิ จากกุศลมูล คอื อโลภะ อโทสะ หรืออโมหะ —
Kusala-kamma: wholesome action; good deed)

A.I.104, 263; It.25,55. องฺ.ตกิ .20/445/131,551/338; ขุ.อิต.ิ 25/208/248;242/272.

[,] กรรมฐาน 2 ดู [36] ภาวนา 2.

[5] กาม 2 (ความใคร, ความอยาก, ความปรารถนา, สงิ่ ทน่ี าใครน า ปรารถนา — Kàma:

sensuality)
1. กิเลสกาม (กิเลสทท่ี ําใหใคร, ความอยากท่เี ปน ตัวกเิ ลส — Kilesa-kàma: subjective

sensuality)
2. วัตถุกาม (วตั ถอุ นั นาใคร, สงิ่ ทนี่ าปรารถนา, สิง่ ที่อยากได, กามคุณ — Vatthu-kàma:

objective sensuality)

Nd12. ขุ.มหา.29/2/1

[6] กามคุณ 5 (สวนทนี่ า ใครนาปรารถนา, สว นทด่ี หี รอื สว นอรอยของกาม — Kàmaguõa:

sensual pleasures; sensual objects)

1. รูปะ (รปู — Råpa: form; visible object)
2. สทั ทะ (เสยี ง — Sadda: sound)
3. คันธะ (กล่ิน — Gandha: smell; odour)
4. รสะ (รส — Rasa: taste)
5. โผฏฐัพพะ (สัมผสั ทางกาย — Phoññhabba: touch; tangible object)

หา อยางน้ี เฉพาะสวนท่นี า ปรารถนา นา ใคร นา พอใจ (agreeable, delightful, pleasur-

able) เรยี กวา กามคณุ

M.I.85,173. ม.มู.12/197/168; 327/333.

หมวด 2 61 [9]

[7] ฌาน 2 (การเพง, การเพงพนิ ิจดว ยจิตท่ีเปนสมาธแิ นว แน — Jhàna: meditation;

scrutiny; examination)
1. อารมั มณูปนชิ ฌาน (การเพง อารมณ ไดแ กส มาบัติ 8 คอื รูปฌาน 4 และอรูปฌาน 4 —
ârammaõåpanijjhàna: object-scrutinizing Jhàna)
2. ลกั ขณูปนชิ ฌาน (การเพง ลักษณะ ไดแ ก วปิ ส สนา มรรค และ ผล — Lakkhaõåpa-
nijjhàna: characteristic-examining Jhàna)

วิปส สนา ชอ่ื วาลักขณูปนิชฌาน เพราะพนิ ิจสังขารโดยไตรลกั ษณ

มรรค ชื่อวาลกั ขณูปนชิ ฌาน เพราะยงั กิจแหง วิปส สนานน้ั ใหส ําเรจ็

ผล ชอื่ วา ลักขณูปนชิ ฌาน เพราะเพง นิพพานอันมีลกั ษณะเปน สญุ ญตะ อนมิ ติ ตะ และ

อปั ปณหิ ิตะ อยางหนึ่ง และเพราะเหน็ ลักษณะอนั เปนสจั จภาวะของนพิ พาน อยางหนึง่

ฌานที่แบง เปน 2 อยางน้ี มมี าในคมั ภรี ช้ันอรรถกถา.

ดู [8], [9], [10] ฌาน ตางๆ และ [47] สมาธิ 32.

AA.II.41; PsA.281; DhsA.167. อง.ฺ อ.1/536; ปฏสิ ํ.อ.221; สงคฺ ณ.ี อ.73.

[8] ฌาน 2 ประเภท (ภาวะจิตท่ีเพงอารมณจ นแนว แน — Jhàna: absorption)

1. รปู ฌาน 4 (ฌานมรี ูปธรรมเปนอารมณ, ฌานทเี่ ปน รปู าวจร — Råpa-jhàna: Jhànas of

the Fine-Material Sphere)
2. อรูปฌาน 4 (ฌานมอี รปู ธรรมเปนอารมณ, ฌานที่เปน อรปู าวจร — Aråpa-jhàna: Jhànas of

the Immaterial Sphere)

คําวา รปู ฌาน กด็ ี อรปู ฌาน กด็ ี เริ่มใชคราวจัดรวมพุทธพจน เดิมเรียกเพียงวา ฌาน และ

อารปุ ป.

D.III.222; Dhs.56. ท.ี ปา.11/232/233; อภ.ิ ส.ํ 34/192/78.

[9] ฌาน 4 = รูปฌาน 4 (the Four Jhànas)

1. ปฐมฌาน (ฌานท่ี 1 — Pañhama-jhàna: the First Absorption) มีองค 5 คือ วติ ก

วจิ าร ปติ สขุ เอกคั คตา
2. ทุตยิ ฌาน (ฌานท่ี 2 — Dutiya-jhàna: the Second Absorption) มอี งค 3 คือ ปต ิ สขุ

เอกคั คตา

3. ตตยิ ฌาน (ฌานที่ 3 — Tatiya-jhàna: the Third Absorption) มอี งค 2 คอื สขุ เอกคั คตา
4. จตตุ ถฌาน (ฌานที่ 4 — Catuttha-jhàna: the Fourth Absorption) มอี งค 2 คอื

อุเบกขา เอกัคคตา

คมั ภรี ฝ า ยอภิธรรม นยิ มแบง รูปฌานน้เี ปน 5 ขัน้ เรยี กวา ฌานปญ จกนยั หรอื ปญจ-

กัชฌาน โดยแทรก ทุติยฌาน (ฌานที่ 2) ทม่ี อี งค 4 คือ วิจาร ปต ิ สุข เอกคั คตา เพ่ิมเขา มา

[10] 62 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

แลว เลือ่ นทุตยิ ฌาน ตติยฌาน และจตตุ ถฌาน ในฌาน 4 ขา งตนน้อี อกไปเปน ตตยิ ฌาน จตุตถ
ฌาน และปญ จมฌาน ตามลําดบั (โดยสาระก็คือ การจาํ แนกขัน้ ตอนใหล ะเอยี ดมากขึน้ นน่ั เอง)

M.I.40. ม.มู.12/102/72.

[10] ฌาน 8 = รูปฌาน 4 + อรูปฌาน 4 (อรปู ฌาน 4 ดู [207] อรูป 4)
[11] ทาน 21 (การให, การเสยี สละ, การบรจิ าค — Dàna: gift; giving; charity; liberality)

1. อามิสทาน (การใหสิง่ ของ — âmisadàna: material gift)

2. ธรรมทาน (การใหธรรม, การใหความรูและแนะนําสั่งสอน — Dhammadàna: gift of

Truth; spiritual gift)

ใน 2 อยางน้ี ธรรมทานเปนเลิศ อามสิ ทานชวยคาํ้ จุนชีวิต ทาํ ใหเขามที พ่ี ึ่งอาศยั แต
ธรรมทานชวยใหเขารจู ักพึง่ ตนเองไดต อไป เมือ่ ใหอ ามิสทาน พึงใหธรรมทานดวย.

A.I.90. อง.ฺ ทกุ .20/386/114.

[12] ทาน 22 (การให — Dàna: gift; giving; almsgiving; offering; charity;

liberality; generosity; benevolence; donation; benefaction)
1. ปาฏบิ ุคลกิ ทาน (การใหจําเพาะบุคคล, ทานทใ่ี หเจาะจงตัวบคุ คลหรือใหเฉพาะแกบุคคลผู
ใดผูหนง่ึ — Pàñipuggalika-dàna: offering to a particular person; a gift designated

to a particular person)
2. สงั ฆทาน (การใหแกสงฆ, ทานที่ถวายแกส งฆเปนสวนรวม หรือใหแ กบ ุคคล เชน พระภิกษุ

หรอื ภิกษุณีอยา งเปนกลางๆ ในฐานะเปนตวั แทนของสงฆ โดยอทุ ศิ ตอสงฆ ไมเจาะจงรปู ใดรูป
หน่ึง — Saïghadàna: offering to the Sangha; a gift dedicated to the Order or to

the community of monks as a whole)

ในบาลเี ดมิ เรียกปาฏบิ คุ ลิกทานวา ปาฏิปุคคฺ ลกิ า ทกขฺ ณิ า (ของถวายหรอื ของใหทีจ่ ําเพาะ
บคุ คล) และเรยี กสงั ฆทาน วา สงฆฺ คตา ทกขฺ ิณา (ของถวายหรือของใหทถ่ี ึงในสงฆ)

ในทาน 2 อยางนี้ พระพทุ ธเจา ตรสั สรรเสริญสงั ฆทานวา เปน เลศิ มผี ลมากที่สุด ดัง
พทุ ธพจนว า “เราไมกลาววา ปาฏิบุคลกิ ทานมีผลมากกวาของที่ใหแกสงฆ ไมว าโดยปรยิ ายใดๆ” และได
ตรสั ชักชวนใหใ หส งั ฆทาน

M.III.254–6; A.III.392. ม.อ.ุ 14/710–3/459–461; อางใน มงคฺ ล.2/16; อง.ฺ ฉกฺก.22/330/439

[13] ทิฏฐิ 2 (ความเห็น, ความเห็นผิด — Diññhi: view; false view)

1. สัสสตทฏิ ฐิ (ความเห็นวาเที่ยง, ความเหน็ วามอี ัตตาและโลกซึ่งเท่ยี งแทย ั่งยนื คงอยตู ลอดไป
— Sassata-diññhi: eternalism)

2. อจุ เฉททิฏฐิ (ความเห็นวา ขาดสูญ, ความเห็นวา มีอตั ตาและโลกซ่ึงจักพินาศขาดสญู หมดสิ้น
ไป — Uccheda-diññhi: annihilationism)

หมวด 2 63 [17]

S.III.97. สํ.ข.17/179–180/120.

[14] ทิฏฐิ 3 (ความเห็น, ความเห็นผิด — Diññhi: view; false view)

1. อกิรยิ ทฏิ ฐิ (ความเหน็ วา ไมเ ปน อนั ทํา, เหน็ วา การกระทาํ ไมมีผล — Akiriya-diññhi: view of

the inefficacy of action)
2. อเหตุกทิฏฐิ (ความเหน็ วา ไมมีเหต,ุ เหน็ วา สิง่ ทัง้ หลายไมม ีเหตุปจ จยั — Ahetuka-diññhi:

view of non-causality)
3. นัตถกิ ทิฏฐิ (ความเห็นวาไมม ,ี เหน็ วา ไมม ีการกระทําหรือสภาวะทจ่ี ะกําหนดเอาเปนหลักได
— Natthika-diññhi: nihilistic view; nihilism)

M.I.404. ม.ม.13/105/111.

[15] ที่สุด หรือ อันตา 2 (ขอ ปฏิบัติหรือการดาํ เนินชีวติ ท่ีเอยี งสดุ ผดิ พลาดไปจากทาง
อันถกู ตอง คอื มัชฌมิ าปฏิปทา — Antà: the two extremes)

1. กามสขุ ลั ลกิ านโุ ยค (การหมกมุนอยูดว ยกามสุข — Kàmasukhallikànuyoga: the

extreme of sensual indulgence; extreme hedonism)
2. อัตตกลิ มถานโุ ยค (การประกอบความลําบากเดอื ดรอนแกต นเอง, การบบี ค้ันทรมานตนให
เดอื ดรอ น — Attakilamathànuyoga: the extreme of self-mortification; extreme

asceticism)

Vin.I.10; S.V.420. วินย.4/13/18; ส.ํ ม.19/1664/528.

[16] ทุกข 2 (สภาพที่ทนไดย าก, ความทุกข, ความไมสบาย — Dukkha: pain; suffering;

discomfort)

1. กายกิ ทกุ ข (ทุกขทางกาย — Kàyika-dukkha: bodily pain; physical suffering)
2. เจตสกิ ทกุ ข (ทกุ ขท างใจ, โทมนสั — Cetasika-dukkha: mental pain; mental suffering)

ดู [79] ทกุ ขตา 3 ดวย.

D.II.306; S.V.209. ท.ี ม.10/295/342; ส.ํ ม.19/942,944/280.

[17] เทศนา 21 (การแสดงธรรม, การชี้แจงแสดงความ — Desanà: preaching;

exposition)
1. บุคคลาธิษฐานเทศนา (เทศนามบี คุ คลเปนที่ตง้ั , เทศนาอา งคน, แสดงโดยยกคนขึน้ อา ง,
ยกคนเปนหลกั ฐานในการอธบิ าย — Puggalàdhiññhàna-desanà: exposition in terms of

persons)
2. ธรรมาธิษฐานเทศนา (เทศนามธี รรมเปน ที่ตงั้ , เทศนาอา งธรรม, แสดงโดยยกหลักหรือ
ตัวสภาวะขน้ึ อาง — Dhammàdhiññhàna-desanà: exposition in terms of ideas)

เทศนา 2 นี้ ทา นสรุปมาจากเทศนา 4 ในคมั ภีรท่ีอางไว

[18] 64 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

PsA.449. ปฏสิ .ํ อ.77.

[18] เทศนา 22 (การแสดงธรรม ของพระพุทธเจา, การชี้แจงแสดงความ — Desanà:
preaching; exposition; teaching)

1. สมมติเทศนา (เทศนาโดยสมมต,ิ แสดงตามความหมายที่รูรว มกนั หรือตกลงยอมรบั กนั
ของชาวโลก เชน วา บุคคล สัตว หญิง ชาย กษัตรยิ  เทวดา เปน ตน — Sammati-desanà:

conventional teaching)
2. ปรมตั ถเทศนา (เทศนาโดยปรมตั ถ, แสดงตามความหมายของสภาวธรรมแทๆ เชน วา อนจิ จงั
ทกุ ขงั อนตั ตา ขนั ธ ธาตุ อายตนะ เปน ตน — Paramattha-desanà: absolute teaching)

ผูฟงจะเขาใจความ สาํ เรจ็ ประโยชนดว ยเทศนาอยางใด กท็ รงแสดงอยางนั้น

ใน ท.ี อ. 1/436; สํ.อ. 2/98 และ ปจฺ .อ. 182 เปนตน กลาวถงึ กถา 2 คอื สมมติกถา และ
ปรมัตถกถา พึงทราบความหมายตามแนวความอยา งเดยี วกันน้ี

ดู [50] สัจจะ 2.

AA.I.94; etc. องฺ.อ.1/99, ฯลฯ.

[19] ธรรม 21 (สภาวะ, สงิ่ , ปรากฏการณ — Dhamma: things; states; phenomena)

1. รูปธรรม (สภาวะอันเปนรูป, ส่ิงท่ีมีรูป, ไดแกรูปขันธทั้งหมด — Råpadhamma:

materiality; corporeality)
2. อรปู ธรรม (สภาวะมใิ ชร ปู , สง่ิ ทไี่ มม รี ปู , ไดแ กน ามขนั ธ 4 และนพิ พาน — Aråpadhamma:

immateriality; incorporeality)

ในบาลที มี่ า ทา นเรียก รปู โน ธมฺมา และ อรปู โน ธมมฺ า

Dhs.193,245. อภิ.ส.ํ 34/705/279; 910/355.

[20] ธรรม 22 (สภาวะ, สิ่ง, ปรากฏการณ — Dhamma: things; states; phenomena)

1. โลกยี ธรรม (ธรรมอนั เปน วสิ ยั ของโลก, สภาวะเนอื่ งในโลก ไดแกขันธ 5 ทีเ่ ปนสาสวะทั้ง
หมด — Lokiya-dhamma: mundane states)

2. โลกุตตรธรรม (ธรรมอันมิใชวิสยั ของโลก, สภาวะพนโลก ไดแ กมรรค 4 ผล 4 นพิ พาน 1
— Lokuttara-dhamma: supermundane states) (+ โพธิปก ขยิ ธรรม 37: ข.ุ ปฏิ.620; Ps.II.166)

ดู [310] โลกุตตรธรรม 9.

Dhs.193,245. อภ.ิ ส.ํ 34/706/279; 911/355.

[21] ธรรม 23 (สภาวะ, สิ่ง, ปรากฏการณ — Dhamma: things; states; phenomena)

1. สังขตธรรม (สิง่ ทีป่ จจัยปรงุ แตง คือ ขันธ 5 ทั้งหมด — Saïkhata-dhamma: condi-

tioned things; compounded things)
2. อสังขตธรรม (ส่ิงท่ีปจจยั ไมป รงุ แตง คอื นพิ พาน — Asaïkhata-dhamma: the

หมวด 2 65 [26]

Unconditioned, i.e. Nibbàna)

Dhs.193,244. อภ.ิ ส.ํ 34/702/278; 907/354.

[22] ธรรม 24 (สภาวะ, สิง่ , ปรากฏการณ — Dhamma: things; states; phenomena)

1. อุปาทนิ นธรรม (ธรรมทถี่ ูกยดึ , ธรรมทก่ี รรมอันสัมปยตุ ดวยตณั หาและทิฏฐเิ ขา ยดึ ครอง
ไดแ ก นามขนั ธ 4 ท่ีเปนวบิ าก และรปู ทเี่ กิดแตกรรมทัง้ หมด — Upàdinna-dhamma: states

grasped by craving and false view; grasped states)
2. อนปุ าทนิ นธรรม (ธรรมทไี่ มถ กู ยดึ , ธรรมทกี่ รรมอนั สมั ปยตุ ดว ยตณั หาและทฏิ ฐไิ มเ ขา ยดึ ครอง
ไดแ ก นามขนั ธ 4 สว นนอกน้ี รปู ทมี่ ใิ ชเ กดิ แตก รรม และโลกตุ ตรธรรมทง้ั หมด — Anupàdinna-
dhamma: states not grasped by craving and false view; ungrasped states)

Dhs.211,255. อภิ.สํ.34/779/305; 955/369.

[23] ธรรมคุมครองโลก 2 (ธรรมทีช่ ว ยใหโ ลกมคี วามเปนระเบยี บเรยี บรอ ย ไม
เดอื ดรอนและสับสนวนุ วาย — Lokapàla-dhamma: virtues that protect the world)

1. หริ ิ (ความละอายบาป, ละอายใจตอ การทาํ ความชวั่ — Hiri: moral shame; conscience)

2. โอตตัปปะ (ความกลัวบาป, เกรงกลวั ตอความช่วั — Ottappa: moral dread)

A.I.51; It.36. อง.ฺ ทกุ .20/255/65; ข.ุ อติ ิ. 25/220/257.

[24] ธรรมทําใหงาม 2 (Sobhaõakaraõa-dhamma: gracing virtues)

1. ขนั ติ (ความอดทน, อดไดท นไดเ พอื่ บรรลคุ วามดงี ามและความมงุ หมายอนั ชอบ — Khanti:
patience: forbearance; tolerance)

2. โสรจั จะ (ความเสงย่ี ม, อธั ยาศยั งาม รกั ความประณตี หมดจดเรยี บรอ ยงดงาม — Soracca:

modesty; meekness)

Vin.I.349; A.I.94. วินย.5/244/335; อง.ฺ ทกุ . 20/410/118.

[,,] ธรรมที่พระพุทธเจาเห็นคุณประจักษ 2 ดู [65] อุปญญาตธรรม 2.

[,,] ธรรมเปนโลกบาล 2 ดู [23] ธรรมคมุ ครองโลก 2.

[25] ธรรมมีอุปการะมาก 2 (ธรรมท่ีเก้อื กลู ในกจิ หรือในการทําความดที กุ อยา ง —
Bahukàra-dhamma: virtues of great assistance)

1. สติ (ความระลึกได, นกึ ได, สํานกึ อยไู มเ ผลอ — Sati: mindfulness)

2. สัมปชัญญะ (ความรูชัด, รูชัดสิ่งที่นึกได, ตระหนัก, เขาใจชัดตามความเปน จริง —
Sampaja¤¤a: clear comprehension)

D.III.273; A.I.95. ท.ี ปา.11/378/290; อง.ฺ ทกุ .20/424/119.

[26] ธุระ 2 (หนาท่กี ารงานทีพ่ ึงกระทาํ , กจิ ในพระศาสนา — Dhura: burden; task; busi-

[27] 66 พจนานุกรมพุทธศาสตร

ness; responsibility in the Dispensation)
1. คนั ถธรุ ะ (ธุระฝา ยคัมภีร, กิจดานการเลา เรยี น — Gantha-dhura: burden of study;

task of learning)
2. วิปสสนาธุระ (ธรุ ะฝา ยเจรญิ วิปสสนา, กิจดา นการบําเพญ็ ภาวนา หรือเจรญิ กรรมฐาน อนั

รวมทั้งสมถะท่ีเปนเบ้ืองตน ซ่ึงเรียกรวมเขาไวดวยโดยฐานมีวิปสสนาเปนสวนสําคัญและคลุม
ยอด — Vipassanà-dhura: burden of insight development; task of meditation

practice)

ธุระ 2 นี้ มาในอรรถกถา

DhA.I.7. ธ.อ.1/7.

[27] นิพพาน 2 (สภาพทีด่ ับกเิ ลสและกองทุกขแ ลว , ภาวะทเ่ี ปนสุขสูงสดุ เพราะไรก ิเลสไร
ทุกข เปน อสิ รภาพสมบรู ณ — Nibbàna: Nirvàõa; Nibbàna)

1. สอุปาทเิ สสนิพพาน (นิพพานยงั มีอุปาทเิ หลอื — Saupàdisesa-nibbàna: Nibbàna

with the substratum of life remaining)
2. อนปุ าทิเสสนิพพาน (นพิ พานไมม อี ุปาทิเหลือ — Anupàdisesa-nibbàna: Nibbàna

without any substratum of life remaining)

หมายเหต:ุ ตามคาํ อธิบายนัยหนงึ่ วา

1. = ดบั กเิ ลส ยงั มีเบญจขนั ธเ หลอื (= กิเลสปรินิพพาน — Kilesa-parinibbàna: extinction

of the defilements)

2. = ดบั กิเลส ไมมเี บญจขันธเหลือ (= ขันธปรนิ พิ พาน — Khandha-parinibbàna: extinc-

tion of the Aggregates) หรือ

1. = นพิ พานของพระอรหนั ตผ ูยงั เสวยอารมณท ี่นาชอบใจและไมน า ชอบใจทางอินทรยี  5 รบั รู
สุขทกุ ขอ ยู

2. = นพิ พานของพระอรหนั ตผรู ะงับการเสวยอารมณทัง้ ปวงแลว

It.38. ขุ.อิต.ิ 25/222/258.

อกี นัยหนง่ึ กลา วถึงบุคคลวา

1. สอปุ าทเิ สสบุคคล = พระเสขะ

2. อนปุ าทิเสสบุคคล = พระอเสขะ

A.IV.379. อง.ฺ นวก.23/216/394.

[28] บัญญัติ 2 และ 6 (การกาํ หนดเรยี ก หรอื สิ่งทถ่ี กู กาํ หนดเรยี ก, การกาํ หนดตงั้ หรอื

ตราไวใหเ ปน ที่รกู นั — Pa¤¤atti: designation; term; concept)
1. ปญ ญาปยบัญญัติ หรอื อรรถบัญญัติ (บญั ญตั ใิ นแงเ ปนส่งิ อันพึงใหร กู นั , บญั ญัตทิ ีเ่ ปน

หมวด 2 67 [29]

ความหมาย, บัญญตั คิ ือความหมายอนั พึงกาํ หนดเรียก, ตวั ความหมายทจ่ี ะพึงถกู ต้ังชือ่ เรียก —
Pa¤¤àpiya~, Attha~: the Pa¤¤atti to be made known or conveyed; concept)
2. ปญญาปนบัญญัติ หรือ นามบญั ญตั ิ หรอื สทั ทบญั ญตั ิ (บญั ญตั ใิ นแงเ ปน เครอ่ื งใหรู
กัน, บญั ญัติที่เปนชอื่ , บญั ญัติที่เปน ศัพท, ชอ่ื ที่ต้ังขึ้นใชเ รียก — Pa¤¤àpana~, Nàma~,
Sadda~: the Pa¤¤atti that makes known or conveys; term; designation)

ปญญาปยบญั ญัติ เรยี กเตม็ วา ปฺาปย ตฺตา ปฺตตฺ ิ, ปญ ญาปนบัญญัติ เรียกเตม็ วา
ปฺาปนโต ปฺตฺติ

ปญญาปนบญั ญัติ หรือ นามบัญญัติ แยกยอยออกเปน 6 อยา ง คือ

1. วชิ ชมานบญั ญัติ (บญั ญัติสงิ่ ท่ีมอี ยู เชน รูป เวทนา สมาธิ เปน ตน — Vijjamàna~:

designation of a reality; real concept)
2. อวิชชมานบัญญัติ (บัญญตั สิ ิ่งทไี่ มมอี ยู เชน มา แมว รถ นายแดง เปนตน — Avijja-
màna~: designation of an unreality; unreal concept)
3. วชิ ชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญตั ิ (บญั ญตั สิ งิ่ ทไี่ มม ี ดว ยสง่ิ ทม่ี ี เชน คนดี นกั ฌาน ซงึ่ ความจรงิ
มแี ตด ี คือภาวะทเ่ี ปนกศุ ล และฌาน แตคนไมม ี เปน ตน — Vijjamànena-avijjamàna~:

designation of an unreality by means of a reality; unreal concept by means of

real concept)
4. อวิชชมาเนนวิชชมานบญั ญัติ (บัญญัตสิ ิ่งทีม่ ี ดว ยสงิ่ ท่ไี มม ี เชน เสียงหญิง ซ่ึงความจริง
หญิงไมมี มแี ตเ สยี ง เปน ตน — Avijjamànena-vijjamàna~: designation of a reality by

means of an unreality; real concept by means of an unreal concept)
5. วชิ ชมาเนนวิชชมานบญั ญัติ (บญั ญัตสิ ่ิงทม่ี ี ดว ยส่ิงทม่ี ี เชน จกั ขุสมั ผสั โสตวญิ ญาณ
เปน ตน — Vijjamànena-vijjamàna~: designation of a reality by means of a reality;

real concept by means of a real concept)
6. อวชิ ชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญัติ (บัญญตั ิสง่ิ ทไี่ มมี ดวยส่งิ ทีไ่ มม ี เชน ราชโอรส ลูก
เศรษฐี เปน ตน — Avijjamànena-avijjamàna~: designation of an unreality by means

of an unreality; unreal concept by means of an unreal concept)

Pug.A.171; Comp.198. ปฺจ.อ.32; สงคฺ ห.49; สงคฺ ห.ฏีกา253.

[29] บุคคลหาไดยาก 2 (Dullabha-puggala: rare persons)

1. บพุ การี (ผูทาํ อปุ การะกอ น, ผทู าํ ความดหี รอื ทําประโยชนใหแ ตต นโดยไมต อ งคอยคดิ ถึงผล
ตอบแทน — Pubbakàrã: one who is first to do a favour; previous benefactor; ready

benefactor)
2. กตญั ูกตเวที (ผรู ูอปุ การะท่ีเขาทําแลว และตอบแทน, ผรู ูจ กั คณุ คาแหงการกระทาํ ดขี องผู
อ่นื และแสดงออกเพือ่ บชู าความดนี น้ั — Kata¤¤åkatavedã: one who is grateful and

[30] 68 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

repays the done favour; grateful person)

A.I.87. อง.ฺ ทกุ .20/364/108.

[30] บูชา 2 (Påjà: worship; acts of worship; honouring)

1. อามิสบชู า (บูชาดวยสิ่งของ — âmisa-påjà: worship or honouring with material

things; material worship)
2. ปฏิบตั ิบูชา (บชู าดว ยการปฎิบตั ิ — Pañipatti-påjà: worship or honouring with

practice; practical worship)

ในบาลที มี่ า ปฏิบตั บิ ูชา เปน ธรรมบชู า

A.I.93; D.II.138. อง.ฺ ทกุ .20/401/117; นยั ท.ี ม.10/129/160.

[31] ปฏิสันถาร 2 (การตอ นรับ, การรับรอง, การทักทายปราศรัย — Pañisanthàra:

hospitality; welcome; greeting)
1. อามสิ ปฏิสันถาร (ปฏิสันถารดว ยสิง่ ของ — âmisa-pañisanthàra: worldly hospitality;

material or carnal greeting)
2. ธรรมปฏสิ นั ถาร (ปฏิสันถารดวยธรรมหรอื โดยธรรม — Dhamma-pañisanthàra: doc-

trinal hospitality; spiritual greeting)

A.I.93; Vbh.360. องฺ.ทุก.20/397/116; อภิ.ว.ิ 35/921/487.

[32] ปธาน 2 (ความเพียร หมายเอาความเพยี รทีท่ าํ ไดยาก — Padhàna: hard struggles;

painstaking endeavours)
1. คิหปิ ธาน (ความเพยี รของคฤหสั ถ ทจี่ ะอาํ นวยปจ จยั สแี่ กบ รรพชติ เปน ตน ) — Gihi-padhàna:

struggle of householders to provide the four requisites.
2. ปพ พชิตปธาน (ความเพยี รของบรรพชิต ทีจ่ ะไถถอนกองกเิ ลส — Pabbajita-padhàna:

struggle of the homeless to renounce all substrates of rebirth.

A.I.49; Netti 159. องฺ.ทุก.20/248/63.

[33] ปริเยสนา 2 (การแสวงหา — Pariyesanà: search; quest)

1. อนริยปรเิ ยสนา (แสวงหาอยางไมป ระเสริฐ, แสวงหาอยา งอนารยะ คือ ตนเองเปนผมู ชี าติ

ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ และสงั กเิ ลสเปนธรรมดา กย็ งั ใฝแสวงหาแตส ิง่ อนั มีชาติ ชรา พยาธิ
มรณะ โสกะ และสังกเิ ลสเปน ธรรมดา — Anariya-pariyesanà: unariyan or ignoble

search)
2. อริยปริเยสนา (แสวงหาอยา งประเสรฐิ , แสวงหาอยา งอารยะ คือ ตนเปนผูมีชาติ ชรา พยาธิ

มรณะ โสกะ และสงั กเิ ลสเปนธรรมดา แตร จู กั โทษขอ บกพรองของสง่ิ ทีม่ สี ภาพเชน นัน้ แลว ใฝ
แสวงธรรมอันเกษม คอื นิพพาน อันไมมสี ภาพเชน นัน้ — Ariya-pariyesanà: ariyan or

หมวด 2 69 [35]

noble search)

สองอยา งน้ี เทียบไดกบั อามิสปรเิ ยสนา และ ธรรมปริเยสนา ท่ีตรัสไวในอังคุตตรนกิ าย;

แตสาํ หรับคนสามญั อาจารยภ ายหลงั อธิบายวา ขอแรกหมายถงึ มจิ ฉาอาชีวะ ขอหลงั หมายถึง
สัมมาอาชีวะ ดังนก้ี ม็ ี.

M.I.161; A.I.93. ม.ม.ู 12/313/314; องฺ.ทุก.ฺ 20/399/116.

[34] ปจจัยใหเกิดสัมมาทิฏฐิ 2 (ทางเกิดแหงแนวความคดิ ทีถ่ กู ตอ ง, ตน ทางของ
ปญ ญาและความดีงามทงั้ ปวง — Sammàdiññhi-paccaya: sources or conditions for the

arising of right view)
1. ปรโตโฆสะ (เสียงจากผอู ่ืน การกระตนุ หรอื ชกั จงู จากภายนอก คือ การรับฟงคําแนะนาํ ส่ัง

สอน เลา เรยี น หาความรู สนทนาซกั ถาม ฟง คําบอกเลา ชักจูงของผอู ืน่ โดยเฉพาะการสดบั
สัทธรรมจากทานผเู ปนกลั ยาณมติ ร — Paratoghosa: another's utterance; inducement

by others; hearing or learning from others)
2. โยนโิ สมนสิการ (การใชความคดิ ถกู วิธี ความรจู ักคดิ คิดเปน คือ ทําในใจโดยแยบคาย

มองสิ่งทง้ั หลายดวยความคิดพิจารณา รูจักสบื สาวหาเหตผุ ล แยกแยะสงิ่ นนั้ ๆ หรอื ปญ หานนั้ ๆ
ออก ใหเ หน็ ตามสภาวะและตามความสมั พนั ธแ หง เหตปุ จ จยั — Yonisomanasikàra: reasoned

attention; systematic attention; genetical reflection; analytical reflection)

ขอ ธรรม 2 อยางนี้ ไดแ ก ธรรมหมวดท่ี [1] และ [2] น่ันเอง แปลอยา งปจจบุ ันวา “องค
ประกอบของการศกึ ษา” หรือ “บุพภาคของการศกึ ษา” โดยเฉพาะขอท่ี 1 ในทนี่ ใี้ ชคํากวา งๆ แต

ธรรมทตี่ องการเนน กค็ ือ กัลยาณมิตตตา

ปจจยั ใหเกิดมจิ ฉาทิฏฐิ ก็มี 2 อยาง คอื ปรโตโฆสะ และ อโยนิโสมนสกิ าร ซึง่ ตรงขามกับที่

กลาวมาน.ี้

ดู [280] บุพนมิ ิตแหงมรรค 7, [293] มรรคมอี งค 8

M.I.294; A.I.87. ม.ม.ู 12/497/539; องฺ.ทุก. 20/371/110.

[35] ปาพจน 2 (วจนะอนั เปนประธาน, พทุ ธพจนห ลกั , คําสอนหลกั ใหญ — Pàvacana:

fundamental text; fundamental teaching)

1. ธรรม (คําสอนแสดงหลักความจริงท่ีควรรู และแนะนําหลักความดีท่ีควรประพฤติ —
Dhamma: the Doctrine)
2. วนิ ัย (ขอ บญั ญัตทิ ีว่ างไวเ ปนหลกั กํากบั ความประพฤติใหเปน ระเบยี บเรียบรอ ยเสมอกัน —
Vinaya: the Discipline)

ดู [75] ไตรปฎก ดวย.

DII.154. ท.ี ม. 10/141/178.

[,,] พุทธคุณ 2 ดู [304] พทุ ธคุณ 2.

[36] 70 พจนานุกรมพุทธศาสตร

[,,] พุทธคุณ 3 ดู [305] พทุ ธคุณ 3.
[,,] ไพบูลย 2 ดู [44] เวปุลละ 2.
[36] ภาวนา 2 (การเจริญ, การทาํ ใหเ กิดใหม ีข้ึน, การฝก อบรมจติ ใจ — Bhàvanà:

mental development)
1. สมถภาวนา (การฝก อบรมจติ ใหเกิดความสงบ, การฝกสมาธิ — Samatha-bhàvanà:

tranquillity development)
2. วิปสสนาภาวนา (การฝกอบรมปญญาใหเ กิดความรแู จงตามเปนจริง, การเจริญปญญา —
Vipassanà-bhàvanà: insight development)

สองอยางนี้ ในบาลที ี่มาทา นเรียกวา ภาเวตพั พธรรม และ วชิ ชาภาคิยธรรม. ในคัมภรี สมัย

หลัง บางทีเรยี กวา กรรมฐาน (อารมณเ ปนทต่ี ง้ั แหงงานเจริญภาวนา, ท่ีตั้งแหงงานทาํ ความเพยี ร

ฝกอบรมจิต, วธิ ฝี กอบรมจิต — Kammaññhàna: stations of mental exercises; mental

exercise; สงคฺ ห. 51; Comp. 202)

D.III.273; A.I.60. ท.ี ปา.11/379/290; องฺ.ทุก.20/275/77.

[37] ภาวนา 4 (การเจรญิ , การทาํ ใหเปนใหมขี ึ้น, การฝกอบรม, การพฒั นา — Bhàvanà:

growth; cultivation; training; development)
1. กายภาวนา (การเจรญิ กาย, พฒั นากาย, การฝกอบรมกาย ใหรจู ักตดิ ตอ เกีย่ วของกบั สิ่งทั้ง

หลายภายนอกทางอนิ ทรียทงั้ หา ดวยดี และปฏบิ ตั ิตอ สงิ่ เหลาน้ันในทางทเ่ี ปน คุณ มิใหเกดิ โทษ

ใหก ศุ ลธรรมงอกงาม ใหอ กศุ ลธรรมเส่ือมสูญ, การพัฒนาความสมั พนั ธก ับสิ่งแวดลอ มทางกาย
ภาพ — Kàya-bhàvanà: physical development)
2. สีลภาวนา (การเจรญิ ศีล, พฒั นาความประพฤติ, การฝก อบรมศลี ใหต ัง้ อยูในระเบยี บวนิ ัย
ไมเบียดเบียนหรือกอ ความเดอื ดรอนเสียหาย อยูรว มกบั ผอู นื่ ไดดว ยดี เกื้อกูลแกกนั — Sãla-
bhàvanà: moral development)
3. จติ ตภาวนา (การเจรญิ จิต, พัฒนาจิต, การฝกอบรมจติ ใจ ใหเขมแขง็ ม่นั คง เจริญงอกงาม

ดว ยคุณธรรมท้ังหลาย เชน มีเมตตากรณุ า มีฉนั ทะ ขยันหมนั่ เพยี ร อดทน มสี มาธิ และสดชืน่
เบกิ บาน เปน สขุ ผองใส เปนตน — Citta-bhàvanà: cultivation of the heart; emotional

development)
4. ปญ ญาภาวนา (การเจริญปญญา, พัฒนาปญ ญา, การฝก อบรมปญญา ใหร ูเขาใจสิ่งทั้ง

หลายตามเปน จริง รูเ ทา ทนั เห็นแจง โลกและชวี ติ ตามสภาวะ สามารถทาํ จติ ใจใหเ ปน อสิ ระ ทําตน

ใหบริสุทธิ์จากกิเลสและปลอดพนจากความทุกข แกไขปญหาที่เกิดข้ึนไดดวยปญญา —
Pa¤¤à-bhàvanà: cultivation of wisdom; intellectual development; wisdom

development)

ในบาลที ม่ี า ทา นแสดงภาวนา 4 น้ี ในรปู ทเ่ี ปน คณุ บทของบคุ คล จงึ เปน ภาวติ 4 คอื ภาวติ กาย

หมวด 2 71 [39]

ภาวิตศลี ภาวติ จิต ภาวิตปญญา (ผไู ดเจรญิ กาย ศีล จติ และปญญาแลว ) บุคคลที่มคี ณุ สมบตั ิ

ชดุ นคี้ รบถวนยอ มเปนพระอรหนั ต

A.III.106. องฺ.ปฺจก. 22/79/121.

[38] รูป 21, 28 (สภาวะทแี่ ปรปรวนแตกสลายเพราะปจจยั ตางๆ อันขดั แยง , รา งกายและ

สวนประกอบฝายวัตถุพรอมทั้งพฤติกรรมและคุณสมบัติของมัน, สวนที่เปนรางกับทั้งคุณและ
อาการ — Råpa: corporeality; materiality; matter)
1. มหาภูต หรือ ภตู รปู 4 (สภาวะอันปรากฏไดเปนใหญๆ โตๆ หรือเปนตางๆ ไดม ากมาย, รปู
ทีม่ ีอยูโ ดยสภาวะ, รปู ตน เดมิ ไดแ กธาตุ 4 — Mahàbhåta: primary elements)
2. อปุ าทารูป หรอื อุปาทายรปู 24 (รูปอาศยั , รูปที่เปนไปโดยอาศัยมหาภตู , คุณและอาการ
แหง มหาภตู — Upàdà-råpa: derivative materiality)

M.II.262; Ps.I.183. ม.อุ.14/83/75; ขุ.ปฏ.ิ 31/403/275.

รูป 28 ก็คือรปู 2 หมวดขางตน นีเ้ อง แตน ับขอ ยอ ย กลา วคอื

1. มหาภูต หรือ ภตู รูป 4 (รูปใหญ, รูปเดิม — Mahàbhåta: primary elements; great

essentials) ดู [39]

2. อุปาทายรปู 24 (รปู อาศัย, รปู สบื เนือ่ ง — Upàdà-råpa: derived material qualities) ดู

[40]

Comp.157. สงฺคห.33.

[39] มหาภูต หรอื ภูตรูป 4 (Mahàbhåta: the Four Primary Elements; primary

matter)

1. ปฐวธี าตุ (สภาวะทแ่ี ผไปหรอื กินเนือ้ ท,ี่ สภาพอันเปนหลกั ที่ตง้ั ที่อาศยั แหงสหชาตรูป เรยี ก

สามัญวา ธาตุแขน แข็ง หรอื ธาตดุ ิน — Pañhavã-dhàtu: element of extension; solid

element; earth)
2. อาโปธาตุ (สภาวะท่ีเอิบอาบหรอื ดูดซึม หรอื ซานไป ขยายขนาด ผนกึ พูนเขาดว ยกัน เรียก

สามญั วา ธาตเุ หลว หรือ ธาตุนา้ํ — âpo-dhàtu: element of cohesion; liquid element;

water)

3. เตโชธาตุ (สภาวะท่ีทําใหรอ น เรยี กสามญั วา ธาตุไฟ — Tejo-dhàtu: element of heat or

radiation; heating element; fire)

4. วาโยธาตุ (สภาวะทท่ี าํ ใหส นั่ ไหว เคลอื่ นท่ี และคา้ํ จนุ เรยี กสามญั วา ธาตลุ ม — Vàyo-dhàtu:

element of vibration or motion; air element; wind)
สอี่ ยา งนี้ เรยี กอกี อยา งหนง่ึ วา ธาตุ 4 (ในคมั ภรี ช นั้ หลงั มี 2–3 แหง เรยี กวา มหาภตู รปู 4)

D.I.214; Vism.443; Comp.154. ท.ี สี.9/343/277; วิสทุ ฺธิ.3/11; สงคฺ ห.33.

[40] 72 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

[40] อุปาทารูป หรอื อุปาทายรูป 24 (Upàdà-råpa: derivative materiality)

ก. ปสาทรูป 5 (รูปทเี่ ปนประสาทสาํ หรบั รบั อารมณ — Pasàda-råpa: sensitive material

qualities)
1. จกั ขุ (ตา — Cakkhu: the eye)
2. โสตะ (หู — Sota: the ear)
3. ฆานะ (จมกู — Ghàna: the nose)
4. ชิวหา (ล้นิ — Jivhà: the tongue)
5. กาย (กาย — Kàya: the body)
ข. โคจรรูป หรอื วสิ ัยรูป 5 (รปู ทีเ่ ปน อารมณหรือแดนรบั รูของอนิ ทรีย — Gocara-råpa or
Visaya-råpa: material qualities of sense-fields)
6. รปู ะ (รปู — Råpa: form)
7. สัททะ (เสยี ง — Sadda: sound)
8. คันธะ (กล่ิน — Gandha: smell)
9. รสะ (รส — Rasa: taste)
0. โผฏฐัพพะ (สมั ผสั ทางกาย — Phoññhabba: tangible objects) ขอน้ีไมนับเพราะเปน อนั

เดียวกับมหาภูต 3 คอื ปฐวี เตโช และ วาโย ท่กี ลา วแลวในมหาภตู
ค. ภาวรูป 2 (รูปที่เปนภาวะแหงเพศ — Bhàva-råpa: material qualities of sex)
10. อิตถตั ตะ, อิตถินทรยี  (ความเปนหญิง — Itthatta: femininity)
11. ปุริสัตตะ, ปรุ ิสินทรยี  (ความเปน ชาย — Purisatta: masculinity)
ง. หทยั รปู 1 (รปู คือหทัย — Hadaya-råpa: physical basis of mind)
12. หทยั วัตถุ* (ที่ตัง้ แหง ใจ, หวั ใจ — Hadaya-vatthu: heart-base)
จ. ชีวติ รูป 1 (รูปท่ีเปนชีวิต — Jãvita-råpa: material quality of life)
13. ชีวติ ินทรยี  (อินทรียค อื ชวี ติ — Jãvitindriya: life-faculty; vitality; vital force)
ฉ. อาหารรูป 1 (รปู คืออาหาร — âhàra-råpa: material quality of nutrition)
14. กวฬงิ การาหาร (อาหารคือคําขาว, อาหารทก่ี ิน — Kavaëiïkàràhàra: edible food;

nutriment)
ช. ปรจิ เฉทรปู 1 (รปู ทก่ี าํ หนดเทศะ — Pariccheda-råpa: material quality of delimitation)
15. อากาสธาตุ (สภาวะคอื ชองวาง — âkàsa-dhàtu: space-element)
ญ. วิญญัติรูป 2 (รปู คอื การเคล่อื นไหวใหร คู วามหมาย — Vi¤¤atti-råpa: material quality

* ขอนี้ ในพระไตรปฎก รวมท้งั อภธิ รรมปฎก ไมมี เวนแตป ฏ ฐานใชคาํ วา วัตถุ ไมม ี หทัย

หมวด 2 73 [42]

of communication)
16. กายวญิ ญตั ิ (การเคลือ่ นไหวใหรคู วามหมายดว ยกาย — Kàya-vi¤¤atti: bodily inti-

mation; gesture)
17. วจวี ิญญตั ิ (การเคล่ือนไหวใหร คู วามหมายดวยวาจา — Vacã-vi¤¤atti: verbal inti-

mation; speech)
ฎ. วิการรปู 5 (รปู คืออาการทดี่ ดั แปลงทาํ ใหแ ปลกใหพ ิเศษได — Vikàra-råpa: material

quality of plasticity or alterability)
18. [รูปส สะ] ลหตุ า (ความเบา — Lahutà: lightness; agility)
19. [รูปส สะ] มทุ ุตา (ความออ นสลวย — Mudutà: pliancy; elasticity; malleability)
20. [รูปสสะ] กัมมัญญตา (ความควรแกการงาน, ใชการได — Kamma¤¤atà:

adaptability; wieldiness)

0. วญิ ญัตริ ปู 2 ไมน ับเพราะซาํ้ ในขอ ญ.

ฏ. ลักขณรปู 4 (รูปคือลักษณะหรืออาการเปนเคร่อื งกําหนด — Lakkhaõa-råpa: material

quality of salient features)
21. [รูปสสะ] อปุ จยะ (ความกอตัวหรอื เติบขึน้ — Upacaya: growth; integration)
22. [รูปสสะ] สนั ตติ (ความสืบตอ — Santati: continuity)
23. [รปู ส สะ] ชรตา (ความทรุดโทรม — Jaratà: decay)
24. [รูปสสะ] อนิจจตา (ความปรวนแปรแตกสลาย — Aniccatà: impermanence)

Dhs.127; Vism.443; Comp.155. อภิ.ส.ํ 34/504/185; วิสุทธฺ .ิ 3/11; สงฺคห.34.

[41] รูป 22 (สงิ่ ท่เี ปน รา งพรอ มทัง้ คณุ และอาการ — Råpa: matter; materiality)

1. อปุ าทนิ นกรปู (รปู ทก่ี รรมยดึ ครองหรอื เกาะกมุ ไดแ กร ปู ทเ่ี กดิ จากกรรม — Upàdinnaka-
råpa: kammically grasped materiality; clung-to materiality; organic matter)

2. อนุปาทินนกรูป (รูปท่ีกรรมไมยึดครองหรือเกาะกุม ไดแกรูปท่ีมิใชเกิดจากกรรม —
Anupàdinnaka-råpa: kammically ungrasped materiality; not-clung-to materiality;

inorganic matter)

Vbh.14; Vism.450; Comp.159. อภิ.ว.ิ 35/36/19; วสิ ุทฺธ.ิ 3/20; สงคฺ ห.35.

[42] ฤทธิ์ 2 (อิทธิ คือความสาํ เรจ็ ความรงุ เรอื ง — Iddhi: achievement; success;

prosperity)
1. อามสิ ฤทธ (อามิสเปนฤทธิ์, ความสาํ เรจ็ หรอื ความรุง เรอื งทางวตั ถุ — âmisa-iddhi:

achievement of carnality; material or carnal prosperity)
2. ธรรมฤทธิ์ (ธรรมเปน ฤทธิ,์ ความสาํ เร็จหรอื ความรงุ เรอื งทางธรรม — Dhamma-iddhi:

[43] 74 พจนานุกรมพุทธศาสตร

achievement of righteousness; doctrinal or spiritual prosperity)

A.I.93. อง.ฺ ทกุ .20/403/117.

[,,] โลกบาลธรรม 2 ดู [23] ธรรมคุมครองโลก 2.
[43] วิมุตติ 2 (ความหลดุ พน — Vimutti: deliverance; liberation; freedom)

1. เจโตวิมตุ ติ (ความหลดุ พน แหง จิต, ความหลดุ พนดวยอาํ นาจการฝกจติ , ความหลดุ พนแหง
จติ จากราคะ ดว ยกําลังแหงสมาธิ — Cetovimutti: deliverance of mind; liberation by

concentration)
2. ปญ ญาวิมตุ ติ (ความหลุดพน ดว ยปญญา, ความหลุดพนดวยอํานาจการเจรญิ ปญญา, ความ
หลดุ พนแหงจิตจากอวชิ ชา ดวยปญญาท่รี ูเหน็ ตามเปนจริง — Pa¤¤àvimutti: deliverance

through insight; liberation through wisdom)

A.I.60. องฺ.ทกุ .20/276/78.

[,,] เวทนา 2 ดู [110] เวทนา 2.
[44] เวปุลละ 2 (ความไพบูลย — Vepulla: abundance)

1. อามิสเวปุลละ (อามิสไพบลู ย, ความไพบลู ยแหงอามสิ — âmisa-vepulla: abundance

of material things; material abundance)
2. ธมั มเวปุลละ (ธรรมไพบลู ย ความไพบลู ยแ หงธรรม — Dhamma-vepulla: abundance

of virtues; doctrinal or spiritual abundance)

A.I.93. องฺ.ทุก.20/407/117.

[45] สมาธิ 2 (ความตงั้ มน่ั แหง จติ , ภาวะทจี่ ติ สงบนง่ิ จบั อยทู อ่ี ารมณอ นั เดยี ว — Samàdhi:

concentration)
1. อปุ จารสมาธิ (สมาธเิ ฉียดๆ, สมาธิจวนจะแนว แน — Upacàra-samàdhi: access con-

centration)
2. อัปปนาสมาธิ (สมาธแิ นวแน, สมาธิแนบสนทิ , สมาธิในฌาน — Appanà-samàdhi:

attainment concentration)

Vism.85, 371. วิสทุ ฺธ.ิ 1/105; 2/194.

[46] สมาธิ 31 (ความตงั้ มน่ั แหง จติ , ภาวะทจ่ี ติ สงบนง่ิ จบั อยทู อี่ ารมณอ นั เดยี ว — Samàdhi:

concentration)

1. ขณิกสมาธิ (สมาธชิ ่ัวขณะ — Khaõika-samàdhi: momentary concentration)
2. อุปจารสมาธิ (สมาธิจวนจะแนว แน — Upacàra-samàdhi: access concentration)
3. อปั ปนาสมาธิ (สมาธแิ นวแน — Appanà-samàdhi: attainment concentration)

DhsA.117; Vism.144. สงฺคณี.อ.207; วิสุทฺธิ.1/184.

หมวด 2 75 [50]

[47] สมาธิ 32 (ความตัง้ มน่ั แหง จิต หมายถึงสมาธใิ นวปิ สสนา หรือตัววิปส สนานั่นเอง แยก

ประเภทตามลกั ษณะการกาํ หนดพจิ ารณาไตรลกั ษณ ขอ ทใี่ หส าํ เรจ็ ความหลดุ พน — Samàdhi:

concentration)
1. สญุ ญตสมาธิ (สมาธิอันพิจารณาเหน็ ความวาง ไดแ ก วปิ ส สนาทีใ่ หถ งึ ความหลดุ พน ดวย
กาํ หนดอนตั ตลักษณะ — Su¤¤ata-samàdhi: concentration on the void)
2. อนมิ ิตตสมาธิ (สมาธิอันพิจารณาธรรมไมม นี มิ ิต ไดแ ก วิปสสนาทใ่ี หถงึ ความหลดุ พนดวย
กําหนดอนิจจลักษณะ — Animitta-samàdhi: concentration on the signless)
3. อัปปณหิ ิตสมาธิ (สมาธิอนั พิจารณาธรรมไมมคี วามตั้งปรารถนา ไดแ ก วปิ ส สนาท่ใี หถงึ
ความหลุดพน ดวยกําหนดทกุ ขลกั ษณะ — Appaõihita-samàdhi: concentration on the

desireless or non-hankering)

ดู [107] วิโมกข 3.

D.III.219; A.I.299; Ps.I.49. ท.ี ปา.11/228/231; องฺ.ตกิ .20/599/385; ขุ.ปฏิ.31/92/70.

[48] สังขาร 2 (สภาพทป่ี จจยั ท้ังหลายปรุงแตงขึ้น, ส่ิงท่เี กดิ จากเหตุปจ จยั — Saïkhàra:

conditioned things; compounded things)

1. อปุ าทินนกสงั ขาร (สังขารทกี่ รรมยดึ ครองหรอื เกาะกมุ ไดแ กอปุ าทนิ นธรรม — Upà-
dinnaka-saïkhàra: kammically grasped phenomena)
2. อนุปาทินนกสังขาร (สังขารท่กี รรมไมย ดึ ครองหรือเกาะกมุ ไดแกอนปุ าทนิ นธรรมทงั้ หมด
เวน แตอสงั ขตธาตุ คอื นพิ พาน — Anupàdinnaka-saïkhàra: kammically ungrasped

phenomena)

ดู [22] ธรรม 24; [41] รปู 22; [119] สงั ขาร 3 1; [185] สงั ขาร 4 ดวย.

AA.IV.50. องฺ.อ.3/223; วภิ งคฺ .อ.596.

[49] สังคหะ 2 (การสงเคราะห — Saïgaha: aid; giving of help or favours; act of

aiding or supporting)
1. อามสิ สังคหะ (อามิสสงเคราะห, สงเคราะหด ว ยอามิส — âmisa-saïgaha: supporting

with requisites; material aid)
2. ธมั มสังคหะ (ธรรมสงเคราะห, สงเคราะหดวยธรรม — Dhamma-saïgaha: aiding by

teaching or showing truth; spiritual aid)

A.I.91. อง.ฺ ทุก.20/393/115.

[50] สัจจะ 2 (ความจรงิ — Sacca: truth)

1. สมมติสจั จะ (ความจรงิ โดยสมมตุ ิ, ความจริงท่ขี ้นึ ตอ การยอมรับของคน, ความจริงท่ีถือ

ตามความกาํ หนดหมายตกลงกันไวของชาวโลก เชน วา คน สัตว โตะ หนงั สอื เปนตน —

[51] 76 พจนานุกรมพุทธศาสตร

Sammati-sacca: conventional truth)
2. ปรมตั ถสจั จะ (ความจริงโดยปรมตั ถ, ความจรงิ ท่มี อี ยใู นธรรมชาติ โดยไมข นึ้ ตอ การยอม

รบั ของคน, ความจริงตามความหมายขน้ั สดุ ทา ยทีต่ รงตามสภาวะและเทา ทีจ่ ะกลาวถงึ ได เชนวา
รปู นาม เวทนา จติ เจตสิก เปน ตน — Paramattha-sacca: ultimate truth, absolute truth)

AA.I.95; KvuA.34. องฺ.อ.1/100; ปจฺ .อ.153,182,241; ฯลฯ.

[51] สาสน หรือ ศาสนา 2 (คําสอน — Sàsana: teaching; dispensation)

1. ปริยัติศาสนา (คาํ สอนฝายปริยัติ, คําสอนอันจะตองเลาเรียนหรือจะตอ งชํา่ ชอง ไดแก
สุตตะ เคยยะ ฯลฯ เวทลั ละ — Pariyatti-sàsana: teaching to be studied or mastered;

textual or scriptural teaching; dispensation as text) = [302] นวงั คสัตถุศาสน

2. ปฏิบัตศิ าสนา (คาํ สอนฝายปฏิบัต,ิ คาํ สอนท่จี ะตองปฏบิ ัติ ไดแ ก สมั มาปฏิปทา อนโุ ลม-

ปฏปิ ทา อปจ จนีกปฏปิ ทา (ปฏปิ ทาทไี่ มขดั ขวาง) อนั วัตถปฏิปทา (ปฏิปทาทเี่ ปนไปตามความมุง

หมาย) ธัมมานธุ ัมมปฏิปทา (ปฏิบัตธิ รรมถกู หลัก) กลา วคือ การบําเพญ็ ศีลใหบรบิ ูรณ, [128]

ความคมุ ครองทวารในอนิ ทรียทงั้ หลาย โภชเนมัตตญั ตุ า ชาคริยานุโยค สตสิ ัมปชัญญะ, [182]

สตปิ ฏฐาน 4, [156] สัมมัปปธาน 4, [213] อทิ ธบิ าท 4, [258] อนิ ทรยี  5, [228] พละ 5, [281]
โพชฌงค 7, [293] มรรคมอี งค 8 — Pañipatti-sàsana: teaching to be practised;

practical teaching; dispensation as practice) ทเี่ ปน สําคัญในหมวดนี้ กค็ ือ [352] โพธิ-

ปก ขิยธรรม 37.

Nd1143. ขุ.ม.29/232/175.

[52] สุข 21 (ความสขุ — Sukha: pleasure; happiness)

1. กายกิ สุข (สขุ ทางกาย — Kàyika-sukha: bodily happiness)
2. เจตสิกสขุ (สขุ ทางใจ — Cetasika-sukha: mental happiness)

A.I.80. องฺ.ทกุ .20/315/101.

[53] สุข 22 (ความสขุ — Sukha: pleasure; happiness)

1. สามสิ สขุ (สขุ อิงอามสิ , สุขอาศยั เหยือ่ ลอ , สขุ จากวตั ถคุ ือกามคุณ — Sàmisa-sukha:

carnal or sensual happiness)
2. นริ ามิสสุข (สขุ ไมอ ิงอามิส, สุขไมตองอาศยั เหย่ือลอ , สุขปลอดโปรง เพราะใจสงบหรือไดรู
แจงตามเปน จริง — Niràmisa-sukha: happiness independent of material things or

sensual desires; spiritual happiness)

A.I.80. องฺ.ทกุ .20/313/101.

[54] สุทธิ 2 (ความบรสิ ุทธ์,ิ ความสะอาดหมดจด — Suddhi: purity)

1. ปรยิ ายสทุ ธิ (ความบริสทุ ธ์บิ างสว น, หมดจดในบางแงบางดา น ไดแก ความบรสิ ุทธข์ิ อง

หมวด 2 77 [57]

ปถุ ุชนจนถงึ พระอริยบคุ คลผตู งั้ อยูใ นอรหัตตมรรค ท่ีครองตนบริสทุ ธิด์ วยขอปฏิบัติหรือธรรมที่
ตนเขาถึงบางอยา ง แตยังมกี จิ ในการละและเจริญซึง่ จะตองทําตอ ไปอีก — Pariyàya-suddhi:

partial purity)
2. นปิ ปรยิ ายสทุ ธิ (ความบริสทุ ธสิ์ ิน้ เชงิ , หมดจดแทจ รงิ เต็มความหมาย ไดแก ความบรสิ ทุ ธ์ิ

ของพระอรหันตผูเสร็จกิจในการละและการเจริญธรรม ครองตนไรมลทินทุกประการ —
Nippariyàya-suddhi: absolute purity)

AA.I.293–4. อง.ฺ อ.2/4.

[,,] อรหันต 2 ดู [61] อรหนั ต 2.

[55] อริยบุคคล 2 (บุคคลผูป ระเสรฐิ , ผบู รรลธุ รรมพิเศษต้ังแตโ สดาปตตมิ รรคขนึ้ ไป, ผู
เปนอารยะในความหมายของพระพุทธศาสนา — Ariya-puggala: noble individuals; holy

persons)

1. เสขะ (พระเสขะ, พระผยู งั ตอ งศึกษา ไดแกพระอริยบุคคล 7 เบ้ืองตนในจาํ นวน 8 —
Sekha: the learner)
2. อเสขะ (พระอเสขะ, พระผไู มตอ งศึกษา ไดแกผบู รรลุอรหตั ตผลแลว — Asekha: the

adept)

ทั้ง 2 ประเภทน้ี ในบาลที ม่ี าเรียกวา ทักขไิ ณยบุคคล 2.

A.I.62. องฺ.ทุก.20/280/80.

[56] อริยบุคคล 4

1. โสดาบนั (“ผถู งึ กระแส”, ทา นผบู รรลโุ สดาปต ตผิ ลแลว — Sotàpanna: Stream-Enterer)
2. สกทาคามี (“ผกู ลบั มาอกี ครงั้ เดยี ว”, ทา นผบู รรลสุ กทาคามผิ ลแลว — Sakadàgàmã:

Once-Returner)
3. อนาคามี (“ผไู มเ วยี นกลบั มาอกี ”, ทา นผบู รรลอุ นาคามผิ ลแลว — Anàgàmã: Non-

Returner)
4. อรหนั ต (“ผคู วร”, “ผหู กั กาํ แหง สงสารแลว ”, ทา นผบู รรลอุ รหตั ตผลแลว — Arahanta: the

Worthy One)

ดู [164] มรรค 4; [329] สังโยชน 10 1.

D.I.156. นัย ที.สี.9/250–253/199–200.

[57] อริยบุคคล 8 แยกเปน มรรคสมงั คี (ผพู รอ มดวยมรรค) 4, ผลสมังคี (ผพู รอ มดว ย

ผล) 4
1. โสดาบนั (ทา นผูบรรลโุ สดาปตตผิ ลแลว , พระผูตัง้ อยูในโสดาปตตผิ ล — one who has

entered the Stream; one established in the Fruition of Stream-Entry; Stream-Enterer)

[58] 78 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

2. ทา นผปู ฏบิ ัตเิ พื่อทําใหแ จง โสดาปต ตผิ ล (พระผูตัง้ อยูใ นโสดาปตติมรรค — one who
has worked for the realization of the Fruition of Stream-Entry; one established in

the Path of Stream-Entry)
3. สกทาคามี (ทา นผบู รรลุสกทาคามิผลแลว, พระผตู ง้ั อยใู นสกทาคามผิ ล — one who is a
Once-Returner; one established in the Fruition of Once-Returning)
4. ทา นผูป ฏิบตั ิเพอ่ื ทําใหแจงสกทาคามผิ ล (พระผตู งั้ อยใู นสกทาคามิมรรค — one who
has worked for the realization of the Fruition of Once-Returning; one established

in the Path of Once-Returning)
5. อนาคามี (ทานผูบ รรลอุ นาคามิผลแลว, พระผูต้ังอยใู นอนาคามิผล — one who is a
Non-Returner; one established in the Fruition of Non-Returning)
6. ทา นผปู ฏบิ ตั ิเพอื่ ทําใหแ จงอนาคามิผล (พระผตู ้ังอยูในอนาคามิมรรค — one who
has worked for the realization of the Fruition of Non-Returning; one established

in the Path of Non-Returning)
7. อรหันต (ทา นผูบรรลุอรหตั ตผลแลว , พระผตู ั้งอยใู นอรหัตตผล — one who is an
Arahant; one established in the Fruition of Arahantship)
8. ทานผปู ฏิบัตเิ พอ่ื ทําใหแ จง อรหัตตผล (พระผูต ั้งอยใู นอรหัตตมรรค — one who has
worked for the realization of the Fruition of Arahantship; one established in the

Path of Arahantship)

ทงั้ 8 ประเภทนี้ ในบาลที ี่มาทั้งหลายเรยี กวา ทกั ขไิ ณยบุคคล 8

ดู [164–5] มรรค 4 ผล 4 ดวย.

D.III.255; A.IV.291; Pug 73. ท.ี ปา.11/342/267; องฺ.อฏก.23/149/301; อภิ.ป.ุ 36/150/233.

[58] โสดาบัน 3 (ทา นผูบรรลโุ สดาปต ตผิ ลแลว , ผแู รกถงึ กระแสอนั นาํ ไปสูพระนพิ พาน
แนตอ การตรัสรูขา งหนา — Sotàpanna: Stream-Enterer)

1. เอกพีชี (ผูมีพืชคอื อตั ภาพอนั เดยี ว คือ เกิดอีกครั้งเดียว กจ็ ักบรรลอุ รหัต — Ekabãjã: the

Single-Seed)

2. โกลงั โกละ (ผไู ปจากสกุลสสู กุล คือ เกดิ ในตระกลู สงู อีก 2–3 คร้ัง หรอื เกิดในสุคติอีก 2–3
ภพ ก็จักบรรลุอรหัต — Kolaïkola: the Clan-to-Clan)
3. สัตตักขตั ตุงปรมะ (ผูมเี จด็ ครั้งเปน อยางยิง่ คือ เวยี นเกิดในสุคติภพอกี อยา งมากเพยี ง 7
ครง้ั ก็จักบรรลุอรหัต — Sattakkhattu§parama: the Seven-Times-at-Most)

เกณฑแบงหรือเหตใุ หเ ปน เชน น้ี กําหนดดว ยวิปส สนาและความมีอินทรียอันแกก ลา ปาน

กลาง และออ นกวา กนั ตามลาํ ดับ

A.I.233: IV.380; V.120; Pug.3,16,74. อง.ฺ ติก.20/528/302;อง.ฺ นวก.23/216/394;องฺ.ทสก.24/64/129/;อภ.ิ ปุ.36/47–9/147.

หมวด 2 79 [61]

[59] สกทาคามี 3, 5 (ทา นผบู รรลสุ กทาคามผิ ลแลว , ผกู ลบั มาอกี ครงั้ เดยี ว — Sakadà-

gàmã: Once-Returner)
พระสกทาคามีนี้ ในบาลมี ไิ ดแยกประเภทไว แตในคัมภีรร ุนหลังแยกประเภทไวหลายอยาง

เชน ในคัมภีรป รมตั ถโชตกิ า แยกไวเ ปน 3 ประเภท คือ ผไู ดบ รรลุผลนัน้ ในกามภพ 1 ในรปู
ภพ 1 ในอรูปภพ 1

ในคัมภีรป รมัตถมัญชุสา จาํ แนกไว 5 ประเภท คือ ผูบรรลุในโลกน้แี ลว ปรนิ พิ พานในโลก
นี้เอง 1 ผบู รรลใุ นโลกน้แี ลว ปรนิ ิพพานในเทวโลก 1 ผบู รรลุในเทวโลกแลว ปรินิพพานใน
เทวโลกนน้ั เอง 1 ผูบรรลุในเทวโลกแลว เกิดในโลกนีจ้ ึงปรินพิ พาน 1 ผบู รรลใุ นโลกนแ้ี ลว ไป
เกดิ ในเทวโลกหมดอายุแลว กลบั มาเกดิ ในโลกนจี้ งึ ปรินิพพาน 1 และอธิบายตอ ทายวา พระ
สกทาคามีท่ีกลา วถงึ ในบาลหี มายเอาประเภทที่ 5 อยา งเดียว

นอกจากน้ี ทีท่ านแบงออกเปน 4 บาง 12 บาง ก็มี แตจ ะไมก ลา วไวในทนี่ ี้

KhA.182. ขทุ ทฺ ก.อ.199; วิสทุ ฺธ.ิ ฏกี า3/655.

[60] อนาคามี 5 (ทา นผบู รรลอุ นาคามผิ ลแลว , ผูไมเวียนกลบั มาอกี — Anàgàmã: Non-

Returner)
1. อันตราปรินพิ พายี (ผปู รนิ พิ พานในระหวาง คอื เกิดในสุทธาวาสภพใดภพหนงึ่ แลว อายยุ งั
ไมถ ึงกง่ึ ก็ปรนิ พิ พานโดยกเิ ลสปรินิพพาน — Antarà-parinibbàyã: one who attains

Parinibbàna within the first half life-span)
2. อุปหัจจปรนิ ิพพายี (ผูจวนจะถึงจงึ ปรนิ พิ พาน คือ อายุพน ก่ึงแลว จวนจะถงึ ส้นิ อายุจึง
ปรินพิ พาน — Upahacca-parinibbàyã: one who attains Parinibbàna after the first

half life-span)
3. อสังขารปรนิ พิ พายี (ผูป รินิพพานโดยไมต อ งใชแรงชกั จงู คือ ปรนิ ิพพานโดยงาย ไมต อง
ใชความเพยี รนัก — Asaïkhàra-parinibbàyã: one who attains Parinibbàna without

exertion)

4. สสังขารปรินิพพายี (ผูปรินพิ พานโดยใชแรงชกั จูง คอื ปรนิ พิ พานโดยตองใชความเพยี ร
มาก — Sasaïkhàra-parinibbàyã: one who attains Parinibbàna with exertion)
5. อทุ ธงั โสโตอกนฏิ ฐคามี (ผูมกี ระแสในเบื้องบนไปสอู กนิฏฐภพ คอื เกดิ ในสทุ ธาวาสภพใด
ภพหนึ่งก็ตาม จะเกิดเลอ่ื นตอ ขึ้นไปจนถึงอกนฏิ ฐภพแลวจงึ ปรนิ พิ พาน — Uddha§soto-
akaniññhagàmã: one who goes upstream bound for the highest realm; up-streamer

bound for the Not-Junior Gods)

เกณฑแบง ไดแกค วามตางแหง อนิ ทรีย มศี รัทธาเปนตน ท่ียิ่งหยอ นกวากนั

A.I.233; IV.14,70,380; V.120; Pug.16. องฺ.ตกิ .20/528/302; อง.ฺ นวก.23/216/394; องฺ.ทสก.24/64/129; อภ.ิ ปุ.36/52–6/148.

[61] อรหันต 2 (ผูบ รรลอุ รหัตตผลแลว , ทานผสู มควรรบั ทักษิณาและการเคารพบชู าอยา ง

[62] 80 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

แทจ รงิ — Arahanta: an Arahant; arahant; Worthy One)
1. สกุ ขวิปส สก (ผเู หน็ แจงอยางแหง แลง คือ ทานผูมไิ ดฌ าน สาํ เรจ็ อรหัตดวยเจรญิ แต
วปิ ส สนาลว นๆ — Sukkhavipassaka: the dry-visioned; bare-insight worker)
2. สมถยานิก (ผูมสี มถะเปนยาน คอื ทานผูเจรญิ สมถะจนไดฌานสมาบตั แิ ลว จงึ เจรญิ
วปิ ส สนาตอ จนไดสําเร็จอรหัต — Samathayànika: one whose vehicle is tranquillity;

the quiet-vehicled)

การจําแนกพระอรหันตเปนสองประเภทอยางนี้ มาในคัมภีรชั้นหลังเชน ปรมัตถโชติกา
เปนตน ไมปรากฏในบาลีแหง ใด สรปุ คําอธบิ ายเพอ่ื เขาใจเพิม่ เติมดงั น้ี

ประเภทที่ 1 คอื ทานทอ่ี าศัยเพียงอปุ จารสมาธิ เจรญิ วปิ ส สนาไปจนถึงท่สี ุด แตเ มือ่ จะสาํ เรจ็

อรหตั นนั้ กเ็ ปน ผไู ดป ฐมฌาน ประเภทน้ี เรยี กอกี อยา งวา วปิ ส สนายานกิ หรอื สทุ ธวปิ ส สนายานกิ

(ผมู ีวปิ ส สนาลว นๆ เปน ยาน — Suddhavipassanàyànika: one whose vehicle is pure

insight; the insight-vehicled)

ประเภทที่ 2 คอื ที่บาลีเรียกวา อภุ โตภาควิมตุ

KhA.178,183; Vism.587,666. ขทุ ทฺ ก.อ.200; วสิ ุทฺธิ.3/206,312; วิสทุ ฺธิ.ฏีกา3/398;576.

[62] อรหันต 4, 5, 60 (Arahanta: an Arahant; arahant; Worthy One)

1. สกุ ขฺ วปิ สฺสโก (ผูเ จริญวปิ สสนาลว น — Sukkhavipassaka: bare-insight worker)

2. เตวชิ โฺ ช (ผูไดวิชชาสาม — Tevijja: one with the Threefold Knowledge)

3. ฉฬภิฺโ (ผูไ ดอภญิ ญาหก — Chaëabhi¤¤a: one with the Sixfold Super-

knowledge)
4. ปฏสิ มฺภทิ ปฺปตฺโต (ผูบ รรลปุ ฏิสมั ภทิ า — Pañisambhidappatta: one having attained

the Analytic Insights)

พระอรหันตท้ังส่ีในหมวดนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรง

ประมวลแสดงไวในหนังสอื ธรรมวภิ าค ปริเฉทที่ 2 หนา 41 พึงทราบคําอธิบายตามที่มาเฉพาะ

ของคาํ นั้นๆ

แตในคัมภรี ทง้ั หลายนยิ มจาํ แนกเปน 2 อยาง เหมอื นในหมวดกอนบาง เปน 5 อยา งบา ง ท่ี

เปน 5 คือ
1. ปญ ญาวมิ ตุ (ผูห ลดุ พนดวยปญญา — Pa¤¤àvimutta: one liberated by wisdom)
2. อุภโตภาควิมุต (ผูหลดุ พนทั้งสองสวน คือ ไดท ้งั เจโตวมิ ุตติ ขนั้ อรปู สมาบตั กิ อน แลว ได
ปญ ญาวมิ ุตติ — Ubhatobhàgavimutta: one liberated in both ways)
3. เตวชิ ชะ (ผไู ดวชิ ชาสาม — Tevijja: one possessing the Threefold Knowledge)
4. ฉฬภิญญะ (ผไู ดอภิญญาหก — Chaëabhi¤¤a: one possessing the Sixfold Super-

knowledge)

หมวด 2 81 [63]

5. ปฏิสัมภิทปั ปตตะ (ผบู รรลุปฏสิ มั ภทิ าสี่ — Pañisambhidappatta: one having gained
the Four Analytic Insights)

ท้ังหมดน้ี ยอ ลงแลว เปน 2 คอื พระปญญาวิมุต กับพระอุภโตภาควิมตุ เทานัน้ พระสุกข-

วปิ สสกท่ีกลาวถงึ ขางตน เปน พระปญ ญาวิมุต ประเภทหน่ึง (ในจาํ นวนพระปญ ญาวมิ ตุ 5

ประเภท คอื พระสกุ ขวิปส สก และทานผไู ดฌ าน 4 ข้นั ใดข้นั หน่ึงมากอ นไดบ รรลุอรหัตตผล)

พระเตวชิ ชะ กับพระฉฬภญิ ญะ เปน อุภโตภาควิมตุ ทั้งนัน้ แตท านแยกพระอุภโตภาควมิ ุตไว

เปน ขอ หนง่ึ ตางหาก เพราะพระอุภโตภาควิมตุ ทไ่ี มไดโ ลกยี วิชชาและโลกียอภญิ ญา กม็ ี สว น
พระปฏิสัมภิทัปปตตะ ไดความแตกฉานท้งั สด่ี วยปจ จยั ทัง้ หลาย คือ การเลาเรยี น สดบั สอบคน
ประกอบความเพียรไวเกา และการบรรลุอรหัต.

พระอรหนั ต 5 นัน้ แตล ะประเภท จําแนกโดยวโิ มกข 3 รวมเปน 15 จาํ แนกออกไปอกี โดย
ปฏปิ ทา 4 จึงรวมเปน 60 ความละเอยี ดในขอนี้ จะไมแ สดงไว เพราะจะทําใหฟ น เฝอ ผตู อ งการ
ทราบยิง่ ขึ้นไป พงึ นําหลกั ท่ีกลาวมาต้งั เปนเกณฑจ ําแนกไดเ อง

ดู [61] อรหันต 2; [106] วชิ ชา 3; [155] ปฏสิ มั ภทิ า 4; [274] อภิญญา 6.

Vism.710. วิสุทธฺ ิ.3/373; วสิ ุทธฺ ิ.ฏีกา3/657.

[63] อริยบุคคล 7 (บุคคลผูประเสริฐ — Ariyapuggala: noble individuals) เรียงจาก

สูงลงมา
1. อุภโตภาควมิ ุต (ผูห ลดุ พนท้งั สองสว น คอื ทา นทไ่ี ดสัมผสั วิโมกข 8 ดว ยกาย และส้ิน

อาสวะแลวเพราะเห็นดว ยปญญา หมายเอาพระอรหันตผ ไู ดเจโตวิมุตติข้ันอรปู สมาบตั ิมากอนที่
จะไดปญ ญาวิมตุ ติ — Ubhatobhàgavimutta: one liberated in both ways)
2. ปญญาวมิ ตุ (ผหู ลุดพนดวยปญ ญา คือ ทา นทมี่ ิไดสมั ผสั วโิ มกข 8 ดวยกาย แตสนิ้ อาสวะ
แลว เพราะเหน็ ดว ยปญ ญา หมายเอาพระอรหนั ตผ ไู ดป ญ ญาวมิ ตุ ตกิ ส็ าํ เรจ็ เลยทเี ดยี ว — Pa¤¤a-
vimutta: one liberated by understanding)
3. กายสกั ขี (ผเู ปนพยานดว ยนามกาย หรอื ผูประจักษกับตวั คือ ทา นท่ไี ดส ัมผัสวโิ มกข 8

ดวยกาย และอาสวะบางสวนกส็ ิ้นไปเพราะเหน็ ดวยปญ ญา หมายเอาพระอรยิ บคุ คลผูบ รรลุโสดา
ปต ตผิ ลแลว ขนึ้ ไป จนถึงเปน ผปู ฏบิ ัติเพือ่ อรหตั ทม่ี ีสมาธนิ ทรียแกกลา ในการปฏบิ ัติ — Kàya-
sakkhã: the body-witness)
4. ทิฏฐิปปตตะ (ผบู รรลุสัมมาทฏิ ฐิ คือ ทา นท่เี ขาใจอริยสจั จธรรมถกู ตอ งแลว และอาสวะบาง

สวนกส็ นิ้ ไปเพราะเห็นดวยปญ ญา หมายเอาพระอริยบคุ คลผบู รรลโุ สดาปต ติผลแลว ขน้ึ ไป จน
ถึงเปน ผูปฏบิ ตั เิ พอื่ อรหตั ทม่ี ปี ญญินทรียแกกลาในการปฏบิ ัติ — Diññhippatta: one attained

to right view)
5. สัทธาวมิ ุต (ผูห ลุดพนดวยศรัทธา คอื ทา นท่เี ขา ใจอริยสัจจธรรมถกู ตอ งแลว และอาสวะ

บางสวนกส็ น้ิ ไปเพราะเห็นดวยปญ ญา แตม ีศรทั ธาเปน ตวั นํา หมายเอาพระอริยบคุ คลผบู รรลุ

โสดาปตตผิ ลแลวขึน้ ไป จนถงึ เปนผูปฏบิ ัตเิ พือ่ อรหตั ท่มี ีสทั ธินทรียแกกลาในการปฏิบัติ —

[63] 82 พจนานุกรมพุทธศาสตร

Saddhàvimutta: one liberated by faith)
6. ธมั มานุสารี (ผแู ลน ไปตามธรรม หรอื ผแู ลนตามไปดวยธรรม คือ ทานผูป ฏิบตั เิ พอื่ บรรลุ

โสดาปต ติผลที่มปี ญญนิ ทรยี แกกลา อบรมอริยมรรคโดยมปี ญ ญาเปน ตัวนาํ ทานผนู ีถ้ า บรรลุผล
แลว กลายเปน ทิฏฐปิ ปต ตะ — Dhammànusàrã: the truth-devotee)
7. สัทธานุสารี (ผูแลน ไปตามศรัทธา หรอื ผูแลน ตามไปดว ยศรทั ธา คอื ทานผปู ฏบิ ัตเิ พื่อบรรลุ

โสดาปต ติผลที่มีสัทธินทรียแ กกลา อบรมอรยิ มรรคโดยมศี รทั ธาเปนตวั นํา ทานผูน ถ้ี าบรรลุผล
แลว กลายเปน สทั ธาวมิ ตุ — Saddhànusàrã: the faith-devotee)

กลาวโดยสรุป

บคุ คลประเภทที่ 1 และ 2 (อภุ โตภาควมิ ตุ และปญญาวิมตุ ) ไดแ กพระอรหนั ต 2 ประเภท

บคุ คลประเภทที่ 3, 4 และ 5 (กายสกั ขี ทฏิ ฐิปปต ตะ และสทั ธาวิมตุ ) ไดแ กพระโสดาบนั

พระสกทาคามี พระอนาคามี และทา นผตู ้ังอยูในอรหตั ตมรรค จาํ แนกเปน 3 พวกตามอนิ ทรียที่
แกกลา เปนตัวนําในการปฏบิ ัติ คอื สมาธินทรีย หรือปญ ญินทรยี  หรอื สทั ธินทรีย

บุคคลประเภทที่ 6 และ 7 (ธมั มานุสารี และสทั ธานุสารี) ไดแกทานผูต้งั อยใู นโสดาปต ต-ิ

มรรค จาํ แนกตามอนิ ทรียท่ีเปน ตวั นาํ ในการปฏิบัติ คอื ปญญินทรยี  หรอื สทั ธนิ ทรีย

อยา งไรกต็ าม ขอ ความทีอ่ ธบิ ายมาเกย่ี วกับบุคคลประเภทที่ 3, 4, 5 บางคมั ภีรก ลาววาเปน
การแสดงโดยนปิ ปริยาย คอื แสดงความหมายโดยตรงจาํ เพาะลงไป แตในคัมภีรปฏสิ มั ภทิ ามคั ค

ทานแสดงความหมายโดยปริยาย เรียกผูทีป่ ฏบิ ัติโดยมสี ัทธนิ ทรียเปนตวั นาํ วาเปน สัทธาวิมตุ

ตั้งแตบ รรลโุ สดาปตตผิ ล ไปจนบรรลุอรหตั ตผล; เรียกผูปฏบิ ัตโิ ดยมีสมาธินทรยี เ ปน ตัวนาํ วา

เปน กายสักขี ต้ังแตบรรลุโสดาปตติมรรค ไปจนบรรลุอรหัตตผล; เรียกผูท่ีปฏิบัติโดยมี
ปญ ญินทรยี เปนตวั นาํ วาเปน ทฏิ ฐปิ ปตตะ ตัง้ แตบ รรลโุ สดาปต ติผลไปจนบรรลอุ รหตั ตผล;
โดยนยั นีจ้ งึ มีคาํ เรียกพระอรหันตว า สัทธาวิมุต หรือ กายสักขี หรอื ทฏิ ฐปิ ปตตะ ไดด ว ย แตถา
ถือศัพทเครงครัด กม็ แี ต อุภโตภาควิมตุ กบั ปญญาวิมตุ เทาน้ัน

ในฎีกาแหงวิสุทธิมคั คคอื ปรมตั ถมญั ชุสา มคี ําอธิบายวา ผไู มไ ดว ิโมกข 8 เมื่อต้งั อยใู นโสดา

ปต ติมรรคเปน สทั ธานสุ ารี หรือ ธมั มานสุ ารี อยา งใดอยางหน่ึง ตอ จากนัน้ เปน สัทธาวมิ ุต หรือ
ทิฏฐิปปตตะ จนไดสําเรจ็ อรหตั ตผล จงึ เปน ปญญาวมิ ุต; ผูไดวิโมกข 8 เม่อื ต้งั อยใู น
โสดาปตตมิ รรคเปน สทั ธานุสารี หรอื ธัมมานสุ ารี อยา งใดอยางหนง่ึ ตอ จากนนั้ เปน กายสกั ขี
เมื่อสําเร็จอรหตั ตผล เปน อุภโตภาควมิ ุต

นอกจากน้ี มีขอสงั เกตวา บุคคลประเภทกายสกั ขีนเี่ องที่ไดช ือ่ วา สมถยานิก; สวนคําวา
ปญญาวิมุต บางแหงมีคําจาํ กัดความแปลกออกไปจากนี้วา ไดแกผ ูท บ่ี รรลุอรหตั โดยไมได

โลกียอภญิ ญา 5 และอรปู ฌาน 4 (ส.ํ นิ.16/283–9/147–150; S.II.121.)

อรยิ บุคคล 7 นี้ ในพระสุตตันตปฎก นยิ มเรียกวา ทักขไิ ณยบุคคล 7.

D.III.105,254; A.I.118; Ps.II.52; Pug.10,73; Vism.659. ท.ี ปา.11/80/115; 336/266; องฺ.ติก.20/460/148;

ขุ.ปฏ.ิ 31/493–5/380–3; อภ.ิ ปุ.36/13/139; วสิ ทุ ธิ.3/302; วสิ ุทธ.ิ ฏกี า3/562–568.


Click to View FlipBook Version