The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม นิพนธ์ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หมวดธรรมมีอยู่มากมาย แต่เฉพาะที่แสดงในหนังสือนี้ ได้คัดเลือกและรวบรวมไว้เพียงส่วนหนึ่ง โดยถือหลักเกณฑ์ที่สำคัญคือ
1) มุ่งเอาหมวดธรรมที่มาในพระไตรปิฎกโดยตรงเป็นพื้น ส่วนที่มาในคัมภีร์อื่นพยายามจำกัดเฉพาะ
คัมภีร์สำคัญในระดับรองลงมา ที่นิยมนับถือ ใช้ศึกษาและอ้างอิงกันอยู่ทั่วไปในวงการศึกษาพระ
พุทธศาสนา
2) มุ่งเอาหมวดที่แสดงหลักธรรมโดยตรง ให้สมกับชื่อที่เรียกว่า “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เป็น
เพียงเกร็ดความรู้ หรือคำแถลงเรื่องราวอื่นๆ เว้นแต่จะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับหลักธรรมอย่างใกล้ชิด
3) คัดเอาเฉพาะหมวดธรรมที่ควรรู้หรือที่ต้องรู้ โดยฐานเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนาบ้าง เป็น
หลักที่เห็นว่าน่ารู้และมีประโยชน์มากบ้าง เป็นหลักที่ใช้หรืออ้างอิงอยู่เสมอ หรือรู้จักกันอยู่ทั่วไปบ้าง
เป็นหลักที่ท่านกำหนดให้เรียนในหลักสูตรการศึกษาพระพุทธศาสนาระบบต่างๆ ในประเทศไทยบ้าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by preecha.s, 2021-04-01 23:54:16

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม นิพนธ์ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หมวดธรรมมีอยู่มากมาย แต่เฉพาะที่แสดงในหนังสือนี้ ได้คัดเลือกและรวบรวมไว้เพียงส่วนหนึ่ง โดยถือหลักเกณฑ์ที่สำคัญคือ
1) มุ่งเอาหมวดธรรมที่มาในพระไตรปิฎกโดยตรงเป็นพื้น ส่วนที่มาในคัมภีร์อื่นพยายามจำกัดเฉพาะ
คัมภีร์สำคัญในระดับรองลงมา ที่นิยมนับถือ ใช้ศึกษาและอ้างอิงกันอยู่ทั่วไปในวงการศึกษาพระ
พุทธศาสนา
2) มุ่งเอาหมวดที่แสดงหลักธรรมโดยตรง ให้สมกับชื่อที่เรียกว่า “หมวดธรรม” หลีกเลี่ยงหมวดที่เป็น
เพียงเกร็ดความรู้ หรือคำแถลงเรื่องราวอื่นๆ เว้นแต่จะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับหลักธรรมอย่างใกล้ชิด
3) คัดเอาเฉพาะหมวดธรรมที่ควรรู้หรือที่ต้องรู้ โดยฐานเป็นหลักสำคัญของพระพุทธศาสนาบ้าง เป็น
หลักที่เห็นว่าน่ารู้และมีประโยชน์มากบ้าง เป็นหลักที่ใช้หรืออ้างอิงอยู่เสมอ หรือรู้จักกันอยู่ทั่วไปบ้าง
เป็นหลักที่ท่านกำหนดให้เรียนในหลักสูตรการศึกษาพระพุทธศาสนาระบบต่างๆ ในประเทศไทยบ้าง

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม

หมวด 4 133 [171]

4) แมชวี ิตกส็ ละใหไ ด

a) He tells you his secrets.

b) He keeps secret your secrets.

c) He does not forsake you in your troubles.

d) He can even die for your sake.

3. มติ รแนะประโยชน (อตั ถกั ขายี — Atthakkhàyã: the man who gives good counsel)

มลี ักษณะ 4 คอื

1) จะทําชั่วเสียหาย คอยหา มปรามไว

2) คอยแนะนาํ ใหตัง้ อยูในความดี

3) ใหไ ดฟ งไดรูสิ่งทไี่ มเ คยไดรไู ดฟง

4) บอกทางสขุ ทางสวรรคให

a) He keeps you back from evil.

b) He encourages you to do good.

c) He informs you of what you have not heard.

d) He shows you the way to heaven.

4. มติ รมีนํ้าใจ (อนกุ มั ปกะ มติ รมีความรักใคร หรือมติ รผรู ักใครเอ็นดู — Anukampaka:

the man who sympathizes) มีลักษณะ 4 คอื

1) เพือ่ นมที ุกข พลอยไมสบายใจ (ทุกข ทกุ ขด ว ย)

2) เพ่ือนมสี ขุ พลอยแชม ชื่นยินดี (สขุ สุขดวย)

3) เขาตเิ ตียนเพอื่ น ชวยยบั ยัง้ แกใ ห

4) เขาสรรเสรญิ เพ่ือน ชว ยพูดเสริมสนบั สนุน

a) He does not rejoice over your misfortunes.

b) He rejoices in your good fortune.

c) He protests against anyone who speaks ill of you.

d) He admires those who speak well of you.

D.III.187. ท.ี ปา.11/192/201.

[170] โยคะ 4 (สภาวะอนั ประกอบสัตวไวใ นภพ หรอื ผูกกรรมไวก ับวบิ าก — Yoga: the

Four Bonds) ไดแก กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐโิ ยคะ อวิชชาโยคะ เหมอื นในอาสวะ 4.

ดู [136] อาสวะ 4.

D.III.230; A.II.10; Vbh.374. ท.ี ปา.11/259/242; องฺ.จตกุ กฺ .21/10/13; อภิ.ว.ิ 35/963/506.

[171] โยนิ 4 (กําเนิด, แบบหรอื ชนิดของการเกดิ — Yoni: ways or kinds of birth;

[172] 134 พจนานุกรมพุทธศาสตร

modes of generation)

1. ชลาพุชะ (สัตวเกดิ ในครรภ คอื คลอดออกมาเปน ตวั เชน คน โค สนุ ขั แมว เปน ตน —
Jalàbuja: the viviparous; womb-born creatures)
2. อณั ฑชะ (สัตวเกิดในไข คือ ออกไขเ ปน ฟองกอ นแลวจึงฟก เปนตวั เชน นก เปด ไก เปน ตน
— Aõóaja: the oviparous; egg-born creatures)
3. สงั เสทชะ (สัตวเกดิ ในไคล คือ เกิดในของชนื้ แฉะหมักหมมเนา เปอ ย ขยายแพรออกไปเอง
เชน กมิ ชิ าตบิ างชนดิ — Sa§sedaja: putrescence-born creatures; moisture-born

creatures)
4. โอปปาติกะ (สัตวเกิดผดุ ขน้ึ คือ เกดิ ผดุ เต็มตัวในทนั ใด ไดแ ก เทวดา สตั วนรก มนษุ ยบาง
พวก และเปรตบางพวก ทานวา เกิดและตาย ไมต องมีเช้อื หรือซากปรากฏ — Opapàtika:

spontaneously born creatures; the apparitional)

D.III.230; M.I.73. ที.ปา.11/263/242; ม.ม.ู 12/169/147.

[,,,] ราชสังคหวัตถุ 4 ดู [187] สังคหวัตถขุ องผูครองแผนดิน 4.

[172] ลีลาการสอน หรือ พุทธลีลาในการสอน หรือ เทศนาวิธี 4

(การสอนของพระพทุ ธเจา แตละคร้งั แมท ่เี ปน เพียงธรรมกี ถา หรือการสนทนาทว่ั ไป ซ่ึงมิใชค ราว

ท่ีมีความมุงหมายเฉพาะพิเศษ ก็จะดําเนินไปอยางสําเร็จผลดีโดยมีองคประกอบท่ีเปนคุณ
ลกั ษณะ 4 ประการ — Desanàvidhi: the Buddha’s style or manner of teaching)
1. สันทัสสนา (ชแี้ จงใหเ ห็นชัด คือ จะสอนอะไร กช็ ้แี จงจาํ แนกแยกแยะอธิบายและแสดงเหตุ
ผลใหชดั เจน จนผูฟง เขา ใจแจม แจง เห็นจรงิ เห็นจงั ดังจงู มือไปดเู หน็ กับตา — Sandassanà:

elucidation and verification)
2. สมาทปนา (ชวนใจใหอ ยากรบั เอาไปปฏบิ ตั ิ คอื สง่ิ ใดควรปฏบิ ตั ิหรอื หดั ทาํ กแ็ นะนําหรอื

บรรยายใหซ าบซง้ึ ในคณุ คา มองเหน็ ความสาํ คญั ทจ่ี ะตอ งฝก ฝนบาํ เพญ็ จนใจยอมรบั อยากลงมอื
ทาํ หรือนาํ ไปปฏบิ ตั ิ — Samàdapanà: incitement to take upon oneself; inspiration

towards the goal)
3. สมุตเตชนา (เรา ใจใหอาจหาญแกลวกลา คือ ปลุกเราใจใหก ระตือรอื รน เกดิ ความอุตสาหะ

มีกาํ ลังใจแขง็ ขนั มนั่ ใจทจี่ ะทาํ ใหสาํ เร็จจงได สูงาน ไมหวั่นระยอ ไมกลวั เหนื่อย ไมก ลัวยาก —
Samuttejanà: urging; encouragement; animation; filling with enthusiasm)

4. สมั ปหังสนา (ปลอบชโลมใจใหส ดชื่นราเริง คือ บํารุงจิตใหแ ชม ชืน่ เบกิ บาน โดยชีใ้ หเ ห็นผล

ดหี รอื คณุ ประโยชนท จ่ี ะไดร บั และทางท่จี ะกา วหนา บรรลุผลสาํ เร็จย่งิ ขึน้ ไป ทําใหผฟู ง มคี วามหวัง
และราเรงิ เบกิ บานใจ — Sampaha§sanà: gladdening; exhilaration; filling with

delight and joy)

อรรถกถาชแ้ี จงเพม่ิ เติมวา ขอ 1 ปลดเปลื้องความเขลาหรอื ความมืดมัว ขอ 2 ปลดเปลื้อง

หมวด 4 135 [175]

ความประมาท ขอ 3 ปลดเปลอ้ื งความอดื คราน ขอ 4 สมั ฤทธ์ิการปฏิบัติ จํา 4 ขอ นีส้ น้ั ๆ วา

ชใ้ี หช ดั ชวนใหป ฏบิ ตั ิ เรา ใหก ลา ปลกุ ใหร า เรงิ หรอื แจม แจง จงู ใจ แกลว กลา รา เรงิ

D.I.126; etc.; DA.II.473; UdA.242,361,384. ที.สี.9/198/161; ฯลฯ, ท.ี อ.2/89; อ.ุ อ.304,457,490.

[173] วรรณะ 4 (ชนชนั้ ในสงั คมอนิ เดีย ท่ีกาํ หนดดวยชาติกําเนิด ตามหลกั ศาสนา

พราหมณ — Vaõõa: castes)
1. กษตั รยิ  (ชนชนั้ เจา , ชนชน้ั ปกครองหรอื นกั รบ — Khattiya: the warrior-caste; warrior-

rulers; noblemen)
2. พราหมณ (ชนช้ันเจาตาํ ราเจาพธิ ี, พวกพราหมณ — Bràhmaõa: the priestly caste;

brahmins)
3. แพศย (ชนชนั้ พอ คา และกสกิ ร — Vessa: the trading and agricultural caste; merchants

and farmers)
4. ศูทร (ชนชั้นตํ่า, พวกทาสกรรมกร — Sudda: the low caste; labourers and

servants)

M.II.128. ม.ม.13/576/520.

[174] วิธีปฏิบัติตอทุกข–สุข 4 (หลกั การเพียรพยายามใหไดผลในการละทกุ ข

ลุสุข, การปฏบิ ตั ิที่ถูกตอ งตอความทกุ ขและความสขุ ซ่ึงเปนไปตามหลักพระพทุ ธศาสนา ทแี่ สดง
วา ความเพียรพยายามทถ่ี ูกตอ ง จะมีผลจนสามารถเสวยสุขทไ่ี รทกุ ขได — Sukhapañisa§
vedanàya saphalappadhàna: fruitful exertion to enjoy happiness)

1. ไมเ อาทุกขท บั ถมตนทม่ี ไิ ดถ กู ทุกขท วมทับ (Being not overwhelmed by suffering, one
does not overwhelm oneself with suffering.)

2. ไมส ละความสขุ ทชี่ อบธรรม (One does not give up righteous happiness.)

3. ไมส ยบหมกมนุ (แม) ในสขุ ทชี่ อบธรรมนัน้ (One is not infatuated even with that
righteous happiness.)

4. เพียรพยายามทําเหตุแหงทกุ ขใหหมดสิ้นไป (One strives in the right way to eradicate
the cause of suffering.)

ขอ ท่ี 4 อาจพูดอกี สาํ นวนหนงึ่ วา “เพียรปฏิบัติเพือ่ เขาถึงความสขุ ที่ประณีตสงู ขึ้นไป”

M.II.223 ม.อ.ุ 14/12/13

[175] วิบัติ 41 (ความผิดพลาด, ความเคลือ่ นคลาด, ความเสยี หาย, ความบกพรอ ง, ความ

ใชการไมได — Vipatti: failure; falling away)

1. ศลี วิบตั ิ (วบิ ัติแหงศลี , เสียศีล, สาํ หรับพระภกิ ษุ คอื ตอ งอาบตั ปิ าราชิก หรือ สงั ฆาทิเสส —
Sãla-vipatti: falling away from moral habit; failure in morality)

[176] 136 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

2. อาจารวบิ ัติ (วิบตั ิแหง อาจาระ, เสียความประพฤติ จรรยามรรยาทไมดี, สําหรับพระภิกษุ
คอื ตอ งลหกุ าบตั ิ แตถลุ ลจั จัย ถงึ ทุพภาสิต — âcàra-vipatti: falling away from good

behaviour; failure in conduct)
3. ทฏิ ฐิวบิ ตั ิ (วบิ ตั แิ หงทิฏฐ,ิ ความเห็นคลาดเคลอ่ื น ผดิ ธรรมผิดวนิ ัย — Diññhi-vipatti:

falling away from right view; failure in views)
4. อาชวี วบิ ัติ (วบิ ตั ิแหง อาชีวะ, ประกอบมิจฉาชีพ หาเลยี้ งชีพในทางที่ผิด — âjãva-vipatti:

falling away from right mode of livelihood; failure in livelihood)

Vin.II.87. วนิ ย.6/634/336.

[176] วิบัติ 42 (ขอเสีย, จุดออน, ความบกพรองแหงองคประกอบตางๆ ซึ่งไมอํานวยแก

การใหผ ลของกรรมดี แตเ ปด ชองใหก รรมชวั่ แสดงผล, สว นประกอบบกพรอง เปดชองใหก รรม
ชั่ว — Vipatti: failure; defect; unfavourable factors affecting the ripening of

Karma.)
1. คติวบิ ตั ิ (วบิ ัติแหงคต,ิ คติเสีย; ในชวงยาวหมายถงึ เกิดในกาํ เนิดตํา่ ทราม หรอื ท่เี กดิ อนั ไร

ความเจริญ ในชวงสั้นหมายถึง ที่อยู ท่ไี ป ทางดําเนินไมดี หรอื ทาํ ไมถ กู เรื่องไมถกู ที่ คือ กรณี

นน้ั สภาพแวดลอ มนนั้ สถานการณน ั้น ถ่นิ น้ัน ตลอดถงึ แนวทางดาํ เนินชวี ติ ขณะนัน้ ไมเอื้อ

อํานวยแกก ารกระทาํ ความดีหรอื การเจริญงอกงามของความดีและการทผ่ี ลดีจะปรากฏ แตก ลบั
เปดทางใหแ กค วามชวั่ และผลราย — Gati-vipatti: failure as regards place of birth;

unfavourable environment, circumstances or career)
2. อุปธวิ บิ ัติ (วบิ ัตแิ หงรา งกาย, รูปกายเสีย; ในชว งยาวหมายถึง รางกายวิกลวิการ ไมง ดงาม
บุคลิกภาพไมด ี ในชวงส้ันหมายถึง สุขภาพไมด ี เจ็บปวย มโี รคมาก — Upadhi-vipatti:

failure as regards the body; deformed or unfortunate body; unfavourable

personality, health or physical conditions.)
3. กาลวิบตั ิ (วิบัติแหงกาล, กาลเสีย; ในชวงยาวหมายถึง เกิดอยใู นสมยั ทโ่ี ลกไมม คี วามเจริญ

หรอื บา นเมอื งมีแตภัยพบิ ตั ิ ผูป กครองไมด ี สังคมเสอ่ื มจากศลี ธรรม มกี ารกดขเ่ี บียดเบียนกนั
มาก ยกยอ งคนช่ัว บีบคน้ั คนดี ในชว งสัน้ หมายถงึ ทาํ ผดิ กาลผดิ เวลา — Kàla-vipatti: failure

as regards time; unfavourable or unfortunate time)
4. ปโยควิบตั ิ (วบิ ัติแหง การประกอบ, กิจการเสยี ; ในชว งยาวหมายถึง ฝกใฝใ นทางทผี่ ดิ

ประกอบกิจการงานท่ีผิด หรือมีปกติชอบกระทาํ แตความชว่ั ในชวงส้ันหมายถงึ เมอื่ กระทํา

กรรมดี กไ็ มทําใหถงึ ขนาด ไมค รบถวนตามหลักเกณฑ ทําจบั จด ใชว ิธีการไมเ หมาะกับเรือ่ ง
หรือเมื่อประกอบความดีตอเน่ืองมา แตกลบั ทาํ ความช่วั หักลา งเสียในระหวา ง — Payoga-
vipatti: failure as regards undertaking; unfavourable, unfortunate or inadequate

undertaking)

วิบัติ 4 นี้ เปนสิ่งท่ีจะตอ งนํามาประกอบการพิจารณาในเร่ืองการใหผ ลของกรรม เพราะการ

หมวด 4 137 [177]

ปรากฏของวบิ าก นอกจากอาศัยเหตคุ ือกรรมแลว ยังตอ งอาศยั ฐานคือ คติ อุปธิ กาละ และ

ปโยคะ เปน ปจจยั ประกอบดว ย กลาวคอื จะตองพิจารณา กรรมนยิ าม โดยสัมพนั ธก ับปจจัยท้ัง

หลายที่เปนไปตามนิยามอื่นๆ ดวย เพราะนิยามหรือกฎธรรมชาติน้ันมีหลายอยาง มิใชมแี ต
กรรมนิยามอยา งเดยี ว

ดู [177] สมบัติ 4; [223] นยิ าม 5.

Vbh.338. อภิ.ว.ิ 35/840/458.

[177] สมบัติ 4 (ขอ ด,ี ความเพยี บพรอม, ความสมบรู ณแ หง องคป ระกอบตา งๆ ซ่ึงอํานวย

แกการใหผ ลของกรรมดี และไมเปดชองใหก รรมชว่ั แสดงผล, สว นประกอบอาํ นวย ชวยเสรมิ
กรรมดี — Sampatti: accomplishment; factors favourable to the ripening of good

Karma)
1. คตสิ มบตั ิ (สมบัตแิ หงคต,ิ ถึงพรอมดว ยคต,ิ คตใิ ห; ในชวงยาวหมายถงึ เกดิ ในกําเนิดอัน

อํานวย หรือทเ่ี กดิ อันเจรญิ ในชว งสัน้ หมายถึง ทอี่ ยู ทไี่ ป ทางดําเนินดี หรือทาํ ถกู เรือ่ ง ถกู ท่ี คอื

กรณนี ัน้ สภาพแวดลอ มนน้ั สถานการณนน้ั ถนิ่ ทีน่ ้ัน ตลอดถงึ แนวทางดาํ เนินชวี ติ ขณะนนั้ เอื้อ

อํานวยแกก ารกระทําความดี หรือการเจรญิ งอกงามของความดี ทําใหค วามดปี รากฏผลโดยงาย
— Gati-sampatti: accomplishment of birth; fortunate birthplace; favourable

environment, circumstances or career)
2. อุปธิสมบตั ิ (สมบัตแิ หง รา งกาย, ถงึ พรอ มดวยรปู กาย, รูปกายให; ในชว งยาวหมายถงึ มี
กายสงา สวยงาม บุคลิกภาพดี ในชวงสัน้ หมายถึง รา งกายแข็งแรง มสี ขุ ภาพดี — Upadhi-
sampatti: accomplishment of the body; favourable or fortunate body; favourable

personality, health or physical conditions)
3. กาลสมบตั ิ (สมบตั ิแหง กาล, ถึงพรอมดว ยกาล, กาลให; ในชว งยาว หมายถึง เกิดอยูใน

สมัยทโี่ ลกมีความเจรญิ หรือบา นเมอื งสงบสุข มกี ารปกครองที่ดี คนในสงั คมอยใู นศีลธรรม
สามัคคีกนั ยกยอ งคนดี ไมส งเสรมิ คนชั่ว ในชวงส้นั หมายถงึ ทาํ ถกู กาลถูกเวลา — Kàla-
sampatti: accomplishment of time; favourable or fortunate time)
4. ปโยคสมบตั ิ (สมบัติแหง การประกอบ, ถึงพรอมดว ยการประกอบความเพียร, กจิ การให;

ในชวงยาว หมายถึงฝกใฝในทางทถ่ี กู นาํ ความเพียรไปใชข วนขวายประกอบการท่ีถูกตองดงี าม

มปี กตปิ ระกอบกจิ การงานทถี่ กู ตอ ง ทาํ แตค วามดงี ามอยแู ลว ในชว งสน้ั หมายถงึ เมอ่ื ทาํ กรรมดี ก็

ทาํ ใหถึงขนาด ทาํ จรงิ จงั ใหค รบถวนตามหลกั เกณฑ ใชว ธิ กี ารที่เหมาะกับเรือ่ ง หรือทําความดี
ตอเน่ืองมาเปนพื้นแลว กรรมดีที่ทําเสริมเขา อกี จงึ เห็นผลไดงา ย — Payoga-sampatti:

accomplishment of undertaking; favourable, fortunate or adequate undertaking)

ดู [176] วบิ ัติ 4 2; [223] นยิ าม 5.

Vbh.339. อภิ.ว.ิ 35/840/459.

[178] 138 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

[178] วิปลลาส หรือ วิปลาส 4 (ความรูเ หน็ คลาดเคล่ือน, ความรูเ ขาใจผดิ เพย้ี นจาก

ความเปน จริง — Vipallàsa: distortion)

วิปลาส มี 3 ระดับ คือ
1. สัญญาวิปลาส (สญั ญาคลาดเคล่ือน, หมายรผู ิดพลาดจากความเปนจริง เชน คนตกใจเหน็
เชือกเปนงู — Sa¤¤à-vipallàsa: distortion of perception)
2. จติ ตวปิ ลาส (จิตคลาดเคลอื่ น, ความคิดผิดพลาดจากความเปน จรงิ เชน คนบา คดิ เอาหญา
เปน อาหาร — Citta-vipallàsa: distortion of thought)
3. ทิฏฐวิ ปิ ลาส (ทฏิ ฐคิ ลาดเคลอ่ื น, ความเหน็ ผดิ พลาดจากความเปนจรงิ โดยเฉพาะเช่ือถอื ไป

ตามสญั ญาวปิ ลาส หรอื จติ ตวปิ ลาสนนั้ เชน มสี ญั ญาวปิ ลาสเหน็ เชอื กเปน งู แลว เกดิ ทฏิ ฐวิ ิปลาส

เชื่อหรือลงความเหน็ วา ทบี่ รเิ วณนัน้ มีงชู มุ หรอื มีจิตตวิปลาสวา ทุกส่ิงทเ่ี กดิ ข้ึนตอ งมผี ูส รา ง จงึ
เกดิ ทฏิ ฐวิ ปิ ลาสวา แผน ดนิ ไหวเพราะเทพเจา บนั ดาล — Diññhi-vipallàsa: distortion of views)

วิปลาส 3 ระดับนี้ ทเ่ี ปนพนื้ ฐาน เปน ไปใน 4 ดา น คือ
1. วปิ ลาสในสงิ่ ทไ่ี มเท่ียง วา เทย่ี ง (to regard what is impermanent as permanent)
2. วปิ ลาสในส่งิ ท่เี ปน ทกุ ข วา เปน สขุ (to regard what is painful as pleasant)
3. วิปลาสในส่งิ ทไี่ มเปน ตัวตน วา เปนตัวตน (to regard what is non-self as a self)
4. วปิ ลาสในสง่ิ ที่ไมง าม วา งาม (to regard what is foul as beautiful)

A.II.52 องฺ.จตุกฺก.21/49/66

[179] วุฒิ หรือ วุฑฒิธรรม 4 (ธรรมเปนเคร่ืองเจริญ, คณุ ธรรมทก่ี อใหเกิดความ

เจรญิ งอกงาม — Vuóóhi-dhamma: virtues conducive to growth)
1. สัปปรุ สิ สังเสวะ (เสวนาสัตบุรุษ, คบหาทานผทู รงธรรมทรงปญญาเปนกลั ยาณมติ ร —
Sappurisasa§seva: association with good and wise persons)
2. สัทธัมมัสสวนะ (สดับสัทธรรม, ใสใจเลาเรียนฟงอานหาความรูใหไดธรรมที่แท —
Saddhammassavana: hearing the good teaching)
3. โยนิโสมนสิการ (ทําในใจโดยแยบคาย, รูจักคิดพิจารณาหาเหตุผลโดยถูกวิธี —
Yonisomanasikàra: analytical reflection; wise attention)
4. ธมั มานธุ ัมมปฏปิ ตติ (ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม, ปฏิบตั ธิ รรมถูกหลัก ใหธ รรมยอย

คลอ ยแกธ รรมใหญ สอดคลอ งตามวตั ถปุ ระสงคข องธรรมทงั้ หลายที่สัมพันธกนั , ดาํ เนนิ ชีวติ ถกู
ตอ งตามธรรม — Dhammànudhammapañipatti: practice in accord with the Dhamma,

i.e. in such a systematic way that all levels and aspects of the Dhamma are in accord

as regards their respective purposes; living in conformity with the Dhamma)

ธรรมหมวดน้ี ในบาลที ่ีมา เรียกวา ธรรมทีเ่ ปน ไปเพ่อื ปญ ญาวุฒิ [ปญ ญาวุฒธิ รรม] คือ เพอ่ื

ความเจรญิ งอกงามแหง ปญ ญา (Pa¤¤àvuóóhi: virtues conducive to growth in wisdom)

อยางไรกด็ ี ในการเลา เรยี นธรรมในประเทศไทยที่สืบกนั มา ไดร ูจักธรรมหมวดนใ้ี นช่ือส้นั ๆ

หมวด 4 139 [180]

วา วฒุ ิ 4 และอธบิ ายความหมายโดยมงุ ใหคนท่วั ไปเขา ใจและนาํ ไปใชป ระโยชนอยางกวา งๆ จงึ

จะแสดงความหมายแบบงา ยๆ ไวดวยดงั น้ี
1. สปั ปุรสิ สงั เสวะ คบหาสตั บรุ ษุ , เสวนาทานผรู ูผทู รงคณุ ความดี มคี วามประพฤตชิ อบดว ย

กาย วาจา ใจ
2. สัทธมั มัสสวนะ ฟงสทั ธรรม, ต้งั ใจฟงคาํ สั่งสอนของทาน เอาใจใสเ ลา เรยี น
3. โยนโิ สมนสิการ ทาํ ในใจโดยแยบคาย, รจู ักคิดพิจารณาใหเหน็ เหตผุ ลคณุ โทษในสง่ิ ท่ีไดเ ลา

เรียนสดบั ฟง น้นั จบั สาระที่จะนําไปใชประโยชนได
4. ธัมมานุธัมมปฏิปตติ ปฏิบตั ิธรรมสมควรแกธ รรม, นําสิง่ ทไ่ี ดเ ลา เรียนและตริตรองเห็น

แลวไปใชปฏบิ ตั ใิ หถ กู ตอ งตามหลกั สอดคลองกับความมุงหมายของหลกั การน้นั ๆ

A.II.245. อง.ฺ จตุกกฺ .21/248/332.

[180] เวสารัชชะ หรือ เวสารัชชญาณ 4 (ความไมครั่นครา ม, ความแกลวกลา
อาจหาญ, พระญาณอนั เปน เหตุใหทรงแกลวกลา ไมครน่ั ครา ม — Vesàrajja: intrepidity;

self-confidences)

พระตถาคตเจา ไมท รงมองเหน็ วา ใครกต็ าม จักทกั ทว งพระองคไดโดยชอบธรรมในฐานะ

เหลาน้ี คือ (The Perfect One sees no grounds on which anyone can with justice
make the following charges:)
1. สมั มาสัมพุทธปฏญิ ญา (ทานปฏิญญาวา เปนสัมมาสมั พุทธะ ธรรมเหลา นีท้ า นยังไมร ู —
Sammàsambuddha-pañi¤¤à: You who claim to be fully self-enlightened are not

fully enlightened in these things.)
2. ขณี าสวปฏญิ ญา (ทา นปฏญิ ญาวา เปน ขณี าสพ อาสวะเหลา นขี้ องทา นยงั ไมส น้ิ — Khãõàsava-
pañi¤¤à: You who claim to have destroyed all taints have not utterly destroyed

these taints.)
3. อันตรายิกธรรมวาทะ (ทานกลาวธรรมเหลาใดวา เปน อันตราย ธรรมเหลา นัน้ ไมอ าจกอ
อนั ตรายแกผ สู อ งเสพไดจ รงิ — Antaràyikadhammavàda: Those things which have been

declared by you to be harmful have no power to harm him that follows them.)
4. นยิ ยานกิ ธรรมเทศนา (ทานแสดงธรรมเพ่ือประโยชนอ ยา งใด ประโยชนอยา งนน้ั ไมเปน
ทางนําผูทําตามใหถึงความสิ้นทุกขโดยชอบจริง — Niyyànikadhammadesanà: The

Doctrine taught by you for the purpose of utter extinction of suffering does not

lead him who acts accordingly to such a goal.)

ดว ยเหตนุ ้ี พระองคจ งึ ทรงถงึ ความเกษม ถงึ ความไมม ภี ยั แกลว กลา ไมค รน่ั ครา มอยู (Since
this is so, he abides in the attainment of security, of fearlessness and intrepidity.)

เวสารัชชะ 4 นี้ คูก บั ทศพล หรอื ตถาคตพล 10 (เรียกกนั ทว่ั ๆ ไปวา ทศพลญาณ) เปน ธรรม

ทที่ ําใหพระตถาคต ทรงปฏญิ ญาฐานะแหงผูนาํ เปลง สีหนาทในบรษิ ทั ทง้ั หลาย ยงั พรหมจักรให

[181] 140 พจนานุกรมพุทธศาสตร

เปน ไป (Endowed with these four kinds of intrepidity, the Perfect One claims the

leader’s place, roars his lion’s roar in assemblies, and sets rolling the Divine Wheel.)

ดู [323] ทศพลญาณ.

M.I.71; A.II.8. ม.มู.12/167/144; องฺ.จตกุ ฺก.21/8/10.

[181] ศรัทธา 4 (ความเชือ่ , ความเช่ือทีป่ ระกอบดวยเหตุผล — Saddhà: faith; belief;

confidence)
1. กมั มสัทธา (เช่อื กรรม, เช่อื การกระทํา, เชอ่ื กฎแหง กรรม, เช่ือวา กรรมมอี ยจู รงิ คือ เช่ือวา

เมอ่ื ทําอะไรโดยมเี จตนา คอื จงใจทาํ ทงั้ รู ยอมเปนกรรม คือ เปนความดคี วามชั่วมีขนึ้ ในตน

เปนเหตุปจจัยกอใหเกิดผลดีผลรายสืบเนื่องตอไป การกระทําไมวางเปลา และเช่ือวาผลที่
ตอ งการจะสาํ เรจ็ ไดดว ยการกระทํา มิใชดว ยออนวอนหรือนอนคอยโชค เปนตน — Kamma-
saddhà: belief in kamma; confidence in accordance with the law of action)
2. วปิ ากสัทธา (เช่ือวิบาก, เชือ่ ผลของกรรม, เชือ่ วา ผลของกรรมมีจริง คอื เช่ือวากรรมทท่ี ํา
แลวตอ งมผี ล และผลตอ งมเี หตุ ผลดีเกดิ จากกรรมดี ผลชว่ั เกดิ จากกรรมชัว่ — Vipàka-
saddhà: belief in the consequences of actions)
3. กมั มสั สกตาสัทธา (เช่ือความท่สี ตั วม กี รรมเปนของของตน, เช่อื วาแตละคนเปนเจา ของ จะ
ตอ งรบั ผดิ ชอบเสวยวิบากเปนไปตามกรรมของตน — Kammassakatà-saddhà: belief in

the individual ownership of action)
4. ตถาคตโพธสิ ทั ธา (เช่อื ความตรสั รูของพระพุทธเจา, ม่ันใจในองคพ ระตถาคต วา ทรงเปน

พระสัมมาสมั พทุ ธะ ทรงพระคุณทั้ง 9 ประการ ตรัสธรรม บญั ญัตวิ นิ ัยไวด ว ยดี ทรงเปน ผูนํา

ทางท่แี สดงใหเ ห็นวา มนษุ ยคือเราทุกคนนี้ หากฝกตนดวยดี ก็สามารถเขา ถงึ ภมู ิธรรมสงู สดุ
บริสุทธห์ิ ลุดพน ได ดงั ทีพ่ ระองคไดทรงบําเพญ็ ไวเ ปนแบบอยา ง — Tathàgatabodhi-saddhà:

confidence in the Enlightenment of the Buddha)

ศรัทธา 4 อยางนี้ มมี าในบาลเี ฉพาะขอท่ี 4 (ตถาคตโพธสิ ัทธา) อยา งเดยี ว (เชน องฺ.สตฺตก.

23/4/3; A.III.3 เปนตน) วา โดยใจความ ศรัทธา 3 ขอตน ยอมรวมลงในขอที่ 4 ไดท ้ังหมด

อน่ึง ขอ 3 มขี อ ธรรมทม่ี าในบาลคี ลา ยกนั แตเ ปนเรอ่ื งของญาณ หรือปญ ญา ไมใชเร่ืองของ

ศรทั ธา คือ กมั มสั สกตาญาณ (ปรีชาหยงั่ รูความทีส่ ัตวม ีกรรมเปนของตน — knowledge that

action is one’s own possession) เชน อภ.ิ วิ. 35/822/443; Vbh.328.

สัทธา 4 น้ี เปนชุดสืบๆ กนั มา ที่คนไทยรจู กั กันมาก ซึง่ จัดรวมข้ึนภายหลงั แตศ รทั ธาทีม่ ี
หลักฐานมาในคัมภรี  (ช้นั อรรถกถา) ไดแก สัทธา 2 คือ
1. กัมมผลสัทธา (เชือ่ กรรมและผลของกรรม, เชอื่ กฎแหง กรรม — Kammaphala-saddhà:

belief in kamma and its result; confidence in accordance with the law of action)
2. ตถาคตโพธสิ ทั ธา หรือ รตนตั ตยสทั ธา (เชื่อปญ ญาตรัสรูของตถาคต หรอื เชอ่ื พระ
รัตนตรัย — Tathàgatabodhi-saddhà: confidence in the Enlightenment of the

หมวด 4 141 [183]

Buddha, or Ratanattaya-saddhà: confidence in the Triple Gem)
จะเห็นวา ขอ 1 กมั มผลสทั ธา ในชุดสทั ธา 2 น้ี ครอบคลุมขอ 1, 2, 3 ในชุดสทั ธา 4 ทงั้

หมด และทานยังไดอธบิ ายไวดวยวา กมั มผลสัทธา เปน โลกิยสัทธา สว น รตนตั ตยสทั ธา ถา
ถูกตองจรงิ แทเ หน็ ประจักษด วยปญ ญามัน่ คงไมหวนั่ ไหว เปนโลกตุ ตรสทั ธา (ท้งั นี้ พงึ ดู อ.ุ อ.

110, 235; อติ ิ.อ.74, 353; เถร.อ.1/490; จริยา.อ.336)

[182] สติปฏฐาน 4 (ทตี่ ง้ั ของสต,ิ การตง้ั สตกิ าํ หนดพจิ ารณาสง่ิ ทง้ั หลายใหร เู หน็ ตามความ

เปน จรงิ คอื ตามทสี่ งิ่ นน้ั ๆ มนั เปน ของมนั — Satipaññhàna: foundations of mindfulness)
1. กายานปุ สสนาสติปฏฐาน (การตัง้ สตกิ ําหนดพจิ ารณากาย ใหรเู ห็นตามเปนจริงวา เปน

แตเพยี งกาย ไมใ ชสตั วบ ุคคลตัวตนเราเขา — Kàyànupassanà-~: contemplation of the

body; mindfulness as regards the body) ทา นจําแนกวิธีปฏิบตั ไิ วหลายอยาง คอื

อานาปานสติ กําหนดลมหายใจ 1 อริ ยิ าบถ กาํ หนดรทู ันอริ ิยาบถ 1 สัมปชัญญะ สรา ง

สมั ปชญั ญะในการกระทาํ ความเคลือ่ นไหวทุกอยาง 1 ปฏกิ ูลมนสิการ พจิ ารณาสว นประกอบอนั

ไมส ะอาดทงั้ หลายท่ปี ระชมุ เขาเปน รา งกายน้ี 1 ธาตุมนสกิ าร พจิ ารณาเห็นรางกายของตนโดยสัก

วาเปนธาตุแตล ะอยา งๆ 1 นวสวี ถิกา พจิ ารณาซากศพในสภาพตา งๆ อนั แปลกกนั ไปใน 9 ระยะ

เวลา ใหเห็นคติธรรมดาของรางกาย ของผูอ ื่นเชน ใด ของตนกจ็ ักเปนเชน นน้ั 1
2. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกาํ หนดพิจารณาเวทนา ใหรเู ห็นตามเปนจรงิ วา

เปน แตเ พยี งเวทนา ไมใ ชส ตั วบ คุ คลตวั ตนเราเขา — Vedanànupassanà-~: contemplation of

feelings; mindfulness as regards feelings) คือ มีสติอยพู รอมดวยความรูชดั เวทนาอันเปน

สขุ กด็ ี ทุกขกด็ ี เฉยๆ ก็ดี ท้ังท่ีเปน สามิส และเปนนริ ามสิ ตามท่เี ปน ไปอยใู นขณะนน้ั ๆ
3. จติ ตานุปส สนาสตปิ ฏฐาน (การตั้งสติกาํ หนดพจิ ารณาจิต ใหรเู หน็ ตามเปนจริงวา เปนแต

เพียงจิต ไมใ ชสตั วบคุ คลตัวตนเราเขา — Cittànupassanà-~: contemplation of mind;

mindfulness as regards mental conditions) คือ มีสติอยพู รอ มดว ยความรูช ดั จติ ของตนที่

มรี าคะ ไมม รี าคะ มโี ทสะ ไมม ีโทสะ มีโมหะ ไมมีโมหะ เศราหมองหรอื ผองแผว ฟุงซานหรอื เปน

สมาธิ ฯลฯ อยา งไรๆ ตามท่ีเปน ไปอยใู นขณะนั้นๆ
4. ธมั มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน (การตง้ั สตกิ าํ หนดพจิ ารณาธรรม ใหร เู หน็ ตามเปน จรงิ วา เปน แต

เพยี งธรรม ไมใ ชส ตั วบ คุ คลตวั ตนเราเขา — Dhammànupassanà-~: contemplation of mind-

objects; mindfulness as regards ideas) คอื มีสตอิ ยูพ รอมดวยความรูชัดธรรมทั้งหลาย

ไดแ ก นวิ รณ 5 ขนั ธ 5 อายตนะ 12 โพชฌงค 7 อรยิ สัจจ 4 วาคอื อะไร เปน อยา งไร มใี นตน

หรือไม เกดิ ข้นึ เจริญบริบรู ณ และดับไปไดอยางไร เปนตน ตามที่เปนจรงิ ของมันอยางนนั้ ๆ.

D.II.290–315; M.I.55–63. ท.ี ม.10/273–300/325–351; ม.มู.12/131–152/103–127.

[183] สมชีวิธรรม 4 (หลักธรรมของคชู ีวติ , ธรรมทจ่ี ะทาํ ใหค ูส มรสมชี ีวิตสมหรอื
สมํ่าเสมอกลมกลนื กัน อยูครองกันยืดยาว — Samajãvidhamma: qualities which make a

couple well matched)

[184] 142 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

1. สมสัทธา (มีศรทั ธาสมกนั — Sama-saddhà: to be matched in faith)
2. สมสีลา (มศี ลี สมกนั — Sama-sãlà: to be matched in moral conduct)
3. สมจาคา (มจี าคะสมกัน — Sama-càgà: to be matched in generosity)
4. สมปญญา (มปี ญ ญาสมกนั — Sama-pa¤¤à: to be matched in wisdom)

A.II.60. อง.ฺ จตุกฺก.21/55/80.

[184] สมาธิภาวนา 4 (การเจรญิ สมาธิ, วิธฝี ก สมาธิแบบตางๆ จําแนกตามวัตถปุ ระสงค
— Samàdhi-bhàvanà: ways or kinds of concentration-development)

1. สมาธิภาวนาที่เปน ไปเพอ่ื ทิฏฐธรรมสุขวหิ าร (คือเพอ่ื การอยเู ปนสขุ ในปจจบุ ัน เชน ใช

เปนเครือ่ งพักผอ นจิต หาความสขุ ยามวาง เปนตน — concentration-development that is

conducive to happy living in the present)
2. สมาธิภาวนาท่ีเปน ไปเพื่อการไดญาณทสั สนะ (concentration-development that

is conducive to the acquisition of knowledge and insight)
3. สมาธภิ าวนาท่เี ปนไปเพ่ือสติและสัมปชัญญะ (concentration-development that

is conducive to mindfulness and full comprehension)
4. สมาธิภาวนาที่เปนไปเพื่ออาสวักขยะ คือความสิ้นอาสวะ (concentration-

development that is conducive to the destruction of cankers)

D.III.222; A.II.44. ท.ี ปา.11/233/233; องฺ.จตุกกฺ .21/41/57.

[185] สังขาร 4 (คาํ วา สงั ขาร ท่ีใชในความหมายตา งๆ — Saïkhàra: applications of

the word formation)

1. สงั ขตสงั ขาร (สงั ขารคือสังขตธรรม ไดแ กส ิ่งทัง้ ปวงท่ีเกดิ จากปจจัยปรงุ แตง รูปธรรมก็ตาม

นามธรรมก็ตาม ไดใ นคําวา อนิจจฺ า วต สงขฺ ารา เปน ตน — Saïkhata-saïkhàra: formation

consisting of the formed)

2. อภสิ งั ขตสงั ขาร (สงั ขารคอื สง่ิ ทกี่ รรมแตง ขนึ้ ไดแ กร ปู ธรรมกต็ าม นามธรรมกต็ าม ในภมู สิ าม
ทเี่ กดิ แตก รรม — Abhisaïkhata-saïkhàra: formation consisting of the karma-formed)
3. อภิสังขรณกสังขาร (สังขารคือกรรมท่ีเปนตัวการปรุงแตง ไดแก กุศลเจตนา และ

อกศุ ลเจตนาท้ังปวงในภูมิสาม ไดในคําวา สังขาร ตามหลกั ปฏจิ จสมุปบาท คือ [119] สังขาร 3
หรือ [129] อภสิ งั ขาร 3 — Abhisaïkharaõaka-saïkhàra: formation consisting in the

act of kamma-forming)
4. ปโยคาภิสงั ขาร (สงั ขารคอื การประกอบความเพยี ร ไดแกกําลังความเพยี รทางกายกต็ าม
ทางใจกต็ าม — Payogàbhisaïkhàra: formation consisting in exertion or impetus)

Vism.527. วิสทุ ธฺ .ิ 3/120.

หมวด 4 143 [187]

[186] สังคหวัตถุ 4 (ธรรมเครอ่ื งยดึ เหนี่ยว คอื ยึดเหนี่ยวใจบุคคล และประสานหมชู น

ไวในสามคั ค,ี หลกั การสงเคราะห — Saïgahavatthu: bases of social solidarity; bases

of sympathy; acts of doing favours; principles of service; virtues making for

group integration and leadership)

1. ทาน (การให คอื เอือ้ เฟอ เผอื่ แผ เสยี สละ แบง ปน ชวยเหลอื กันดวยส่งิ ของ ตลอดถงึ ให
ความรแู ละแนะนาํ สั่งสอน — Dàna: giving; generosity; charity)
2. ปยวาจา หรอื เปยยวัชชะ (วาจาเปน ทร่ี กั วาจาดดู ดม่ื นํา้ ใจ หรือวาจาซาบซงึ้ ใจ คือกลา วคาํ

สุภาพไพเราะออนหวานสมานสามัคคี ใหเกิดไมตรีและความรักใครนับถือ ตลอดถึงคาํ แสดง
ประโยชนป ระกอบดว ยเหตุผลเปน หลักฐานจงู ใจใหน ิยมยนิ ดี — Piyavàcà: kindly speech;

convincing speech)
3. อตั ถจรยิ า (การประพฤตปิ ระโยชน คอื ขวนขวายชว ยเหลอื กจิ การ บาํ เพญ็ สาธารณประโยชน
ตลอดถึงชวยแกไขปรับปรุงสงเสรมิ ในทางจรยิ ธรรม — Atthacariyà: useful conduct;

rendering services; life of service; doing good)
4. สมานตั ตตา* (ความมีตนเสมอ** คือ ทําตนเสมอตนเสมอปลาย ปฏบิ ตั ิสมาํ่ เสมอกันในชน

ทั้งหลาย และเสมอในสุขทุกขโดยรวมรับรูรวมแกไข ตลอดถึงวางตนเหมาะแกฐานะ ภาวะ
บคุ คล เหตกุ ารณแ ละสิ่งแวดลอม ถกู ตอ งตามธรรมในแตล ะกรณี — Samànattatà: even

and equal treatment; equality consisting in impartiality, participation and

behaving oneself properly in all circumstances)

ดู [11] ทาน 21; [229] พละ 4.

D.III.152,232; A.II.32,248; A.IV.218,363. ท.ี ปา.11/140/167; 267/244; องฺ.จตกุ ฺก.21/32/42;

256/335; องฺ.อฏ ก.23/114/222; อง.ฺ นวก.23/209/377.

[187] สังคหวัตถุของผูครองแผนดิน หรอื ราชสังคหวัตถุ 4

(สังคหวัตถุของพระราชา, ธรรมเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจประชาชน, หลักการสงเคราะหประชาชน
ของนักปกครอง — Ràja-saïgahavatthu: a ruler’s bases of sympathy; royal acts of
doing favours: virtues making for national integration)
1. สัสสเมธะ (ความฉลาดในการบํารุงพืชพันธุธัญญาหาร สงเสริมการเกษตร —
Sassamedha: shrewdness in agricultural promotion)
2. ปรุ สิ เมธะ (ความฉลาดในการบาํ รงุ ขา ราชการ รจู กั สง เสรมิ คนดมี คี วามสามารถ — Purisa-
medha: shrewdness in the promotion and encouragement of government officials)

3. สมั มาปาสะ (ความรูจกั ผกู ผสานรวมใจประชาชนดวยการสงเสรมิ อาชีพ เชน ใหคนจนกูยมื

* ในปกรณฝ ายสันสกฤตของมหายาน เปน สมานารถฺ ตา (= บาลี สมานตฺถตา) แปลวา “ความเปน ผมู ีจดุ หมาย

รว มกนั หรือความคาํ นึงประโยชนอนั รว มกัน” (having common aims; feeling of common good)
**คําแปลน้ีถอื ตามทแ่ี ปลกันมาเดิม แตต ามคาํ อธิบายในคัมภรี  นา จะแปลวา “ความมีตนรว ม” (participation)

โดยเฉพาะมงุ เอารว มสขุ รว มทุกข

[188] 144 พจนานุกรมพุทธศาสตร

ทนุ ไปสรางตัวในพาณิชยกรรม เปน ตน — Sammàpàsa: “a bond to bind men’s hearts”;
act of doing a favour consisting in vocational promotion as in commercial

investment)
4. วาชเปยะ หรือ วาจาเปยยะ (ความมีวาจาอนั ดดู ด่ืมน้าํ ใจ นํา้ คําควรด่ืม คอื รจู กั พูด รจู กั
ปราศรัย ไพเราะ สุภาพนุมนวล ประกอบดวยเหตผุ ล มปี ระโยชน เปนทางแหง สามัคคี ทาํ ใหเกดิ
ความเขา ใจอนั ดี และความนยิ มเช่อื ถอื — Vàjapeya: affability in address; kindly and
convincing speech)

ราชสังคหวตั ถุ 4 ประการนี้ เปนคาํ สอนในพระพทุ ธศาสนา สวนทแี่ กไขปรบั ปรุงคาํ สอนใน

ศาสนาพราหมณ โดยกลาวถึงคาํ ศัพทเดียวกัน แตช้ีถึงความหมายอันชอบธรรมทต่ี างออกไป

ธรรมหมวดน้ี วาโดยศพั ท ตรงกบั มหายญั 5 (the five great sacrifices) ของพราหมณ คอื

1. อัสสเมธะ (การฆามา บชู ายญั — Assamedha: horse sacrifice)
2. ปรุ สิ เมธะ (การฆาคนบูชายญั — Purisamedha: human sacrifice)
3. สมั มาปาสะ (ยญั อนั สรา งแทน บชู าในทขี่ วา งไมล อดบว งไปหลน ลง — Sammàpàsa: peg-
thrown site sacrifice)
4. วาชเปยะ (การดมื่ เพอื่ พลงั หรอื เพอ่ื ชยั — Vàjapeya: drinking of strength or of victory)
5. นิรคั คฬะ หรอื สรรพเมธะ (ยญั ไมม ลี ิ่มสลกั คือ ทัว่ ไปไมมีขีดขนั้ จํากดั , การฆาครบทกุ
อยางบูชายญั — Niraggaëa or Sabbamedha: the bolts-withdrawn sacrifice; universal
sacrifice)

มหายญั 5 ทพ่ี ระราชาพงึ บชู าตามหลกั ศาสนาพราหมณน ้ี พระพทุ ธศาสนาสอนวา เดมิ ทเี ดยี ว

เปน หลกั การสงเคราะหท ด่ี งี าม แตพ ราหมณส มยั หนงึ่ ดดั แปลงเปน การบชู ายญั เพอื่ ผลประโยชนใน

ทางลาภสกั การะแกต น ความหมายที่พึงตองการซง่ึ พระพทุ ธศาสนาสง่ั สอน 4 ขอแรก มีดังกลาว

แลวขางตน สวนขอ ท่ี 5 ตามหลกั สังคหวัตถุ 4 นี้วาเปนผล แปลวา ไมมลี มิ่ กลอน หมายความวา

บา นเมืองจะสงบสุขปราศจากโจรผูราย ไมตองระแวงภยั บา นเรอื นไมตองลงกลอน

S.I.76; A.II.42; IV.151; It.21; Sn.303; SA.I.145; SnA.321. สํ.ส.15/351/110; อง.ฺ จตุกฺก.21/39/54; องฺ.อฏ ก.23/91/152;

ขุ.อิต.ิ 25/205/246; ข.ุ ส.ุ 25/323/383; สํ.อ.1/169; อติ ิ.อ.123.

[188] สังเวชนียสถาน 4 (สถานทเี่ ปน ทต่ี งั้ แหง ความสงั เวช, สถานทเี่ นอื่ งดว ยพทุ ธประวตั ิ

ซึ่งพุทธศาสนิกชนควรไปดูเพื่อเปนเครื่องเตือนใจใหเกิดความไมประมาท จะไดเรงขวนขวาย

ประกอบกุศลกรรม และสําหรบั ผูศรัทธาจะไดจารกิ ไปชม เพ่อื เพ่มิ พูนปสาทะ กระทาํ สกั การะ
บชู า อันจะนําใหเ ขา ถึงสคุ ตโิ ลกสวรรค — Sa§vejanãyaññhàna: places apt to cause the
feeling of urgency; places made sacred by the Buddha’s association; places to

be visited with reverence; the four Buddhist Holy Places)
1. ชาตสถาน (ทพี่ ระพทุ ธเจา ประสตู ิ คอื อทุ ยานลมุ พนิ ี — Jàtaññhàna: birthplace of the
Buddha)

หมวด 4 145 [189]

2. อภสิ มั พทุ ธสถาน (ทพ่ี ระพทุ ธเจา ตรสั รอู นตุ รสมั มาสมั โพธญิ าณ คอื ควงโพธท์ิ ตี่ าํ บลพทุ ธคยา
— Abhisambuddhaññhàna: place where the Buddha attained the Enlightenment)
3. ธัมมจักกปั ปวตั ตนสถาน (ทพี่ ระพทุ ธเจา ทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร
คอื ท่ปี าอสิ ปิ ตนมฤคทายวัน แขวงเมอื งพาราณสี เรยี กปจจุบนั วาสารนาถ — Dhamma-
cakkappavattanaññhàna: place where the Buddha preached the First Sermon)
4. ปรินิพพตุ สถาน (ที่พระพุทธเจาเสดจ็ ปรินิพพาน คือ ที่สาลวโนทยาน เมอื งกุสนิ ารา —
Parinibbutaññhàna: place where the Buddha passed away into Parinibbàna)

D.II.140. ที.ม.10/131/163.

[189] สัมปชัญญะ 4 (ความรูตัว, ความรตู วั ทวั่ พรอม, ความรูช ดั , ความรทู ่ัวชดั , ความ
ตระหนกั — Sampaja¤¤a: clear comprehension; clarity of consciousness; awareness)

1. สาตถกสมั ปชญั ญะ (รูชัดวา มปี ระโยชน หรอื ตระหนักในจดุ หมาย คอื รูตัวตระหนักชัดวา

ส่ิงที่กระทําน้ันมีประโยชนตามความมุงหมายอยางไรหรือไม หรือวาอะไรควรเปนจุดหมายของ

การกระทาํ นั้น เชน ผเู จรญิ กรรมฐาน เมื่อจะไป ณ ท่ีใดทห่ี น่ึง มใิ ชสกั วารูส กึ หรือนกึ ขึ้นมาวา จะ

ไป กไ็ ป แตต ระหนกั วา เมือ่ ไปแลวจะไดปติสขุ หรอื ความสงบใจ ชวยใหเ กิดความเจริญโดยธรรม

จึงไป โดยสาระคอื ความรตู ระหนักทจ่ี ะเลือกทาํ สงิ่ ทีต่ รงกบั วตั ถุประสงคหรืออาํ นวยประโยชนท่ี
มุง หมาย — Sàtthaka-sampaja¤¤a: clear comprehension of purpose)
2. สปั ปายสมั ปชญั ญะ (รชู ัดวา เปน สัปปายะ หรือตระหนกั ในความเหมาะสมเกือ้ กลู คอื รูตัว

ตระหนกั ชดั วา สงิ่ ของนนั้ การกระทํานั้น ท่ที ี่จะไปนนั้ เหมาะกนั กบั ตน เกือ้ กลู แกส ขุ ภาพ แกกจิ

เอ้ือตอการสละละลดแหง อกุศลธรรมและการเกดิ ขน้ึ เจริญงอกงามแหง กศุ ลธรรม จงึ ใช จึงทาํ

จงึ ไป หรือเลือกใหเหมาะ เชน ภกิ ษุใชจีวรท่ีเหมาะกับดินฟา อากาศและเหมาะกบั ภาวะของตนท่ี

เปนสมณะ ผเู จริญกรรมฐานจะไปฟงธรรมอันมปี ระโยชนใ นที่ชุมนมุ ใหญ แตรวู ามีอารมณซงึ่ จะ

เปน อันตรายตอกรรมฐาน ก็ไมไป โดยสาระคือ ความรูตระหนักทจ่ี ะเลอื กทาํ แตส ่งิ ท่เี หมาะสบาย

เออ้ื ตอ กาย จติ ชวี ติ กจิ พนื้ ภมู ิ และภาวะของตน — Sappàya-~: clear comprehension of

suitability)
3. โคจรสมั ปชญั ญะ (รชู ดั วา เปน โคจร หรอื ตระหนกั ในแดนงานของตน คอื รตู วั ตระหนกั ชดั อยู

ตลอดเวลาถงึ สงิ่ ทเ่ี ปน กจิ หนา ท่ี เปน ตวั งาน เปน จดุ ของเรอื่ งทตี่ นกระทาํ ไมว า จะไปไหนหรอื ทาํ อะไร

อนื่ กร็ ตู ระหนกั อยู ไมป ลอ ยใหเ ลอื นหายไป มใิ ชว า พอทาํ อะไรอนื่ หรอื ไปพบกบั สงิ่ อน่ื เรอ่ื งอน่ื ก็

เตลดิ เพรดิ ไปกบั สง่ิ นนั้ เรอื่ งนนั้ เปน นกบนิ ไมก ลบั รงั โดยเฉพาะการไมท งิ้ อารมณก รรมฐาน ซงึ่ รวม

ถงึ การบาํ เพญ็ จติ ภาวนาและปญ ญาภาวนาในกจิ กรรมทกุ อยา งในชวี ติ ประจาํ วนั โดยสาระคอื ความรู

ตระหนกั ทจี่ ะคมุ กายและจติ ไวใ หอ ยใู นกจิ ในประเดน็ หรอื แดนงานของตน ไมใ หเ ขว เตลดิ เลอ่ื น

ลอย หรอื หลงลมื ไปเสยี — Gocara-~: clear comprehension of the domain)

4. อสมั โมหสัมปชญั ญะ (รูชดั วาไมห ลง หรอื ตระหนกั ในตัวเน้อื หาสภาวะ ไมหลงใหลฟน

เฟอ น คือเม่อื ไปไหน ทําอะไร กร็ ตู วั ตระหนกั ชัดในการเคลือ่ นไหว หรือในการกระทาํ นั้น และใน

[190] 146 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

สง่ิ ท่กี ระทํานั้น ไมห ลง ไมสบั สนเงอะงะฟน เฟอน เขา ใจลว งตลอดไปถึงตวั สภาวะในการกระทาํ ท่ี
เปน ไปอยนู ้ัน วา เปน เพยี งการประชุมกันขององคประกอบและปจจัยตางๆ ประสานหนนุ เน่ืองกัน
ขึ้นมาใหป รากฏเปนอยางน้ัน หรือสําเรจ็ กจิ นนั้ ๆ รทู นั สมมติ ไมห ลงสภาวะเชน ยดึ เห็นเปน ตวั ตน
โดยสาระคือ ความรูตระหนัก ในเรอ่ื งราว เนือ้ หา สาระ และสภาวะของสิง่ ท่ตี นเกี่ยวของหรือ
กระทําอยูนั้น ตามที่เปนจริงโดยสมมติสัจจะ หรือตลอดถึงโดยปรมัตถสัจจะ มิใชพ รวดพราด
ทาํ ไป หรอื สักวา ทํา มใิ ชทาํ อยา งงมงายไมรูเ รอ่ื ง และไมถูกหลอกใหล มุ หลงหรอื เขาใจผิดไปเสีย
ดว ยความพรามัว หรอื ดวยลกั ษณะอาการภายนอกที่ยัว่ ยุ หรือเยา ยวนเปน ตน — Asammoha-

~: clear comprehension of non-delusion, or of reality)

DA.I.183; VbhA.347. ที.อ.1/228; วิภงคฺ .อ.451.

[190] สัมปทา หรอื สัมปทาคุณ 4 (ความถงึ พรอม, ความพรง่ั พรอ มสมบรู ณแ หง

องคประกอบตางๆ ซง่ึ ทําใหท านท่ีบริจาคแลว เปน ทานอันยอดเยยี่ ม มผี ลมาก อาจเหน็ ผลทนั ตา
— Sampadà: successful attainment; accomplishment; excellence)
1. วตั ถสุ มั ปทา (ถงึ พรอ มดวยวตั ถุ คือบุคคลผเู ปนทีต่ ้งั รองรับทาน เชน ทกั ขิไณยบุคคลเปน
พระอรหันต หรอื พระอนาคามี ผูเ ขานโิ รธสมาบตั ไิ ด — Vatthu-sampadà: excellence of the

foundation for merit)

2. ปจ จัยสัมปทา (ถงึ พรอมดว ยปจจัย คอื สิ่งที่จะใหเ ปน ของบริสุทธ์ิ ไดม าโดยชอบธรรม —
Paccaya-sampadà: excellence of the gift)
3. เจตนาสมั ปทา (ถงึ พรอมดวยเจตนา คอื มเี จตนาในการใหส มบรู ณค รบ 3 กาล ทัง้ กอ นให
ขณะให และหลังให จติ โสมนัส ประกอบดว ยปญ ญา — Cetanà-sampadà: excellence of

the intention)
4. คุณาตเิ รกสัมปทา (ถึงพรอมดวยคณุ สว นพิเศษ คอื ปฏคิ าหกมคี ณุ สมบัติพิเศษ เชน
ทักขไิ ณยบคุ คลนน้ั ออกจากนิโรธสมาบตั ิใหมๆ — Guõàtireka-sampadà: excellence of

extra virtue)

DhA.III.93. ธ.อ.5/88.

[191] สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 (ธรรมทเี่ ปน ไปเพอื่ ประโยชนเ บอ้ื งหนา ,
ธรรมเปน เหตใุ หส มหมาย, หลกั ธรรมอนั อาํ นวยประโยชนส ขุ ขนั้ สงู ขนึ้ ไป — Samparàyikattha-sa
§vattanika-dhamma: virtues conducive to benefits in the future; virtues leading

to spiritual welfare)
1. สัทธาสมั ปทา (ถงึ พรอ มดว ยศรัทธา — Saddhà-sampadà: to be endowed with

faith; accomplishment of confidence)
2. สลี สมั ปทา (ถึงพรอมดว ยศลี — Sãla-sampadà: to be endowed with morality;

accomplishment of virtue)

หมวด 4 147 [193]

3. จาคสมั ปทา (ถงึ พรอมดวยการเสียสละ — Càga-sampadà: to be endowed with

generosity; accomplishment of charity)
4. ปญญาสมั ปทา (ถงึ พรอมดวยปญ ญา — Pa¤¤à-sampadà: to be endowed with

wisdom; accomplishment of wisdom)
ธรรมหมวดนี้ เรยี กกนั สนั้ ๆ วา สมั ปรายกิ ตั ถะ หรอื เรยี กตดิ ปากอยา งไทยๆ วา สมั ปราย-ิ

กตั ถประโยชน (อตั ถะ ก็แปลวา “ประโยชน” จงึ เปน คาํ ซ้าํ ซอนกัน)

A.IV.284. องฺ.อฏ ก.23/144/292.

[,,,] สัมมัปปธาน 4 ดู [156] ปธาน 4.

[192] สุขของคฤหัสถ หรือ คิหิสุข หรอื กามโภคีสุข 4 (สุขของชาวบาน,

สุขท่ีชาวบานควรพยายามเขาถึงใหไดสมํ่าเสมอ, สุขอันชอบธรรมที่ผูครองเรือนควรมี —
Gihisukha: house-life happiness; deserved bliss of a layperson)
1. อตั ถสิ ขุ (สุขเกิดจากความมีทรัพย คอื ความภูมิใจ เอิบอม่ิ ใจ วาตนมีโภคทรัพยที่ไดม าดวย
น้ําพักนาํ้ แรงความขยันหม่ันเพียรของตน และโดยชอบธรรม — Atthisukha: bliss of

ownership; happiness resulting from economic security)
2. โภคสขุ (สุขเกดิ จากการใชจ ายทรัพย คอื ความภูมิใจ เอิบอม่ิ ใจ วาตนไดใชทรพั ยท ่ไี ดม าโดย
ชอบน้ัน เลย้ี งชพี เล้ยี งผูควรเลี้ยง และบาํ เพญ็ ประโยชน — Bhogasukha: bliss of

enjoyment; enjoyment of wealth)
3. อนณสุข (สขุ เกดิ จากความไมเ ปน หน้ี คือ ความภมู ใิ จ เอิบอม่ิ ใจ วาตนเปนไท ไมมีหนีส้ นิ ติด
คางใคร — Anaõasukha: bliss of debtlessness; happiness on account of freedom

from debt)
4. อนวชั ชสขุ (สขุ เกิดจากความประพฤติไมม โี ทษ คือ ความภมู ิใจ เอิบอ่มิ ใจ วาตนมีความ

ประพฤตสิ ุจริต ไมบกพรอ งเสียหาย ใครๆ ติเตยี นไมไ ด ทัง้ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ —
Anavajjasukha: bliss of blamelessness; happiness on account of leading a fault-

less life)

บรรดาสุข 4 อยางนี้ อนวชั ชสุข มีคา มากทสี่ ดุ

A.II.69. องฺ.จตกุ ฺก.21/62/90.

[,,,] สุหทมิตร 4 ดู [169] สุหทมิตร 4.
[193] โสตาปตติยังคะ 41 (องคค ณุ เครอ่ื งบรรลุโสดา, องคประกอบของการบรรลุ
โสดา, คณุ สมบตั ิที่ทาํ ใหเปนพระโสดาบัน — Sotàpattiyaïga: factors of Stream-Entry)

1. สัปปรุ สิ สงั เสวะ (เสวนาสตั บรุ ษุ , คบหาทา นผทู รงธรรมทรงปญญาเปนกลั ยาณมติ ร —
Sappurisasa§seva: association with good and wise persons)

[193] 148 พจนานุกรมพุทธศาสตร

2. สัทธัมมัสสวนะ (สดับสัทธรรม, ใสใจเลาเรียนฟงอานหาความรูใหไดธรรมที่แท —
Saddhammassavana: hearing the good teaching)
3. โยนิโสมนสิการ (ทําในใจโดยแยบคาย, รูจักคิดพิจารณาหาเหตุผลโดยถูกวิธี —
Yonisomanasikàra: analytical reflection; wise attention)
4. ธัมมานธุ มั มปฏิปต ติ (ปฏิบตั ิธรรมสมควรแกธ รรม, ปฏิบัติธรรมถูกหลกั ใหธ รรมยอย

คลอ ยแกธ รรมใหญ สอดคลอ งตามวตั ถปุ ระสงคของธรรมท้ังหลายท่ีสัมพนั ธก นั , ปฏิบตั ิธรรม

น้ันๆ ใหสอดคลองพอดีตามขอบเขตความหมายและวัตถปุ ระสงคท ส่ี อดคลอ งกบั ธรรมขอ อนื่ ๆ
กลมกลนื กันในหลักใหญท ่เี ปนระบบทัง้ หมด, ดําเนนิ ชวี ิตถกู ตอ งตามธรรม — Dhammànu-
dhammapañipatti: practice in accord with the Dhamma, i.e. in such a systematic

way that all levels and aspects of the Dhamma are in accord as regards their

respective purposes; living in conformity with the Dhamma)

โสตาปต ตยิ งั คะ 4 หมวดน้ี ตรงกับหลักท่เี รียกวา [ ],,, ปญญาวุฒธิ รรม 4 หรือ [179] วุฒธิ รรม 4

ธรรม 4 ประการนี้ มใิ ชเ พียงเปนโสตาปตตยิ งั คะ ทจ่ี ะใหบรรลโุ สดาปตตผิ ล คือเปนพระโสดาบนั

เทานั้น พระพทุ ธเจาตรสั วา ธรรม 4 ประการนี้ เม่อื เจรญิ ปฏบิ ตั ิ ทําใหม าก ยอ มเปน ไปเพ่อื การบรรลุ

อรยิ ผลไดท กุ ขนั้ จนถึงอรหัตตผล (ส.ํ ม.19/1634–7/516–7 = S.V.411)

D.III.227; S.V.347, 404. ที.ปา.11/240/239; สํ.ม.19/1428/434; 1620/509.

[194] โสตาปตติยังคะ 42 (องคค ณุ เครอ่ื งบรรลุโสดา, คุณสมบัติที่ทําใหเปนพระ
โสดาบัน, คุณสมบัติของพระโสดาบัน — Sotàpattiyaïga: factors of Stream-Entry)

1. ประกอบดว ยความเลอ่ื มใสมนั่ ในพระพทุ ธเจา (unshakable confidence in the Buddha)
2. ประกอบดว ยความเลอื่ มใสมนั่ ในธรรม (unshakable confidence in the Dhamma)
3. ประกอบดวยความเลอ่ื มใสม่ันในสงฆ (unshakable confidence in the Sangha)
4. ประกอบดว ยอรยิ กันตศลี คือ ศลี อนั เปน ท่ชี น่ื ชมพอใจของพระอรยิ ะ บรสิ ุทธ์ิ ไมถ กู ตณั หา

และทฏิ ฐิแปดเปอนหรือครอบงํา และเปนไปเพอ่ื สมาธิ (unblemished morality)

S.V.345. ส.ํ ม.19/1420/431).

[195] โสตาปตติยังคะ 43 (องคคุณเครอ่ื งบรรลโุ สดา, คณุ สมบัตทิ ี่ทาํ ใหเปนพระ
โสดาบัน, คณุ สมบัติของพระโสดาบัน — Sotàpattiyaïga: factors of Stream-Entry)

1. ประกอบดว ยความเลอื่ มใสมนั่ ในพระพทุ ธเจา (unshakable confidence in the Buddha)
2. ประกอบดว ยความเลอ่ื มใสมั่นในธรรม (unshakable confidence in the Dhamma)
3. ประกอบดวยความเลื่อมใสมน่ั ในสงฆ (unshakable confidence in the Sangha)
4. ครองเรอื นดว ยใจปราศจากมัจฉรยิ ะ ยินดีในการแจกจายแบง ปนชว ยเหลือผอู ่นื (devo-

tion to charity; delight in giving and sharing)

S.V.397. สํ.ม.19/1597–8/499.

หมวด 4 149 [198]

[,,,] หลักการแบงทรัพย 4 สวน ดู [163] โภควภิ าค 4.
[196] อคติ 4 (ฐานะอนั ไมพึงถงึ , ทางความประพฤติทผ่ี ดิ , ความไมเท่ียงธรรม, ความ

ลําเอียง — Agati: wrong course of behaviour; prejudice)
1. ฉนั ทาคติ (ลาํ เอียงเพราะชอบ — Chandàgati: prejudice caused by love or desire;

partiality)
2. โทสาคติ (ลําเอยี งเพราะชัง — Dosàgati: prejudice caused by hatred or enmity)
3. โมหาคติ (ลาํ เอยี งเพราะหลง, พลาดผิดเพราะเขลา — Mohàgati: prejudice caused by

delusion or stupidity)
4. ภยาคติ (ลําเอียงเพราะกลัว — Bhayàgati: prejudice caused by fear)

D.III.182,228; A.II.18. ท.ี ปา.11/176/196; 246/240; องฺ.จตกุ กฺ .21/17/23.

[197] อธิษฐาน หรอื อธิษฐานธรรม 4 (ธรรมเปน ท่ีม่นั , ธรรมอันเปนฐานทีม่ ัน่

คงของบุคคล, ธรรมทค่ี วรใชเปนทีป่ ระดษิ ฐานตน เพอื่ ใหส ามารถยดึ เอาผลสาํ เร็จสงู สุดอันเปน ที่

หมายได โดยไมเกิดความสําคัญตนผิด และไมเ กดิ สิ่งมัวหมองหมกั หมมทบั ถมตน, บางทีแปลวา
“ธรรมทค่ี วรตงั้ ไวใ นใจ” — Adhiññhàna: foundation; foundations on which a tranquil

sage establishes himself; virtues which should be established in the mind)

1. ปญญา (ความรูชดั คือ หยง่ั รูใ นเหตุผล พจิ ารณาใหเ ขาใจในสภาวะของสิง่ ทงั้ หลายจนเขาถงึ
ความจริง — Pa¤¤à: wisdom; insight)
2. สัจจะ (ความจริง คือ ดํารงม่ันในความจริงที่รูชัดดวยปญญา เร่ิมแตจริงวาจาจนถึง
ปรมตั ถสจั จะ — Sacca: truthfulness)
3. จาคะ (ความสละ คือ สละสิ่งอนั เคยชิน ขอ ทเี่ คยยดึ ถอื ไว และส่งิ ท้ังหลายอันผิดพลาดจาก
ความจริงเสียได เริ่มแตสละอามสิ จนถึงสละกเิ ลส — Càga: liberality; renunciation)
4. อปุ สมะ (ความสงบ คอื ระงับโทษขอขัดของมัวหมองวนุ วายอนั เกิดจากกเิ ลสท้ังหลายแลว
ทาํ จิตใจใหส งบได — Upasama: tranquillity; peace)

ทงั้ 4 ขอนี้ พงึ ปฏบิ ตั ติ ามกระทดู งั น้ี

1. ปฺ นปฺปมชฺเชยฺย (ไมพ งึ ประมาทปญญา คือ ไมละเลยการใชป ญ ญา — Pa¤¤a§
nappamajjeyya: not to neglect wisdom)
2. สจจฺ ํ อนรุ กเฺ ขยยฺ (พงึ อนรุ กั ษส จั จะ — Sacca§anurakkheyya:to safeguard truthfulness)
3. จาคํ อนพุ รฺ ูเหยยฺ (พงึ เพม่ิ พูนจาคะ — Càga§ anubråheyya: to foster liberality)
4. สนตฺ ึ สิกฺเขยฺย (พึงศกึ ษาสันติ — Santi§ sikkheyya: to train oneself in tranquillity)

D.III.229; M.III.243. ที.ปา.11/254/241; ม.อุ.14/682/437.

[198] อบาย หรอื อบายภูมิ 4 (ภาวะหรอื ทอี่ นั ปราศจากความเจรญิ — Apàya: states

[199] 150 พจนานุกรมพุทธศาสตร

of loss and woe; low states of existence; unhappy existence)
1. นริ ยะ (นรก, สภาวะหรอื ทีอ่ ันไมมคี วามสุขความเจรญิ , ภาวะเรา รอนกระวนกระวาย —
Niraya: hell; woeful state)
2. ติรัจฉานโยนิ (กําเนดิ ดิรจั ฉาน, พวกมดื มัวโงเขลา — Tiracchànayoni: the animal

kingdom; realm of beasts)
3. ปต ตวิ สิ ยั (แดนเปรต, ภมู แิ หง ผหู วิ กระหายไรส ขุ — Pittivisaya: realm of hungry ghosts)
4. อสุรกาย (พวกอสูร, พวกหวาดหวนั่ ไรค วามรื่นเรงิ — Asurakàya: host of demons; the

unrelenting and dejected; frightened ghosts)

ดู [351] ภูมิ 4, 31.

It.93. ข.ุ อติ ิ.25/273/301.

[199] อบายมุข 4 (ชอ งทางของความเสอื่ ม, ทางท่จี ะนาํ ไปสูความพินาศ, เหตุยอ ยยับแหง

โภคทรพั ย — Apàyamukha: causes of ruin; sources for the destruction of the

amassed wealth)
1. อติ ถธี ุตตะ (เปนนกั เลงหญงิ , นกั เทยี่ วผูหญิง — Itthãdhutta: seduction of women;

debauchery)
2. สรุ าธุตตะ (เปน นกั เลงสุรา, นักด่ืม — Suràdhutta: drunkenness)
3. อกั ขธุตตะ (เปน นักการพนัน — Akkhadhutta: indulgence in gambling)
4. ปาปมติ ตะ (คบคนชวั่ — Pàpamitta: bad company)

อบายมุข 4 อยางนี้ ตรัสกบั ผคู รองเรอื นที่มหี ลักฐานแลว และตรสั ตอ ทา ยทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถ-
สงั วตั ตนิกธรรม 4 มุง ความวาเปน ทางพนิ าศแหง โภคะท่ีหามาไดแ ลว

A.IV.283. อง.ฺ อฏก.23/144/292.

[200] อบายมุข 6 (ชอ งทางของความเสอ่ื ม, ทางแหง ความพนิ าศ, เหตยุ อ ยยบั แหง โภคทรพั ย
— Apàyamukha: causes of ruin; ways of squandering wealth)

1. ติดสุราและของมึนเมา (addiction to intoxicants; drug addiction) มโี ทษ 6 คอื

1) ทรัพยห มดไปๆ เหน็ ชดั ๆ

2) กอการทะเลาะววิ าท

3) เปนบอ เกิดแหงโรค

4) เสยี เกียรตเิ สยี ชือ่ เสยี ง

5) ทําใหไมรูอาย

6) ทอนกําลังปญญา

a) actual loss of wealth

หมวด 4 151 [200]

b) increase of quarrels
c) liability to disease
d) source of disgrace
e) indecent exposure
f) weakened intelligence.
2. ชอบเท่ียวกลางคนื (roaming the streets at unseemly hours) มีโทษ 6 คอื
1) ชอื่ วา ไมร กั ษาตวั
2) ชอ่ื วาไมร กั ษาลกู เมีย
3) ชอื่ วาไมรกั ษาทรัพยส มบัติ
4) เปนท่ีระแวงสงสัย
5) เปนเปา ใหเขาใสค วามหรอื ขา วลอื
6) เปนทางมาของเรอื่ งเดอื ดรอ นเปนอันมาก
a) He himself is without guard and protection.
b) So also are his wife and children.
c) So also is his property.
d) He is liable to be suspected of crimes.
e) He is the subject of false rumours.
f) He will meet a lot of troubles.
3. ชอบเท่ยี วดูการละเลน (frequenting shows) มโี ทษ โดยการงานเสอ่ื มเสยี เพราะใจ
กงั วลคอยคิดจอ ง กับเสียเวลาเมื่อไปดสู ง่ิ น้ันๆ ทั้ง 6 กรณี คอื
1) ราํ ท่ไี หนไปท่นี น่ั
2)–6) ขบั รอง, ดนตรี, เสภา, เพลง, เถิดเทิงทไ่ี หน ไปท่ีนนั่ *
(He keeps looking about to see)
a) Where is there dancing?
b)–f) Where is there singing? ~ choral music? ~ story-telling? ~ cymbal playing?
~ tam-tams?
4. ติดการพนัน (indulgence in gambling) มโี ทษ 6 คือ
1) เม่อื ชนะยอ มกอเวร
2) เมือ่ แพกเ็ สยี ดายทรพั ยท ีเ่ สียไป

* คําแปลภาษาไทยถือตามท่แี ปลกนั มา สว นภาษาอังกฤษแปลตางหาก ไมไดมงุ ใหตรงกนั

[201] 152 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

3) ทรัพยหมดไปๆ เห็นชดั ๆ

4) เขา ทป่ี ระชุม เขาไมเ ชือ่ ถอื ถอ ยคาํ

5) เปนท่ีหม่ินประมาทของเพอ่ื นฝงู

6) ไมเ ปน ท่ีพึงประสงคของผูท่ีจะหาคูครองใหล ูกของเขา เพราะเหน็ วา จะเลี้ยงลกู เมยี ไมไหว

a) As winner, he begets hatred.

b) As loser, he regrets his lost money.

c) There is actual loss of wealth.

d) His word has no weight in an assembly.

e) He is scorned by his friends and companions.

f) He is not sought after by those who want to marry their daughters, for they

would say that a gambler cannot afford to keep a wife.
5. คบคนชัว่ (association with bad companions) มโี ทษ โดยนาํ ใหก ลายไปเปน คนชัว่
อยา งคนทตี่ นคบทงั้ 6 ประเภท คอื ไดเ พอื่ นทจี่ ะนาํ ใหกลายเปน

1) นกั การพนนั (gamblers)

2) นกั เลงหญงิ (rakes; seducers)

3) นกั เลงเหลา (drunkards)

4) นักลวงของปลอม (cheaters with false things)

5) นักหลอกลวง (swindlers)

6) นักเลงหัวไม (men of violence)
6. เกียจครานการงาน (habit of idleness) มโี ทษ โดยทําใหย กเหตุตางๆ เปนขออางผดั
เพี้ยนไมท าํ การงาน โภคะใหมก็ไมเกดิ โภคะทม่ี อี ยกู ็หมดสิ้นไป คอื ใหอ างไปทั้ง 6 กรณวี า

1)–6) หนาวนกั — รอนนัก — เย็นไปแลว — ยังเชา นกั — หวิ นัก — อม่ิ นกั *

a)–f) He always makes an excuse that it is too cold, — too hot, — too late, —
too early, he is too hungry, — too full and does no work.

อบายมขุ หมวดนี้ ตรัสแกส งิ คาลกมาณพ กอนตรัสเรอ่ื งทศิ 6

D.III.182–184. ที.ปา.11/178–184/196–198.

[201] วัฒนมุข 6 (ธรรมทเ่ี ปนปากทางแหงความเจริญ, ธรรมที่เปนดจุ ประตูชยั อันจะเปด
ออกไปใหก า วหนา สคู วามเจรญิ งอกงามของชวี ติ — Vaóóhana-mukha: channels of growth;

gateway to progress)

* บางฉบับเปน “กระหายนกั ” (too thirsty)

หมวด 4 153 [202]

1. อาโรคยะ (ความไมม ีโรค, ความมีสุขภาพดี — ârogya: good health)
2. ศลี (ความประพฤตดิ ี มวี นิ ยั ไมก อ เวรภยั ไดฝ ก ในมรรยาทอนั งาม — Sãla: moral conduct
and discipline)
3. พุทธานุมัต (ศึกษาแนวทาง มองดแู บบอยาง เขาถงึ ความคิดของพทุ ธชนเหลา คนผเู ปน
บัณฑติ — Buddhànumata: conformity or access to the ways of great, enlightened
beings)
4. สุตะ (ใฝเลาเรียนหาความรู ฝกตนใหเชี่ยวชาญและทันตอเหตุการณ — Suta: much
learning)
5. ธรรมานวุ ัติ (ดําเนินชวี ติ และกิจการงานโดยทางชอบธรรม — Dhammànuvatti: practice
in accord with the Dhamma; following the law of righteousness)
6. อลนี ตา (เพียรพยายามไมระยอ, มีกําลงั ใจแขง็ กลา ไมท อถอยเฉือ่ ยชา เพยี รกา วหนา เรอื่ ย
ไป — Alãnatà: unshrinking perseverance)

ธรรม 6 ประการชุดน้ี ในบาลีเดมิ เรยี กวา อตั ถทวาร (ประตแู หง ประโยชน, ประตูสจู ดุ

หมาย) หรือ อตั ถประมุข (ปากทางสปู ระโยชน, ตน ทางสูจุดหมาย) และอรรถกถาอธิบายคํา

อัตถะ วา หมายถงึ “วฒุ ”ิ คอื ความเจริญ ซ่ึงไดแ ก วฒั นะ ดังนั้นจึงอาจเรยี กวา วฒุ มิ ขุ หรอื ท่คี น

ไทยรูสกึ คุน มากกวาวา วฒั นมุข

อนง่ึ ในฝา ยอกศุ ล มหี มวดธรรมรจู กั กนั ดที เี่ รยี กวา อบายมขุ 6 ซง่ึ แปลวา ปากทางแหง ความ

เสอ่ื ม จงึ อาจเรยี กธรรมหมวดน้ดี ว ยคาํ ทเ่ี ปนคตู รงขา มวา อายมุข 6 (ปากทางแหงความเจรญิ )

J.I.366 ขุ.ชา.27/84/27

[202] อปสเสนะ หรือ อปสเสนธรรม 4 (ธรรมดุจพนกั พิง, ธรรมเปนท่อี ิงหรือ

พ่งึ อาศยั — Apassena: virtues to lean on; states which a monk should rely on)

1. สงขฺ าเยกํ ปฏเิ สวติ (ของอยางหน่ึง พจิ ารณาแลวเสพ ไดแก สิ่งของมปี จ จยั 4 คอื จวี ร

บิณฑบาต เสนาสนะ คลิ านเภสัช เปนตนกด็ ี บคุ คล และธรรมเปนตน ก็ดี ทจี่ ําเปน จะตอ ง
เกี่ยวขอ งและมีประโยชน พึงพจิ ารณาแลว จึงใชสอยและเสวนาใหเปนประโยชน — Pañisevanà:
The monk deliberately follows or makes use of one thing.)

2. สงฺขาเยกํ อธิวาเสติ (ของอยางหนึ่ง พิจารณาแลว อดกลน้ั ไดแ ก อนฏิ ฐารมณต า งๆ มี

หนาว รอ น และทุกขเวทนาเปนตน พึงรูจ กั พิจารณาอดกลั้น — Adhivàsanà: The monk
deliberately endures one thing.)

3. สงขฺ าเยกํ ปริวชฺเชติ (ของอยา งหนงึ่ พิจารณาแลว เวน เสยี ไดแ ก สง่ิ ทเ่ี ปน โทษ กอ อันตราย

แกรา งกายก็ตาม จิตใจก็ตาม เชน ชางราย คนพาล การพนนั สุราเมรัย เปน ตน พงึ รูจกั พจิ ารณา
หลกี เวน เสยี — Parivajjanà: The monk deliberately avoids one thing.)

4. สงขฺ าเยกํ ปฏิวิโนเทติ (ของอยา งหนึง่ พจิ ารณาแลว บรรเทาเสยี ไดแก ส่ิงท่ีเปนโทษกอ

[203] 154 พจนานุกรมพุทธศาสตร

อนั ตราย เชน อกุศลวิตก มกี ามวติ ก พยาบาทวติ ก วหิ ิงสาวติ ก เปนตน และความช่ัวรา ยทั้ง
หลาย เกิดข้ึนแลว พึงรูจ ักพจิ ารณาแกไข บาํ บัดหรอื ขจัดใหส ิน้ ไป — Pañivinodanà: The

monk deliberately suppresses or expels one thing.)

อปสเสนะ 4 น้ี เรียกอีกอยางวา อุปนสิ ยั 4 (ธรรมเปนท่ีพึง่ พงิ หรอื ธรรมชว ยอุดหนุน —

Upanissaya: supports; supporting states)

เมอื่ รูจ กั พจิ ารณาปฏิบตั ติ อ ส่ิงตางๆ ใหถ ูกตอ งดว ยปญญาตามหลักอปส เสนะ หรอื อุปนสิ ัย
4 อยา งนี้ ยอมเปน เหตุใหอ กุศลท่ยี ังไมเ กดิ ก็ไมเ กดิ ขึ้น ท่ีเกิดแลวก็เสอ่ื มสนิ้ ไป และกศุ ลทยี่ ังไม
เกิดยอมเกิดข้นึ ทเ่ี กิดข้นึ แลว ก็เจริญยง่ิ ขน้ึ ไป

ภกิ ษุผพู รอมดว ยธรรม 4 ประการน้ี ดาํ รงอยูในธรรม 5 คือ ศรทั ธา หริ ิ โอตตปั ปะ วิริยะ

ปญ ญา ทา นเรยี กวา นสิ สยสมั บนั (ผถู งึ พรอ มดว ยทพ่ี ง่ึ อาศยั — fully supported; resourceful).

D.III.224,270; A.IV.354; A.V.30. ท.ี ปา.11/236/326; 472/338; องฺ.นวก.23/206/366; องฺ.ทสก.24/20/32.

[,,,] อรหันต 4 ดู [62] อรหันต 4.

[,,,] อริยบุคคล 4 ดู [56] อรยิ บคุ คล 4.
[203] อริยวงศ 4 (ปฏิปทาที่พระอริยะทั้งหลายปฏิบัติสืบกันมาแตโบราณไมขาดสาย,
อริยประเพณี — Ariyava§sa: Ariyan lineage; noble tradition; the fourfold

traditional practice of the Noble Ones)
1. จวี รสนั โดษ (ความสนั โดษดวยจีวร — Cãvara-santosa: contentment as regards

robes or clothing)
2. ปณ ฑปาตสันโดษ (ความสันโดษดว ยบิณฑบาต — Piõóapàta-santosa: contentment

as regards alms-food)
3. เสนาสนสนั โดษ (ความสันโดษดว ยเสนาสนะ — Senàsana-santosa: contentment as

regards lodging)
4. ปหานภาวนารามตา (ความยนิ ดใี นการละอกศุ ลและเจรญิ กศุ ล — Pahànabhàvanà-
ràmatà: delight in the abandonment of evil and the development of good)

การปฏบิ ัติทีจ่ ดั เปนอรยิ วงศใ นธรรมทัง้ 4 ขอนั้น พระภิกษุพึงประพฤติดังน้ี

ก. สนั โดษดว ยปจจัยใน 3 ขอ ตน ตามมตี ามได

ข. มปี กติกลา วสรรเสรญิ คุณของความสันโดษใน 3 ขอ น้ัน

ค. ไมป ระกอบอเนสนา คอื การแสวงหาท่ผี ดิ (ทจุ รติ ) เพราะปจจัยทง้ั 3 อยา งนั้นเปน เหตุ (เพยี ร
แสวงหาแตโดยทางชอบธรรม ไมเ กียจคราน)

ง. เมื่อไมได ก็ไมเรารอนทุรนทุราย

จ. เมอื่ ได กใ็ ชโ ดยไมต ดิ ไมห มกมนุ ไมส ยบ รเู ทา ทนั เหน็ โทษ มปี ญ ญาใชส งิ่ นน้ั ตามประโยชน ตาม
ความหมายของมนั (มแี ละใชด ว ยสตสิ มั ปชญั ญะ ดาํ รงตนเปน อสิ ระ ไมต กเปน ทาสของสงิ่ นนั้ )

หมวด 4 155 [204]

ฉ. ไมถ อื เอาการท่ีไดประพฤตธิ รรม 4 ขอ น้ี เปน เหตยุ กตนขม ผูอืน่

โดยสรปุ วา เปน ผขู ยนั ไมเ กียจคราน มสี ตสิ ัมปชัญญะในขอนัน้ ๆ เฉพาะขอ 4 ทรงสอนไม

ใหสันโดษ สว น 3 ขอ แรกทรงสอนใหทําความเพียรแสวงหาในขอบเขตที่ชอบดว ยธรรมวินัยและ

มีความสนั โดษตามนัยทแ่ี สดงขางตน

อนึ่ง ในจฬู นิทเทส ทา นแสดงอรยิ วงศข องพระปจเจกพทุ ธเจาตางไปเลก็ นอ ย คอื เปล่ียนขอ

4 เปน สันโดษดว ยคิลานปจ จยั เภสชั บรขิ าร (medical equipment)

D.III.224; A.II.27; Nd2107. ท.ี ปา.11/237/236; อง.ฺ จตกุ กฺ .21/28/35; ข.ุ จ.ู 30/691/346.

[204] อริยสัจจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ, ความจรงิ ของพระอริยะ, ความจรงิ ท่ีทําใหผ ูเ ขา
ถึงกลายเปนอรยิ ะ — Ariyasacca: The Four Noble Truths)

1. ทกุ ข (ความทกุ ข, สภาพที่ทนไดย าก, สภาวะทบ่ี ีบค้นั ขัดแยง บกพรอ ง ขาดแกน สารและ

ความเทย่ี งแท ไมใ หความพงึ พอใจแทจรงิ , ไดแก ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกับสงิ่ อันไมเปน

ทร่ี ัก การพลัดพรากจากส่ิงที่รัก ความปรารถนาไมสมหวัง โดยยอวา อุปาทานขันธ 5 เปนทกุ ข
— Dukkha: suffering; unsatisfactoriness)

2. ทุกขสมทุ ัย (เหตุเกดิ แหงทุกข, สาเหตใุ หทกุ ขเ กิด ไดแ ก ตณั หา 3 คอื กามตณั หา ภวตณั หา
และ วภิ วตณั หา — Dukkha-samudaya: the cause of suffering; origin of suffering)

3. ทกุ ขนโิ รธ (ความดบั ทกุ ข ไดแ ก ภาวะทตี่ ณั หาดับส้ินไป, ภาวะทเ่ี ขาถึงเม่อื กาํ จัดอวชิ ชา

สาํ รอกตัณหาสนิ้ แลว ไมถ กู ยอ ม ไมตดิ ของ หลุดพน สงบ ปลอดโปรง เปนอิสระ คอื นพิ พาน

— Dukkha-nirodha: the cessation of suffering; extinction of suffering)
4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (ปฏิปทาท่ีนําไปสูความดบั แหงทกุ ข, ขอปฏบิ ัตใิ หถงึ ความดบั

ทกุ ข ไดแก อริยอัฏฐงั คิกมรรค หรอื เรียกอกี อยางหนง่ึ วา มชั ฌมิ าปฏปิ ทา แปลวา “ทางสาย
กลาง” มรรคมอี งค 8 นี้ สรุปลงในไตรสกิ ขา คือ ศลี สมาธิ ปญ ญา — Dukkha-nirodha-

gàminã pañipadà: the path leading to the cessation of suffering)

อรยิ สจั จ 4 นี้ เรยี กกนั สน้ั ๆ วา ทกุ ข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค (Dukkha, Samudaya, Nirodha,

Magga); การแสดงอรยิ สัจจ 4 น้ี มีชือ่ เรยี กอกี อยา งหนึง่ วา สามุกกงั สิกาธรรมเทศนา (เชน องฺ.

อฏก.23/102/190) แปลตามอรรถกถาวา พระธรรมเทศนาท่ีพระพทุ ธเจาทรงหยิบยกขน้ึ ถือเอาไว

ดว ยพระองคเ อง คอื ทรงเหน็ ดว ยพระสยมั ภญู าณ (=ตรสั รเู อง) ไมส าธารณะแกผ อู นื่ (แตต ามท่ี

อธิบายกนั มา มกั แปลวา “พระธรรมเทศนาทพี่ ระพุทธเจา ทรงยกข้นึ แสดงเอง โดยไมต องปรารภ

คําถามหรอื การทูลขอรองของผฟู ง อยา งการแสดงธรรมเร่อื งอน่ื ๆ”; ความจรงิ จะแปลวา “พระ

ธรรมเทศนาข้ันสุดยอด” ก็ได ซ่ึงสมกับเปนเร่ืองที่ทรงแสดงทายสุดตอจาก อนุปุพพิกถา 5 คํา

แปลอยา งหลงั น้ี พงึ เทียบ องฺ.ทสก.24/95/208)

ดู [216] ขันธ 5; [74] ตัณหา 3; [293] มรรคมีองค 8; [124] สกิ ขา 3.

Vin.I.9; S.V.421; Vbh.99. วนิ ย.4/14/18; ส.ํ ม.19/1665/528; อภิ.ว.ิ 35/145/127.

[205] 156 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

[205] กิจในอริยสัจจ 4 (หนาท่อี นั จะพึงทาํ ตออรยิ สัจจ 4 แตละอยาง, ขอที่จะตอ ง

ปฏบิ ัติใหถ กู ตองและเสร็จสิ้นในอริยสัจจ 4 แตล ะอยา ง จงึ จะชือ่ วารูอรยิ สจั จหรอื เปน ผตู รัสรู
แลว — Ariyasaccesu kiccàni: functions concerning the Four Noble Truths)

1. ปรญิ ญา (การกาํ หนดรู เปน กจิ ในทกุ ข ตามหลกั วา ทกุ ขฺ ํ อรยิ สจจฺ ํ ปริ เฺ ยยฺ ํ ทกุ ขค วรกาํ หนด

รู คอื ควรศกึ ษาใหร จู กั ใหเ ขา ใจชดั ตามสภาพทเ่ี ปน จรงิ ไดแ ก การทาํ ความเขา ใจและกาํ หนด
ขอบเขตของปญ หา — Pari¤¤à: comprehension; suffering is to be com-prehended)

2. ปหานะ (การละ เปนกิจในสมุทัย ตามหลกั วา ทกุ ฺขสมุทโย อรยิ สจจฺ ํ ปหาตพฺพํ สมุทยั ควร

ละ คือ กําจัด ทาํ ใหหมดส้นิ ไป ไดแ กการแกไ ขกาํ จัดตน ตอของปญหา — Pahàna: era-

dication; abandonment; the cause of suffering is to be eradicated)

3. สัจฉกิ ิริยา (การทาํ ใหแจง เปนกิจในนิโรธ ตามหลักวา ทุกฺขนิโรโธ อริยสจฺจํ สจฺฉิกาตพพฺ ํ

นโิ รธควรทําใหแจง คือ เขาถึง หรือบรรลุ ไดแ กก ารเขาถึงภาวะท่ีปราศจากปญ หา บรรลุจุดหมาย
ทตี่ อ งการ — Sacchikiriyà: realization; the cessation of suffering is to be realized)

4. ภาวนา (การเจรญิ เปน กจิ ในมรรค ตามหลกั วา ทกุ ขฺ นโิ รธคามนิ ี ปฏปิ ทา อรยิ สจจฺ ํ ภาเวตพพฺ ํ

มรรคควรเจรญิ คอื ควรฝก อบรม ลงมอื ปฏบิ ตั ิ กระทาํ ตามวธิ กี ารทจี่ ะนาํ ไปสจู ดุ หมาย ไดแ กก ารลงมอื
แกไ ขปญ หา — Bhàvanà: development; practice; the path is to be followed or developed)

ในการแสดงอรยิ สจั จ กด็ ี ในการปฏิบตั ิธรรมตามหลกั อรยิ สัจจ กด็ ี จะตอ งใหอ ริยสัจจแต

ละขอ สัมพนั ธต รงกันกับกิจแตละอยาง จงึ จะเปน การแสดงและเปนการปฏิบตั ิโดยชอบ ทั้งน้ี

วางเปนหัวขอ ไดดังนี้

1. ทุกข เปน ขัน้ แถลงปญ หาทีจ่ ะตอ งทาํ ความเขาใจและรขู อบเขต (ปรญิ ญา) — statement of

evil; location of the problem.
2. สมุทัย เปนข้ันวิเคราะหและวินิจฉัยมูลเหตุของปญ หา ซึ่งจะตอ งแกไขกําจดั ใหหมดสิน้ ไป

(ปหานะ) — diagnosis of the origin.

3. นโิ รธ เปน ขั้นช้ีบอกภาวะปราศจากปญ หา อนั เปนจดุ หมายที่ตอ งการ ใหเ ห็นวาการแกป ญ หา

เปน ไปได และจดุ หมายน้นั ควรเขา ถึง ซงึ่ จะตอ งทําใหสําเร็จ (สจั ฉิกิริยา) — prognosis of its

antidote; envisioning the solution.
4. มรรค เปนขัน้ กําหนดวิธกี าร ขน้ั ตอน และรายละเอยี ดที่จะตอ งปฏิบตั ิในการลงมอื แกปญหา

(ภาวนา) — prescription of the remedy; programme of treatment.

ความสําเรจ็ ในการปฏบิ ัติทง้ั หมด พึงตรวจสอบดวยหลัก [73] ญาณ 3 2

Vin.I.10; S.V.422. วินย.4/15/20; ส.ํ ม.19/1666/529.

[206] ธรรม 4 (ธรรมทงั้ ปวงประดามี จดั ประเภทตามลักษณะความสมั พนั ธทม่ี นุษยพงึ

ปฏิบตั ิหรอื เกย่ี วขอ งเปน 4 จําพวก อนั สอดคลอ งกบั หลักอริยสจั จ 4 และกิจในอริยสัจจ 4 —
Dhamma: all dhammas [states, things] classified into 4 categories according as

they are to be rightly treated)

หมวด 4 157 [207]

1. ปริญไญยธรรม = ธรรมทเี่ ขากบั กิจในอริยสจั จขอ ท่ี 1 คอื ปริญญา (ธรรมอนั พึงกําหนดร,ู

สิง่ ทค่ี วรรอบรู หรือรเู ทา ทันตามสภาวะของมัน ไดแก อุปาทานขันธ 5 กลาวคอื ทกุ ขและสิง่ ทั้ง
หลายทอี่ ยใู นจาํ พวกทเี่ ปน ปญ หาหรอื เปนท่ีตัง้ แหง ปญหา — Pari¤¤eyya-dhamma: things

to be fully understood, i.e. the five aggregates of existence subject to clinging)

2. ปหาตัพพธรรม = ธรรมท่เี ขากับกิจในอริยสจั จข อ ท่ี 2 คือ ปหานะ (ธรรมอนั พงึ ละ, สง่ิ ท่ีจะ

ตอ งแกไขกําจัดทําใหห มดไป วาโดยตนตอรากเหงา ไดแก อวิชชา และภวตณั หา กลาวคือธรรม

จาํ พวกสมทุ ัยทีก่ อ ใหเ กดิ ปญ หาเปนสาเหตขุ องทกุ ข หรือพูดอีกอยางหนงึ่ วา อกศุ ลทงั้ ปวง —

Pahàtabba-dhamma: things to be abandoned, i.e. ignorance and craving for being)

3. สัจฉิกาตพั พธรรม = ธรรมท่เี ขากับกิจในอรยิ สจั จขอท่ี 3 คือ สจั ฉกิ ิรยิ า (ธรรมอนั พงึ

ประจกั ษแ จง, สิ่งที่ควรไดควรถงึ หรือควรบรรลุ ไดแ ก วิชชา และวมิ ุตติ เมื่อกลา วโดยรวบยอด

คอื นิโรธ หรอื นพิ พาน หมายถงึ ธรรมจําพวกทเี่ ปนจดุ หมาย หรือเปน ทด่ี บั หายส้ินไปแหงทุกข

หรอื ปญหา — Sacchikàtabba-dhamma: things to be realized, i.e. true knowledge

and freedom or liberation)

4. ภาเวตัพพธรรม = ธรรมทีเ่ ขากับกิจในอริยสัจจข อที่ 4 คือ ภาวนา (ธรรมอนั พงึ เจริญหรอื

พึงปฏิบัติบําเพ็ญ, สิ่งทีจ่ ะตองปฏบิ ัตหิ รอื ลงมือทํา ไดแก ธรรมที่เปนมรรค โดยเฉพาะสมถะ

และวิปสสนา กลาวคือ ประดาธรรมทเี่ ปนขอปฏบิ ตั หิ รอื เปนวิธกี ารทีจ่ ะทําหรือดาํ เนนิ การเพอื่ ให

บรรลจุ ดุ หมายแหง การสลายทกุ ขห รอื ดบั ปญ หา — Bhàvetabba-dhamma: things to be

developed, i.e. tranquillity and insight, or, in other words, the Noble Eightfold Path)

M.III.289; S.V.52; A.II.246. ม.อ.ุ 14/829/524; สํ.ม.19/291–5/78;อง.ฺ จตุกกฺ .21/254/333.

[207] อรูป หรอื อารุปป 4 (ฌานมอี รูปธรรมเปน อารมณ คอื อรปู ฌาน, ภพของสัตวผ ู
เขาถงึ อรูปฌาน, ภพของอรูปพรหม — Aråpa, âruppa: absorptions of the Formless

Sphere; the Formless Spheres; immaterial states)

1. อากาสานญั จายตนะ (ฌานอันกําหนดอากาศคือชอ งวา งหาท่ีสดุ มิไดเ ปนอารมณ หรอื ภพ
ของผูเขา ถึงฌานนี้ — âkàsàna¤càyatana: Sphere of Infinity of Space)
2. วิญญาณัญจายตนะ (ฌานอนั กาํ หนดวญิ ญาณหาทีส่ ดุ มไิ ดเปน อารมณ หรือภพของผูเขา ถึง
ฌานน้ี — Vi¤¤àõa¤càyatana: Sphere of Infinity of Consciousness)
3. อากญิ จญั ญายตนะ (ฌานอันกําหนดภาวะท่ีไมม อี ะไรๆ เปน อารมณ หรอื ภพของผูเขา ถึง
ฌานน้ี — âki¤ca¤¤àyatana: Sphere of Nothingness)
4. เนวสัญญานาสัญญายตนะ (ฌานอนั เขาถึงภาวะมีสญั ญาก็ไมใ ช ไมม สี ญั ญาก็ไมใช หรอื
ภพของผูเขาถงึ ฌานนี้ — Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana: Sphere of Neither Perception

Nor Non-Perception)

D.III.224; S.IV.227. ที.ปา.11/235/235; ส.ํ สฬ.18/519/326.

[208] 158 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

[208] อวิชชา 4 (ความไมร ูแจง, ไมรจู ริง — Avijjà: ignorance; lack of essential

knowledge)

1. ทกุ ฺเข อฺาณํ (ไมรูใ นทกุ ข — ignorance of suffering)
2. ทกุ ขฺ สมุทเย อฺาณํ (ไมรูใ นทุกขสมุทยั — ~ of the cause of suffering)
3. ทุกฺขนิโรเธ อฺาณํ (ไมรูในทุกขนิโรธ — ~ of the cessation of suffering)
4. ทุกฺขนิโรธคามนิ ิยา ปฏปิ ทาย อฺาณํ (ไมร ใู นทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา — ~ of the

path leading to the cessation of suffering)

กลา วสัน้ ๆ คือ ไมร ใู นอรยิ สัจจ 4

S.II.4; S.IV.256; Vbh.135. สํ.นิ.16/17/5; สํ.สฬ.18/505/315; อภ.ิ วิ.35/256/181.

[209] อวิชชา 8 (ความไมรแู จง, ไมรูจริง — Avijjà: ignorance; lack of essential

knowledge) 4 ขอ แรกตรงกับอวิชชา 4; ขอ 5–8 ดงั น้ี

5. ปพุ พฺ นฺเต อฺาณํ (ไมร ใู นสว นอดีต — ignorance of the past)
6. อปรนฺเต อฺาณํ (ไมรูในสว นอนาคต — ~ of the future)
7. ปพุ พฺ นตฺ าปรนเฺ ต อฺ าณํ (ไมร ทู งั้ สว นอดตี ทง้ั สว นอนาคต — ~ of both the past and

the future)
8. อิทปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมปุ ปฺ นเฺ นสุ ธมฺเมสุ อฺาณํ (ไมร ูในธรรมทง้ั หลายทีอ่ าศัยกนั จึง

เกดิ มขี ้ึนตามหลักอิทปั ปจจยตา — ~ of states dependently originated according to

specific conditionality)

Dhs.190,195; Vhh.362. อภ.ิ สํ.34/691/273; 712/281; อภ.ิ ว.ิ 35/926/490.

[210] อันตรายของภิกษุสามเณรผูบวชใหม 4 (ตามบาลีวาภยั สาํ หรบั

กลุ บุตรผบู วชในธรรมวินัยน้ี อนั เปน เหตุใหป ระพฤติพรหมจรรยอยูไดไ มย ่งั ยืน ตอ งลาสิกขาไป
— Bhaya: perils or terrors awaiting a clansman who has gone forth from home

to the homeless life; dangers to newly ordained monks or novices)
1. อูมภิ ยั (ภัยคลืน่ คือ อดทนตอ คําสงั่ สอนไมได เกิดความข้ึงเคียดคบั ใจ เบื่อหนา ยคํา
ตกั เตอื นพรํ่าสอน — æmibhaya: peril of waves, i.e. wrath and resentment caused

by inability to accept teaching and advice)

2. กุมภีลภัย (ภยั จระเข คือ เหน็ แกปากแกท อ ง ถกู จาํ กดั ดว ยระเบียบวินยั เกย่ี วกับการบริโภค
ทนไมได — Kumbhãlabhaya: peril of crocodiles, i.e. gluttony)
3. อาวฏภัย (ภัยนํ้าวน คือ หวงพะวงใฝทะยานในกามสุข ตัดใจจากกามคุณไมได —
âvañabhaya: peril of whirlpools, i.e. desire for sense-pleasures)
4.สสุ กุ าภัย (ภัยปลาราย หรือภยั ฉลาม คอื เกดิ ความปรารถนาทางเพศ รักผหู ญิง — Susukà
bhaya: peril of sharks, i.e. love for women)

M.I.460; A.II.123. ม.ม.13/190/198; องฺ.จตุกฺก.21/122/165.

หมวด 4 159 [212]

[,,,] อัปปมัญญา 4 ดู [161] พรหมวิหาร 4.
[211] อาจารย 4 (ผูประพฤตกิ ารอนั เกื้อกูลแกศษิ ย, ผูท ศี่ ิษยพ ึงประพฤติดว ยความ

เออ้ื เฟอ, ผูส ่งั สอนวิชาและอบรมดแู ลความประพฤติ — âcariya: teacher; instructor)
1. บรรพชาจารย (อาจารยใ นบรรพชา คือ ทา นผูใหสิกขาบทในการบรรพชา — Pabbajjà-
cariya: initiation-teacher; teacher at the Going Forth)
2. อปุ สมั ปทาจารย (อาจารยใ นอุปสมบท คอื ทานผสู วดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรม —
Upasampadàcariya: ordination-teacher; teacher at the Admission)
3. นสิ สยาจารย (อาจารยผใู หนสิ ัย คอื ทา นทีต่ นไปขอถือนสิ ยั เปนอนั เตวาสกิ คอื ยอมตนเปน
ศษิ ยอยใู นปกครอง — Nissayàcariya: tutelar teacher; teacher from whom one takes

the Dependence)
4. อุเทศาจารย หรือ ธรรมาจารย (อาจารยผ ใู หอุเทศ, อาจารยผ ูส อนธรรม คอื ทานท่ี
ส่ังสอนใหว ชิ าความรู โดยหลกั วิชาก็ดี เปนท่ีปรกึ ษาไตถ ามคน ควาก็ดี — Uddesàcariya,
Dhammàcariya: teacher of textual study; teacher who gives the instruction;

teacher of the Doctrine)
บางแหง เตมิ โอวาทาจารย (อาจารยผ ใู หโ อวาท คอื อบรมตกั เตือนแนะนาํ เปนครั้งคราว

— Ovàdàcariya: teacher who gives admonitions) เขาอกี รวมเปน อาจารย 5.

Vism.94; VinA.V.1085, VII.1379. วิสทุ ฺธ.ิ 1/118; วนิ ย.อ.3/182,582; วนิ ย.ฏีกา4/168; มงฺคล.2/289.

[,,,] อาสวะ 4 ดู [136] อาสวะ 4.
[212] อาหาร 4 (สภาพทีน่ าํ มาซึ่งผลโดยความเปนปจจัยค้าํ จนุ รปู ธรรมและนามธรรมทง้ั

หลาย, เครื่องค้ําจนุ ชวี ติ , ส่งิ ทห่ี ลอ เลี้ยงรางกายและจิตใจ ทําใหเ กิดกําลังเจรญิ เติบโตและววิ ัฒน
ได — âhàra: nutriment)
1. กวฬงิ การาหาร (อาหารคือคําขา ว ไดแก อาหารสามญั ที่กลนื กินดดู ซึมเขา ไปหลอ เลย้ี งรา ง
กาย — Kavaëiïkàràhàra: material food; physical nutriment) เม่ือกาํ หนดรกู วฬิงการาหารได

แลว ก็เปนอนั กาํ หนดรรู าคะทีเ่ กดิ จากเบญจกามคณุ ไดด ว ย
2. ผัสสาหาร (อาหารคือผสั สะ ไดแ ก การบรรจบแหง อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และ
วญิ ญาณ เปนปจ จัยใหเกดิ เวทนา พรอมทั้งเจตสกิ ท้งั หลายทจ่ี ะเกิดตามมา — Phassàhàra:

nutriment consisting of contact; contact as nutriment) เม่ือกาํ หนดรูผัสสาหารไดแ ลว

กเ็ ปนอนั กําหนดรเู วทนา 3 ไดดว ย
3. มโนสัญเจตนาหาร (อาหารคือมโนสัญเจตนา ไดแก ความจงใจ เปน ปจจยั แหง การทํา พูด

คิด ซ่งึ เรยี กวา กรรม เปนตวั ชกั นํามาซ่ึงภพ คอื ใหเกดิ ปฏสิ นธิในภพทั้งหลาย — Manosa¤

cetanàhàra: nutriment consisting of mental volition; mental choice as nutriment)

เมือ่ กาํ หนดรูม โนสญั เจตนาหารไดแ ลว ก็เปนอนั กําหนดรูต ัณหา 3 ไดด วย.
4. วญิ ญาณาหาร (อาหารคอื วญิ ญาณ ไดแ ก วญิ ญาณเปน ปจ จยั ใหเ กดิ นามรปู — Vi¤¤àõàhàra:

[213] 160 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

nutriment consisting of consciousness; consciousness as nutriment) เมอื่ กําหนดรู
วญิ ญาณาหารไดแลว กเ็ ปนอันกาํ หนดรูนามรูปไดด วย.

D.III.228; M.I.48; S.II.101; Vbh.401. ที.ปา.11/244/240; ม.มู.12/113/87; ส.ํ นิ.16/245/122; อภ.ิ วิ.35/1081/543.

[213] อิทธิบาท 4 (คณุ เคร่อื งใหถ ึงความสาํ เร็จ, คุณธรรมทนี่ าํ ไปสคู วามสาํ เรจ็ แหง ผลท่ี
มุง หมาย — Iddhipàda: path of accomplishment; basis for success)

1. ฉันทะ (ความพอใจ คอื ความตอ งการที่จะทาํ ใฝใ จรกั จะทําส่ิงน้นั อยเู สมอ และปรารถนาจะ
ทําใหไดผลดยี ิ่งๆ ข้ึนไป — Chanda: will; zeal; aspiration)

2. วิรยิ ะ (ความเพยี ร คือ ขยนั หมนั่ ประกอบส่ิงน้นั ดว ยความพยายาม เขม แขง็ อดทน เอาธรุ ะ
ไมทอ ถอย — Viriya: energy; effort; exertion; perseverance)

3. จติ ตะ (ความคิดมุง ไป คือ ตงั้ จิตรบั รใู นสง่ิ ท่ีทําและทําสงิ่ นน้ั ดว ยความคิด เอาจิตฝก ใฝไม
ปลอ ยใจใหฟ ุงซา นเลอ่ื นลอยไป อุทิศตัวอุทศิ ใจใหแกส ่ิงทท่ี ํา — Citta: thoughtfulness;

active thought; dedication)
4. วมิ ังสา (ความไตรตรอง หรอื ทดลอง คอื หม่ันใชป ญญาพิจารณาใครครวญตรวจตราหา

เหตุผลและตรวจสอบขอย่ิงหยอ นในสง่ิ ที่ทําน้นั มกี ารวางแผน วัดผล คดิ คน วธิ ีแกไ ขปรับปรุง
เปนตน — Vãma§sà: investigation; examination; reasoning; testing)

D.III.221; Vbh.216. ที.ปา.11/231/233; อภ.ิ ว.ิ 35/505/292.

[214] อุปาทาน 4 (ความยึดมัน่ , ความถอื ม่นั ดวยอาํ นาจกเิ ลส, ความยดึ ติดอันเนือ่ งมาแต
ตัณหา ผกู พันเอาตัวตนเปน ทต่ี ้ัง — Upàdàna: attachment; clinging; assuming)

1. กามปุ าทาน (ความยดึ ม่นั ในกาม คอื รูป เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ ท่นี า ใคร นา พอใจ —
Kàmupàdàna: clinging to sensuality)

2. ทฏิ ปุ าทาน (ความยึดมัน่ ในทิฏฐหิ รือทฤษฎี คือความเหน็ ลัทธิ หรือหลกั คําสอนตา งๆ —
Diññhupàdàna: clinging to views)

3. สลี ัพพตปุ าทาน (ความยดึ มัน่ ในศลี และพรต คือ ถอื วา จะบรสิ ทุ ธหิ์ ลุดพน ไดเพียงดวยศีล

และวัตร หลกั ความประพฤติ ขอ ปฏิบตั ิ แบบแผน ระเบียบ วิธี ขนบธรรมเนยี มประเพณี ลัทธิ

พิธีตา งๆ ถือวาจะตอ งเปนอยางนน้ั ๆ โดยสกั วา ทาํ สบื ๆ กันมา หรอื ปฏิบัติตามๆ กันไปอยาง

งมงาย หรือโดยนิยมวาขลัง วาศักด์ิสิทธ์ิ มิไดเปนไปดวยความรูความเขาใจตามหลักความ
สมั พนั ธแ หง เหตุและผล —Sãlabbatupàdàna: clinging to mere rules and rituals)
4. อัตตวาทุปาทาน (ความยดึ ม่นั ในวาทะวาตัวตน คอื ความถอื หรอื สําคญั หมายอยูในภายใน

วา มีตวั ตน ที่จะได จะเปน จะมี จะสญู สลาย ถูกบบี คนั้ ทําลาย หรอื เปน เจาของ เปนนายบงั คับ

บัญชาสิ่งตางๆ ได ไมม องเห็นสภาวะของสิ่งทง้ั ปวง อันรวมทงั้ ตัวตนวาเปน แตเ พยี งส่งิ ท่ปี ระชมุ
ประกอบกนั เขา เปน ไปตามเหตปุ จ จยั ทง้ั หลายทมี่ าสมั พนั ธก นั ลว นๆ — Attavàdupàdàna:

clinging to the ego-belief)

หมวด 4 161 [215]

D.III.230; M.I.66; Vbh.375. ที.ปา.11/262/242; ม.ม.ู 12/156/132; อภ.ิ วิ.35/963/506.

[215] โอฆะ 4 (สภาวะอนั เปน ดุจกระแสนํา้ หลากทวมใจสตั ว, กิเลสดจุ นํ้าทวมพาผูต กไปให
พินาศ — Ogha: the Four Floods) ไดแ ก กาม ภพ ทิฏฐิ อวิชชา [กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ

อวชิ โชฆะ] เหมือนในอาสวะ 4.

ดู [136] อาสวะ 4.

D.III.230,276; S.V.59; Vbh.374. ที.ปา.11/258/242; สํ.ม.19/333/88; อภ.ิ วิ.35/963/506.

ปญจกะ — หมวด 5

Groups of Five

(including related groups)

[,,,] กัลยาณธรรม 5 ดู [239] เบญจธรรม.
[,,,] กามคุณ 5 ดู [6] กามคณุ 5.
[,,,] กําลัง 5 ของพระมหากษัตริย ดู [230] พละ 5 ของพระมหากษัตริย
[216] ขันธ 5 หรือ เบญจขันธ (กองแหงรปู ธรรมและนามธรรมหา หมวดที่ประชุมกนั

เขาเปนหนว ยรวม ซึง่ บัญญัติเรยี กวา สัตว บคุ คล ตัวตน เรา–เขา เปน ตน , สวนประกอบหาอยาง
ทีร่ วมเขาเปนชีวิต — Pa¤ca-khandha: the Five Groups of Existence; Five Aggregates)
1. รูปขนั ธ (กองรปู , สว นทเ่ี ปน รูป, รา งกาย พฤติกรรม และคุณสมบตั ติ า งๆ ของสว นที่เปน
รางกาย, สวนประกอบฝายรปู ธรรมทงั้ หมด, สิง่ ที่เปน รา งพรอมท้ังคุณและอาการ — Råpa-
khandha: corporeality)
2. เวทนาขันธ (กองเวทนา, สวนที่เปน การเสวยรสอารมณ, ความรสู กึ สุข ทกุ ข หรือเฉยๆ —
Vedanà-khandha: feeling; sensation)
3. สัญญาขนั ธ (กองสญั ญา, สวนท่ีเปนความกําหนดหมายใหจาํ อารมณน ้นั ๆ ได, ความ
กาํ หนดไดหมายรูในอารมณ 6 เชนวา ขาว เขียว ดํา แดง เปนตน — Sa¤¤à-khandha:

perception)
4. สังขารขันธ (กองสงั ขาร, สว นที่เปน ความปรงุ แตง , สภาพทปี่ รุงแตง จิตใหดหี รือช่ัวหรือเปน

กลางๆ, คณุ สมบัติตา งๆ ของจติ มเี จตนาเปน ตัวนาํ ท่ปี รงุ แตง คณุ ภาพของจติ ใหเ ปนกุศล
อกุศล อัพยากฤต — Saïkhàra-khandha: mental formations; volitional activities)
5. วญิ ญาณขนั ธ (กองวญิ ญาณ, สว นทเี่ ปน ความรแู จง อารมณ, ความรอู ารมณท างอายตนะทง้ั 6 มี
การเห็น การไดย นิ เปนตน ไดแ ก วิญญาณ 6 — Vi¤¤àõa-khandha: consciousness)

ขันธ 5 น้ี ยอ ลงมาเปน 2 คอื นาม และ รูป; รูปขนั ธจัดเปนรูป, 4 ขันธนอกนัน้ เปน นาม.

อีกอยางหนง่ึ จัดเขาในปรมัตถธรรม 4: วญิ ญาณขันธเ ปน จติ , เวทนาขันธ สญั ญาขันธ และ

สงั ขารขันธ เปน เจตสกิ , รูปขันธ เปน รูป, สว น นิพพาน เปนขนั ธวินมิ ตุ คือ พนจากขันธ 5

เร่อื งขันธ 5 พึงดปู ระกอบในหมวดธรรมอนื่ ๆ เชน

1. รปู ขนั ธ ดู [38] รปู 21, 28; [39] มหาภตู 4; [40] อุปาทายรปู 24.

2. เวทนาขนั ธ ดู [110] เวทนา 2; [111] เวทนา 3; [112] เวทนา 5; [113] เวทนา 6.

3. สญั ญาขันธ ดู [271] สัญญา 6.

หมวด 5 163 [218]

4. สังขารขนั ธ ดู [119] สังขาร 3 1; [120] สงั ขาร 3 2; [129] อภสิ ังขาร 3; [263] เจตนา 6.

5. วญิ ญาณขนั ธ ดู [268] วญิ ญาณ 6.

นอกน้ี ดู [356] จิต 89; [355] เจตสกิ 52

S.III.47; Vbh.1. สํ.ข.17/95/58; อภิ.วิ.35/1/1.

[,,,] คติ 5 ดู [351] ภูมิ 4 หรือ 31.

[217] จักขุ 5 (พระจักษุอันเปน สมบัติของพระผมู ีพระภาคเจา — Cakkhu: the Five Eyes

of the Blessed One)

1. มังสจกั ขุ (ตาเน้ือ คือ ทรงมพี ระเนตรอนั งาม มอี าํ นาจ เหน็ แจมใส ไว และเหน็ ไกล — Ma

§sa-cakkhu: the physical eye which is exceptionally powerful and sensitive)

2. ทพิ พจักขุ (ตาทพิ ย คือ ทรงมีพระญาณอันเห็นหมูสตั วผ เู ปนไปตางๆ กัน ดวยอํานาจกรรม
— Dibba-cakkhu: the Divine Eye)
3. ปญ ญาจักขุ (ตาปญ ญา คอื ทรงประกอบดว ยพระปญญาคุณยิ่งใหญ เปนเหตุใหสามารถ
ตรัสรอู ริยสัจจธรรม เปนตน — Pa¤¤à-cakkhu: the eye of wisdom; Wisdom-Eye)
4. พทุ ธจกั ขุ (ตาพระพทุ ธเจา คอื ทรงประกอบดว ยอนิ ทรยิ ปโรปรยิ ตั ตญาณ และอาสยานสุ ย

ญาณ เปนเหตุใหทรงทราบอัธยาศัยและอปุ นสิ ัยแหง เวไนยสตั ว แลว ทรงสัง่ สอนแนะนาํ ใหบรรลุ
คุณวิเศษตา งๆ ยังพุทธกจิ ใหบรบิ รู ณ — Buddha-cakkhu: the eye of a Buddha;

Buddha-Eye)
5. สมันตจกั ขุ (ตาเห็นรอบ คอื ทรงประกอบดว ยพระสพั พญั ุตญาณ อันหยัง่ รธู รรมทกุ
ประการ — Samanta-cakkhu: the eye of all-round knowledge; All-seeing Eye;

omniscience)

Nd2235. ขุ.ม.29/51/52.

[,,,] ฌาน 5 ดู [9] ฌาน 4.

[218] ธรรมขันธ 5 (กองธรรม, หมวดธรรม, ประมวลธรรมทัง้ ปวงเขาเปนหัวขอใหญ —
Dhamma-khandha: bodies of doctrine; categories of the Teaching)

1. สลี ขันธ (กองศีล, หมวดศีล ประมวลธรรมทั้งหลาย เชน อปจายนมยั เวยยาวัจจมยั
ปาตโิ มกขสงั วร กายสุจริต สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชวี ะ เปน ตน — Sãla-khandha:

body of morals; virtue category)
2. สมาธขิ นั ธ (กองสมาธ,ิ หมวดสมาธิ ประมวลธรรมท้ังหลาย เชน ฉนั ทะ วริ ิยะ จติ ตะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สมั มาสมาธิ เปนตน — Samàdhi-khandha: body of concen-

tration; concentration category)
3. ปญญาขนั ธ (กองปญ ญา, หมวดปญญา ประมวลธรรมทั้งหลาย เชน ธัมมวิจยะ วมิ ังสา

[219] 164 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

ปฏสิ มั ภิทา สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาสังกัปปะ เปน ตน — Pa¤¤à-khandha: body of wisdom or

insight; understanding category)
4. วิมุตตขิ ันธ (กองวิมุตติ, หมวดวิมุตติ ประมวลธรรมทัง้ หลาย เชน ปหาน วิราคะ วิโมกข
วสิ ุทธิ สนั ติ นโิ รธ นพิ พาน เปน ตน — Vimutti-khandha: body of deliverance; deliver-

ance category)
5. วิมุตติญาณทัสสนขันธ (กองวิมตุ ตญิ าณทัสสนะ, หมวดธรรมเกี่ยวกบั การรกู ารเห็นใน
วมิ ตุ ติ ประมวลธรรมท้ังหลาย เชน ผลญาณ ปจจเวกขณญาณ เปน ตน — Vimutti¤àõa-
dassana-khandha: body of the knowledge and vision of deliverance; knowing-

and-seeing-of-deliverance category)
ธรรมขนั ธ 4 ขอ ตน เรียกอกี อยา งวา สาระ 4 (แกน , หลักธรรมที่เปน แกน , หวั ใจธรรม —

essences)

D.III.279; A.III.134; A.II.140. ที.ปา.11/420/301; อง.ฺ ปจฺ ก.22/108/152; องฺ.จตุกกฺ .21/150/189.

[219] ธรรมเทสกธรรม 5 (ธรรมของนกั เทศก, องคแหง ธรรมกถึก, ธรรมทผี่ ูแสดง
ธรรมหรือสั่งสอนคนอืน่ ควรตัง้ ไวใ นใจ — Dhammadesaka-dhamma: qualities of a

preacher; qualities which a teacher should establish in himself)
1. อนุปพุ พฺ ิกถํ (กลา วความไปตามลาํ ดบั คอื แสดงหลักธรรมหรอื เน้อื หาวิชาตามลําดับความ
งายยากลุมลึก มีเหตุผลสัมพันธตอเน่ืองกันไปโดยลําดับ — Anupubbikatha§: His

instruction or exposition is regulated and gradually advanced.)
2. ปรยิ ายทสสฺ าวี (ชแ้ี จงยกเหตุผลมาแสดงใหเ ขาใจ คือ ชีแ้ จงใหเ ขาใจชดั ในแตละแงแ ตละ
ประเด็น โดยอธบิ ายขยายความ ยักเยอื้ งไปตา งๆ ตามแนวเหตุผล — Pariyàyadassàvã: It

has reasoning or refers to causality.)
3. อนุทยตํ ปฏิจจฺ (แสดงธรรมดวยอาศัยเมตตา คอื สอนเขาดวยจติ เมตตา มงุ จะใหเปน
ประโยชนแกเ ขา — Anudayata§ pañicca: It is inspired by kindness; teaching out of

kindliness.)

4. น อามิสนฺตโร (ไมแสดงธรรมดวยเห็นแกอามิส คือ สอนเขามใิ ชเพราะมงุ ทีต่ นจะไดล าภ
หรือผลประโยชนตอบแทน — Na àmisantaro: It is not for worldly gain.)
5. อตฺตานฺจ ปรฺจ อนปุ หจฺจ (แสดงธรรมไมก ระทบตนและผูอ่นื คือ สอนตามหลักตาม
เนอื้ หา มุง แสดงอรรถ แสดงธรรม ไมย กตน ไมเ สียดสขี ม ข่ผี อู ่นื — Anupahacca: It does

not hurt oneself or others; not exalting oneself while contempting others.)

A.III.184. อง.ฺ ปจฺ ก.22/159/205.

[220] ธรรมสมาธิ 5 (ธรรมทีท่ าํ ใหเกดิ ความมัน่ สนิทในธรรม เกิดความม่ันใจในการ

ปฏบิ ัตธิ รรมถกู ตอ ง กาํ จัดความขอ งใจสงสยั เสียได เมอื่ เกิดธรรมสมาธิ คือความมน่ั สนทิ ใน

หมวด 5 165 [222]

ธรรม ก็จะเกิดจิตตสมาธิ คอื ความตั้งมน่ั ของจิต — Dhamma-samàdhi: concentration of

the Dhamma; virtues making for firmness in the Dhamma)
1. ปราโมทย (ความชน่ื บานใจ รา เรงิ สดใส — Pàmojja: cheerfulness; gladness; joy)
2. ปต ิ (ความอิม่ ใจ, ความปล้มื ใจ — Pãti: rapture; elation)
3. ปสสทั ธิ (ความสงบเย็นกายใจ, ความผอ นคลายรนื่ สบาย — Passaddhi: tranquillity;

relaxedness)
4. สุข (ความรืน่ ใจไรความของขดั — Sukha: happiness)
5. สมาธิ (ความสงบอยูตัวมั่นสนิทของจิตใจ ไมมีส่ิงรบกวนเราระคาย — Samàdhi:

concentration)

ธรรม หรือคุณสมบตั ิ 5 ประการน้ี ตรสั ไวทัว่ ไปมากมาย เมอ่ื ทรงแสดงการปฏิบตั ธิ รรมท่ี
กาวมาถึงขั้นเกิดความสาํ เร็จชัดเจน ตอจากนี้ ผูปฏิบตั ิจะเดนิ หนาไปสกู ารบรรลผุ ลของสมถะ
(คือไดฌ าน) หรือของวิปสสนา แลวแตก รณี ดังนั้น จงึ ใชเปนเครือ่ งวัดผลการปฏิบตั ิขน้ั ตอนใน
ระหวางไดดี และเปนธรรมหรอื คุณสมบัตสิ าํ คญั ของจติ ใจที่ทกุ คนควรทาํ ใหเกิดมีอยเู สมอ

S.IV.350. สํ.สฬ.18/665–673/429–439.

[221] ธรรมสวนานิสงส 5 (อานสิ งสใ นการฟง ธรรม — Dhammassavanànisa§sa:

benefits of listening to the Dhamma)
1. อสสฺ ุตํ สุณาติ (ยอ มไดฟ ง สง่ิ ทีย่ งั ไมเ คยฟง, ไดเรียนรสู ง่ิ ทยี่ งั ไมเ คยเรียนรู — He hears

things not heard.)
2. สุตํ ปริโยทเปติ (สง่ิ ทเี่ คยไดฟ ง ก็ทําใหแ จม แจง เขาใจชดั เจนย่ิงขนึ้ — He clears things

heard.)

3. กงฺขํ วหิ นติ (แกขอ สงสยั ได, บรรเทาความสงสยั เสยี ได — He dispels his doubts.)
4. ทิฏึ อุชุ กโรติ (ทําความเหน็ ใหถ กู ตองได — He makes straight his views.)
5. จติ ตฺ มสสฺ ปสที ติ (จติ ของเขายอมผองใส — His heart becomes calm and happy.)

A.III.248. องฺ.ปจฺ ก.22/202/276.

[222] นวกภิกขุธรรม 5 (ธรรมทีค่ วรฝกสอนภกิ ษบุ วชใหมใหประพฤติปฏบิ ัตอิ ยาง
ม่ันคง, องคแหงภกิ ษใุ หม — Navakabhikkhu-dhamma: qualities of a newly ordained

monk; qualities which should be established in newly ordained monks)
1. ปาตโิ มกขสังวร (สาํ รวมในพระปาฏโิ มกข รกั ษาศีลเครง ครดั ทงั้ ในสวนเวน ขอ หาม และทาํ
ตามขอ อนุญาต — Pàñimokkhasa§vara: restraint in accordance with the monastic

code of discipline; self-control strictly in accordance with the fundamental

training-rules)
2. อนิ ทรียสังวร (สาํ รวมอนิ ทรยี  มสี ตริ ะวงั รกั ษาใจ มใิ หก เิ ลสคอื ความยนิ ดยี นิ รา ยเขา ครอบงาํ

[223] 166 พจนานุกรมพุทธศาสตร

เม่อื รับรูอ ารมณด ว ยอนิ ทรยี ท ง้ั 6 มเี หน็ รปู ดว ยตาเปน ตน — Indriyasa§vara: restraint of

the senses; sense-control)
3. ภัสสปรยิ ันตะ (พูดคยุ มีขอบเขต คอื จํากดั การพูดคุยใหนอ ย รขู อบเขต ไมเอิกเกรกิ เฮฮา
— Bhassapariyanta: restraint as regards talking)
4. กายวูปกาสะ (ปลกี กายอยสู งบ คือ เขา อยใู นเสนาสนะอันสงดั — Kàyavåpakàsa:

seclusion as to the body; love of solitude)
5. สัมมาทสั สนะ (ปลูกฝงความเห็นชอบ คือ สรา งเสรมิ สมั มาทิฏฐิ — Sammàdassana:

cultivation of right views.)

A.III.138. องฺ.ปฺจก.22/114/156.

[223] นิยาม 5 (กาํ หนดอนั แนนอน, ความเปน ไปอันมรี ะเบยี บแนน อนของธรรมชาติ, กฎ
ธรรมชาติ — Niyàma: orderliness of nature; the five aspects of natural law)

1. อตุ นุ ยิ าม (กฎธรรมชาตเิ กยี่ วกบั อณุ หภมู ิ หรอื ปรากฏการณธ รรมชาตติ า งๆ โดยเฉพาะดนิ นา้ํ
อากาศ และฤดกู าล อนั เปน สงิ่ แวดลอ มสาํ หรบั มนษุ ย — Utu-niyàma: physical inorganic

order; physical laws)
2. พชี นยิ าม (กฎธรรมชาตเิ กย่ี วกบั การสบื พนั ธุ มพี นั ธกุ รรมเปน ตน — Bãja-niyàma: physical

organic order; biological laws)

3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาตเิ กีย่ วกบั การทํางานของจิต — Citta-niyàma: psychic law)
4. กรรมนยิ าม (กฎธรรมชาตเิ ก่ยี วกบั การกระทําของมนุษย คือ กระบวนการใหผ ลของการ
กระทาํ — Kamma-niyàma: order of act and result; the law of Kamma; moral laws)
5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพนั ธแ ละอาการที่เปน เหตุเปน ผลแกกันแหง ส่ิง
ทั้งหลาย — Dhamma-niyàma: order of the norm; the general law of cause and

effect; causality and conditionality)

ดู [86] ธรรมนิยาม 3; [176] วิบัติ 4 2; [177] สมบัติ 4.

DA.II.432; DhsA.272. ที.อ.2/34; สงคฺ ณี.อ.408.

[224] นิโรธ 5 (ความดับกิเลส, ภาวะไรกิเลสและไมมีทุกขเกิดข้ึน — Nirodha:

extinction; cessation of defilements; non-arising of suffering)

1. วกิ ขมั ภนนโิ รธ (ดบั ดว ยขม ไว คอื การดบั กเิ ลสของทา นผบู าํ เพญ็ ฌาน ถงึ ปฐมฌาน ยอ มขม นวิ รณ
ไวไ ด ตลอดเวลาทอี่ ยใู นฌานนน้ั — Vikkhambhana-nirodha: extinction by suppression)
2. ตทงั คนโิ รธ (ดบั ดว ยองคน น้ั ๆ คอื ดบั กเิ ลสดว ยธรรมทเ่ี ปน คปู รบั หรอื ธรรมทตี่ รงขา ม เชน

ดับสักกายทิฏฐดิ ว ยความรูท ่กี าํ หนดแยกนามรปู ออกได เปนการดบั ช่วั คราวในกรณนี ้นั ๆ —
Tadaïga-nirodha: extinction by substitution of opposites)
3. สมจุ เฉทนโิ รธ (ดบั ดว ยตัดขาด คือ ดับกิเลสเสรจ็ สน้ิ เดด็ ขาด ดวยโลกตุ ตรมรรค ในขณะ

หมวด 5 167 [226]

แหงมรรคนั้น ชอ่ื สมุจเฉทนิโรธ — Samuccheda-nirodha: extinction by cutting off or

extirpation)
4. ปฏิปสสัทธินิโรธ (ดับดวยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตตรมรรคดับกิเลสเดด็ ขาดไปแลว

บรรลโุ ลกุตตรผล กเิ ลสเปน อันสงบระงบั ไปหมดแลว ไมต องขวนขวายเพอ่ื ดับอกี ในขณะแหง
ผลนัน้ ชื่อ ปฏิปสสทั ธินโิ รธ — Pañipassaddhi-nirodha: extinction by tranquillization)
5. นิสสรณนิโรธ (ดับดว ยสลัดออกได หรือดบั ดวยปลอดโปรง ไป คือ ดบั กเิ ลสเสร็จส้นิ แลว

ดาํ รงอยูในภาวะท่กี ิเลสดับแลว นน้ั ยัง่ ยืนตลอดไป ภาวะนนั้ ชื่อ นสิ สรณนิโรธ ไดแ กอมตธาตุ คอื
นพิ พาน — Nissaraõa-nirodha: extinction by escape; extinction by getting freed)

ปหาน 5 (การละกิเลส — abandonment), วมิ ตุ ติ 5 (ความหลุดพน — deliverance),
วิเวก 5 (ความสงดั , ความปลีกออก — seclusion), วริ าคะ 5 (ความคลายกําหนดั , ความ
สํารอกออกได — detachment; dispassionateness), โวสสคั คะ 5 (ความสละ, ความปลอย

— relinquishing) ก็อยา งเดยี วกนั นี้ท้งั หมด

Ps.I.27,220–221; Vism.410. ข.ุ ปฏิ.31/65/39; 704/609; วิสทุ ธฺ .ิ 2/249.

[225] นิวรณ 5 (ส่ิงทกี่ น้ั จติ ไมใ หก าวหนาในคุณธรรม, ธรรมที่ก้นั จติ ไมใ หบรรลคุ ุณความ
ดี, อกศุ ลธรรมทีท่ าํ จติ ใหเ ศราหมองและทาํ ปญ ญาใหออนกําลงั — Nãvaraõa: hindrances.)

1. กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม, ความตองการกามคณุ —Kàmachanda: sensual desire)

2. พยาบาท (ความคดิ รา ย, ความขัดเคืองแคนใจ — Byàpàda: illwill)

3. ถีนมทิ ธะ (ความหดหแู ละเซ่ืองซมึ — Thãna-middha: sloth and torpor)

4. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ (ความฟงุ ซา นและรอ นใจ, ความกระวนกระวายกลมุ กงั วล — Uddhacca-
kukkucca: distraction and remorse; flurry and worry; restlessness and anxiety)

5. วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสยั — Vicikicchà: doubt; uncertainty)

A.III.62; Vbh.378. อง.ฺ ปฺจก.22/51/72; อภ.ิ วิ.35/983/510.

[,,,] เบญจธรรม ดู [239] เบญจธรรม.

[,,,] เบญจศีล ดู [238] ศีล 5.

[,,,] ประโยชนที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย 5 ดู [232] โภคอาทยิ ะ 5

[,,,] ปหาน 5 (การละกิเลส — Pahàna: abandonment) ดู [224] นโิ รธ 5

[,,,] ปญจกัชฌาน ดู [7] ฌาน 2.

[226] ปติ 5 (ความอม่ิ ใจ, ความดื่มด่าํ — Pãti: joy; interest; zest; rapture)

1. ขทุ ทกาปต ิ (ปติเลก็ นอ ย พอขนชูชนั น้ําตาไหล — Khuddakà-pãti: minor rapture;

lesser thrill)

[227] 168 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

2. ขณิกาปติ (ปต ิชั่วขณะ ทําใหร สู ึกแปลบๆ เปนขณะๆ ดจุ ฟา แลบ — Khaõikà-pãti:

momentary or instantaneous joy)
3. โอกกนั ตกิ าปติ (ปติเปนระลอกหรือปติเปนพักๆ ใหร ูส ึกซลู งมาๆ ในกาย ดจุ คลนื่ ซดั ตอ ง
ฝง — Okkantikà-pãti: showering joy; flood of joy)
4. อุพเพคาปต ิ หรือ อุพเพงคาปติ (ปต ิโลดลอย เปนอยางแรงใหรสู กึ ใจฟแู สดงอาการหรอื

ทําการบางอยางโดยมไิ ดต ง้ั ใจ เชน เปลงอทุ าน เปน ตน หรอื ใหร ูสึกตวั เบาลอยขึ้นไปในอากาศ —
Ubbegà-pãti: uplifting joy)
5. ผรณาปติ (ปตซิ าบซา น ใหรูสกึ เย็นซา นแผเอิบอาบไปทว่ั สรรพางค ปต ทิ ี่ประกอบกบั สมาธิ
ทา นมุง เอาขอน้ี — Pharaõà-pãti: suffusing joy; pervading rapture)

Vism.143. วสิ ุทฺธ.ิ 1/182.

[227] พร 5 (สงิ่ นา ปรารถนาทบ่ี คุ คลหนง่ึ อาํ นวยใหห รอื แสดงความประสงคด ว ยความปรารถนา

ดใี หเ กดิ มขี นึ้ แกบ คุ คลอน่ื ; สงิ่ ประเสรฐิ , สง่ิ ดเี ยย่ี ม — Vara: blessing; boon; excellent thing)
พรท่รี จู กั กนั มากไดแก ชดุ ที่มจี ํานวน 4 ขอ ซ่งึ เรียกกันวา จตุรพิธพร หรือพร 4 ประการ

คอื อายุ วรรณะ สุขะ พละ

Dh.109; A.II.63. ข.ุ ธ.25/18/29; อง.ฺ จตกุ ฺก.21/58/83.

พรทเ่ี ปน ชดุ มจี าํ นวน 5 ขอ บาง 6 ขอบาง ก็มี เชน อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ปฏภิ าณ (อง.ฺ

ปฺจก.22/37/44 = A.III.42); อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สขุ ะ พละ (อง.ฺ จตกุ กฺ .21/34/45; อง.ฺ ปจฺ ก.

22/32/38; ขุ.อติ ิ. 25/270/299 = A.II.35; A.III.36; It.89); อายุ วรรณะ สุขะ ยศ เกียรติ สคั คะ คอื สวรรค

พรอ มทั้ง อุจจากุลีนตา คอื ความมีตระกลู สงู (อง.ฺ ปจฺ ก. 22/43/51 = A.III.48); อายุ วรรณะ ยศ สุข

อาธปิ จ จะ คอื ความเปน ใหญ (ข.ุ เปต. 26/106/195 = Pv. 308) และชุดทีจ่ ะกลาวถงึ ตอ ไปคือ อายุ

วรรณะ สุขะ โภคะ พละ

อยา งไรก็ดี พงึ ทราบวา คําวา พร ในท่นี ้ี เปน การใชโดยอนุโลมตามความหมายในภาษาไทย
ซึง่ เพีย้ นไปแลว จากความหมายเดิมในภาษาบาลี ในภาษาบาลีแตเดิม พร หมายถงึ ผลประโยชน

หรือสิทธิพิเศษทีอ่ นุญาตหรืออาํ นวยใหต ามที่ขอ พรทกี่ ลา วถึง ณ ท่ีน้ีทงั้ หมด ในบาลไี มไดเรียก

วา พร แตเรยี กวา ฐานะ หรือ ธรรม ท่นี าปรารถนา นา ใคร นาพอใจ (ซง่ึ จะบรรลไุ ดด ว ยกรรม

คอื การกระทาํ ทดี่ ีอนั เปน บญุ )

สําหรบั พระภกิ ษุ พรหรือธรรมอนั นา ปรารถนาเหลานี้ หมายถึงคุณธรรมตางๆ ที่ควรปลูกฝง

ฝก อบรมใหเกดิ มี ดงั พทุ ธพจนวา : ภิกษทุ อ งเทีย่ วอยู ภายในถ่ินทองเทย่ี วที่เปนแดนของตนอนั

สบื ทอดมาแตบ ิดา (คือ สตปิ ฏ ฐาน 4) จักเจริญดว ย
1. อายุ คือ พลงั ที่หลอ เลี้ยงทรงชวี ติ ใหส ืบตอ อยูไดย าวนาน ไดแก อิทธบิ าท 4 (for monks,
âyu: longevity = the Four Bases of Accomplishment)
2. วรรณะ คอื ความงามเอบิ อม่ิ ผอ งใสนา เจรญิ ตาเจรญิ ใจ ไดแ ก ศลี (Vaõõa: beauty =

หมวด 5 169 [229]

moral conduct)
3. สขุ ะ คอื ความสขุ ไดแ ก ฌาน 4 (Sukha: happiness = the Four Meditative Absorptions)
4. โภคะ คอื ความพร่ังพรอ มดว ยทรัพยส มบัติและอุปกรณต า งๆ อนั อาํ นวยความสขุ ความ
สะดวกสบาย ไดแ ก อปั ปมญั ญา หรอื พรหมวหิ าร 4 (Bhoga: wealth = the Four Boundless

Sublime States of Mind)
5. พละ คอื กาํ ลงั แรงความเขม แขง็ ทที่ าํ ใหข ม ขจดั ไดแ มแ ตก าํ ลงั แหง มาร ทาํ ใหส ามารถดาํ เนนิ ชวี ติ

ที่ดีงามปลอดโปรงเปน สขุ บําเพญ็ กิจดวยบรสิ ุทธิแ์ ละเต็มที่ ไมมกี เิ ลสหรือความทกุ ขใดๆ จะ
สามารถบบี คนั้ ครอบงาํ ไดแก วมิ ตุ ติ ความหลดุ พน หมดส้ินอาสวะ หรืออรหตั ตผล (Bala:

strength or power = the Final Freedom)

D.III.77. ที.ปา.11/50/85.

[228] พละ 5 (ธรรมอันเปนกําลงั — Bala: power)

องคธรรม 5 อยา งในหมวดนี้ มชี ือ่ ตรงกับ อินทรีย 5 จึงขอใหด ทู ี่ [258] อินทรยี  5

พละหมวดนี้เปน หลักปฏบิ ตั ิทางจิตใจ ใหถ งึ ความหลุดพนโดยตรง

D.III.239; A.III.10; Vbh.342. ที.ปา.11/300/252; องฺ.ปจฺ ก.22/13/11; อภ.ิ ว.ิ 35/844/462.

[229] พละ 4 (ธรรมอนั เปน กาํ ลงั , ธรรมอนั เปนพลังทาํ ใหด ําเนนิ ชีวติ ดวยความม่ันใจ ไม
หวน่ั ตอ ภัยทุกอยา ง — Bala: strength; force; power)

1. ปญญาพละ (กําลังปญญา — Pa¤¤à-bala: power of wisdom)

2. วิรยิ พละ (กําลังความเพยี ร — Viriya-bala: power of energy or diligence)

3. อนวัชชพละ (กาํ ลังสุจริต หรือ กาํ ลังความบรสิ ทุ ธิ์, ตามศพั ทแ ปลวา กําลงั การกระทําท่ไี มม ี

โทษ คอื มีกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมบรสิ ุทธิ์ เชนมีความประพฤตแิ ละหนา ท่กี ารงานสุจริต

ไมมีขอ บกพรอ งเสยี หาย พดู จรงิ มีเหตุผล มุงดี ไมร กุ รานใหรา ยใคร ทําการดวยเจตนาบริสุทธ์ิ
— Anavajja-bala: power of faultlessness, blamelessness or cleanliness)
4. สังคหพละ (กําลังการสงเคราะห คอื การยึดเหนย่ี วนาํ้ ใจคนและประสานหมชู นไวในสามคั คี
— Saïgaha-bala: power of sympathy or solidarity) สงเคราะหด ว ยสงั คหวตั ถุ 4 คอื

4.1 ทาน (การใหป น โดยปกตหิ มายถึง ชวยเหลอื ในดา นทุนหรือปจจยั เครือ่ งยังชพี ตลอดจน

เผอื่ แผก ันดว ยไมตรี อยา งเลิศหมายถึงธรรมทาน คือ แนะนาํ ส่ังสอนใหความรคู วามเขา ใจ จน
เขารูจักพง่ึ ตนเองได — Dàna: gift; charity; benefaction)

4.2 เปยยวชั ชะ (พดู จบั ใจ, = ปย วาจา คือ พดู ดว ยนา้ํ ใจหวังดี มุงใหเ ปนประโยชน และรูจ กั

พดู ใหเ ปน ผลดี ทําใหเ กดิ ความเชือ่ ถือ สนิทสนม และเคารพนับถือกัน อยางเลศิ หมายถึง หมน่ั

แสดงธรรม คอยชวยชี้แจงแนะนําหลักความจริง ความถูกตองดีงาม แกผูท่ีตองการ —
Peyyavajja: kindly speech)
4.3 อตั ถจริยา (บาํ เพญ็ ประโยชน คอื ชว ยเหลอื รับใช ทํางานสรางสรรค ประพฤติการท่ีเปน

[230] 170 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

ประโยชน อยางเลิศหมายถงึ ชว ยเหลือสงเสริมคนใหมคี วามเช่อื ถือถกู ตอ ง (สทั ธาสัมปทา) ให

ประพฤตดิ ีงาม (สลี สัมปทา) ใหม คี วามเสยี สละ (จาคสมั ปทา) และใหม ีปญญา (ปญ ญาสัมปทา)
— Atthacariyà: friendly aid; doing good; life of service)
4.4 สมานัตตตา (มีตนเสมอ คอื เสมอภาค ไมเ อาเปรยี บ ไมถ ือสงู ตา่ํ รวมสุขรว มทุกขด วย

อยางเลิศหมายถึง มีความเสมอกันโดยธรรม เชน พระโสดาบันมีตนเสมอกับพระโสดาบัน
เปนตน — Samànattatà: equality; impartiality; participation)

พละหมวดนี้ เปนหลักประกนั ของชวี ติ ผูประพฤติธรรม 4 นีย้ อ มดาํ เนนิ ชีวติ ดวยความมน่ั

ใจ เพราะเปน ผูม พี ลงั ในตน ยอ มขามพน ภยั ทงั้ 5 คือ
1. อาชวี ติ ภัย (ภัยเน่อื งดว ยการครองชีพ — fear of troubles about livelihood)
2. อสิโลกภยั (ภัยคอื ความเสื่อมเสยี ชอ่ื เสียง — fear of ill-fame)
3. ปรสิ สารชั ชภัย (ภยั คอื ความครั่นครามเกอเขนิ ในทีช่ ุมนุม — fear of embarrassment in

assemblies)
4. มรณภัย (ภัยคือความตาย — fear of death)
5. ทุคคติภัย (ภยั คอื ทุคติ — fear of a miserable life after death)

ดู [186] สงั คหวัตถุ 4.

A.IV.363. อง.ฺ นวก.23/209/376.

[230] พละ 5 ของพระมหากษัตริย (พลังของบุคคลผยู ิง่ ใหญทสี่ ามารถเปน
กษตั รยิ ปกครองแผนดนิ ได — Bala: strengths of a king)

1. พาหาพละ หรอื กายพละ (กําลงั แขน หรือกาํ ลงั กาย คอื ความแขง็ แรงมสี ขุ ภาพดี สามารถ
และชาํ นาญในการใชแ ขนใชม อื ใชอ าวธุ ตลอดจนมยี ทุ โธปกรณพ รงั่ พรอ ม — Bàhà-bala, Kàya-
bala: strength of arms)

2. โภคพละ (กําลังโภคสมบตั ิ คอื มที ุนทรพั ยบริบรู ณ พรอมท่จี ะใชบ าํ รงุ เลย้ี งคน และดําเนิน
กจิ การไดไมติดขดั — Bhoga-bala: strength of wealth)

3. อมัจจพละ (กาํ ลังอํามาตย หรอื กําลังขา ราชการ คอื มีทป่ี รึกษาและขา ราชการระดบั บริหารที่
ทรงคณุ วุฒิเกง กลา สามารถ และจงรักภักดี ซอื่ สตั ยตอแผนดิน — Amacca-bala: strength

of counsellors or ministers)
4. อภชิ จั จพละ (กาํ ลงั ความมีชาตสิ งู คอื กาํ เนดิ ในตระกูลสงู เปนขตั ตยิ ชาตติ องดว ยความ

นิยมเชดิ ชขู องมหาชน และไดร บั การฝก อบรมมาแลว เปนอยางดตี ามประเพณแี หง ชาตติ ระกูลนัน้
— Abhijacca-bala: strength of high birth)
5. ปญ ญาพละ (กาํ ลังปญญา คอื ทรงปรีชาญาณ หย่ังรเู หตผุ ล ผิดชอบ ประโยชน มใิ ช

ประโยชน สามารถวนิ จิ ฉยั เหตกุ ารณท ้งั ภายในภายนอก และดาํ รกิ ารตางๆ ใหไ ดผลเปน อยา งดี
— Pa¤¤à-bala: strength of wisdom)

หมวด 5 171 [232]

กาํ ลังแขน หรือกาํ ลงั กาย แมจะสําคัญ แตทา นจัดวาตํ่าสดุ หากไมมพี ลงั อน่ื ควบคมุ ค้ําจนุ
อาจกลายเปน กาํ ลังอนั ธพาล สวนกาํ ลังปญ ญา ทา นจดั วา เปนกําลงั อันประเสริฐ เปนยอดแหง
กําลงั ทง้ั ปวง เพราะเปนเครอ่ื งกาํ กับ ควบคุม และนาํ ทางกําลังอ่ืนทกุ อยา ง

J.V.120. ขุ.ชา.27/2444/532; ชา.อ.7/348.

[231] พหูสูตมีองค 5 (คุณสมบตั ิที่ทาํ ใหควรไดรบั ชอ่ื วา เปน พหสู ูต คือ ผูไ ดเรียนรมู าก
หรอื คงแกเรียน — Bahussutaïga: qualities of a learned person)

1. พหุสสฺ ตุ า (ฟง มาก คือ ไดเ ลา เรยี นสดับฟง ไวมาก — Bahussutà: having heard or

learned many ideas)
2. ธตา (จําได คอื จบั หลักหรอื สาระได ทรงจําความไวแมนยํา — Dhatà: having retained

or remembered them)
3. วจสา ปริจิตา (คลอ งปาก คอื ทอ งบน หรือใชพ ดู อยูเ สมอจนแคลว คลอ งจัดเจน — Vacasà
paricità: having frequently practised them verbally; having consolidated them by

word of mouth)

4. มนสานุเปกขฺ ิตา (เพงขน้ึ ใจ คือ ใสใจนึกคดิ พจิ ารณาจนเจนใจ นกึ ถึงครั้งใด กป็ รากฏเนื้อ
ความสวา งชัด — Manasànupekkhità: having looked over them with the mind)
5. ทิฏ ยิ า สปุ ฏิวทิ ธฺ า (ขบไดดว ยทฤษฎี หรือแทงตลอดดดี ว ยทิฏฐิ คือ มีความเขา ใจลกึ ซง้ึ
มองเห็นประจักษแ จง ดวยปญ ญา ทง้ั ในแงความหมายและเหตผุ ล — Diññhiyà supañividdhà:

having thoroughly penetrated them by view)

A.III.112. อง.ฺ ปฺจก.22/87/129.

[232] โภคอาทิยะ หรือ โภคาทิยะ 5 (ประโยชนท ่ีควรถอื เอาจากโภคทรพั ย หรอื
เหตุผลทอี่ รยิ สาวกควรยดึ ถือ ในการทีจ่ ะมหี รอื ครอบครองโภคทรพั ย — Bhoga-àdiya: uses

of possessions; benefits which one should get from wealth; reasons for earning

and having wealth)

อริยสาวกแสวงหาโภคทรพั ยมาได ดวยนํ้าพกั นา้ํ แรงความขยนั หมน่ั เพยี รของตน และโดย

ทางสจุ ริตชอบธรรมแลว
1. เลยี้ งตวั มารดาบดิ า บตุ รภรรยา และคนในปกครองทง้ั หลายใหเ ปน สขุ (to make oneself,

one’s parents, children, wife, servants and workmen happy and live in comfort)
2. บํารุงมติ รสหายและผูรว มกิจการงานใหเปนสุข (to share this happiness and

comfort with one’s friends)
3. ใชปองกนั ภยันตราย (to make oneself secure against all misfortunes)
4. ทําพลี 5 อยาง (to make the fivefold offering)
ก. ญาตพิ ลี สงเคราะหญาติ (to relatives, by giving help to them)

[233] 172 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

ข. อติถพิ ลี ตอนรับแขก (to guests, by receiving them)
ค. ปพุ พเปตพลี ทาํ บุญอทุ ศิ ใหผ ูล วงลับ (to the departed, by dedicating merit to them)
ง. ราชพลี บาํ รงุ ราชการดว ยการเสยี ภาษอี ากรเปน ตน (to the king, i.e. to the government, by

paying taxes and duties and so on)
จ. เทวตาพลี ถวายเทวดา* คือ สกั การะบาํ รุงหรือทําบุญอุทิศสิง่ ท่เี คารพบูชาตามความเช่ือถือ

(to the deities, i.e. those beings who are worshipped according to one’s faith)
5. อปุ ถัมภบ ํารงุ สมณพราหมณผปู ระพฤติดปี ฏิบัตชิ อบ (to support those monks and

spiritual teachers who lead a pure and diligent life)

เม่อื ใชโภคทรพั ยท าํ ประโยชนอยา งน้ีแลว ถึงโภคะจะหมดส้ินไป ก็สบายใจไดว า ไดใชโภคะ
นั้นใหเปนประโยชนถูกตองตามเหตผุ ลแลว ถา โภคะเพิม่ ขน้ึ กส็ บายใจเชน เดยี วกนั เปน อนั ไม
ตองเดือดรอ นใจในทั้งสองกรณ.ี

A.III.45. องฺ.ปจฺ ก.22/41/48.

[233] มัจฉริยะ 5 (ความตระหน่ี, ความหวง, ความคดิ กดี กันไมใ หผ ูอนื่ ไดด ี หรอื มีสวน
รว ม — Macchariya: meanness; avarice; selfishness; stinginess; possessiveness)

1. อาวาสมจั ฉริยะ (ตระหนท่ี ่อี ย,ู หวงทีอ่ าศัย เชน ภกิ ษหุ วงเสนาสนะ กีดกนั ผอู น่ื หรือผมู ใิ ช

* ในจฬู นิทเทส ทา นอธิบายความหมายของ เทวดา ไวว า ไดแ กส ่งิ ที่นบั ถอื เปน ทกั ขิไณยของตนๆ (เย เยสํ

ทกฺขเิ ณยฺยา, เต เตสํ เทวตา — พวกไหนนับถอื สิง่ ใดเปน ทักขไิ ณย สิ่งน้ันก็เปน เทวดาของพวกนัน้ ) และ

แสดงตัวอยา งไวตามความเช่อื ถอื ของคนสมยั พุทธกาล ประมวลไดเปน 5 ประเภท คือ
1. นักบวช นักพรต (ascetics) เชน อาชวี กเปนเทวดาของสาวกอาชวี ก นิครนถ ชฎลิ ปริพาชก ดาบส ก็

เปน เทวดาของสาวกนคิ รนถเปน ตน เหลา น้นั ตามลาํ ดับ
2. สตั วเล้ยี ง (domestic animals) เชน ชางเปน เทวดาของพวกประพฤตพิ รตบชู าชาง มา โค ไก กา เปน ตน

ก็เปน เทวดาของพวกถอื พรตบชู าสตั วน ั้นๆ ตามลาํ ดับ
3. ธรรมชาติ (physical forces and elements) เชน ไฟเปน เทวดาของพวกประพฤติพรตบชู าไฟ แกว มณี

ทศิ พระจันทร พระอาทิตย เปน เทวดาของผูถือพรตบูชาส่งิ น้ันๆ ตามลาํ ดับ
4. เทพชนั้ ต่ํา (lower gods) เชน นาคเปน เทวดาของพวกประพฤตพิ รตบูชานาค ครุฑ ยกั ษ คนธรรพ เปน

เทวดาของผูถอื พรตบชู านาคเปน ตนเหลา นน้ั ตามลําดับ (พระภมู ิจัดเขา ในขอ นี)้
5. เทพชน้ั สูง (higher gods) เชน พระพรหม เปน เทวดาของพวกประพฤติพรตบูชาพระพรหม พระอนิ ทร

เปน เทวดาของผูถือพรตบชู าพระอนิ ทร เปนตน

สําหรับชนท่ียังมีความเช่ือถือในสิ่งเหลาน้ี พระพทุ ธศาสนาสอนเปลี่ยนแปลงเพยี งใหเลกิ เซน สรวงสงั เวยเอา

ชีวติ บูชายัญหันมาบชู ายญั ชนดิ ใหม คือบรจิ าคทานและบําเพญ็ กศุ ลกรรมตา งๆ อทุ ศิ ไปใหแ ทน คอื มงุ ทวี่ ธิ ี

การอันจะใหส าํ เรจ็ ประโยชนก อ น สว นการเปลี่ยนแปลงความเชื่อถือเปนเรื่องของการแกไขทางสติปญ ญา ซง่ึ

ประณตี ขึน้ ไปอีกชัน้ หน่งึ โดยเฉพาะนกั บวชในประเภทที่ 1 แมสาวกใดจะเปลย่ี นมานบั ถอื พระพุทธศาสนา

โดยสมบูรณ พระพทุ ธเจา กท็ รงแนะนาํ ใหอุปถัมภบาํ รงุ นักบวชนน้ั ตอ ไป

ดู Devatà ใน Pali Text Society’s Pali-English Dictionary, p. 330 ดวย

Nd2308. ข.ุ จ.ู 30/120/45.

หมวด 5 173 [234]

พวกของตน ไมใ หเ ขาอยู เปน ตน — âvàsa-macchariya: stinginess as to dwelling)
2. กุลมัจฉรยิ ะ (ตระหน่ีตระกลู , หวงสกุล เชน ภกิ ษุหวงสกลุ อุปฏ ฐาก คอยกดี กนั ภิกษุอ่นื ไม
ใหเ ก่ยี วขอ งไดรบั การบํารุงดว ย เปนตน — Kula-macchariya: stinginess as to family)
3. ลาภมจั ฉริยะ (ตระหน่ีลาภ, หวงผลประโยชน เชน ภิกษุหาทางกดี กนั ไมใหล าภเกดิ ขน้ึ แก
ภิกษุอนื่ — Làbha-macchariya: stinginess as to gain)
4. วัณณมจั ฉรยิ ะ (ตระหนี่วรรณะ, หวงสรีรวณั ณะ คือผวิ พรรณของรา งกาย ไมพ อใจใหผูอ ื่น

สวยงาม ก็ดี หวงคณุ วัณณะ คอื คําสรรเสรญิ คณุ ไมอยากใหใครมคี ณุ ความดีมาแขงตน หรือ
ไมพ อใจไดย นิ คําสรรเสริญคุณความดีของผอู ่ืน กด็ ี ตลอดจนแบง ชนั้ วรรณะกัน — Vaõõa-
macchariya: stinginess as to recognition; caste or class discrimination)
5. ธมั มมัจฉริยะ (ตระหนีธ่ รรม, หวงวิชาความรู และคุณพเิ ศษท่ีไดบรรลุ ไมย อมสอนไมย อม
บอกผูอนื่ กลวั เขาจะรูเทยี มเทาหรอื เกินตน — Dhamma-macchariya: stinginess as to

knowledge or mental achievements)

D.III.234; A.III.271; Vbh.357. ท.ี ปา.11/282/246; อง.ฺ ปฺจก.22/254/301; อภ.ิ วิ.35/978/509.

[234] มาร 5 (สิง่ ท่ีฆาบคุ คลใหตายจากคณุ ความดีหรือจากผลทหี่ มายอนั ประเสรฐิ , สงิ่ ทล่ี า ง

ผลาญคุณความดี, ตัวการที่กําจัดหรือขัดขวางบุคคลมิใหบรรลุผลสาํ เรจ็ อนั ดีงาม — Màra: the

Evil One; the Tempter; the Destroyer)

1. กิเลสมาร (มารคอื กเิ ลส, กเิ ลสเปนมารเพราะเปน ตวั กาํ จดั และขดั ขวางความดี ทาํ ใหส ตั ว
ประสบความพินาศท้งั ในปจ จุบนั และอนาคต — Kilesa-màra: the Màra of defilements)
2. ขันธมาร (มารคอื เบญจขันธ, ขันธ 5 เปน มาร เพราะเปนสภาพอนั ปจจัยปรงุ แตง มคี วามขัด

แยงกันเองอยภู ายใน ไมม นั่ คงทนนาน เปนภาระในการบรหิ าร ทัง้ แปรปรวนเส่อื มโทรมไปเพราะ

ชราพยาธเิ ปน ตน ลว นรอนโอกาสมิใหบคุ คลทํากิจหนา ท่ี หรือบาํ เพ็ญคณุ ความดไี ดเตม็ ปรารถนา
อยา งแรง อาจถงึ กบั พรากโอกาสน้นั โดยส้นิ เชิง — Khandha-màra: the Màra of the

aggregates)
3. อภิสังขารมาร (มารคืออภสิ ังขาร, อภิสังขารเปนมาร เพราะเปน ตัวปรุงแตง กรรม นําใหเ กิด

ชาติ ชรา เปนตน ขัดขวางมิใหห ลดุ พน ไปจากสังสารทุกข — Abhisaïkhàra-màra: the Màra

of Karma-formations)
4. เทวปุตตมาร (มารคือเทพบุตร, เทพยิง่ ใหญระดับสงู สุดแหงชั้นกามาวจรตนหนงึ่ ช่อื วา มาร

เพราะเปนนิมิตแหงความขัดของ คอยขดั ขวางเหนย่ี วรัง้ บุคคลไว มใิ หลว งพนจากแดนอํานาจ

ครอบงําของตน โดยชักใหหวงพะวงในกามสุขไมหาญเสียสละออกไปบําเพ็ญคุณความดีที่ย่ิง
ใหญได — Devaputta-màra: the Màra as deity)
5. มัจจมุ าร (มารคอื ความตาย, ความตายเปน มาร เพราะเปนตวั การตัดโอกาสที่จะกาวหนาตอ
ไปในคณุ ความดีทงั้ หลาย — Maccu-màra: the Màra as death)

[235] 174 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

Vism.211; ThagA.II.16,46. วิสทุ ฺธ.ิ 1/270; เถร.อ. 2/24,383,441; วินย.ฏกี า1/481.

[,,,] มิจฉาวณิชชา 5 (การคา ขายทผี่ ดิ หรอื ไมช อบธรรม) เปน คาํ ชน้ั อรรถกถา บาลี

เรยี ก อกรณียวณิชชา คอื “วณิชชาทไ่ี มค วรทํา”

ดู [235] วณชิ ชา 5.

[235] วณิชชา 5 (การคา ขาย 5 อยา ง ในทนี่ ห้ี มายถงึ การคา ขายทเ่ี ปน อกรณยี ะสาํ หรบั อบุ าสก

คอื อบุ าสกไมค วรประกอบ — Vaõijjà: trades which should not be plied by a lay disciple)
1. สตั ถวณิชชา (คา ขายอาวุธ — Sattha-vaõijjà: trade in weapons)
2. สตั ตวณิชชา (คาขายมนุษย — Satta-vaõijjà: trade in human beings)
3. มังสวณิชชา (คา ขายเนอ้ื สัตว — Ma§sa-vaõijjà: trade in flesh; อรรถกถาแกว าเลีย้ ง

สัตวไ วข าย — trade in animals for meat)

4. มัชชวณชิ ชา (คา ขายของเมา — Majja-vaõijjà: trade in spirits or narcotics)
5. วสิ วณชิ ชา (คา ขายยาพิษ — Visa-vaõijjà: trade in poison)

A.III.207. องฺ.ปจฺ ก.22/177/233.

[,,,] วัฑฒิ หรอื วัฒิ หรอื วุฒิ 5 ดู [249] อริยวฑั ฒิ 5.

[236] วิมุตติ 5 (ความหลุดพน — deliverance) ดู [224] นโิ รธ 5 เทียบ ปหาน 5.

[,,,] วิราคะ 5 ดู [224] นิโรธ 5.

[,,,] วิเวก 5 ดู [224] นโิ รธ 5.

[,,,] เวทนา 5 ดู [112] เวทนา 5.

[237] เวสารัชชกรณธรรม 5 (ธรรมทาํ ความกลาหาญ, คณุ ธรรมที่ทําใหเ กดิ ความ
แกลวกลา — Vesàrajjakaraõa-dhamma: qualities making for intrepidity)

1. ศรทั ธา (ความเชอื่ ทมี่ เี หตผุ ล มน่ั ใจในหลกั ทถ่ี อื และในการดที ที่ าํ — Saddhà: faith; confidence)

2. ศลี (ความประพฤตถิ กู ตอ งดงี าม ไมผ ดิ ระเบยี บวนิ ยั ไมผ ดิ ศลี ธรรม — Sãla: good conduct;

morality)

3. พาหุสจั จะ (ความเปนผไู ดศ ึกษาเลาเรียนมาก — Bàhusacca: great learning)

4. วริ ยิ ารมั ภะ (ปรารภความเพียร คือ การทไี่ ดเร่ิมลงมอื ทาํ ความเพยี รพยายามในกิจการน้นั ๆ

อยูแลวอยางมั่นคงจรงิ จัง — Viriyàrambha: exertion; energy)

5. ปญญา (ความรอบรู เขา ใจชดั ในเหตุผล ดี ชว่ั ประโยชน มใิ ชประโยชน เปน ตน รคู ดิ รู
วนิ จิ ฉยั และรทู จี่ ะจัดการ — Pa¤¤à: wisdom; understanding)

A.III.127. อง.ฺ ปจฺ ก.22/101/144.

หมวด 5 175 [239]

[,,,] โวสสัคคะ 5 ดู [224] นิโรธ 5.
[238] ศีล 5 หรือ เบญจศีล (ความประพฤตชิ อบทางกายและวาจา, การรักษากายวาจา

ใหเ รยี บรอ ย, การรักษาปกตติ ามระเบียบวนิ ยั , ขอ ปฏบิ ัตใิ นการเวน จากความชวั่ , การควบคุมตน
ใหต้ังอยใู นความไมเ บยี ดเบยี น — Pa¤ca-sãla: the Five Precepts; rules of morality)
1. ปาณาติปาตา เวรมณี (เวนจากการปลงชีวิต, เวนจากการฆาการประทษุ รายกนั —
Pàõàtipàtà veramaõã: to abstain from killing)
2. อทินนฺ าทานา เวรมณี (เวนจากการถือเอาของท่ีเขามไิ ดให, เวนจากการลัก โกง ละเมิด
กรรมสทิ ธิ์ ทําลายทรัพยส ิน — Adinnàdànà ~: to abstain from stealing)
3. กาเมสุมิจฉฺ าจารา เวรมณี (เวนจากการประพฤติผิดในกาม, เวน จากการลว งละเมิดสงิ่ ที่
ผอู ่นื รกั ใครหวงแหน — Kàmesumicchàcàrà ~: to abstain from sexual misconduct)
4. มุสาวาทา เวรมณี (เวนจากการพูดเท็จ โกหก หลอกลวง — Musàvàdà ~: to abstain

from false speech)
5. สรุ าเมรยมชชฺ ปมาทฏานา เวรมณี (เวน จากนํ้าเมาคือสรุ าและเมรัยอันเปนทีต่ ้งั แหง
ความประมาท, เวน จากสง่ิ เสพตดิ ใหโ ทษ — Suràmerayamajjapamàdaññhànà ~: to abstain

from intoxicants causing heedlessness)

ศลี 5 ขอ น้ี ในบาลีชั้นเดิมสว นมากเรยี กวา สิกขาบท 5 (ขอ ปฏบิ ัตใิ นการฝกตน — Sikkhà-
pada: training rules) บา ง ธรรม 5 บา ง เมื่อปฏบิ ตั ิไดตามนี้ กช็ ื่อวา เปน ผูม ศี ลี คือเปนเบ้อื ง

ตนทีจ่ ัดวาเปน ผมู ีศีล (virtuous) คําวา เบญจศีล ทีม่ าในพระไตรปฎ ก ปรากฏในคมั ภีรช้ัน

อปทาน และพุทธวงส ตอ มาในสมัยหลงั มชี อ่ื เรียกเพิม่ ขึน้ วา เปน นจิ ศีล (ศลี ทค่ี ฤหสั ถควรรกั ษา

เปนประจํา — virtues to be observed uninterruptedly) บาง วา เปน มนุษยธรรม (ธรรม

ของมนุษยห รือธรรมทท่ี ําใหเ ปนมนุษย — virtues of man) บาง

ดู คาํ สมาทาน ใน Appendix

D.III.235; A.III.203,275; Vbh.285. ท.ี ปา.11/286/247; อง.ฺ ปจฺ ก.22/172/227; 264/307; อภ.ิ วิ.35/767/388.

[239] เบญจธรรม หรอื เบญจกัลยาณธรรม (ธรรม 5, ธรรมอนั ดีงามหา อยาง,

คณุ ธรรมหา ประการ คกู บั เบญจศีล เปน ธรรมเก้ือกลู แกก ารรกั ษาเบญจศลี ผูรักษาเบญจศีลควร
มีไวประจาํ ใจ — Pa¤ca-dhamma: the five ennobling virtues; virtues enjoined by

the five precepts)

1. เมตตาและกรุณา (ความรกั ใครป รารถนาใหม ีความสุขความเจริญ และความสงสารคิดชวย

ใหพน ทกุ ข — Mettà-karuõà: loving-kindness and compassion) คกู ับศลี ขอท่ี 1

2. สมั มาอาชวี ะ (การหาเลย้ี งชพี ในทางสจุ รติ — Sammà-àjãva: right means of livelihood) คู

กบั ศลี ขอ ท่ี 2
3. กามสังวร (ความสังวรในกาม, ความสํารวมระวังรจู กั ยับย้งั ควบคุมตนในทางกามารมณ ไม

[240] 176 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

ใหห ลงใหลในรปู เสียง กล่ิน รส และสมั ผัส — Kàmasa§vara: sexual restraint) คูก บั ศลี

ขอ ท่ี 3
4. สัจจะ (ความสตั ย ความซื่อตรง — Sacca: truthfulness; sincerity) คูกับศีลขอ ที่ 4
5. สตสิ มั ปชญั ญะ (ระลกึ ไดแ ละรตู วั อยเู สมอ คอื ฝก ตนใหเ ปน คนรจู กั ยง้ั คดิ รสู กึ ตวั เสมอวา สง่ิ

ใดควรทาํ และไมค วรทาํ ระวงั มใิ หเ ปน คนมวั เมาประมาท — Sati-sampaja¤¤a: mindfulness

and awareness; temperance) คกู บั ศลี ขอ ที่ 5

ขอ 2 บางแหง เปน ทาน (การแบง ปน เออื้ เฟอ เผอื่ แผ — Dàna: giving; generosity) ขอ 3 บาง
แหง เปน สทารสนั โดษ (ความพอใจดว ยภรรยาของตน — Sadàrasantosa: contentment with
one’s own wife) ขอ 5 บางแหง เปน อปั ปมาทะ (ความไมป ระมาท — Appamàda: heedfulness)

เบญจธรรมน้ี ทา นผกู เปนหมวดธรรมขึน้ ภายหลงั จงึ มแี ปลกกนั ไปบา ง เมือ่ วา โดยทีม่ า

หวั ขอเหลา น้ีสว นใหญประมวลไดจ ากความทอ นทายของกศุ ลกรรมบถขอตน ๆ.

ดู [320] กศุ ลกรรมบถ 10 2; [238] ศีล 5.

[240] ศีล 8 หรือ อัฏฐศีล (การรักษาระเบียบทางกายวาจา, ขอ ปฏบิ ตั ิในการฝก หดั กาย

วาจาใหยง่ิ ขน้ึ ไป — Aññha-sãla: the Eight Precepts; training rules)
1. ปาณาตปิ าตา เวรมณี (เวน จากการทาํ ชีวิตสัตวใ หต กลวงไป — Pàõàtipàtà veramaõã:

to abstain from taking life)
2. อทินฺนาทานา เวรมณี (เวนจากการถือเอาของท่ีเขามิไดใหดวยอาการแหงขโมย —

Adinnàdànà ~: to abstain from taking what is not given)

3. อพฺรหฺมจริยา เวรมณี (เวนจากกรรมอันมิใชพรหมจรรย, เวนจากการประพฤติผิด
พรหมจรรย คอื รวมประเวณี — Abrahmacariyà ~: to abstain from unchastity)
4. มสุ าวาทา เวรมณี (เวนจากการพูดเท็จ — Musàvàdà ~: to abstain from false

speech)
5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏ านา เวรมณี (เวนจากนํา้ เมา คอื สรุ าและเมรัยอนั เปน ทตี่ ง้ั แหง

ความประมาท — Suràmerayamajjapamàdaññhànà ~: to abstain from intoxicants causing

heedlessness)
6. วกิ าลโภชนา เวรมณี (เวน จากการบรโิ ภคอาหารในเวลาวกิ าล คอื ตั้งแตเ ท่ียงแลวไป จนถงึ

รงุ อรณุ ของวนั ใหม — Vikàlabhojanà ~: to abstain from untimely eating)

7. นจจฺ คตี วาทติ วสิ กู ทสสฺ นมาลาคนธฺ วเิ ลปนธารณมณฑฺ นวภิ สู นฏ านา เวรมณี (เวน

จากการฟอ นราํ ขับรอง บรรเลงดนตรี ดกู ารละเลนอนั เปน ขา ศึกตอ พรหมจรรย การทัดทรง
ดอกไม ของหอม และเครือ่ งลูบไล ซ่งึ ใชเ ปน เคร่อื งประดบั ตกแตง — Naccagãtavàdita-
visåkadassana-màlàgandhavilepanadhàraõamaõóanavibhåsanaññhànà ~: to abstain

from dancing, singing, music and unseemly shows, from wearing garlands,

หมวด 5 177 [242]

smartening with scents, and embellishment with unguents)
8. อจุ จฺ าสยนมหาสยนา เวรมณี (เวน จากทนี่ อนอนั สงู ใหญห รหู ราฟมุ เฟอ ย — Uccàsayana-

mahàsayanà ~: to abstain from the use of high and large luxurious couches)

คําสมาทาน ใหเตมิ สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ ตอทายทกุ ขอ แปลเพ่มิ วา “ขา พเจา ขอสมาทาน

สกิ ขาบท คือเจตนางดเวน จาก ... หรือ ขา พเจา ขอถอื ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการฝกตนเพือ่ งดเวนจาก ...”
ศลี 8 น้ี สมาทานรกั ษาพเิ ศษในวนั อโุ บสถ เรยี กวา อโุ บสถ (Uposatha: the Observances)

หรอื อโุ บสถศลี (precepts to be observed on the Observance Day)

A.IV.248. อง.ฺ อฏก.23/131/253.

[241] ศีล 8 ทั้งอาชีวะ หรอื อาชีวัฏฐมกศีล (ศลี มีอาชวี ะเปนคาํ รบ 8, หลัก
ความประพฤติรวมทง้ั อาชีวะทบี่ รสิ ุทธด์ิ วยเปน ขอ ที่ 8 — âjãvaññhamaka-sãla: virtue having

livelihood as eight; the set of eight precepts of which pure livelihood is the

eighth)

1.–7. ตรงกบั กศุ ลกรรมบถ 7 ขอ ตน (กายกรรม 3 วจีกรรม 4)

8. สมั มาอาชวี ะ

อาชีวัฏฐมกศลี น้ี เปน ศลี สวนอาทพิ รหมจรรย คือ เปนหลักความประพฤติเบอ้ื งตน ของ

พรหมจรรย กลาวคอื มรรค เปนสงิ่ ท่ีตองประพฤตใิ หบรสิ ทุ ธิ์ในข้ันตนของการดาํ เนนิ ตามอริย-
อัฏฐงั คิกมรรค

วาโดยสาระ อาชีวฏั ฐมกศลี กค็ อื องคม รรค 3 ขอ ในหมวดศีล คอื ขอที่ 3, 4, 5 ไดแ ก

สมั มาวาจา สัมมากมั มนั ตะ และ สัมมาอาชวี ะ น่ันเอง
ดู [293] มรรคมีองค 8; [319] กศุ ลกรรมบถ 101; [320] กศุ ลกรรมบถ 102.

Vism.11. วิสุทธฺ .ิ 1/13.

[242] ศีล 10 หรือ ทศศีล (การรกั ษาระเบยี บทางกายวาจา, ขอปฏบิ ัตใิ นการฝก หัดกาย

วาจาใหย่งิ ข้ึนไป — Dasa-sãla: the Ten Precepts; training rules)

6 ขอแรกเหมือนในศีล 8; ขอ ที่ 7 แยกเปน 2 ขอ ดังน้ี
7. นจจฺ คีตวาทติ วสิ กู ทสฺสนา เวรมณี (เวน จากการฟอ นราํ ขับรอ ง บรรเลงดนตรี ดู
การละเลน อนั เปน ขา ศกึ ตอพรหมจรรย — Nacca~dassanà ~: to abstain from dancing,

singing, music and unseemly shows)
8. มาลาคนธฺ วิเลปนธารณมณฑฺ นวภิ ูสนฏ านา เวรมณี (เวน จากการทดั ทรงดอกไม
ของหอม และเครอ่ื งลบู ไล ซงึ่ ใชเ ปน เครอื่ งประดบั ตกแตง — Màlà~ñhànà ~: to abstain

from wearing garlands, smartening with scents, and embellishment with unguents)

เล่ือนขอ 8 ในศีล 8 เปน ขอ 9 และเติมขอ 10 ดังน้ี

[243] 178 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

10. ชาตรูปรชตปฏคิ ฺคหณา เวรมณี (เวน จากการรับทองและเงิน — Jàtaråparajata-
pañiggahaõà ~: to abstain from accepting gold and silver)

สกิ ขาบท 10 นี้ เปน ศีลที่สามเณรและสามเณรีรกั ษาเปน ประจํา หรอื อบุ าสกอบุ าสกิ าผูมี

อตุ สาหะจะรักษากไ็ ด

Kh.I.1. ขุ.ขุ.25/1/1.

[,,,] สกทาคามี 5 ดู [59] สกคามี 3, 5.
[,,,] สมบัติของอุบาสก 5 ดู [259] อบุ าสกธรรม 5.
[243] สังวร 5 (ความสํารวม, ความระวังปดกนั้ บาปอกุศล — Sa§vara: restraint)

สงั วรศลี (ศลี คอื สงั วร, ความสาํ รวมเปน ศลี — virtue as restraint) ไดแ ก สงั วร 5 อยา ง คอื

1. ปาฏโิ มกขสังวร (สํารวมในปาฏโิ มกข คือ รักษาสิกขาบทเครง ครัดตามทท่ี รงบัญญตั ิไวใ น
พระปาฏโิ มกข — Pàñimokkha-sa§vara: restraint by the monastic code of discipline)
2. สตสิ งั วร (สํารวมดวยสติ คือ สํารวมอินทรียม ีจกั ษเุ ปนตน ระวังรกั ษามิใหบ าปอกุศลธรรม

เขา ครอบงาํ เมอ่ื เหน็ รปู เปน ตน — Sati-sa§vara: restraint by mindfulness) = อนิ ทรยี สงั วร

3. ญาณสังวร (สํารวมดวยญาณ คอื ตดั กระแสกเิ ลสมตี ณั หาเปน ตน เสยี ได ดวยใชป ญญา
พิจารณา มิใหเขามาครอบงําจิต ตลอดถึงรูจักพิจารณาเสพปจจัยส่ี — ¥àõa-sa§vara:

restraint by knowledge) = ปจ จัยปจจเวกขณ

4. ขนั ตสิ ังวร (สาํ รวมดว ยขนั ติ คอื อดทนตอหนาว รอน หิว กระหาย ถอยคาํ แรงรา ย และ
ทุกขเวทนาตางๆ ได ไมแ สดงความวกิ าร — Khanti-sa§vara: restraint by patience)
5. วริ ยิ สังวร (สาํ รวมดว ยความเพียร คอื พยายามขบั ไล บรรเทา กําจดั อกศุ ลวติ กทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว

ใหหมดไปเปนตน ตลอดจนละมิจฉาชพี เพียรแสวงหาปจ จยั สเ่ี ลีย้ งชวี ิตดวยสัมมาชีพ ทีเ่ รียกวา

อาชวี ปาริสทุ ธิ — Viriya-sa§vara: restraint by energy) = อาชีวปาริสทุ ธ.ิ

ในคมั ภรี บางแหง ทอ่ี ธบิ ายคาํวา วนิ ยั แบง วนิ ัยเปน 2 คือ สงั วรวนิ ัย กับ ปหานวินัย และ

จาํ แนกสงั วรวนิ ยั เปน 5 มแี ปลกจากนเ้ี ฉพาะขอ ท่ี 1 เปน สลี สงั วร. (ดู สตุ ตฺ .อ.1/9; สงคฺ ณ.ี อ.505; SnA.8;

DhsA.351).

Vism.7; PsA.14,447; VbhA.330. วิสุทธฺ .ิ 1/8; ปฏิส.ํ อ.16; วิภงคฺ .อ.429.

[244] สุทธาวาส 5 (พวกมที อ่ี ยูอันบริสุทธ์ิ หรือทีอ่ ยูข องทา นผบู ริสทุ ธ์ิ คอื ทีเ่ กิดของพระ
อนาคามี — Suddhàvàsa: pure abodes) ไดแ ก อวหิ า อตปั ปา สทุ สั สา สทุ สั สี และ อกนฏิ ฐา

สทุ ธาวาส 5 นี้ เปน รูปาวจรภมู ิ (ช้ันจตุตถฌานภมู ิ ลาํ ดบั ท่ี 3 ถงึ 7) ในพระไตรปฎ กแสดง

ไวในรายช่ือทีร่ วมกับภมู ิอน่ื ๆ บา งเทาท่ีมเี รอื่ งเก่ียวขอ ง จึงไมม ีรายชือ่ ภมู ทิ ั้งหมดทกุ ช้ันทุกระดับ

ครบถวนในที่เดยี ว แตใ นคมั ภรี ชั้นอรรถกถาบางแหง ทา นแสดงรายช่ือภมู ิไวทั้งหมดครบทุกชั้น

ทุกระดับ มจี ํานวนรวมทงั้ สิ้น 31 ภมู ิ จึงจะแสดงความหมายของชอ่ื สุทธาวาสภมู ิทงั้ 5 นี้ รวมไว

ในรายช่ือภมู ิ 31 นั้น

หมวด 5 179 [246]

ดู [351] ภูมิ 31.

D.III.237; M.III.99–103; Pug.17. ที.ปา.11/2/250; ม.อ.ุ 14/317–332/216–225; อภ.ิ ป.ุ 36/56/149.

[,,,] องคแหงธรรมกถึก 5 ดู [219] ธรรมเทสกธรรม 5.

[,,,] องคแหงภิกษุใหม 5 ดู [222] นวกภกิ ขุธรรม 5.

[245] อนันตริยกรรม 5 (กรรมหนกั ทสี่ ดุ ฝา ยบาปอกศุ ล ซง่ึ ใหผ ลรนุ แรงตอ เนอ่ื งไป โดย
ไมม กี รรมอนื่ จะมากนั้ หรอื คน่ั ได — Anantariya-kamma: immediacy-deeds; heinous

crimes which bring immediate, uninterrupted and uninterruptible results)

1. มาตุฆาต (ฆามารดา — Màtughàta: matricide)
2. ปตฆุ าต (ฆา บดิ า — Pitughàta: patricide)
3. อรหันตฆาต (ฆาพระอรหนั ต — Arahantaghàta: killing an Arahant)
4. โลหติ ปุ บาท (ทาํ รา ยพระพุทธเจาจนถงึ พระโลหติ หอ ขน้ึ ไป — Lohituppàda: causing a

Buddha to suffer a contusion or to bleed)
5. สงั ฆเภท (ยงั สงฆใ หแ ตกกนั , ทาํ ลายสงฆ — Saïghabheda: causing schism in the

Order)

กรรม 5 นี้ ในพระบาลีเรียกวา อนันตรกิ กรรม

A.III.146; Vbh.378. องฺ.ปจฺ ก.22/129/165; อภิ.ว.ิ 35/984/510.

[,,,] อนาคามี 5 ดู [60] อนาคามี 5.

[246] อนุปุพพิกถา 5 (เรอื่ งทก่ี ลาวถงึ ตามลําดับ, ธรรมเทศนาทแ่ี สดงเนอ้ื ความลมุ ลกึ

ลงไปโดยลาํ ดับ เพ่ือขดั เกลาอัธยาศัยของผฟู ง ใหประณตี ขน้ึ ไปเปนช้นั ๆ จนพรอ มท่ีจะทําความ
เขา ใจในธรรมสว นปรมตั ถ — Anupubbikathà: progressive sermon; graduated sermon;

subjects for gradual instruction)

1. ทานกถา (เรอ่ื งทาน, กลา วถึงการให การเสยี สละเผอ่ื แผแ บง ปน ชว ยเหลือกัน — Dàna-
kathà: talk on giving, liberality or charity)
2. สลี กถา (เรอื่ งศลี , กลา วถงึ ความประพฤตทิ ถ่ี กู ตอ งดงี าม — Sãla-kathà: talk on morality or

righteousness)
3. สัคคกถา (เรื่องสวรรค, กลาวถึงความสุขความเจริญ และผลทน่ี า ปรารถนาอันเปน สวนดขี อง
กาม ทจี่ ะพงึ เขาถึง เมอื่ ไดประพฤติดงี ามตามหลกั ธรรมสองขอตน — Sagga-kathà: talk on

heavenly pleasures)
4. กามาทนี วกถา (เรือ่ งโทษแหง กาม, กลา วถงึ สวนเสยี ขอบกพรอ งของกาม พรอมทั้งผลราย

ท่สี บื เนือ่ งมาแตกาม อนั ไมค วรหลงใหลหมกมนุ มัวเมา จนถงึ รูจกั ที่จะหนา ยถอนตนออกได —
Kàmàdãnava-kathà: talk on the disadvantages of sensual pleasures)

[247] 180 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

5. เนกขมั มานิสงั สกถา (เรอ่ื งอานสิ งสแ หงความออกจากกาม, กลา วถงึ ผลดขี องการไมหมก

มนุ เพลดิ เพลนิ ตดิ อยูใ นกาม และใหม ฉี นั ทะทจ่ี ะแสวงความดงี ามและความสขุ อันสงบทีป่ ระณีต
ย่งิ ขึน้ ไปกวานน้ั — Nekkhammànisa§sa-kathà: talk on the benefits of renouncing

sensual pleasures)

ตามปกติ พระพทุ ธเจาเม่อื จะทรงแสดงพระธรรมเทศนาแกคฤหสั ถ ผูมอี ุปนิสัยสามารถทจ่ี ะ
บรรลธุ รรมพเิ ศษ ทรงแสดงอนปุ ุพพิกถาน้ีกอน แลว จงึ ตรสั แสดงอริยสัจจ 4 เปนการทําจิตให
พรอ มท่จี ะรับ ดจุ ผา ทซี่ ักฟอกสะอาดแลว ควรรับนาํ้ ยอ มตางๆ ไดดว ยดี

Vin.I.15; D.I.148. วนิ ย.4/27/32; ที.ส.ี 9/237/189.

[247] อภิณหปจจเวกขณ 5 (ขอที่สตรีก็ตาม บรุ ุษก็ตาม คฤหัสถก็ตาม บรรพชติ ก็
ตาม ควรพจิ ารณาเนืองๆ — Abhiõhapaccavekkhaõa: ideas to be constantly

reviewed; facts which should be again and again contemplated)
1. ชราธัมมตา (ควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามคี วามแกเ ปนธรรมดา ไมลว งพนความแกไปได
— Jaràdhammatà: He should again and again contemplate: I am subject to decay

and I cannot escape it.)

2. พยาธธิ มั มตา (ควรพจิ ารณาเนอื งๆ วา เรามคี วามเจบ็ ปว ยเปน ธรรมดา ไมล ว งพน ความเจบ็
ปว ยไปได — Byàdhidhammatà: I am subject to disease and I cannot escape it.)
3. มรณธมั มตา (ควรพจิ ารณาเนอื งๆ วา เรามีความตายเปนธรรมดา ไมลว งพนความตายไป
ได — Maraõadhammatà: I am subject to death and I cannot escape it.)
4. ปยวนิ าภาวตา (ควรพจิ ารณาเนอื งๆ วา เราจกั ตองมคี วามพลัดพรากจากของรักของชอบใจ
ทงั้ สิ้น — Piyavinàbhàvatà: There will be division and separation from all that are

dear to me and beloved.)
5. กัมมสั สกตา (ควรพจิ ารณาเนอื งๆ วา เรามีกรรมเปน ของตน เราทาํ กรรมใด ดกี ต็ าม ชั่ว
กต็ าม จักตองเปนทายาท ของกรรมน้นั — Kammassakatà: I am owner of my deed,

whatever deed I do, whether good or bad, I shall become heir to it.)

ขอท่ีควรพิจารณาเนืองๆ 5 อยางนี้ มวี ัตถปุ ระสงคเพอื่ ละสาเหตตุ า งๆ มคี วามมัวเมา
เปนตน ที่ทาํ ใหสตั วทง้ั หลายตกอยูใ นความประมาท และประพฤติทจุ ริตทางไตรทวาร กลาวคอื

ขอ 1 เปนเหตุละหรอื บรรเทาความเมาในความเปนหนมุ สาวหรือความเยาวว ยั

ขอ 2 เปนเหตลุ ะหรือบรรเทาความเมาในความไมม ีโรค คอื ความแขง็ แรงมสี ขุ ภาพดี

ขอ 3 เปน เหตลุ ะหรอื บรรเทาความเมาในชีวิต

ขอ 4 เปนเหตลุ ะหรอื บรรเทาความยดึ ติดผูกพันในของรกั ทั้งหลาย

ขอ 5 เปน เหตุละหรอื บรรเทาความทุจรติ ตา งๆ โดยตรง

เมือ่ พิจารณาขยายวงออกไป เห็นวามิใชตนผูเดยี วทีต่ อ งเปน อยา งน้ี แตเปนคตธิ รรมดาของ

หมวด 5 181 [248]

สตั วท ง้ั ปวงทจ่ี ะตอ งเปนไป เมือ่ พจิ ารณาเหน็ อยางนเ้ี สมอๆ มรรคก็จะเกิดขนึ้ เมอ่ื เจริญมรรคนัน้
มากเขา ก็จะละสังโยชนท้งั หลาย สิน้ อนุสยั ได.

A.III.71. อง.ฺ ปจฺ ก.22/57/81.

[248] ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณ 10 (ธรรมทบี่ รรพชิตควรพจิ ารณาเนอื งๆ
— Pabbajita-abhiõhapaccavekkhaõa: ideas to be constantly reviewed by a monk;

facts which the monk should again and again contemplate)

บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนืองๆ วา (เติมลงหนาขอความทุกขอ)

1. เราถึงความมเี พศตา งจากคฤหสั ถแลว * (I have come to a status different from

that of a layman.)

ขอ นบี้ าลีวา “เววณณฺ ยิ มหฺ ิ อชฺฌูปคโต” ในทนี่ ้แี ปล เววณฺณิย วา ความมีเพศตา ง (จาก

คฤหสั ถ) แตห ลายทา น แปลวา ความปราศจากวรรณะ (casteless state) คือเปน คนนอกระบบ
ชนชน้ั หรือ หมดวรรณะ คอื หมดฐานะในสังคม หรอื เปนคนนอกสงั คม (outcast) ความตาง
หรอื ปราศจาก หรอื หมดไปน้ี อรรถกถาอธบิ ายวา เปน ไปในสองทาง คือ ทางสรีระ เพราะปลงผม
และหนวดแลว และทางบรขิ าร คอื เครือ่ งใช เพราะแตกอ นครัง้ เปนคฤหัสถ เคยใชผาดๆี รบั
ประทานอาหารรสเลิศในภาชนะเงินทอง เปนตน ครัน้ บวชแลว ก็นุง หม ผายอมฝาดฉนั อาหาร
คลุกเคลา ในบาตรเหล็กบาตรดิน ปหู ญา นอนตา งเตยี ง เปนตน

สวนวัตถุประสงคแ หงการพิจารณาธรรมขอ น้ี อรรถกถาแกวา จะละความกําเรบิ ใจ (ความ

จจู ีเ้ งา งอน) และมานะ (ความถอื ตัว) เสยี ได.
2. การเล้ยี งชีพของเราเน่ืองดวยผูอืน่ ** (คือตองอาศยั ผอู ื่น — My livelihood is bound up
with others.)

วตั ถุประสงค ตามอรรถกถาแกว า เพอ่ื ใหม อี ิรยิ าบถเรยี บรอ ยเหมาะสม มอี าชวี ะบรสิ ุทธิ์

เคารพในบิณฑบาต และบรโิ ภคปจจยั ส่ีดวยใสใ จพิจารณา
3. เรามอี ากปั กิริยาอยา งอ่นื ที่จะพงึ ทํา*** (I have a different way to behave.)

อรรถกถาอธบิ ายวา เราควรทําอากปั ป (คอื กิริยามารยาท) ที่ตางจากของคฤหสั ถ เชน มี
อนิ ทรยี สงบ กา วเดินสมํ่าเสมอ เปน ตน และแสดงวัตถปุ ระสงคว า เพ่อื ใหมอี ิริยาบถเรียบรอย
เหมาะสม บําเพ็ญไตรสกิ ขาไดบ ริบรู ณ

* ใน นวโกวาท มตี อวา “อาการกริ ยิ าใดๆ ของสมณะ เราตองทําอาการกิริยานน้ั ๆ“
** ใน นวโกวาท มีตอวา “เราควรทาํ ตัวใหเ ขาเล้ียงงาย.”
*** ใน นวโกวาท ทรงเรยี งเปน ขอ ความใหมว า “อาการกายวาจาอยางอืน่ ทีเ่ ราจะตอ งทําใหดขี ึน้ ไปกวา นย้ี ังมอี ยู

อีก ไมใชเพยี งเทา น้.ี ” จะเหน็ วา ขอ 1 กับขอ 3 ทรงตคี วามตา งออกไป ถา แปลตามนยั อรรถกถา ขอ 1 จะได
วา “เราเปนผหู มดวรรณะ คอื ไมมฐี านะในสังคมแลว จะตองไมมีความกระดา งถือตวั ใดๆ” ขอ 3 จะไดวา
“เราจะตอ งมีอาการกริ ยิ าตา งจากคฤหัสถ สาํ รวมใหเหมาะกบั ความเปน สมณะ”. (องฺ.อ.3/395)

[249] 182 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

4. ตวั เรายงั ติเตยี นตัวเราเองโดยศีลไมไ ดอยูหรอื ไม (Can I still not reproach myself on
my virtue’s account?)

ขอ น้ี มวี ัตถปุ ระสงคเ พือ่ ใหเกิดหิรพิ รงั่ พรอมอยใู นใจ ชว ยใหม ีสงั วรทางไตรทวาร
5. เพื่อนพรหมจรรยทั้งหลายผูเปนวิญูชนพิจารณาแลว ยังติเตียนเราโดยศีลไมไดอยู
หรอื ไม (Do my discerning fellows in the holy life, on considering me, not
reproach me on my virtue’s account?)

ขอ นี้ มีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื ใหด ํารงโอตตปั ปะในภายนอกไวได ชว ยใหมสี งั วรทางไตรทวาร
6. เราจกั ตอ งมีความพลัดพรากจากของรกั ของชอบใจท้ังสนิ้ (There will be division
and separation from all that are dear to me and beloved.)

ขอนี้ มีวัตถปุ ระสงคเ พ่อื ใหเ ปน ผูไมประมาท และเปน อันไดต ้งั มรณสติไปดวย
7. เรามกี รรมเปน ของตน เราทาํ กรรมใด ดกี ต็ าม ชวั่ กต็ าม จกั ตอ งเปน ทายาทของกรรมนน้ั (I am
owner of my deed, whatever deed I do, whether good or bad, I shall become heir to it.)

ขอ นี้ มวี ัตถปุ ระสงคเพอ่ื ปองกันมิใหกระทําความชั่ว
8. วนั คนื ลว งไปๆ เราทําอะไรอยู (How has my passing of the nights and days been?)

ขอนี้ มีวตั ถุประสงคเ พอ่ื ทําความไมป ระมาทใหบ รบิ รู ณ
9. เรายินดใี นท่สี งัดอยหู รือไม (Do I delight in a solitary place or not?)

ขอนี้ มีวตั ถปุ ระสงคเ พ่ือทาํ กายวเิ วกใหบริบูรณ
10. คณุ วเิ ศษยิ่งกวามนษุ ยส ามญั ท่เี ราบรรลแุ ลว มีอยูห รอื ไม ที่จะใหเ ราเปนผไู มเ กอเขนิ
เม่อื ถูกเพอ่ื นบรรพชิตถาม ในกาลภายหลัง (Have I developed any extraordinary
qualities whereon when later questioned by my fellows in the holy life I shall not

be confounded?)

ขอ นี้ มีวัตถปุ ระสงคเพ่ือมใิ หเปนผตู ายเปลา

A.V.87; Netti.185. องฺ.ทสก.24/48/91; องฺ.อ.3/395.

[,,,] อรหันต 5 ดู [62] อรหนั ต 5.

[249] อริยวัฑฒิ หรอื อารยวัฒิ 5 (ความเจรญิ อยา งประเสรฐิ , หลกั ความเจรญิ ของอารย
ชน — Ariyà vaóóhi: noble growth; development of a civilized or righteous man)

1. ศรัทธา (ความเช่อื ความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแหง ความจริงความดงี ามอันมเี หตุผล
— Saddhà: confidence)

2. ศลี (ความประพฤติดี มีวินยั เลย้ี งชพี สุจรติ — Sãla: good conduct; morality)

3. สตุ ะ (การเลาเรียนสดบั ฟงศกึ ษาหาความรู — Suta: learning)

4. จาคะ (การเผ่อื แผเสยี สละ เออื้ เฟอ มีนํา้ ใจชวยเหลอื ใจกวา ง พรอ มที่จะรบั ฟงและรวมมือ


Click to View FlipBook Version