The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 04:48:21

รายงานประจำปี2551

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

35

ความเป็ นมาของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (PMQA)

PMQA คืออะไร...เกี่ยวข้องอยา่ งไร กบั สว่ นราชการ...PMQA เป็ นคายอ่ มาจาก Public

Sector Management Quality Award แปลเป็ นภาษาไทยวา่ รางวลั คณุ ภาพการบริหารจดั การ

ภาครัฐ สว่ นรางวลั นจี ้ ะมีทม่ี าจากไหนและเกี่ยวข้องอยา่ งไรกบั สว่ นราชการ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา

ระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550) กาหนดให้มีการปรับเปลย่ี นกระบวน การและวธิ ีการทางานเพ่อื

ยกระดบั ขีดความสามารถและมาตรฐานการทางานของหนว่ ยงานราชการให้อยใู่ นระดบั สงู เทียบเทา่

มาตรฐานสากล โดยยดึ หลกั การบริหารจดั การบ้านเมืองท่ดี ี

การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี เป็ นหลกั การบริหารท่ไี ด้รับการตราขนึ ้ เป็ นกฎหมายดงั ที่

ปรากฏในพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และ

ตอ่ มาได้มีการออก พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.

2546 เพือ่ ให้มีแนวทางการปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็ นรูปธรรมชดั เจนมากย่ิงขนึ ้ โดยกาหนดเป้ าหมายของการ

บริหารกิจการบ้านเมอื งที่ดวี า่ ให้เป็ นไปเพ่ือประโยชน์สขุ ของประชาชน เกิดผลสมั ฤทธิ์ตอ่ ภารกิจของ

รัฐ มีประสทิ ธิภาพและเกิดความค้มุ คา่ ในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานท่เี กินจาเป็ น

ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ รวมทงั้ มีการ

ประเมินผลการปฏิบตั ิงานอยา่ งสม่าเสมอ

การบริหารราชการให้บรรลเุ ป้ าหมายดงั กลา่ วจาเป็ นต้องมีเกณฑ์การประเมินกระบวนการ

ทางานและ ผลการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ป็ นทีย่ อมรับกนั ทว่ั ไป จงึ ได้นาแนวคดิ และโครงสร้างของรางวลั

คณุ ภาพของประเทศสหรัฐอเมริกา The Malcolm Baldrige National Quality Award และรางวลั

คณุ ภาพแหง่ ชาตขิ องประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) ซงึ่ มีพนื ้ ฐานทางด้านเทคนิคและ

กระบวนการเช่นเดียวกบั รางวนั คณุ ภาพแหง่ ชาติของประเทศสหรัฐอเมริกามาปรับใช้ให้สอดคล้องกับ

บริบทของราชการไทยและสอดคล้องกบั วิธีการปฏิบตั ิราชการตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์

และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ดี ี พ.ศ.2546

สานกั งาน ก.พ.ร. จึงได้ร่วมมือกบั สถาบนั เพ่ิมผลผลิตแหง่ ชาติ จดั ทาโครงการพฒั นา

คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ โดยสร้างหลกั เกณฑ์และวิธีปฏิบตั เิ พื่อยกระดบั พฒั นาขีด

ความสามารถ และมาตรฐาน การบริหารจดั การของสว่ นราชการให้เทียบเทา่ มาตรฐานสากลใน

ระดบั โลก จากแนวคิดและเกณฑ์รางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาติท่ีตา่ งประเทศใช้ได้ผลดี นามาปรับให้

สอดคล้องกบั แนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ีและแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการ

ไทยกาหนดเป็ น เกณฑ์รางวลั คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (Public Sector Management

Quality Award : PMQA) การสง่ เสริมให้สว่ นราชการนา เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


36

หรือทเี่ ราเรียกสนั้ ๆวา่ PMQA ไปใช้เป็ นแนวทางในการประเมินองค์กรด้วยตนเองและปรับปรุงอยา่ ง
ตอ่ เนอื่ งเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั ิงานไปสมู่ าตรฐานระดบั สากล และสานกั งาน ก.พ.ร ได้
กาหนดเป็ นประเด็นการประเมินผลและตวั ชีว้ ดั ในกรอบการประเมินผลสว่ นราชการซงึ่ จะต้องมีการ
จดั ทาคารับรองการปฏิบตั ริ าชการประจาปี ตงั้ แตป่ ี งบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็ นต้นมา

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
 เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการปฏิบตั งิ านของภาครัฐให้สอดคล้องกบั พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วย
หลกั เกณฑ์และวธิ ีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
 เพ่อื ให้หนว่ ยงานภาครัฐนาไปใช้เป็ นแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การของ
หนว่ ยงานสรู่ ะดบั มาตรฐานสากล
 เป็ นกรอบในการประเมินตนเอง เพือ่ พฒั นาองค์กร และเป็ นบรรทดั ฐานในการติดตามและ
ประเมินผล การปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานภาครัฐ

ประโยชน์ของ PMQA ต่อส่วนราชการ
1. สว่ นราชการได้ดาเนนิ การตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( Self-Assessment ) ซง่ึ จะทา

ให้ผ้บู ริหารทราบวา่ สว่ นราชการของตนมีความบกพร่องในเร่ืองใด เพ่อื จะได้กาหนดวิธีการ เป้ าหมาย
ทชี่ ดั เจนในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการเพือ่ ปรับปรุงองค์กรให้สมบรู ณ์มากขนึ ้ ตอ่ ไป

2. สว่ นราชการสามารถนาเกณฑ์ PMQA ไปใช้เป็ นเคร่ืองมือในการจดั การการดาเนินการ
เพือ่ ยกระดบั การบริหารจดั การของสว่ นราชการให้สามารถสง่ มอบคณุ คา่ ทด่ี ขี นึ ้ ทงั้ ผลผลิตและบริการ
ให้แก่ผ้รู ับ บริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

3. เม่ือสว่ นราชการบริหารจดั การท่ีเป็ นเลิศจะเกิดภาพลกั ษณ์ที่ดไี ด้รับความนิยมชมชอบ
จากผ้รู ับ บริการ และผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี

องค์ประกอบการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (PMQA) ประกอบด้วย 2 ส่วนคอื
1. ลกั ษณะสาคญั ขององค์กร
2. เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ
ลกั ษณะสาคญั ขององค์กร เป็ นการอธิบายภาพรวมของสว่ นราชการ สภาพแวดล้อมใน

การปฏิบตั ภิ ารกิจ ความสมั พนั ธ์กบั หนว่ ยงานอื่นในการปฏิบตั ิราชการ ความท้าทายเชิงยทุ ธศาสตร์
และระบบการปรับปรุงผลการดาเนินการ ซง่ึ เป็ นแนวทางทีค่ รอบคลมุ ระบบการบริหารจดั การ
ดาเนินการขององค์กรโดยรวม ลกั ษณะสาคญั ขององค์กร ประกอบด้วย ลกั ษณะองค์กร และ
ความท้าทายตอ่ องค์กร

เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ เป็ นการนาหลกั เกณฑ์และแนวคิดตามรางวลั
คณุ ภาพแหง่ ชาตขิ องประเทศสหรัฐ อเมริกา Malcolm Baldrige National Quality Award และ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


37

รางวลั คณุ ภาพแหง่ ชาตขิ องประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) มาปรับใช้ให้สอดคล้อง
กบั บริบทของราชการไทยและการดาเนินการตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการ
บริหารกิจการบ้าน เมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546 เพื่อให้สว่ นราชการใช้เป็ นกรอบในการประเมินองค์กรด้วย
ตนเองและเป็ นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจดั การองค์กรเพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการทางาน
ของหนว่ ยงานภาครัฐไปสมู่ าตรฐานสากล เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐจดั ทาขนึ ้ โดย
อาศยั คา่ นิยมหลกั ( Core Value ) 11 ประการ ดงั นี ้

หลกั คิดของเกณฑ์ PMQA: คา่ นิยมหลกั 11 ประการ
การนาองค์กรอยา่ งมีวสิ ยั ทศั น์
ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
การให้ความสาคญั กบั พนกั งานและคคู่ ้า
ความเป็ นเลศิ มงุ่ เน้นทล่ี กู ค้า
การม่งุ เน้นอนาคต
ความคลอ่ งตวั
การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล
การจดั การเพื่อนวตั กรรม
การจดั การโดยใช้ข้อมลู จริง
การมงุ่ เน้นท่ีผลลพั ธ์และการสร้างคณุ คา่
มมุ มองเชิงระบบ

เกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั ประกอบด้วยเกณฑ์ 7 หมวด คอื
หมวด 1 การนาองค์กร
หมวด 2 การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์
หมวด 3 การให้ความสาคญั กบั ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจดั การความรู้
หมวด 5 การมงุ่ เน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจดั การกระบวนการ
หมวด 7 ผลลพั ธ์การดาเนนิ การ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


38

ลกั ษณะสาคญั ขององคก์ ร
สภาพแวดลอ้ ม ความสมั พนั ธ์

และความทา้ ทาย

2. การวางแผนเชงิ 5. การมงุ่ เนน้
ยทุ ธศาสตร์ ทรพั ยากรบคุ คล

1. การนา 7. ผลลพั ธก์ าร
องคก์ ร ดาเนนิ การ

3. การให้ 6. การจดั การ
ความสาคญั กบั กระบวนการ
ผรู้ บั บรกิ าร และ
ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี

4. การวดั การวเิ คราะห์
และการจดั การความรู้

รูปท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

สาระสาคญั ของเกณฑ์คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ ในแตล่ ะหมวดโดยสงั เขป
หมวด 1 การนาองค์กร เป็ นการตรวจประเมินวา่ ผ้บู ริหารของจงั หวดั ดาเนินการอยา่ งไรใน

เรื่องวิสยั ทศั น์ เป้ าประสงค์ระยะสนั้ และระยะยาว คา่ นิยม และความคาดหวงั ในผลการดาเนนิ การ
รวมถงึ การให้ความสาคญั กบั ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ทงั้ หลาย การกระจายอานาจการ
ตดั สนิ ใจ การสร้างนวตั กรรม และการเรียนรู้ รวมทงั้ ตรวจประเมินวา่ มีการกากบั ดแู ลตนเองท่ีดี และ
ดาเนนิ การเกี่ยวกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมและสงั คมอยา่ งไร

หมวด 2 การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์ เป็ นการตรวจประเมินวธิ ีการกาหนดประเดน็
ยทุ ธศาสตร์ เป้ าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์และกลยุทธ์หลกั รวมทงั้ แผนปฏิบตั ริ าชการและการถ่ายทอด
เป้ าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์และกลยทุ ธ์หลกั รวมถงึ แผนปฏบิ ตั ิราชการที่ได้จดั ทาไว้เพื่อนาไปปฏิบตั ิ
และการวดั ผลความก้าวหน้า

หมวด 3 การให้ความสาคญั กบั ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี เป็ นการตรวจประเมินวา่
จงั หวดั มีการกาหนดความต้อง ความคาดหวงั และความนยิ มชมชอบของผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้
สว่ นเสยี อยา่ งไรรวมถึงมีการดาเนินการอยา่ งไรในการสร้างความ สมั พนั ธ์กบั ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ น
ได้สว่ นเสยี การกาหนดปัจจยั ที่สาคญั ท่ที าให้ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี มีความพงึ พอใจ และ
นาไปสกู่ ารกลา่ วถึงจงั หวดั ในทางที่ดี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


39

หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ เป็ นการตรวจประเมินวา่ เลอื ก
รวบรวม วเิ คราะห์ จดั การและปรับปรุงข้อมลู และสารสนเทศและการจดั การความรู้อยา่ งไร

หมวด 5 การมงุ่ เน้นทรัพยากรบคุ คล เป็ นการตรวจประเมินวา่ ระบบงานและระบบการ
เรียนรู้ของบุคคลากรและการสร้างแรงจงู ใจ ช่วยให้บุคลากรพฒั นาตนเองและใช้ศกั ยภาพอยา่ งเตม็ ที่
เพ่ือให้ม่งุ ไปในแนวทางเดยี วกนั กบั เป้ าประสงค์และแผนปฏิบตั ิการโดยรวมอยา่ งไร รวมทงั้ ตรวจ
ประเมินความใสใ่ จการสร้าง และรักษาแวดล้อมในการทางาน สร้างบรรยากาศทเี่ อือ้ ตอ่ การทางาน
ของบุคลากรซง่ึ จะนาไปสผู่ ลการดาเนนิ การที่เป็ นเลศิ และความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร

หมวด 6 การจดั การกระบวนการ เป็ นการตรวจประเมินแงม่ มุ ทีส่ าคญั ทงั้ หมดของการจดั
กระบวนการ การให้บริการและกระบวนการอื่นที่สาคญั ทช่ี ว่ ยสร้างคณุ คา่ แก่ผ้รู ับบริการ ผ้มู ีสว่ นได้
สว่ นเสยี และการบรรลพุ นั ธกิจ ตลอดจนกระบวนการสนบั สนนุ ท่ีสาคญั ตา่ ง ๆ หมวดนคี ้ รอบคลมุ
กระบวนการท่ีสาคญั และหนว่ ยงานทงั้ หมด

หมวด 7 ผลลพั ธ์การดาเนนิ การ เป็ นการตรวนประเมินผลการดาเนนิ การและแนวโน้มของ
จงั หวดั ในมิติตา่ งๆ ได้แก่ มิติด้านประสทิ ธิผล มิตดิ ้านคณุ ภาพการให้บริการ มิตดิ ้านประสทิ ธิภาพ
ของการปฏบิ ตั ริ าชการ และมิตดิ ้านการพฒั นาองค์กร นอกจากนยี ้ งั ตรวจประเมินผลการดาเนนิ การ
โดยเปรียบเทียบกบั สว่ นราชการหรือองค์กรอื่น ที่มีภารกิจคล้ายคลงึ กนั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


40

สว่ นราชการจะดาเนินการตามวงจรการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ โดยนาเกณฑ์
คณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (PMQA)ไปใช้ในการประเมินตนเองทาให้ทราบจุดแข็งและโอกาส
ในการปรับปรุงและดาเนิน การปรับปรุงด้วยแนวทางและเคร่ืองมือการบริหารจดั การที่เหมาะสม และ
เมื่อสว่ นราชการปรับปรุงตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งไประยะหนง่ึ จนมน่ั ใจได้วา่ พฒั นาตนเองตามเกณฑ์ให้
ก้าวสรู่ ะบบการบริหารจดั การที่เหมาะสมแล้ว สามารถสมคั รขอรับรางวลั คณุ ภาพการบริหารจดั การ
ภาครัฐ ในการสมคั รขอรับรางวลั นนั้ สว่ นราชการจะได้รับการตรวจประเมินจากผ้ตู รวจประเมินรางวลั
ซงึ่ เม่ือผา่ นเกณฑ์การประเมินก็จะได้รับรางวลั ตามหลกั ฐานท่กี าหนด หากไม่ได้รับรางวลั สว่ นราชการ
จะได้รับรายงานป้ อนกลบั (Feed back) เพือ่ นาไปปรับปรุงองค์กรตอ่ ไป สาหรับสว่ นราชการท่ีได้รับ
รางวลั จะมีบทบาทสาคญั ในการสง่ เสริมการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐด้วยการแบง่ ปัน
ประสบการณ์การปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ป็ นเลศิ ซง่ึ จะเป็ นประโยชน์กบั การพฒั นาระบบราชการโดยรวมตอ่ ไป

ขัน้ ตอนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ

ดดาาเนเนินินกกาารรพพฒั ฒั นนาา
คคณุ ุณภภาาพพกกาารรบบรริหิหาารร

จจดั ัดกกาารรภภาาคครรัฐัฐ

เตเตรรียียมมคคววาามมพพรร้อ้อมม
ภภาายยในในอองงคค์ก์กรร

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


41

การเตรียมพร้ อมภายในองค์ กร

กาหนด ผบู้ รหิ าร
เป็ นนโยบาย
กาหนด ((CCaat1te1e.g..g2.o2o.r..ry3.y3.C..C4.h4h.a..5a.m5m...p6.p6ioionn))
ผรู้ บั ผดิ ชอบ Working Team

สรา้ งความรู้ Steering Committee

ความเขา้ ใจ บคุ ลากร8 หนว่ ยงาน

จดั อบรมใหท้ มี งาน

จดั ทาแผน กาหนดกจิ กรรม กาหนดระยะเวลาดาเนนิ การ
ปฏบิ ตั กิ าร กาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบ

การจดั ทา หมวด 1_2_3_4_5_6_7 จดั ทาแผน
รายงานผล ปรบั ปรุง
องคก์ ร
การดาเนนิ การ การจดั ลาดบั

การประเมนิ ความสาคญั
องคก์ รดว้ ยตนเอง ของโอกาสตนเอง

ในการปรบั ปรงุ
องคก์ ร

การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ

2 3

จดั ทาลกั ษณะ รายงานผลการ ประเมนิ องคก์ ร 4
สาคญั ขององคก์ ร ดาเนนิ งานตามเกณฑ์ ดว้ ยตนเอง

1

ประเมนิ และปรบั ปรงุ ดาเนนิ การ จดั ลาดบั
กระบวนการ ปรบั ปรงุ ความสาคญั
ของโอกาส
7 6 ใน การปรบั ปรงุ

5

จดั ทาแผนปรบั ปรงุ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


42

การตรวจประเมนิ จากมาตรฐานท่กี าหนด ( Check List )
วธิ ีตรวจประเมินจากมาตรฐานที่กาหนด เพอ่ื ให้จงั หวดั ได้ประเมินตามวงจรการจดั การท่ีดี

ทงั้ ในสว่ นของการวเิ คราะห์กระบวนการ คอื ADLI และสว่ นของการวเิ คราะห์ผลลพั ธ์ คอื LeTCLi
โดยมีการประเมินคา่ ระดบั ในทกุ คาถามตามวงจรการจดั การทีด่ ที ี่สามารถนาเสนอได้ในรูปตาราง
คะแนนหรือกราฟคะแนนเพื่อใช้ประโยชน์ในการสอ่ื สารกบั ผ้ทู ่ีเก่ียวข้องได้รับทราบสถานะจดุ แขง็
และจุดทต่ี ้องปรับปรุงขององค์กร หลกั การจดั การท่ีดีโดยใช้หลกั ADLI และ LeTCLi ดงั นี ้

หลกั ADLI ประกอบด้วย
 Approach – A คอื แนวทาง วธิ ีการทเี่ ป็ นระบบสามารถนาไปใช้ซา้ ได้
 Deployment – D คือ ดาเนินการคลอบคลมุ ทกุ ขนั้ ตอนตามแผนทกุ หนว่ ยงาน
 Learninq – L คอื ตดิ ตามประเมินผลลพั ธ์ แลกเปลยี่ นเรียนรู้และนาสกู่ ารปรับปรุง
 Integration – I คือ ความสอดคล้องระหวา่ งแผนปฏบิ ตั ิ วดั วิเคราะห์ ปรบั ปรุง ม่งุ สู่
เป้ าหมายองค์กร

หลกั LeTCLi ประกอบด้วย
 Level – Le คอื ผลการดาเนนิ งานในปัจจบุ นั เปรียบกบั เป้ าหมาย
 Trend – T คอื แนวโน้มของผลการดาเนนิ การ
 Comparison – C คือ เปรียบเทียบกบั องค์กรอื่น
 Linkage – Li คือ เช่ือมโยงกบั ตวั ชีว้ ดั ผลตา่ งๆ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


43

การดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ...ส่วนจงั หวดั

การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครัฐให้ครอบคลมุ สว่ นราชการ ซงึ่ ประกอบด้วยสว่ น
ราชการประจาจงั หวดั ท่เี ป็ นราชการสว่ นถมู ิภาคและมีหนว่ ยงานในระดบั อาเภอด้วย ดงั นี ้

สว่ นราชการภมู ภิ าค 8 หนว่ ยงาน

สานกั งาน ทท่ี าการ สานกั งาน
ปศสุ ตั ว์ ปกครอง พฒั นาชมุ ชน
จงั หวดั จงั หวดั
สานกั งาน จงั หวดั
สานกั งาน จงั หวดั สานกั งาน
ประมง สาธารณสขุ
จงั หวดั
จงั หวดั

สานกั งาน สานกั งาน
เกษตร ทดี่ นิ
จงั หวดั
จงั หวดั

สาระสาคญั PMQA ปี 2551

 การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ดว้ ยขอ้ มลู ของ
ปี งบประมาณ 2551 (1 ตค. 2550 – 30 กนั ยายน 2551)

 การบรู ณาการ ตวั ชวี้ ดั มติ ทิ ี่ 4
RM, KM, IT, HR & Individual Scorecard, PMQA
(ใหน้ า้ หนกั ความสาคญั คะแนน กบั ตวั ชวี้ ดั เดมิ )

 การวดั ระดบั คะแนน ของ การดาเนนิ งานองคก์ ร
(เพอื่ รสู้ ถานะและมงุ่ สกู่ ารปรบั ปรงุ องคก์ ร ยงั ไมใ่ ชร่ างวลั )

 การปรบั ภาษาเกณฑ์ ใหเ้ หมาะสมและเขา้ ใจงา่ ยขนึ้
 การวดั ความเขา้ ใจ PMQAของผบู้ รหิ าร(3ระดบั ชนั้ บงั คบั

บญั ชา_ผวู้ า่ ฯรองผวู้ า่ ฯ/หวั หนา้ สว่ นราชการฯ/หวั หนา้ ฝ่ าย)
 การตดิ ตามประเมนิ หลกั ฐานโดย ผตู้ รวจประเมนิ ภายนอก

1 ครง้ั ( ระหวา่ ง เดอื นพฤศจกิ ายน – ธนั วาคม 2551)

wwwwww.t.hseumepgahllaerny.cbomuriL.OgoG.Oth

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


44

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน PMQA ปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี

กจิ กรรม ผลการดาเนินงาน ผลลัพธ์
1. การประชมุ คณะกรรมการและ - จานวน 2 ครัง้ ๆละ 1 วนั เพ่อื เรียนรู้  ความรู้วธิ ีการตอบคาถาม 90
ทางาน PMQA แนวทางการประเมนิ ในแต่ละหมวด ข้อ แบบ Adli, และ LeTCLi
เชน่ KM, คณุ ภาพบริการ, MIS ,
- ผ้บู ริหาร Competency, Strategy.  คาถาม 90 ข้อ ทงั้ 6 หมวด ได้
- คณะทางาน - จานวน 9 ครัง้ ดาเนนิ การศกึ ษา ดาเนนิ การตอบและได้คะแนนใน
2. ประชมุ คณะทางานแตล่ ะหมวด วเิ คราะห์คาถาม พร้อมทงั้ ตอบโจทย์ ภาพรวมแล้วเสร็จ
90 ข้อ โดยการมีสว่ นร่วมของ
3. การจดั ทารายงานและตรวจสอบ คณะทางานแตล่ ะหมวด  สงิ่ ที่ต้องดาเนินการในประเดน็
หลกั ฐานจาก Check List ที่ระบไุ ว้ - คณะทางานได้ดาเนินการพจิ ารณา หลกั
ในหมวดตา่ งๆทงั้ 7 หมวด และตรวจสอบข้อมลู เอกสารหลกั ฐาน 1. การประกาศคา่ นยิ ม และ
แล้วทงั้ 40 ประเดน็ มาตรฐานทางคณุ ธรรมและ
4. การประชมุ วเิ คราะห์หาจดุ แขง็ - - ดาเนนิ การแล้ว 27 ประเดน็ จริยธรรม
จดุ ออ่ น (โอกาสการปรับปรุง : OFi) - อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ 13 ประเดน็ 2. การชีแ้ จงสร้างความเข้าใจและ
นาไปปฏบิ ตั งิ านตามตวั ชีว้ ดั ของ
- ใช้ Criteria 4 หลกั เกณฑ์ ในการ หน่วยงาน
วเิ คราะห์หาจดุ แขง็ -จดุ อ่อน ได้แก่ 3.การถ่ายทอดตวั ชีว้ ดั เป้ าหมาย
1. สง่ ผลตอ่ ทิศทางองค์กร ของระดบั องคก์ รสรู่ ะดบั บคุ คล
2. ผลกระทบท่ีเกดิ กบั ผ้รู ับบริการ/ ผู้ 4. การบริหารความเส่ยี ง ( RM )
มีสว่ นได้เสยี 5. การบริหารทรัพยากรบคุ คล ( HR
3. ความเป็นไปได้ในการบรรลุ Scorecard )
4. ทาได้/เหน็ ผลรวดเร็ว 6. การทบทวนและปรับปรุง
กระบวนการสร้างคณุ คา่ และ
กระบวนการสนับสนนุ
 ในเบอื ้ งต้นได้โอกาสการ
ปรับปรุงที่สาคญั และวเิ คราะห์
ทบทวนแล้ว ดงั นี ้
1. ทบทวนทิศทางองคก์ ร (วสิ ยั ทศั น์
คา่ นิยม เป้ าประสงค์)และจดั ทา
แผนระยะยาว และการนา
ยทุ ธศาสตร์สกู่ ารปฏิบตั ิ

กิจกรรม ผลการดาเนินงาน ผลลัพธ์

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


45

- จดั ลาดบั ความสาคญั ของโอกาสการ  จดั ทาแผนปรับปรุงองค์กร ในปี

ปรับปรุง (OFi)ในแต่ละหมวด และ 2552

จดั ทาแผนปรับปรุงองค์กร 1. แผนการถา่ ยทอดตวั ชีว้ ดั

เป้ าหมายของระดบั องคก์ รสรู่ ะดบั

บคุ คล

3. แผนบริหารความเส่ยี ง

4. แผนบริหารทรัพยากรบุคคล

5. การทบทวนและปรับปรุง

กระบวนการสร้างคณุ คา่ และ

กระบวนการสนับสนนุ จดั ทา

ข้อกาหนดของกระบวนการ

5. การสรุปผลการจดั ทารายงาน จดุ ดาเนนิ การร่วมกบั การประชมุ  ข้อเสนอแนะ ความคดิ เห็นของ

แขง็ -จดุ อ่อน (โอกาสการปรับปรุง : ประจาเดือน จานวน 2 ครัง้ (เดอื น ผ้บู ริหาร ผ้เู ข้าร่วมประชมุ

OFi) การจดั ลาดบั ความสาคญั ของ สงิ หาคม และเดอื นตลุ าคม)มี  แนวทางในการดาเนินงาน ปี

โอกาสการปรับปรุง และการจดั ทา ผ้เู ข้าร่วมประชมุ 2552

แผนปรับปรุงองค์กร - นายแพทย์สาธารณสขุ จงั หวดั

- นกั วชิ าการสาธารณสขุ 9

- ผ้อู านวยการโรงพยาบาล

- สาธารณสขุ อาเภอ

- หวั หน้ากลมุ่ งาน/งาน/ฝ่ ายของสสจ.

- นกั วชิ าการ ของ สสจ. สสอ.

จากการประเมินตามวงจรการจดั การที่ดี ทงั้ ในสว่ นของการวิเคราะห์กระบวนการ คือ
ADLI และสว่ นของการวิเคราะห์ผลลพั ธ์ คือ LeTCLi โดยมีการประเมินคา่ ระดบั ในทุกคาถาม
จานวน 90 คาถาม โดยแสดงกราฟซ่ึง พบว่าจุดแข็งและจุดท่ีต้องปรับปรุงขององค์กร ตาม
หวั ข้อรายหมวด รวมทงั้ การตรวจสอบหลกั ฐานท่ปี ระกอบในแตล่ ะหมวด ดงั นี ้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


46

คา่ เฉลยี่ ผลกราฟระดบั คะแนนรายหวั ขอ้
10.00
9.40
9.00 8.48

8.00 7.94

7.02 7.27 6.99
6.04 5.94 6.00
7.00

6.00

5.00 4.36 4.44 4.55
4.00
3.00 3.73 3.93 3.80
2.73

2.00 1.50

1.00

0.00
1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 7.1 7.2 7.3 7.4

หวั ขอ้

รูปท่ี 3 ระดบั คะแนนรายหวั ข้อ

สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้ดาเนนิ การตามวงจรการพฒั นาคณุ ภาพการ
บริหารจดั การภาครัฐ (PMQA) โดยใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้แก่
ADLI และ LeCLi มาเป็ นเคร่ืองมือในการประเมินตนเอง ทาให้ทราบจุดแข็งและโอกาสในการ
ปรับปรุงกระบวนการทางานของสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรีให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงขนึ ้
ขณะเดียวกันสานกั งานสาธารณสุขจังหวดั ฯ จะทราบว่ามีประเด็นใดบ้างที่เป็ นข้อบกพร่องที่
จะต้องแก้ไขโดยการนามาจัดทาเป็ นแผนพฒั นาและปรับปรุงองค์กรให้สมบูรณ์ย่ิงขนึ ้ ซึง่ เป็ นการ
สอดคล้อง กบั พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.
2546 และพระราชบญั ญตั ิข้อมลู ขา่ วสาร พ.ศ.2546 ทงั้ นี ้สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี
จะใช้ผลจากการปรับปรุงองค์กรมาเป็ นแนวทางในการยกระดบั ไปสมู่ าตรฐานต่อไป ซ่ึงผลการ
ประเมินตนเอง ทงั้ 7 หมวด สรุปได้ดงั นี ้

หมวด 1 การนาองค์กร จากจุดแขง็ ของสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี พบวา่ มี
การเชิญประชุมเจ้าหน้าที่ตัวแทนทุก ระดบั เพ่ือทบทวนและวางแผนร่วมกัน กาหนด วิสยั ทัศน์
เป้ าหมาย ผลการดาเนินงานที่คาดหวงั อยา่ งต่อเนื่อง และถ่ายทอดให้กบั บุคลากรผ้ปู ฏิบตั ิเพื่อ
ดาเนินการไปตามแผนที่วางไว้ ผู้บริหาร มีการทบทวนตวั ชีว้ ดั เป็ นประจา และมีการสรุปผลการ
ทบทวนกระบวนการทางานของจงั หวดั ในปี ที่ผา่ นมา และพบว่าจังหวดั มีโอกาสในการปรับปรุง
องค์กร ได้แก่ ผ้นู าขาดนโยบายการพฒั นาองค์ที่ชดั เจนทกุ ระดบั ขาดการมีสว่ นร่วมในการพฒั นา
องค์กรและไม่มีระบบการทบทวนร่วมกนั ท่ีชดั เจนของผ้นู าทกุ ระดบั ไมม่ ีการสอื่ สารและการดาเนิน
ขององค์กรลกั ษณะสองทิศทางทว่ั ทงั้ องค์กร ทุกระดบั องค์กรยงั ขาดเป้ าประสงค์ระยะยาวทาให้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


47

ขาดความต่อเนื่องในการพัฒนาระยะยาว องค์กรขาดค่านิยมร่วมกันทาให้ขาดหลกั คิดที่เป็ น
อันหนึ่งอันเดียวกันซ่ึงเป็ นอุปสรรคในการพัฒนาองค์กรไปในทิศทางเดียวกัน การทบทวนผล
ดาเนินการที่ครอบคลุมแผนงานท่ีสาคัญทัง้ หมดขององค์กรขาดการสรุปบทเรียนและการ
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ผลการปรับปรุงที่ดีขนึ ้ ในองค์กร องค์กรยงั ขาดเป้ าประสงค์ระยะยาวทาให้ขาด
ความตอ่ เนอ่ื งในการพฒั นาระยะยาว องค์กรขาดคา่ นิยมร่วมกันทาให้ขาดหลกั คิดท่ีเป็ นอันหน่ึง
อนั เดยี วกนั ซง่ึ เป็ นอุปสรรคใน การพฒั นาองค์กรไปในทิศทางเดยี วกนั

หมวด 2 การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีการสร้าง
ความสมั พนั ธ์กับผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียเพื่อตอบสนองความคาดหวงั และสร้างความ
ประทบั ใจให้หนว่ ยงานมีภาพลกั ษณ์ที่ดี และมีผ้มู าใช้บริการเพิ่มขนึ ้ มีเครื่องมือและวิธีการในการ
ตดิ ตามในเร่ืองคณุ ภาพการให้บริการ รวมทงั้ ความคาดหวงั หลกั ๆของผ้รู ับบริการ และผ้มู ีสว่ น
ได้สว่ นเสยี หลากหลายรูปแบบขนึ ้ อยกู่ ับความเหมาะสม เพ่ือให้ได้ข้อมปู ้ อนกลบั อยา่ งทันท่วงที
และนาไปใช้ดาเนินการ ในสว่ นของโอกาสในการปรับปรุง พบว่า มีการนาข้อมูลเก่ียวกับการ
บริการเพอื่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ภายในองค์กรน้อย ไม่มีกระบวนการทบทวนและปรับปรุงเพื่อให้เกิด
การบริการที่มีประสทิ ธิภาพ ไม่มีระบบรับฟังความคิดเห็นผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียที่ชัดเจนและการจัด
กระบวนการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ ความคาดหวัง ผ้รู ับบริการท่ีชัดเจน ขาดการสร้ าง
ความสมั พนั ธ์กบั ผ้รู ับบริการ การจาแนกกลมุ่ ผ้รู ับริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ไม่ชดั เจนทาให้ขาด
การวเิ คราะห์ข้อมลู ความคาดหวงั ทงั้ ในและนอกองค์กรสง่ ผลให้ไม่มีการวางแผนประเมินผลและ
กาหนดตวั ชีว้ ดั รวมถงึ การสร้างนวตั กรรมและการเรียนรู้กบั องค์กรอ่ืน

หมวด 3 การให้ความสาคญั กับผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสีย สานกั งานสาธารณสขุ
จงั หวดั สุพรรณบุรี มีการสร้างความสมั พนั ธ์กับผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี เพ่ือตอบสนอง
ความคาดหวงั และสร้างความประทบั ใจให้หนว่ ยงานมีภาพลกั ษณ์ท่ีดี และมีผ้มู าใช้บริการเพิ่มขนึ ้
มีเครื่องมือและวิธีการในการตดิ ตามในเรื่องคณุ ภาพการให้บริการ รวมทงั้ ความคาดหวงั หลกั ๆของ
ผ้รู ับบริการ และผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี หลากหลายรูปแบบขนึ ้ อยู่กบั ความเหมาะสม เพื่อให้ ได้
ข้อมปู ้ อนกลบั อยา่ งทนั ทว่ งทแี ละนาไปใช้ดาเนินการ ในสว่ นของโอกาสในการปรับปรุง พบว่า มี
การนาข้อมูลเก่ียวกับการบริการเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในองค์กรน้อย ไม่มีกระบวนการ
ทบทวนและปรับปรุงเพื่อให้เกิดการบริการทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ไม่มีระบบรับฟังความคิดเห็นผ้มู ีสว่ น
ได้ส่วนเสียท่ีชัดเจนและการจัดกระบวนการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ ความคาดหวัง
ผ้รู ับบริการท่ชี ดั เจน ขาดการสร้างความสมั พนั ธ์กบั ผ้รู ับบริการ การจาแนกกลมุ่ ผ้รู ับริการและผ้มู ี
สว่ นได้สว่ นเสยี ไมช่ ดั เจนทาให้ขาดการวิเคราะห์ข้อมลู ความคาดหวงั ทงั้ ในและนอกองค์กรสง่ ผล
ให้ไม่มีการวางแผนประเมินผลและกาหนดตัวชีว้ ดั รวมถึงการสร้ างนวตั กรรมและการเรียนรู้กับ
องค์กรอื่น

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


48

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด
สพุ รรณบุรี มีระบบการวดั ผลการดาเนินการใช้ระบบบริหารติดตามกากับผา่ นระบบการติดตาม
ขนั้ ตอนผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์เพื่อให้ระบบการวัดผลการดาเนินงานเหมาะสมและมีความ
ทนั สมัยอยู่เสมอ มีผู้รับผิดชอบและตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลโดยตรง สว่ นโอกาสในการ
ปรับปรุง พบวา่ ขาดการใช้ข้อมลู เพ่ือสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในระดบั ปฏิบตั ิการและระดบั กลยทุ ธ์
ข้อมลู และ IT มีการแก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาดตลอดโดยกระบวนการมีสว่ นร่วมและคณะทางานแต่
ขาดการถา่ ยทอดสอื่ สารทวั่ ทงั้ องค์กร การใช้ข้อมูลและระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบริการ การ
ประเมินผลการดาเนินงานน้อย ขาดการทบทวนระบบการใช้ข้อมลู เพื่อการดาเนินการขององค์กร
และไมม่ ีการสรุปบทเรียนและการแลกเปลย่ี นการเรียนรู้ในองค์กร

หมวด 5 การม่งุ เน้นทรัพยากรบุคคล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีวิธีการ
ประเมินและยกยอ่ งให้เกียรติแก่บุคลากรของหน่วยงานที่สร้ างคุณประโยชน์ โดยใช้ผลงานเชิง
ประจกั ษ์และประโยชน์ท่ีเกิดแก่ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียเป็ นสาคญั อย่างโปร่งใส ยุติธรรม ระบบการ
ส่ือสารที่ทันสมัย ถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล และมีการสร้ าง
วฒั นธรรมในการทางานโดยยึดแนวทาง “พ่ีสอนน้อง” ในการปฏิบตั ิงานให้บรรลตุ ามพนั ธ์กิจของ
องค์กรตามท่กี ฎหมายกาหนด รวมทงั้ มีการรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรทุกระดบั ในหนว่ ยงาน
เพอื่ นามาปรับปรุงกระบวนการ/วิธีการทางานให้เกิดความคลอ่ งตวั รวดเร็ว ทนั ต่อความต้องการ
ของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียที่มาขอรับบริการจากหนว่ ยงานนนั้ ๆ สว่ นโอกาสในการปรับปรุง พบว่า
ขาดการจัดสิ่งแวดล้อมในการทางาน การสร้ างวิสัยทัศน์ในการพัฒนาบุคลากร /การสร้ าง
บรรยากาศในการทางาน ทงั้ คนภายใน/ภายนอก ไม่มีการประเมินแบบ 360 องศา บุคลากรใน
องค์กร และการยอมรับการประเมิน การพฒั นาบุคลากรในองค์กรขาดการวางแผนแก้ไขปัญหา
อยา่ งตอ่ เน่ือง การสร้างนวตั กรรมใหม่ ขาดการประเมินและกาหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก
พอใจจงู ใจของบคุ ลากรทกุ ระดบั ทกุ ประเภทขาดการสง่ เสริมนาความรู้และทกั ษะในการอบรมมา
ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน

หมวด 6 การจดั การกระบวนการ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี มีการกาหนด
ผ้รู ับผิดชอบในแตล่ ะกระบวนการการสร้างคณุ ค่าอยา่ งชัดเจนและบุคลากรผ้รู ับผิดชอบมีความ
ตงั้ ใจและม่งุ มน่ั ในการดาเนินให้บรรลตุ ามเป้ าหมายทตี่ งั้ ไว้ สว่ นโอกาสในการปรับปรุง พบวา่ ไม่มี
การจดั การบริหารความเสี่ยง (RM ) เพื่อการวิเคราะห์และออกแบบกระบวนงาน ขาดระบบการ
แก้ไขและพฒั นากระบวนงานอย่างตอ่ เน่ือง ชัดเจนเป็ นรูปธรรม ผ้รู ับผิดชอบกระบวนงานหลกั
และกระบวนงานสนบั สนนุ ไมม่ ีการทบทวนบทบาทหน้าทภ่ี ารกิจเพอ่ื นามาปรับปรุงกระบวนงาน

หมวด 7 ผลลพั ธ์การดาเนินการ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี พบวา่ ผลลพั ธ์
มีการดาเนินงานที่มีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผล งานสามารถสาเร็จในระยะเวลาที่กาหนดและมี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี


49

การใช้ทรัพยากรอยา่ งเหมาะสมและค้มุ คา่ มีการกาหนดเป้ าหมายในการใช้จ่ายและสามารถกากบั
ดแู ลควบคุมได้มีการใช้จ่ายอย่างค้มุ ค่า โปร่งใส และเกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ สามารถผา่ นเกณฑ์
ตวั ชีว้ ดั ที่สาคญั ได้ทกุ ตวั ชีว้ ดั แตผ่ ลลพั ธ์ที่ต้องปรับปรุงกระบวนการดาเนินงาน คือ บุคลากรยงั มี
ความผาสุก ความพึงพอใจ บางประการที่ไม่สูงมากนัก ยังขาดการดาเนินตวั ชีว้ ัดสาคญั ของ
พฤติกรรมที่มีจริยธรรมและการกับดูแลตนเองท่ีดี ขาดการประสานงานท่ีดีกับองค์กรหรือส่วน
ราชการอ่ืนทาให้การดาเนินงานไมบ่ รรลผุ ลเทา่ ที่ควร การให้การสนบั สนุน การบริการในชุมชนยงั
ไมม่ ีความครอบคลมุ

ผลจากการประเมินตนเองตามแนวทางที่สานกั งาน ก.พ.ร. กาหนด โดยประเมินองค์กร
ด้วยตนเอง ( Self-Assessment ) ทาให้ผ้บู ริหารทราบวา่ ในภาพรวมของสานกั งานสาธารณสขุ
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ียงั มีข้อบกพร่องในเรื่องใด และได้กาหนดวธิ ีการ เป้ าหมาย ทช่ี ดั เจนในการจัดทา
แผนปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงองค์กรให้สมบูรณ์ยิ่งขึน้ โดยเร่ืองท่ี สานักงานสาธารณสขุ จังหวัด
สพุ รรณบุรีสามารถดาเนินการได้ใน ปี 2552 ได้แก่ หมวด 2 การจดั ทาแผนปฏิบตั ิการ 4 ปี
การสือ่ สาร/ถ่ายทอด วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ทวั่ ทงั้ องค์กรในทกุ ระดบั และการจดั ทา
แผนบริหารความเสีย่ งตามยทุ ธศาสตร์ขององค์กร

สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ใช้วธิ ีการจดั ลาดบั ความสาคญั ของโอกาสในการ
ปรับปรุงองค์กร โดยใช้เกณฑ์ในการจดั ลาดบั แบบ 4 ปัจจยั ได้แก่ 1. สง่ ผลตอ่ ทิศทางองค์กร
2. ผลกระทบทเี่ กิดกบั ผ้รู ับบริการ/ ผ้มู ีสว่ นได้เสยี 3. ความเป็ นไปได้ในการบรรลุ 4. ทาได้/เหน็
ผลรวดเร็ว ซงึ่ ลาดบั ความสาคญั โอกาสในการปรับปรุงองค์กร 3 ลาดบั แรกของแตล่ ะหมวด มี
ดงั นี ้
หมวด ลาดบั - องค์กรยงั ขาดเป้ าประสงค์ระยะยาวทาให้ขาดความตอ่ เนื่องในการพฒั นา
1 1.1 ระยะยาว องค์กรยงั ขาดคา่ นยิ มร่วมกนั ทาให้ขาดหลกั คิดทเี่ ป็ นอนั หนง่ึ อนั

เดียวกนั ซงึ่ เป็ นอปุ สรรคในการพฒั นาองค์กรไปในทศิ ทางเดยี วกนั
ลาดบั - ด้านการตงั้ เป้ าหมายการกากบั ดแู ลตนเองที่ดี 4 ด้านคอื ด้านการปฏบิ ตั ิงาน
1.2 ด้านการป้ องกนั ทจุ ริต ด้านการปกป้ องประโยชน์ประเทศและด้านการปกป้ อง

ประโยชน์ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ขาดการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และนาผลท่ไี ด้ไป
ปรับปรุงงานอยา่ งตอ่ เนื่องในเร่ืองการปฏบิ ตั งิ านและการปกป้ องประโยชน์ผ้มู ี
สว่ นได้สว่ นเสยี
ลาดบั - การตงั้ เป้ าหมายของการทบทวนผลดาเนนิ การท่คี รอบคลมุ แผนงานท่ีสาคญั
1.3 ทงั้ หมดในองค์กรนนั้ ขาดการสรุปบทเรียนและการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ผลการ
ปรับปรุงทด่ี ขี นึ ้ ในองค์กร

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


หมวด ลาดบั 50
2 2.1
ลาดบั - ขาดการจดั ทาแผน 4 ปี และขาดการจดั ลาดบั ความสาคญั ของเป้ าประสงค์
2.2 ขาดการแลกเปลย่ี นการเรียนรู้จากองค์กรอื่นในการจดั ทาแผน
ลาดบั - ขาดการกาหนดประเด็นยทุ ธศาสตร์ เป้ าประสงค์ กลยทุ ธ์ของแผนบริหาร
2.3 ความเสยี่ ง
- การถา่ ยทอดตวั ชีว้ ดั และเป้ าหมายระดบั จงั หวดั สรู่ ะดบั หนว่ ยงานขาด
หมวด ลาดบั เอกสารหลกั ฐานท่สี าคญั ในการระบกุ ารวดั ผลสาเร็จ และเอกสารหลกั ฐานที่
3 3.1 สาคญั ในการทาระบบการวดั ผลสาเร็จของแผนปฏิบตั ิการเพือ่ ม่งุ ไปทิศทาง
เดยี วกนั
ลาดบั - จาแนกกลมุ่ ผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ไมช่ ดั เจนทาให้ขาดการ
3.2 วเิ คราะห์ข้อมลู ความคาดหวงั ทงั้ ในและนอกองค์กรสง่ ผลให้ไม่มีการ
วางแผนประเมินผลและกาหนดตวั ชีว้ ดั รวมถงึ การสร้างนวตั กรรมและการ
เรียนรู้กบั องค์กรอ่ืน และไม่มีการจดั กระบวนการรับฟังและเรียนรู้ความ
ต้องการความคาดหวงั ในกลมุ่ ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
- มีการทบทวนและปรับปรุงการสร้างความสมั พนั ธ์เฉพาะผ้รู ับบริการบางสว่ น
แตไ่ มไ่ ด้มีการทบทวนและปรับปรุงในกลมุ่ ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี สง่ ผลให้ไม่มี
การวางแผน การดาเนินการ การติดตามประเมินผล รวมทงั้ การพฒั นารูปแบบ
และการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ภายในและนอกองค์กร

หมวด ลาดบั - องค์กรขาดการวิเคราะห์ข้อมลู ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอกองค์กรและขาด
4 4.1 การสรุปบทเรียน การแลกเปลยี่ นการเรียนรู้ผลการปรับปรุงที่ดีขนึ ้ ในองค์กร
ลาดบั - ขาดการจดั การความรู้ การถ่ายทอดจากบคุ ลากรในองค์กรและจากบุคคล
4.2 อ่ืน และขาดการจดั การให้ข้อมลู สารสนเทศ ความรู้ของสว่ นราชการมี
คณุ สมบตั ิท่ีดีไมค่ รบ 11ประการ
ลาดบั - การสอ่ื สารผลวิเคราะห์ให้ปฏิบตั ิงานเพ่ือสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจไม่ทกุ ระดบั
4.3
หมวด ลาดบั - การพฒั นาบุคลากรในองค์กรขาดการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างต่อเน่ือง
5 5.1 และการสร้างนวตั กรรมใหม่
ลาดบั - ขาดการกาหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสกุ ความพอใจ แรงจูงใจของ
5.2 บุคลากรทกุ ระดบั ทกุ ประเภท
ลาดบั - ขาดการส่งเสริมการนาความรู้และทักษะในการอบรมมาใช้ ในการ
5.3 ปฏิบตั งิ าน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


หมวด ลาดบั 51
6 6.1
- การจดั ทาข้อกาหนดที่สาคญั ยงั ไมค่ รอบคลมุ ถงึ กลมุ่ ผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี
ลาดบั รวมทงั้ การออกแบบกระบวนการสร้างคณุ คา่ ยงั ขาดการบรูณาการในระบบ
6.2 ปรับปรุงสบื เนื่องจากมีเพียงการติดตามประเมินผลลพั ธ์เปรียบเทยี บกบั
ลาดบั เป้ าหมายทต่ี งั้ ไว้แบบแยกสว่ น การสรุปผลการดาเนนิ งานไมไ่ ด้นาผลที่ได้มา
6.3 วเิ คราะห์เพ่อื ปรับปรุงกระบวนให้ดีขนึ ้
- ขาดการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการสร้างคณุ คา่

- ขาดการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการสนบั สนนุ เชน่ เป้ าหมายเรื่องการ
ลดคา่ ใช้จ่ายในกระบวนการไม่ชดั เจนทาให้การวางแผนและการดาเนินงานใน
การลดคา่ ใช้จา่ ยไมเ่ ป็ นรูปธรรม

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


52

แบบรายงานหลกั ฐานสาคญั ประกอบการดาเนินงานในแต่ละหมวด

หมวด หลกั ฐานสาคญั มี ไมม่ ี หมายเหตุ

1 การนาองคก์ ร

1. วสิ ยั ทศั น์ 

2. ค่านิยม  ดาเนินการแลว้

3. ระบบการสอ่ื สารภายในองคก์ รท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยตอ้ งมกี ารสอ่ื สารเก่ยี วกบั 

วสิ ยั ทศั นแ์ ละค่านิยม

4. โครงการหรือกิจกรรมทแ่ี สดงใหเ้หน็ ถงึ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 

5. มาตรฐานคุณธรรม จรยิ ธรรมขององคก์ ร 

2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

6. แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 4 ปี 

7. แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี 

8. กรอบการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงาน 

9. แผนการจดั ระบบการถ่ายทอดตวั ช้วี ดั และเป้าหมายระดบั จงั หวดั สูห่ น่วยงาน 

(Gantt Chart)

10. แผนทย่ี ุทธศาสตร์ 

11. คารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการระหว่างสว่ นราชการกบั หน่วยงาน 

12. ช้แี จงรายละเอยี ดในคารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการระหวา่ งส่วนราชการกบั 

หน่วยงานเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจและนาไปปฏบิ ตั ิ
13. รายงานสรุปผลความสาเร็จของการปฏบิ ตั ริ าช การตามคารบั รองการปฏบิ ตั ิ 

ราชการระดบั สานกั /กอง (เมอ่ื ส้นิ ปีงบประมาณ) 
14. คาสงั่ แต่งตงั้ คณะกรรมการฯบริหารความเส่ยี ง
15. แผนบรหิ ารความเส่ยี ง 
16. การประชมุ ช้แี จง เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจใหท้ ุกหน่วยงานในสงั กดั รบั ทราบแผน 

บรหิ ารความเสย่ี งเพอ่ื นาไปปฏบิ ตั ิ 
17. การสรุปผลการดาเนนิ งานบรหิ ารความเสย่ี ง 
18. การประเมนิ ผลลพั ธข์ องแผนบริหารความเส่ยี ง
3 การใหค้ วามสาคญั ของผูร้ บั บรกิ ารและผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี 
19. ช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร รวมทงั้ การรบั ฟงั และเรยี นรูค้ วาม

ตอ้ งการและความคาดหวงั ของผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี 
20. ผลการสารวจความพงึ พอใจของผูร้ บั บรกิ าร 
21. ผลการสารวจความพงึ พอใจของผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 
22. วธิ ีการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี น 
23. การนาขอ้ รอ้ งเรยี นท่ไี ดร้ บั มาปรบั ปรุง อยา่ งนอ้ ย 1 กระบวนงาน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


53

หมวด หลกั ฐานสาคญั มี ไมม่ ี หมายเหตุ
4 การวดั การวิเคราะห์ และการจดั การความรู้
24. แผนการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศขององคก์ ร 
25. ระบบฐานขอ้ มลู ทท่ี นั สมยั 
26. ระบบรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู 
27. ฐานขอ้ มลู เพ่อื สนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงานของกระบวนการสรา้ งคณุ ค่า อย่าง 
นอ้ ย 2 กระบวนการ
28. รายการองคค์ วามรูท้ ่สี นบั สนุนการดาเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตรข์ อง 

องคก์ ร

29. แผนการจดั การความรู ้ (KM Action Plan) 

30. รายช่อื ผูบ้ ริหารสูงสดุ ดา้ นการจดั การความรูข้ ององคก์ ร (Chief 

Knowledge Officer: CKO) และราย ช่อื คณะทางานดา้ นการจดั การความรู ้

(KM Team)

31. รายงานความกา้ วหนา้ ในการดาเนินการตามแผนการจดั การความรู ้ 

32. หลกั ฐานแสดงผลการจดั กจิ กรรมการจดั การความรูต้ ่างๆ 

5 การม่งุ เนน้ ทรพั ยากรบุคคล

33. แผนกลยุทธก์ ารบริหารจดั การทรพั ยากรบุคคล ปี พ.ศ. 2551 ท่สี อดคลอ้ ง 

กบั นโยบาย/ยุทธศาสตร/์ เป้า ประสงคท์ ่ปี รบั เปลย่ี นไป

34. แผนปฏบิ ตั กิ าร (Action Plan) การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลของแผนงาน/ 

โครงการ ในปีงบ ประมาณ พ.ศ. 2551

35. รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล 

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

36. แผนพฒั นาขดี สมรรถนะของบุคลากร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 

37. รายงานผลการสารวจความพึงพอใจในความผาสุกของบุคคลากร 

38. หลกั เกณฑก์ ารจดั สรรแรงจูงใจทเ่ี ช่อื มโยงกบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน 

ของบคุ คลากร  มี 1 กระบวน
6 การจดั การกระบวนการ งาน ( CPG )

39. คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านของกระบวนการสรา้ งคุณค่าอยา่ งนอ้ ย 2 กระบวนงาน
(อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบ ดว้ ย Work Flow มาตรฐานงาน ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ

งาน และระบบการติดตามประเมนิ ผล 
40. คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานของกระบวนการสนบั สนุนอยา่ งนอ้ ย 2 กระบวนงาน
(อย่างนอ้ ยตอ้ งประกอบ ดว้ ย Work Flow มาตรฐานงาน ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ

งาน และระบบการติดตามประเมนิ ผล

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


54

งานพฒั นาบคุ ลากร
และสขุ ภาพภาคประชาชน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


55

1. งานพฒั นาบุคลากร

แนวคิด เป็ นหนว่ ยงานทีม่ งุ่ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ สามารถตอบสนองความต้องการขององค์กร และสร้างความพงึ พอใจ
แกป่ ระชาชนเป็ นสว่ นใหญ่

กลยทุ ธ์ท่รี ับผดิ ชอบ
1. การปรับเปลยี่ นกระบวนการในการทางานเพ่อื มงุ่ สกู่ ารเป็ นองค์กรแหง่ การเรียนรู้
2. ปรับปรุงระบบบริหารจดั การให้มีประสทิ ธิภาพทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง
3. การประเมินศกั ยภาพบคุ ลากรและองค์กรให้ได้ตามเกณฑ์สมรรถนะ

ตัวชีว้ ัดกลยุทธ์ลาดับท่ี 1
1. องค์กรร้อยละ 100 มีกิจกรรมทเ่ี ออื ้ ตอ่ การเป็ นองค์กรแหง่ การเรียนรู้
2. องค์ความรู้เพื่อสนบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์ในการถ่ายทอด อยา่ งน้อย 3 ประเด็นยทุ ธศาสตร์

ผลการดาเนินงาน : ผ่านทงั้ 2 ตวั ชีว้ ัด

ตัวชีว้ ดั กลยทุ ธ์ลาดบั ท่ี 2
2. ร้อยละ 80 ของสถานบริการมีการกระจายบุคลากรตามเกณฑ์ GIS อยา่ งเหมาะสม

ผลการดาเนินงาน : ผ่านตัวชีว้ ดั

ตัวชีว้ ัดกลยุทธ์ลาดับท่ี 3
3. บคุ ลากร(ข้าราชการ) ร้อยละ 100 ได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์สมรรถนะ อยา่ งน้อย 10 วนั /

คน/ปี

ผลการดาเนินงาน : ไม่ผ่าน ตวั ชีว้ ดั เน่ืองจากมขี ้าราชการได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์
สมรรถนะอย่างน้อย 10 วนั /คน/ปี จานวน 1980 คน คดิ เป็ น
ร้อยละ 84.18 (N = 2352 คน)

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


56

การดาเนินงานพฒั นาบคุ ลากรในปี งบประมาณ 2551 มีรายละเอียดต่างๆ โดยแบ่งการ
สรุปผลการดาเนนิ งาน เป็ น 4 งานหลัก ดงั นี้

1. งานจดั การความรู้
2. ข้อมลู กาลงั คนด้านสาธารณสขุ ตามเกณฑ์ GIS (นาเสนอในสว่ นท่ี 2 : ข้อมลู ทวั่ ไป)
3. งานพฒั นาบุคลากร แบง่ เป็ น

3.1 หนว่ ยงานดาเนินการพฒั นาบุคลากร
3.2 หนว่ ยงานในสงั กดั สง่ บุคลากรไปรับการพฒั นาจากหนว่ ยงานอื่น ๆ

3.2.1 การฝึกอบรม / ประชุม / สมั มนา
3.2.2 การลาศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
4. งานสนบั สนนุ การผลติ บคุ ลากรและฝึกภาคปฏบิ ตั ิ

งานจดั การความรู้ แบง่ การดาเนินงานเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ

1. การดาเนนิ งานจดั การความรู้ในสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
2. การดาเนนิ งานจดั การความรู้ของหนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ผลการดาเนินงานในสานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี
1. กาหนดโครงสร้างการบริหารงานจดั การความรู้
2. วิเคราะห์สถานการณ์งานจดั การความรู้ โดยคณะกรรมการร่วมกนั วเิ คราะห์สถานการณ์

การจดั การความรู้ในสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี (ตวั แทนบุคลากรอยา่ งน้อย 1
คน จากกลมุ่ งาน/งาน/ฝ่ าย ) พบปัญหา คอื

1. ขาดชอ่ งทางในการเผยแพร่ขา่ วสาร
2. ขาดบคุ ลากรแกนนาในการสร้างพลงั ให้บุคลากรในหนว่ ยงาน
และร่วมกนั กาหนดแนวทางการแก้ไขโดยดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ดงั นี ้

ปัญหา แนวทางการแก้ไขโดยดาเนินกิจกรรม.....

1. ขาดช่องทางในการ 1. เสริมสร้างชอ่ งทางในการเผยแพร่/รวบรวม ความรู้ต่าง ๆ โดย

เผยแพร่ขา่ วสาร 1.1 เพม่ิ รายละเอียดใน website ฝ่ าย/กลมุ่ งาน/งาน ดงั นี ้

ก. รูป

ข. งานในความรับผดิ ชอบ

ค. ข้อมลู งานที่รับผดิ ชอบท่ีสาคญั

โดยทกุ งาน/กลมุ่ งาน/ฝ่ ายต้องนาข้อมลู ลงใน http://www.spo.moph.go.th และพฒั นา

ให้ข้อมลู ทนั สมยั อย่เู สมอ

1.2 โครงการกินฟรี มีสาระ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื

ให้เกิดการแลกเปล่ยี นข้อมลู /ขา่ วสารที่เป็นประโยชน์ตอ่ หน่วยงาน/บคุ ลากร

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


57

ปัญหา แนวทางการแก้ไขโดยดาเนินกจิ กรรม.....

1. ขาดช่องทางในการ - สง่ เสริมให้เกิดวฒั นธรรมที่เอือ้ ตอ่ การเป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้

เผยแพร่ขา่ วสาร (ตอ่ ) - สง่ เสริมให้เกิดสมั พนั ธภาพท่ีดีของบคุ ลากรภายในหน่วยงาน

กลุ่มเป้ าหมาย

- บคุ ลากรทกุ คนใน สสจ. สพุ รรณบรุ ี

สถานท่ี - ห้องสาหรับเป็นที่พดู คยุ และรับประทานอาหารวา่ งร่วมกนั (ห้องประชมุ

ใหญ่ ชนั้ 2 )

อุปกรณ์เสริม - มีป้ ายประชาสมั พนั ธ์แสดงตารางกจิ กรรม และแสดงข้อคดิ เห็น

ลักษณะกิจกรรม

1. บรรยากาศสบาย ๆ ไมเ่ คร่งเครียด

2. ประชาสมั พนั ธ์เร่ืองที่จะสนทนาทางป้ ายประชาสมั พนั ธ์

3. มีการรวมกลมุ่ สนทนา /บรรยาย จานวน 1 เร่ือง/เดอื น โดยมอบหมายให้แต่

ละฝ่ าย/กลมุ่ งาน/งานเวยี นกนั นาเรื่องมาสนทนา/บรรยาย

4. รับประทานอาหารกลางวนั ร่วมกนั

5. แขง่ ขนั การกระต้นุ ให้บุคลากรเข้ามามสี ่วนร่วมโดยพจิ ารณาให้คะแนนจาก

จานวนผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม เมอ่ื สนิ ้ สดุ การสนทนา/บรรยาย

6. มีจดุ รับฟังความคดิ เห็น/เสนอประเดน็ ท่ีน่าสนใจ

ระยะเวลาของการดาเนนิ งาน : ทกุ วนั พธุ สปั ดาห์ที่ 3 ของทกุ เดือน

ตารางการจดั การความรู้ “ โครงการกินฟรี มีสาระ” ดงั นี ้

ลาดบั หน่วยงาน เรื่อง วนั เดอื นปี
1 งานทนั ตสาธารณสขุ การจดั ฟัน พธุ ที่ 16 กรกฎาคม 2551
2 งานพฒั นายทุ ธศาสตร์ PMQA พธุ ท่ี 20 สงิ หาคม 2551
3 งานอนามยั ฯ ยคุ นี ้LPG หรือ NGV ? พธุ ที่ 24 กนั ยายน 2551
4 งานโรคตดิ ตอ่ ไมไ่ ด้โม้......แตก่ ็มไิ ด้นาพา พธุ ท่ี 15 ตลุ าคม 2551
5 งานสขุ ศกึ ษา หมอไทย...ยาไทย พธุ ที่ 19 พฤศจิกายน 2551
6 งานประกนั สขุ ภาพฯ 80 วธิ ีลดโลกร้อน พธุ ท่ี 17 ธนั วาคม 2551
7 งาน คบส. ขา่ ว อ.ย.เพอื่ สื่อมวลชน พธุ ที่ 21 มกราคม 2552
8 งานสง่ เสริมฯ สขุ ภาพดี 15 นาทีรู้เร่ือง พธุ ที่ 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2552
9 งานโรคไมต่ ดิ ตอ่ ระวงั มนั จะมาโดยไมร่ ู้ตวั พธุ ที่ 18 มีนาคม 2552
10 งานบริหารฯ น่าร้ ูของข้ าราชการ พธุ ท่ี 8 เมษายน 2552

11 งานแพทย์แผนไทย สาระน่ารู้ สมนุ ไพรไทย พธุ ที่ 20 พฤษภาคม 2552
12 งานเอดส์ฯ วคั ซีนป้ องกนั มะเร็งปากมดลกู พธุ ท่ี 17 มถิ นุ ายน 2552
13 งานพฒั นาบคุ ลากรฯ อยากให้ลกู เรียนแพทย์ต้องทาอยา่ งไร พธุ ที่ 15 กรกฎาคม 2552

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


58

แนวทางการดาเนนิ งานจดั การความรู้ (ตอ่ )

ปัญหา แนวทางการแก้ไขโดยดาเนนิ กิจกรรม.....

1.3 โครงการร่วมด้วยช่วยสร้างความรู้

ผ้รู ับผดิ ชอบ : คณะกรรมการประชาสมั พนั ธ์ ตามคาสงั่ แตง่ ตงั้ คณะทางาน

จดั การความรู้ ท่ี 48 / 2551 ลงวนั ที่ 28 มถิ นุ ายน 2551

ความถ่ี : 1 วนั / สปั ดาห์ (ประมาณ 30 นาที)

กาหนดกรอบเนือ้ หา :

1. ความรู้ในแวดวงราชการ

2. จริยธรรม

3. เร่ืองสขุ ภาพ

4. ทว่ั ไป (งานแพทย์แผนไทยฯ, งานค้มุ ครองผ้บู ริโภค)

2. ขาดบคุ ลากรแกน 1. พฒั นาบคุ ลากรให้มีความเป็นเลศิ ในการจดั อบรมพธิ ีกร โดยพจิ ารณาคดั เลอื ก

นาในการดาเนิน 1.1 รับสมคั รเจ้าหน้าท่ี จานวน 1 คนตอ่ ฝ่ าย /งาน/กลมุ่ งาน

กจิ กรรม 1.2 สง่ ไปรับการพฒั นา ใช้เงินงบประมาณปี 2552

ผลการดาเนินงานเร่ือง
1.เสริมสร้างชอ่ งทางในการเผยแพร่/รวบรวม ความรู้ตา่ ง ๆ โดย

 กิจกรรมเพ่ิมรายละเอียดใน website ฝ่ าย/กลมุ่ งาน/งาน : อยรู่ ะหวา่ งการปรับปรุง
Website ของฝ่ าย /งาน/กลมุ่ งาน
: มีห้องเก่ียวกบั การจดั การความรู้ใน website : http://www.spo.moph.go.th
เรียบร้ อยแล้ว

 โครงการกินฟรีมีสาระ : ดาเนนิ งานได้ตามกิจกรรมท่กี าหนด

 โครงการร่วมด้วยชว่ ยสร้างความรู้ : ดาเนนิ งานได้ตามกิจกรรมทก่ี าหนด
2.การดาเนินงานจดั การความรู้ของหนว่ ยงานในสงั กดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ผลการดาเนนิ งาน พบวา่
1. คปสอ.ทกุ แหง่ มีการดาเนินงานเกี่ยวกบั การจดั การความรู้ โดยผา่ นกระบวนการ HA และมี
การแลกเปลยี่ นความรู้
2. สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จดั เวทแี ลกเปลย่ี นความรู้ “โครงการประชมุ
วิชาการงานสาธารณสขุ ปี 2551 ในวนั ที่ 19 – 20 พฤศจิกายน 2551 ณ โรงพยาบาล
ศนู ย์เจ้าพระยายมราช ความรู้ท่ีนามาแลกเปลยี่ นประกอบด้วย

 ด้านการสาธารณสขุ 7 เรื่อง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


59

 ด้านการแพทย์และพยาบาล 17 เร่ือง
สรุปผลการดาเนินงานจัดการความรู้ตามตัวชีว้ ดั กลยุทธ์ พบว่า ผ่านเกณฑ์ทงั้ 2
ตัวชีว้ ดั ดงั นี้

 องค์กรร้อยละ 100 มีกิจกรรมที่เออื ้ ตอ่ การเป็ นองค์กรแหง่ การเรียนรู้

 องค์ความรู้เพอ่ื สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์ในการถ่ายทอด อยา่ งน้อย 3 ประเด็น
ยทุ ธศาสตร์

งานพฒั นาบคุ ลากร

 กรณีทห่ี นว่ ยงานในสงั กัดได้มีการจดั ประชมุ / อบรม / สมั มนา
สืบเน่ืองจากการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์ในปี งบฯ 2551 พบวา่ มีนโยบายมุ่งเน้น

สง่ เสริมจริยธรรมและสมรรถนะในเร่ืองการคิดวิเคราะห์ ดังนนั้ ปี งบประมาณ 2551 งานพฒั นา
บุคลากรได้จัดทาโครงการเพ่ือขออนมุ ตั ิดาเนินการ จานวน 6 โครงการ เป็ นเงิน 520,020.00
บาท จานวนเงินท่ีใช้จริง 295,250.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ 56.77 ของเงินที่ได้รับอนมุ ัติจัดสรร
คงเหลอื เงิน 184,370 บาท ซง่ึ จะดาเนินการพฒั นาบคุ ลากรตอ่ เนอื่ งในปี งบฯ 2552 ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 โครงการพฒั นาบคุ ลากรทด่ี าเนินงานโดยงานพฒั นาบคุ ลากรฯ ในปีงบประมาณ 2551

ท่ี โครงการ ประเภท จานวนงบ จานวนเงนิ คงเหลอื หมายเหตุ

1 ปฐมนเิ ทศขา้ ราชการบรรจใุ หม่ ปี การเงนิ ฯทอ่ี นุมตั ิ ทใ่ี ชจ้ ริง 0.00 อบรมก่อนประจาการ
2551 PP 65 % 30,600 30,600.00

2 จดั ประชมุ วชิ าการงานสาธารณสุข PP 65 % 167,370 0 167,370.00 ดาเนินการ 18 – 19 พ.ย.
6,000 2551
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 41,400
3 การเรียนรูต้ ามรอยพระยุคลบาท PP 65 % 76,650 6,000 0

4 การสรา้ งนกั วจิ ยั เพ่อื การพฒั นางาน PP 65 % 24,000 17,000 มกี ารอบรมระยะท่ี 3 ในปี
งบฯ 2552
5 การดาเนินงานจดั การความรูใ้ น PP 65 %
สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ฯ 76,650 0

6 ประชมุ การดาเนินงานจดั การความรู ้ PP 65 % 86,000 46,000 40,000 เงนิ 40,000.00 บาท งาน
112,000 112,000
เก่ยี วกบั งานกาลงั คนดา้ น พฒั นายุทธฯ์ ใชด้ าเนนิ การ

สาธารณสขุ ทาแผนยุทธศ์ าสตร์
7 พฒั นาบุคลากรโดยส่งคนไปอบรม PP 65 % 0

ผบก./ผบต. (สสจ. / สสอ.) 520,020 295,250

รวม

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


60

สืบเน่ืองจากนนโยบายของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นให้มีการพฒั นาบุคลากร ประกอบการการ
สง่ เสริมให้หน่วยงานมีการพัฒนาคุณภาพบริการ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี และ
หน่วยงานในสงั กัดมีการจัดอบรมพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรในสงั กัดของตนเพ่ือให้บุคลากรทุกคน
สามารถปฏิบัติงานตอบสนองวิสยั ทศั น์ กลยทุ ธ์ พนั ธะกิจ ได้ โรงพยาบาลในสงั กดั ได้ดาเนิน
โครงการเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในสังกัด จานวน 22 โครงการ เป็ นเงิน
3,105,100.00 บาท เม่ือพิจารณารายหนว่ ยงาน พบวา่ โรงพยาบาลด่านช้างมีการใช้เงินบารุงเพื่อ
การพฒั นาบุคลากร มากท่ีสดุ จานวน 4 โครงการ ใช้เงินทงั้ หมด 809,880.00 บาท คิดเป็ น
ร้อยละ 26.08 รองลงมาคือ โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราช จานวน 7 โครงการ ใช้เงิน
ทงั้ หมด 669,550.00 บาท คดิ เป็ นร้อยละ 21.56 ดงั ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 จานวนโครงการ งบประมาณของโรงพยาบาลทดี่ าเนนิ การเก่ียวกบั การพฒั นาบคุ ลากร

ปี งบประมาณ 2551 โดยใช้เงินเงินบารุง

ท่ี หนว่ ยงาน จานวน จานวนเงนิ ร้อยละ หมาย

โครงการ เหตุ

1 โรงพยาบาลดา่ นช้าง 4 809,880.00 26.08

2 โรงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราช 7 669,550.00 21.56

3 โรงพยาบาลสามชกุ 1 528,450.00 17.02

4 โรงพยาบาลอทู่ อง 4 473,540.00 15.25

5 โรงพยาบาลดอนเจดีย์ 2 322,590.00 10.39

6 โรงพยาบาลศรีประจนั ต์ 2 244,490.00 7.87

7 โรงพยาบาลบางปลาม้า 2 56,600.00 1.82

รวม 22 3,105,100.00

 กรณีส่งบคุ ลากรไปรับการพฒั นาศกั ยภาพ จากหน่วยงานต้นสังกดั และ
หน่วยงานอ่นื
o การฝึกอบรม / ประชมุ / สมั มนา

ปี งบประมาณ 2551 งานพฒั นาบุคลากรได้มีการประชาสมั พนั ธ์โครงการที่เก่ียวกับการพัฒนา
ศกั ยภาพบุคลกร จานวนทงั้ หมด 625 เรื่อง แบ่งเป็ น 4 ด้าน สว่ นใหญ่ร้อยละ 64.96 เป็ นด้าน
วิชาการ รองลงมา ร้อยละ 27.04 เป็ นด้านบริหาร น้อยที่สดุ ด้านทศั นคติ ร้อยละ 1.6 ตารางที่ 3

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


61

ตารางท่ี 3 จานวน และร้อยละของการประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการอบรม / ประชาสมั พนั ธ์

จาแนกตามประเภท ประจาปี 2551

บริหาร วชิ าชีพเฉพาะ วชิ าการ ทศั นคติ

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

169 27.04 40 6.40 406 64.96 10 1.60

สรุปผลการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร
จากการรวบรวมรายงานการพฒั นาบุคลากร ฯ ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ท่ีได้รับการพฒั นาโดยภาพรวม พบวา่ ข้าราชการและลกู จ้างชั่วคราวทงั้ หมด จานวน 2462 คน
ได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์ ( อยา่ งน้อย 10 วนั /คน/ปี ) จานวน 2031 คน คดิ เป็ นร้อยละ 82.49
เม่ือจาแนกเป็ น 2 กลมุ่ พบวา่ กลมุ่ ข้าราชการทงั้ หมด จานวน 2352 คน ได้รับการพฒั นาตาม
เกณฑ์ ( อยา่ งน้อย 10 วนั /คน/ปี ) จานวน 1980 คน คิดเป็ นร้อยละ 84.18 กลมุ่ ลกู จ้าง
ชวั่ คราวสายนกั เรียนทนุ มีจานวนทงั้ หมด จานวน 110 คน ได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์ (อยา่ ง
น้อย 10 วนั /คน/ปี ) จานวน 51 คน คดิ เป็ นร้อยละ 41.36 ดงั ตารางที่ 4

เกณฑ์การพัฒนาบคุ ลากร : การพฒั นาบุคลากรตามเกณฑ์ กพร. คือ ข้าราชการและลกู จ้าง
ประจา ร้อยละ 100 ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพอยา่ งน้อย 10 วนั /คน/ปี
สรุปผลการดาเนินงานจดั การความรู้ตามตัวชีว้ ัดกลยุทธ์ พบว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ชวี้ ัด

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


62

ตารางที่ 4 จานวน และร้อยละของบคุ ลากรในสงั กดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ทไ่ี ด้รับ

การพฒั นา >=10 วนั /ปี จาแนกตามตาแหนง่ ประจาปี 2551

ตาแหนง่ ท่ีปฏบิ ตั งิ านจริง ได้รับการพฒั นา >=10 วนั /ปี ร้อยละ หมายเหตุ

แพทย์ 123 84 68.29
ทนั ตแพทย์ 39 34 87.18

เภสชั กร 73 62 84.93

เจ้าหน้าท่ีบริหารงานสาธารณสขุ 171 171 100.00
เจ้าหน้าที่บริหารงานท่ัวไป 16 13 81.25

นกั วชิ าการสาธารณสขุ 249 244 97.99
พยาบาลวชิ าชีพ 1188 999 84.09

พยาบาลเทคนิค 60 51 85.00
จพง.สาธารณสขุ ชมุ ชน 108 103 95.37
จพง.วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 39 27 69.23

จพง.เภสชั กรรม 41 27 65.85
ผ้ชู ่วยเภสชั กร 1 0 0.00

จพง.ทนั ตสาธารณสขุ 43 32 74.42
ผ้ชู ว่ ย.ทนั ตสาธารณสขุ 11 11 100.00

จพง.เวชสถติ ิ 14 13 92.86
ข้าราชการในตาแหนง่ อื่น ๆ 176 108 61.36

รวม (เฉพาะข้าราชการ) 2352 1980 84.18
ลกู จ้างชวั่ คราว(นกั วชิ าการ 7 7 100.00
สาธารณสขุ )

ลกู จ้างชว่ั คราว(พยาบาลวชิ าชีพ ) 23 9 39.13
ลกู จ้างชวั่ คราว (จพ.สช. ) 29 20 68.97

ลกู จ้างชวั่ คราว (จพ.เภสชั ฯ) 8 5 62.50

ลกู จ้างชวั่ คราว (จพ.ทนั ตฯ) 9 8 88.89

ลกู จ้างชว่ั คราว (จพ.เวชสถติ )ิ 1 0 0.00

ลกู จ้างชวั่ คราว (จ.โสตฯ) 2 0 0.00
ลกู จ้างชว่ั คราว (อื่น ๆ สายนกั เรียน 31 2 6.45
ทนุ ) 110 51 46.36
รวมลกู จ้างชว่ั คราว (สายนกั เรียน

ทนุ )

รวมทงั้ หมด 2462 2031 82.49

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


63

หมายเหตุ : บคุ ลากรท่ีได้รบั การพฒั นา* หมายถงึ จานวนบุคลากรที่ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพ อย่างน้อย 10 วนั /คน/ปี โดยไมน่ บั ซา้

o การลาศึกษาต่อเน่ือง
งานพฒั นาบคุ ลากรได้มีการประชาสมั พนั ธ์แผนการศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั / วิทยาลยั
และสถาบนั การศกึ ษาทกุ แหง่ ทข่ี อความอนเุ คราะห์ให้ประชาสมั พนั ธ์กบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องทราบ
เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรในสงั กัดต่อไป ปี งบประมาณ 2551 ได้มีการประชาสมั พนั ธ์หลกั สูตร
การศกึ ษาทุกระดบั จานวน 95 หลกั สตู ร โดยมีการประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการศึกษาตา่ ง ๆ
มากท่สี ดุ (ร้อยละ 53.68 ) รองลงมาเป็ นการประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการศกึ ษาทนุ ตา่ งประเทศ (ร้อย
ละ 20.00) น้อยท่ีสดุ คือการประชาสมั พนั ธ์เรื่องต่าง ๆ เช่น การคดั เลือกแพทย์ดีเด่น ศิษย์เก่า
พยาบาลดีเดน่ เป็ นต้น ดงั ตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 ผลงานการสนบั สนนุ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ปี งบประมาณ 2551

กิจกรรม ผลงาน
95
1.ประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการศกึ ษา หลกั สตู ร
25 (26.32)
1.1 ประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการศกึ ษาทนุ ตา่ งประเทศ หลกั สตู ร (ร้อยละ) 51 (53.68)/ 44
19 (20.00)/ 19
1.2 ประชาสมั พนั ธ์หลกั สตู รการศกึ ษาตา่ ง ๆ หลกั สตู ร (ร้อยละ)/สถาบนั

1.3 ประชาสมั พนั ธ์ตา่ ง ๆ หลกั สตู ร (ร้อยละ)/สถาบนั

ปี งบประมาณ 2551 มีข้าราชการในสงั กดั แสดงความจานงขอลาศกึ ษา จานวน 591
คน สว่ นใหญ่ ร้ อยละ 46.70 แสดงความจานงขอลาศึกษาระดับประกาศนียบตั รบณั ฑิต
รองลงมาร้อยละ 38.92 แสดงความจานงขอลาศกึ ษาระดบั ปริญญาโท น้อยสดุ แสดงความจานงขอ
ลาศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 1.18

มีข้าราชการลาศกึ ษาตอ่ ในหลกั สตู รต่าง ๆ จานวน 125 คน สว่ นใหญ่ ร้อยละ 25.60
ลาศึกษาระดับปริญญาตรี รองลงมาร้ อยละ 23.20 ลาศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
(หลกั สตู รเพยาบาลเฉพาะทางสาขาตา่ ง ๆ ) น้อยที่สดุ ลาศกึ ษาระดบั ต่ากว่าปริญญาเอก ร้อยละ
0.80 ดงั ตารางท่ี 6

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


64

ตารางที่ 6 จานวน ร้ อยละของผู้แสดงความจานงและลาศึกษา จาแนกตามระดับการศึกษา

ปี งบประมาณ 2551

การศกึ ษาตอ่ ในระดบั จานวนร้อยละของผ้แู สดงความ จานวน / ร้อยละของผ้สู อบได้

จานง และลาศกึ ษาตอ่

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

ต่ากวา่ ปริญญาตรี 7 1.18 2 1.60

ปริญญาตรี 46 7.78 32 25.60

ประกาศนียบตั รบณั ฑิต 276 46.70 29 23.20

ปริญญาโท 230 38.92 18 14.40

ปริญญาเอก 16 2.71 1 0.8

วฒุ ิบตั ร 16 2.71 43 34.40

รวมทงั้ สนิ ้ 591 125

ปัญหา – อุปสรรค
- ผ้แู สดงความจานงลาศกึ ษาตอ่ มกั จะสง่ เรื่องมายงั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ฯ ไมต่ รง
ตามระยะเวลาทกี่ าหนดดาเนินการแก้ปัญหาโดย
- จดั ประชุมชีแ้ จงให้ผ้รู ับผิดชอบงานของหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องทราบทงั้ รายละเอียดการเขียน
และระยะเวลาการสง่ เอกสาร

กรณีแพทย์ประจาบ้าน
ปี การศกึ ษา 2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี ขอรับการสนบั สนนุ จากกระทรวงสาธารณสขุ เพื่อให้
โรงพยาบาลในสงั กดั ฯ สามารถให้บริการได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยา
ยมราช ระดับตติยภูมิ (3.1) ได้รับจัดสรรโควตาแพทย์ประเภทเฉพาะทาง จานวน 5 โควตา
โรงพยาบาลระดบั ทุติยภูมิ (ระดับ2.1 - 2.3) ได้รับจัดสรรโควตาแพทย์ประเภทสาขาหลกั รวม 5
โควตา รวมทงั้ หมดจงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้รับจดั สรรทงั้ หมด 10 โควตา ดงั ตารางที่ 7

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


65

ตารางท่ี 7 จานวนโควตาแพทย์ประจาบ้านที่ได้รับจดั สรรฯ จาแนกตามสาขาวิชา/หนว่ ยงาน ปี
การศกึ ษา 2551

สาขาวิชา

อายุรศ ศลั ย-์
ศยั ล กมุ าร เวช
หน่วยงาน อายุรศ าสตร์ ศลั ย-์ ออร์ ศลั ย-์ วสิ ญั ญี
ศาสตร์
รพศ.เจา้ พระยายมราช าสตร์ โรค ตกแต่ง โธปิ ทางเดิน ศาสตร์
รพ.สมเดจ็ พระสงั ฆราช ทวั่ ไป เบา้ ตา วทิ ยา รวม
องคท์ ่ี 17 เลอื ด ดกิ ส์
รพ.อู่ทอง หายใจ ป้องกนั 5
รพ.เดมิ บางนางบวช
สสจ.สุพรรณบุรี 111 11 2

รวม 11 1
1
1 1
1 10

1
211111111

 งานสนบั สนนุ การผลิตบคุ ลากรและฝึ กภาคปฏบิ ัติ

o งานสนบั สนุนการฝึ กภาคปฏบิ ตั ิ โดยจดั ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อน
ฝึ กปฏบิ ัติ

งานสนับสนุนการฝึกภาคปฏิบตั ิเป็ นบทบาทหนึ่งของงานพฒั นาบุคลากร ฯ โดยทา
หน้าท่ีประสานความต้องการของบุคลากรแต่ละประเภทของหน่วยงานภายในจงั หวดั และสง่ ไปยงั
หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกบั การผลิตบุคลากร เช่น วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ( จังหวดั
สพุ รรณบุรี ,สระบุรี , ชยั นาท ) วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร ในสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนก
คณะวิทยาศาสตร์ ( โครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพ่ือชาวชนบท ) คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหิดล และนาข้อมลู ดังกลา่ วไปใช้จดั ทาแผนรับนกั ศึกษาฝึกงานของแต่ละ สถาน
บริการเพอื่ ลดความซา้ ซ้อนเกี่ยวกบั พืน้ ที่ฝึกปฏิบตั ิ และเพ่ือให้หน่วยงานมีความพร้อมทงั้ ด้านครูพี่
เลยี ้ งและสถานที่พกั อาศยั

โดยปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ฯ ได้จดั ปฐมนิเทศนกั ศึกษาก่อน
ฝึกปฏบิ ตั ิ/ ฝึกปฏบิ ตั ิงานในสถานบริการในหลกั สตู รต่าง ๆ จานวน 538 คน 20 หลกั สตู ร 6
สถาบนั พบวา่ สว่ นใหญ่ของนกั ศกึ ษาท่เี ข้ารับการปฐมนเิ ทศเป็ นนกั ศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี (ร้อย
ละ 72.86 ) รองลงมาคือระดับปริญญาโท และต่ากว่าปริญญาตรี (ร้ อยละ 15.99 ,11.15
ตามลาดบั ) ดงั ตารางท่ี 8

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


66

ตารางท่ี 8 แสดงรายละเอียดของนกั ศกึ ษาทีม่ าปฐมนเิ ทศก่อนฝึกปฏบิ ตั ิงาน ณ หนว่ ยงานใน
สงั กดั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ระดบั การศกึ ศกึ ษา คน /ร้อยละ จานวน สถาบนั
60 / 11.15 หลกั สตู ร 1
นกั ศกึ ษาระดบั ต่ากวา่ ปริญญาตรี 392 / 72.86 4
นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี 86 / 15.99 2 1
นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาโท 16
2

งานสนบั สนนุ การผลติ บุคลากรและฝึกภาคปฏิบตั ิ เป็ นบทบาทหนึ่งของงานพฒั นา
บุคลากร ฯ โดยทาหน้าที่ประสานความต้องการของบุคลากรแต่ละประเภทของหน่วยงานภายใน
จงั หวดั และสง่ ไปยงั หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการผลติ บุคลากร เช่น วิทยาลยั ตา่ ง ๆ ในสงั กัด
กระทรวงสาธารณสขุ มหาวิทยาลยั มหิดล

2. งานสนับสนุนการผลิตบุคลากร ในปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้รับ
จดั สรรทนุ โดยแบง่ เป็ น 2 ระดบั การศกึ ษา ดงั นี ้

ก. โครงการผลิตแพทย์โครงการหน่ึงอาเภอหน่ึงทุน ( ONE DISTRIC ONE
DOCTOR : ODOD ) จังหวดั สุพรรณบุรี ได้รับการจัดสรรจากกระทรวงสาธารณสขุ
ทัง้ หมด จานวน 5 ทุน แบ่งสถานที่ศีกษาในโครงการฯ 2 แห่ง คือ คณะ
แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล จานวน 5 ทนุ ขณะนอี ้ ยรู่ ะหวา่ งการดาเนินการ

ข. โครงการผลิตแพทย์เพ่มิ เพ่อื ชาวชนบท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
จานวน 1 ทนุ ขณะนอี ้ ยรู่ ะหวา่ งการดาเนนิ การ

ปัญหา อปุ สรรค : เนื่องจากการกาหนดเงื่อนไขการรับสมัครโครงการนี ้ไม่รับสมัครนกั เรียนที่
ศกึ ษาเขตอาเภอเมือง สง่ ผลให้ในปี การศกึ ษา 2551 (ประกาศผลสอบช่วงเดือน
กุมภาพนั ธ์ 2551) จงั หวดั สพุ รรณบุรีไม่มีนักเรียนท่ีสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ของคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล จึงไม่ได้รับทนุ การศกึ ษาดงั กลา่ ว

แนวทางการแก้ไข จังหวดั สุพรรณบุรี จัดให้มีการติวให้กบั เด็กที่มีคุณสมบัติในการสมัครสอบ
หลกั สตู รลว่ งหน้ากอ่ นมีการสอบคดั เลอื ก จานวน 60 ชวั่ โมง ณ โรงเรียนสงวน
หญิง จงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยได้เงนิ สนบั สนนุ จากศนู ย์แพทย์ ฯ จงั หวดั ราชบรุ ี

ข้อเสนอแนะ
- ควรมีการประชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทางเว็บไซต์ ศนู ย์แพทยศาสตรศึกษาชนั้ คลินิก
โรงพยาบาลราชบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


67

- ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือก (ไม่ควรปิ ดโอกาสทางเลือกของ
นกั เรียนที่มีความสามารถ)

ค. นักเรียนทุนกระทรวงสาธารณสุข ปี งบประมาณ 2551 จังหวดั สพุ รรณบุรี ได้รับ
จดั สรรโควตาเข้าศกึ ษาตอ่ หลกั สตู รตา่ ง ๆ ของกระทรวงสารณสขุ จานวน 6 หลกั สตู ร
37 โควตา ดงั ตารางที่ 9

ตารางท่ี 9 จานวนโควตาท่ไี ด้รับจดั สรรหลกั สตู รตา่ ง ๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ
ปี การศกึ ษา 2551

ท่ี หลกั สูตร กรณี รบั กลาง รวม สถานท่รี บั สมคั ร สถานท่ศี ึกษา
บตุ ร
แหลง่
ทวั่ ไป อสม. อสม.
ฝึก
10 0 2
ระดบั ปริญญาตรี 6 1 18 วพบ.สุพรรณบุรี วพบ.สพุ รรณบรุ ี
1 พยาบาลศาสตร์ 1 วสส.สพุ รรณบรุ ี วสส.ยะลา
2 สาธารณสุขศาสตร์ 1

ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง 1
2
1 จพ.สช. 3 1 4 วสส.สุพรรณบุรี วสส.สุพรรณบุรี
1
2 เทคนคิ เภสชั ฯ 2 2 วสส.สพุ รรณบุรี วสส.สุพรรณบรุ ี

3 ทนั ตาภบิ าล 2 2 วสส.สพุ รรณบุรี วสส.สพุ รรณบุรี

ทนั ตาภบิ าล 1 วสส.สุพรรณบุรี วสส.ชลบุรี
4 เวชระเบยี น
5 พยาธคิ ลนิ ิค 4 6 วทก.กาญจนาภเิ ษก วทก.กาญจนาภเิ ษก
6 เวชกจิ กูช้ พี 3
4 วทก.กาญจนาภเิ ษก วทก.กาญจนาภเิ ษก

1 วสส.ขอแก่น วพบ.อตุ รดติ ถ์

ปัญหาท่พี บ
1. หน่วยงานในสงั กัดมีภาวะขาดแคลนบุคลากรในหลายสาขาวิชาชีพ เช่น พยาบาล
วชิ าชีพ เจ้าพนกั งานสาธารณสขุ ชุมชน ฯลฯ
2. การประชาสมั พันธ์สถานท่ีรับสมัครน้อยเกินไป ทาให้นักเรียนท่ีสมัครเข้ารับการ
คดั เลอื กเกิดวามสบั สนในสถานท่ีรับสมคั ร
3. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับการจัดสรรโควตาน้อยมากเม่ือ
เปรียบเทยี บกบั ความต้องการบคุ ลากรของแตล่ ะหนว่ ยงาน
4. การจัดสรรสถานที่ศึกษาของหลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตร์บณั ฑิต และ ปวส.เวชกิจ
ฉุกเฉินไม่เอือ้ ท่ีนักเรียนท่ีผ่านการพิจารณาจะไปศกึ ษา ทาให้ผ้ปู กครองมาแจ้งสละ
สทิ ธิ์

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี


68

แนวทางการแก้ปัญหา
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ประสานงานวิทยาลยั ท่ีเก่ียวข้องเพื่อขอสง่ บุคลากร

เข้าศกึ ษาในโควตา ON TOP ตอ่ ไป

การสนับสนุนการศกึ ษาดูงาน

ผลการดาเนินงานปี งบประมาณ 2551 งานสนบั สนนุ การศกึ ษาดงู าน ได้ประสานงาน
ในการศกึ ษาดงู านให้แก่หนว่ ยงานตา่ งๆ ทป่ี ระสงค์จะมาดงู านในพนื ้ ทีจ่ งั หวดั สพุ รรณบุรี รวม 11 คณะ
จานวน 1,200 คน สว่ นใหญ่เป็ นการศกึ ษาดงู านเกี่ยวกบั งานสขุ ภาพภาคประชาชน รองลงมาคอื งาน
การแพทย์แผนไทย และงานมาตรฐานบริการสขุ ภาพ ตามลาดบั พนื ้ ทีท่ ่ีรับคณะศกึ ษาดงู านมากที่สดุ
ได้แก่ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเดมิ บางนางบวช คอื 5 คณะ 450 คน รองลงมาได้แก่สานกั งาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี คือ 3 คณะ 300 คน และโรงพยาบาลอู่ทอง 3 คณะ 250 คน
ในสว่ นของผ้ปู ระสงค์จะไปศกึ ษาดงู านนอกเขตจงั หวดั รวม 65 คณะ 4,053 คน หนว่ ยงานท่นี า
คณะศกึ ษาดงู านไปศกึ ษาดงู านนอกเขตจงั หวดั มากที่สดุ ได้แก่ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเดมิ บาง
นางบวช 10 คณะ 560 คน รองลงมาได้แก่ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอดอนเจดีย์ 9 คณะ 512 คน
และสานกั งานสาธารณสขุ อาเภอบางปลาม้า 8 คณะ 650 คน ตามลาดบั (ดงั ตารางท่ี 10)

ตารางท่ี 10 ผลงานการศกึ ษาดงู านปี งบประมาณ 2551 หน่วยนับ ผลงาน
การศกึ ษาดงู าน
คณะ/คน 12/1,225
รับทีมศกึ ษาดงู าน คณะ/คน 11/1,200
- รับคณะศกึ ษาดงู าน (ผ้ศู กึ ษาดงู านชาวไทย ) คณะ/คน 1/25
- รับคณะศกึ ษาดงู าน (ผ้ศู กึ ษาดงู านตา่ งประเทศ )

สง่ ข้าราชการ/อสม.ไปศกึ ษาดงู าน คณะ/คน 65/ 4,053
- ข้าราชการไปศกึ ษาดงู านนอกเขตจงั หวดั คณะ/คน 24/ 653
-อาสาสมคั รสาธารณสขุ ไปศกึ ษาดงู านนอกเขตจงั หวดั คณะ/คน 41/ 3,400

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


69

2. งานสุขภาพภาคประชาชน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการพฒั นาหมู่บ้านจัดการสขุ ภาพจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2551
1.ดาเนนิ การในตาบลต้นแบบใหม่ 8 ตาบล คอื
- ตาบลหนองสะเดา อาเภอสามชุก
- ตาบลหนองสาหร่าย อาเภอดอนเจดีย์
- ตาบลบางพลบั อาเภอสองพ่ีน้อง
- ตาบลมดแดง อาเภอศรีประจนั ต์
- ตาบลไผก่ องดิน อาเภอบางปลาม้า
- ตาบลหนองราชวตั ร อาเภอหนองหญ้าไซ
- ตาบลนิคมกระเสยี ว อาเภอดา่ นช้าง
- ตาบลบางก้งุ อาเภอเมอื ง
2.ดาเนินการในตาบลต้นแบบเก่า 2 ตาบล คอื
- ตาบลสระยายโสม อาเภออทู่ อง
- ตาบลปากนา้ อาเภอเดมิ บางนางบวช
3.ดาเนินการในหม่บู ้านในเขตชนบททงั้ หมด 1,007 หม่บู ้าน ผา่ นเกณฑ์ เชิงปริมาณ 969

หม่บู ้าน ดงั นี ้

อาเภอ เป้ าหมาย ผลการดาเนนิ งาน รอ้ ยละ
ผลงาน
ผลการประเมินหม่บู า้ น 124 100.00
เมอื งสพุ รรณบรุ ี 121 124 94.21
เดมิ บางนางบวช 93 105 100.00
ด่านชา้ ง 127 93 100.00
บางปลามา้ 64 127 90.63
ศรีประจนั ต์ 50 58 100.00
ดอนเจดยี ์ 140 50 100.00
สองพน่ี อ้ ง 68 140 98.53
สามชุก 154 67 97.40
อ่ทู อง 64 150 81.82
หนองหญา้ ไซ 1000 54 96.23
รวมทง้ั จงั หวดั 969

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


70

สรุปผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาและเสริมสร้างแรงจูงใจผ้นู าชุมขน
ในงานสุขภาพภาคประชาชน ปี 2551

กิจกรรมการสนบั สนนุ การคดั เลอื ก อสม.ดเี ดน่ ระดบั ตา่ งๆดงั นี ้
- อสม. ดีเดน่ ระดบั ตาบล 110 ตาบล จานวน 110 คน
- อสม.ดีเดน่ ระดบั อาเภอ 10 อาเภอ จานวน 96 คน
- อสม.ดเี ดน่ ระดบั จงั หวดั จานวน 10 คน
- อสม.ดีเดน่ ระดบั เขต (เขต 6 ) จานวน 1 คน

อสม.ดเี ดน่ ระดบั จงั หวดั ทงั้ 10 คนได้รับโลพ่ ร้อมประกาศเกียรตคิ ณุ ดงั นี ้
1.นายปาน ธรรมจาดี จาก อาเภออู่ทอง สาขาดีเดน่ เฝ้ าระวงั ควบคมุ โรคติดตอ่
2.น.ส.สาเภา เทยี นเพชร จากอาเภอ อูท่ อง สาขาดเี ดน่ สขุ ภาพจิตในชมุ ชน
3.นายอุดม พลายโถ จากอาเภอดอนเจดยี ์ สาขาดีเดน่ แก้ไขปัญหายาเสพตดิ
4.นางบุบผา ศรีสขุ จากอาเภอเดมิ บางนางบวช สาขาดีเดน่ การแพทย์แผนไทยและภมู ิปัญญา

ท้องถ่ิน
5.นางสะท้อน อุทยั ฉาย จากอาเภอบางปลาม้า สาขาดเี ดน่ การควบคมุ ป้ องกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่
6. นายบญุ ชว่ ย ภฆู งั จากอาเภอ ดา่ นช้าง สาขาดเี ดน่ การสง่ เสริมสขุ ภาพ
7. นางสวณีย์ โพธ์ิรัง จากอาเภอเดมิ บางนางบวช สาขาดเี ดน่ การบริการใน ศสมช.
8.นายณรงค์ กลอ่ มดี จากอาเภอดอนเจดยี ์ สาขาดีเดน่ การดาเนนิ เอดส์ในชุมชน
9.นางภทั รชิสา กลุ เถ่ือน จากอาเภอดอนเจดีย์ สาขาดเี ดน่ ค้มุ ครองผ้บู ริโภค
10.นายอดศิ กั ด์ิ สดุ ตาเสง็ จากอาเภอบางปลาม้า สาขาดีเดน่ การจดั การสขุ ภาพ

อสม.ดีเดน่ ระดบั เขต 1 คนได้รับโลพ่ ร้อมประกาศเกียรตคิ ณุ ดงั นี ้
นางบปุ ผา ศรีสขุ จากอาเภอเดมิ บางนางบวช สาขาดเี ดน่ การแพทย์แผนไทยและภมู ิปัญญาท้องถิ่น

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


71

งานประกนั สขุ ภาพ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี


72

งานประกันสุขภาพ

โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

1.ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชน
ความครอบคลมุ การมีหลกั ประกนั สขุ ภาพของประชาชน จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ

2551 คิดเป็ นร้อยละ 99.50 ของประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ซงึ่ ผา่ นเกณฑ์ชีว้ ดั ของสานกั งาน
หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ท่ีกาหนดไว้ ร้อยละ 99.00 เมื่อจาแนกรายละเอียดตามประเภทสทิ ธิ
พบวา่ ประชาชนมีสทิ ธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 6.95 สทิ ธิประกนั สงั คม ร้อยละ 13.43
สทิ ธิบตั รประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 78.58 ไมม่ ีสทิ ธิใดๆร้อยละ 0.50 สทิ ธิอ่ืนๆ 0.54 อาเภอ
ดา่ นช้างมีครอบคลมุ สงู สดุ ร้อยละ 99.77 และอาเภอเดมิ บางนางบวช มีความครอบคลมุ ต่าสดุ
ร้อยละ 99.14 รายละเอียดดงั แสดงในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 แสดงความครอบคลมุ การมีหลกั ประกนั สขุ ภาพ ของประชาชนจงั หวดั สพุ รรณบุรี

จาแนกรายอาเภอ ประจาปี งบประมาณ 2551

อาเภอ ประชากร ข้าราชการ ประกนั สงั คม บตั รประกนั ไมม่ ี อื่นๆ ร้ อยละ

ทะเบียน สขุ ภาพถ้วน หลกั ประกั 99.49
99.14
ราษฎร์ หน้า นใดๆ 99.77
99.32
เมอื ง 170,393 18,438 23,090 126,791 872 1,202 99.33
99.53
เดมิ บางฯ 74,062 5,571 10,221 57,188 639 443 99.73
99.70
ดา่ นช้าง 74,748 2,711 7,758 63,701 169 409 99.47
99.22
บางปลามา 76,675 5,444 12,569 57,718 520 424 99.50

ศรีประจนั ต์ 61,329 5,123 9,360 46,079 409 358

ดอนเจดีย์ 47,699 2,830 5,829 38,614 222 204

สองพน่ี ้อง 135,506 6,510 16,279 111,835 361 521

สามชกุ 52,494 4,127 7,660 40,242 159 306

อทู่ อง 114,649 6,279 14,885 92,365 610 510

หนองหญ้าไซ 38,417 1,794 5,974 30,193 299 157

รวม 845,972 58,827 113,625 664,726 4,260 4,534

ร้อยละ 6.95 13.43 78.58 0.50 0.54

ทมี่ า: งานประกนั สขุ ภาพ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี


73

เมื่อเปรียบเทียบความครอบคลมุ การมีหลกั ประกนั สขุ ภาพของประชาชน จงั หวดั สพุ รรณบุรี
ปี งบประมาณ 2549 - 2551 พบวา่ ปี งบประมาณ 2551 มีอตั ราความครอบคลมุ เพมิ่ ขนึ ้ ทงั้ นีเ้นื่องจาก
สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ตดั จานวนคา่ ว่างซา้ ซากออก(ผ้ทู ี่ไม่มีตวั ตน/ไมด่ าเนินการขนึ ้
ทะเบยี น ภายใน 6 เดือน) ทาให้ประชากรตามทะเบียนราษฎร์ลดลง และได้จัดทาโครงการลดคา่ วา่ งเพิม่
ความครอบคลมุ หลกั ประกันสขุ ภาพจงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยสนบั สนนุ เป็ นค่าตอบแทนการลงทะเบยี นผ้มู ี
สทิ ธิวา่ ง ในอตั รา 20 บาท/คน และจดั เงินรางวลั สาหรับอาเภอท่ีมีความครอบคลมุ สงู สดุ และผา่ น
เกณฑ์ตวั ชีว้ ดั 3 อนั ดบั แรก จานวน 30,000 บาท 20,000 บาท และ 10,000 บาท ตามลาดบั รวมทงั้
ให้ความสาคญั กบั ทกุ อาเภอในการ Key ข้อมลู การสารวจสทิ ธิวา่ งลงในโปรแกรม Province Survey

ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบความครอบคลมุ การมีหลกั ประกนั สขุ ภาพของประชาชน จ.สพุ รรณบรุ ี

ปี งบประมาณ 2549 - 2551

ประชากร บตั รประกนั ไมม่ ีหลกั

ปี งบประมาณ ทะเบยี น ข้าราชการ ประกนั สขุ ภาพถ้วน ประกนั ร้อยละ

ราษฎร์ และอ่ืน ๆ สงั คม หน้า ใดๆ

ปี 2549 849,903 48,953 107,070 670382 23,498 97.24
ร้ อยละ 847,666 5.76 12.60 78.88 2.76 98.84
845,972 9,793 99.50
ปี 2550 65297 110,335 662241 1.15
ร้ อยละ 7.70 13.02 78.13 4260
0.50
ปี 2551 63361 113,625 664,724
ร้ อยละ 7.49 13.43 78.58

2. ความม่ันคงทางการเงนิ ของสถานพยาบาล
สถานบริการทกุ แหง่ ดาเนินการวเิ คราะห์สถานการณ์ด้านการเงนิ และประสทิ ธิภาพการ

บริหารทรัพยากรเป็ นประจาทกุ เดอื นตงั้ แตเ่ ร่ิมเข้าโครงการฯ จนถงึ ปัจจบุ นั สถานการณ์ ณ วนั ท่ี 30
กนั ยายน 2551 จาแนกตามประเภทสถานบริการได้ ดงั นี ้

2.1 รายรับ – รายจ่าย ปี งบประมาณ 2551 (บัญชีกระแสเงนิ สด)
โรงพยาบาลมีรายรับทงั้ หมดจานวน 1,583,849,755.75 บาท และมีรายจ่ายทงั้ หมด

จานวน 1,484,932,435.70 บาท มีสดั สว่ นของรายรับตอ่ รายจา่ ยเทา่ กบั 1.07 โรงพยาบาลทกุ แหง่ มี
รายรับมากกวา่ รายจ่าย รายละเอียดดงั แสดงในตารางที่ 3

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี


74

ตารางที่ 3 เปรียบเทยี บ รายรับ - รายจ่าย ประจาปี งบประมาณ 2551จาแนกรายโรงพยาบาล

สถานบริการ รายรับทัง้ หมด รายจ่ายทัง้ หมด I/E

รพศ.เจ้าพระยายมราช 670,045,560.51 661,107,968.00 1.01

รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 261,943,815.00 242,343,706.00 1.08

รพช.เดมิ บางนางบวช 98,455,017.43 90,397,990.51 1.09

รพช.สามชกุ 52,454,457.39 42,599,491.90 1.23

รพช.ศรีประจนั ต์ 60,630,248.24 53,204,106.68 1.14

รพช.บางปลาม้า 83,514,234.85 67,647,979.22 1.23

รพช.อ่ทู อง 174,908,683.13 173,455,173.61 1.01

รพช.ดอนเจดยี ์ 54,523,976.17 47,824,404.98 1.14

รพช.ดา่ นช้าง 87,001,142.00 70,227,075.00 1.24

รพช.หนองหญ้าไซ 40,372,621.03 36,124,539.80 1.12

รวม 1,583,849,755.75 1,484,932,435.70 1.07

2.2 เงนิ บารุง หนสี้ ิน วสั ดุคงคลัง Quick Ratio และ Current Ratio

โรงพยาบาลมีเงินบารุงรวมทงั้ สิน้ จานวน 724,153,843.80 บาท มีหนีส้ นิ รวม

ทงั้ สิน้ จานวน 229,376,007.73 บาท มีวัสดุคงคลงั รวมทัง้ สิน้ จานวน 96,954,295.68 บาท

อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ งเทา่ กับ 3.16 อตั ราสว่ นทนุ หมุนเวียนเท่ากับ 3.58 รายละเอียดดงั แสดงใน

ตารางที่ 4

ตารางท่ี 4 สถานะเงินบารุง หนสี ้ นิ วสั ดคุ งคลงั อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ ง และอตั ราสว่ นทนุ

หมนุ เวยี นของสถานบริการ ปี งบประมาณ 2551 จาแนกรายโรงพยาบาล

สถานบริการ เงินบารุง หนีส้ นิ วสั ดคุ งคลงั Quick Current

Ratio Ratio

รพศ.เจ้าพระยา 282,136,225.69 137,489,384.07 47,855,152.78 2.05 2.40

รพท.สมเดจ็ ฯ 129,340,742.00 17,624,171.00 8,892,074.00 7.34 7.84

รพช.เดมิ บาง 24,800,115.05 5,932,578.33 2,952,810.38 4.18 4.68

รพช.สามชกุ 44,394,492.49 8,300,719.20 2,589,709.32 5.35 5.66

รพช.ศรีประจนั ต์ 35,949,945.25 11,645,360.33 6,737,268.81 3.09 3.67

รพช.บางปลาม้า 47,105,773.77 5,348,144.28 5,029,192.44 8.81 9.75

รพช.อ่ทู อง 50,854,617.25 11,852,674.90 12,450,318.55 4.29 5.34

รพช.ดอนเจดีย์ 26,150,074.85 5,214,928.61 4,633,588.95 5.01 5.90

รพช.ดา่ นช้าง 73,239,969.00 21,082,902.00 3,617,016.00 3.47 3.65

รพ.หนองหญ้าไซ 10,181,888.45 4,885,145.01 2,197,164.45 2.08 2.53

รวม 724,153,843.80 229,376,007.73 96,954,295.68 3.16 3.58

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี


75

งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพและ
รกั ษาพยาบาล

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


76

 งานอนามัยแม่และเดก็
สขุ ภาพอนามัยแม่ทงั้ ทางร่างกายและจิตใจ มีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพฒั นาการ

ของเด็กตงั้ แตอ่ ยใู่ นครรภ์ ตลอดมาจนถึงระยะภายหลงั ภาวะหรือโรคหลายอยา่ งที่เป็ นแม่ หรือเกิดใน
หญิงตงั้ ครรภ์จะมีผลกระทบเป็ นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย เช่น ปัญหาการขาดสารอาหาร
ครรภ์เป็ นพิษ ภาวการณ์คลอดตดิ ขดั การดสู ขุ ภาพหญิงตงั้ ครรภ์ เป็ นต้น

เป้ าหมายการบริการตามตัวชีว้ ัดหลัก ปี 2551 คือ เด็กอายุ 0-6 ปี มีพัฒนาการสมวัยทัง้
ร่างกายและจิตใจไม่น้อยกว่าร้ อยละ 90 การท่ีจะมุ่งดาเนินกิจกรรมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย
โดยเฉพาะพฒั นาการด้านภาษาและกล้ามเนือ้ มดั เล็ก ซึง่ เป็ นสิง่ จาเป็ นและสาคญั ที่สดุ คือ การเตรียม
ตวั พอ่ แม่ และการดแู ลสขุ ภาพในช่วงตงั้ แตก่ อ่ นตงั้ ครรภ์ ตงั้ ครรภ์ คลอด หลงั คลอด และการเลยี ้ งดจู ึง
มีความสาคญั ตอ่ การวางรากฐานของชีวติ

การบริการอนามัยแม่และเด็ก จึงนับเป็ นบริการสขุ ภาพขัน้ พืน้ ฐานที่สาคัญในการพัฒนา
คณุ ภาพตงั้ แตก่ ารดแู ลครรภ์ตอ่ เน่อื งมาจนถึงดแู ลเด็กปฐมวยั ทงั้ นี ้การพฒั นาระบบบริการงานบริการ
อนามยั แม่และเด็กในสถานบริการสาธารณสขุ ครอบครัวและชุมชน แบบองค์รวม อีกทงั้ พฒั นาองค์
ความรู้และระบบบริการอนามยั แม่และเด็กท่ีมีมาตรฐานและตอ่ เนื่อง จงึ เป็ นสง่ิ จาเป็ น

จงั หวดั สพุ รรณบุรี จึงได้กาหนดให้มีการดาเนินงาน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวขนึ ้ ตาม
นโยบายของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ โดยเน้นการพฒั นาระบบบริการงานอนามยั แม่และเด็ก
ในการให้การดแู ลเด็กทารกตงั้ แตอ่ ยใู่ นครรภ์มารดาในระยะตงั้ ครรภ์ คลอด หลงั คลอด และการเลยี ้ งดู
บตุ รแรกเกิดถึง 6 ปี โดยชุมชนมีสว่ นร่วมการพฒั นาคณุ ภาพบริการ เพ่อื มงุ่ หวงั ให้เด็กเจริญเติบโตและ
มีพฒั นาการสมวยั ตอ่ ไป และสนองตอ่ ปณิธานอันแน่วแน่ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศม์ิ
พระวรชายาในสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ฯสยามมกฎุ ราชกมุ าร

 กลุ่มหญงิ มคี รรภ์และมารดา
การให้บริการอนามยั แม่และเด็ก สว่ นใหญ่ เมื่อเปรียบเทียบกับเป้ าหมายแล้วยงั มีการดาเนิน

ไมไ่ ด้ตามเกณฑ์ สะท้อนให้เห็นถงึ คณุ ภาพการจัดบริการงานอนามัยแม่และเด็ก โดยบริการฝากครรภ์
จากผลการดาเนินงานมีแนวโน้มเพิ่มขนึ ้ แตอ่ ย่างไรก็ตามในปี 2551 การให้บริการก่อนคลอดครบ 4
ครัง้ ตามเกณฑ์ ครอบคลมุ เพียงร้ อยละ 88.79 ซึง่ ยงั ต่ากว่าเป้ าหมาย (ร้ อยละ 90) ในส่วนของการ
สนับสนุนให้หญิงตัง้ ครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครัง้ แรก ก่อน 12 สปั ดาห์ ร้ อยละ 39.92 จาก
เป้ าหมายร้อยละ 80 หญิงมีครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตเุ หลก็ พบ ร้อยละ12.57 (ตารางท่ี 1)
โดยที่ตามเป้ าหมายกาหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 10 ซึ่งในสว่ นนีไ้ ม่เพียงสะท้อนการจัดบริการอนามัยแม่
และเด็กเท่านนั้ แต่เป็ นข้อมูลสาหรับการวางแผนการจัดบริการอนามยั เจริญพนั ธ์ุในวยั รุ่น และการ
เตรียมความพร้อมก่อนสมรส และผลกระทบของการเป็ นมารดาท่ีมีอายุน้อย รวมทงั้ พฤติกรรมการ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี


77

บริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม เช่น รับประทานอาหารปรุงสาเร็จ อาหารท่ีมีคุณคา่ อาหารไม่
ครบถ้วนทางโภชนาการ

การคัดกรองธาลสั ซีเมีย ในหญิงตัง้ ครรภ์รายใหม่ สามารถดาเนินการได้ตามเป้ าหมาย
ครอบคลมุ ร้อยละ 100 ของหญิงตงั้ ครรภ์รายใหม่ที่มารับบริการทงั้ หมด แต่อยา่ งไรก็ตามการรณรงค์
ให้หญิงตงั้ ครรภ์อายคุ รรภ์ไม่เกิน 12 สปั ดาห์มารับบริการฝากครรภ์และตรวจเลือดคดั กรองธาลสั ซีเมีย
ดาเนินการได้เพียงร้อยละ 36.79 ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มลดลง และยงั พบปัญหาอุปสรรคในการ
ติดตามสามีมาเจาะเลอื ด ดาเนินการได้เพียง ร้อยละ 32.32 ของหญิงมีครรภ์ทผ่ี ลเลอื ด OF และ DCIP
เป็ นบวกอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรือสองอยา่ ง ซงึ่ บริการให้คาปรึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพนบั วา่ มีความจาเป็ นใน
การแก้ไขปัญหาดงั กลา่ ว

สาหรับการจัดบริการในส่วนของสถานบริการพบว่าในการเนินการโครงการลกู เกิดรอดแม่
ปลอดภยั แม้โรงพยาบาลทุกแหง่ จะผา่ นการรับรองมาตรฐานแล้ว ก็ยงั พบอุบตั ิการณ์ของทารกตาย
สาเหตุการตายของทารกสว่ นหนงึ่ เกิดจากสาเหตุที่ป้ องกนั ได้ ดงั นนั้ การพฒั นาการดาเนินงานให้ได้
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลลกู เกิดรอด แม่ปลอดภยั จึงมีความจาเป็ น

การดาเนินงานโรงเรียนพอ่ แม่ พบวา่ โรงพยาบาลทกุ แห่ง ร้อยละ 100 มีการดาเนินการตาม
กระบวนการแล้ว ควรทีจ่ ะต้องพฒั นาศกั ยภาพและรักษามาตรฐานการดาเนนิ งานตอ่ ไป

ในกลมุ่ มารดา คอื การสง่ เสริมการเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน โรงพยาบาลทกุ แหง่
มีการจดั ตงั้ คลนิ ิกนมแม่ ครอบคลมุ ทุกแห่ง โดยในคลนิ ิกลกู กินนมแม่ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ
100 แตอ่ ตั ราการเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งเดียว 6 เดือน คิดเป็ นร้อยละ 34.3 จากการสารวจของงาน
สง่ เสริมสขุ ภาพฯ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี (เป้ าหมาย ร้อยละ 10) ซึง่ กลมุ่ งานแม่และ
เด็กสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรีได้รณรงค์ให้มารดาเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่ โดยการมอบชุด
ป้ อนนมเด็กให้แมท่ ีเ่ ลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งเดยี วสาหรับเก็บกักนา้ นมไว้เมื่อมารดาต้องออกไปทางาน
นอกบ้าน และจากข้อมลู จะเห็นได้วา่ ได้ผลงานตามเป้ าหมายการดาเนินงาน แต่ก็ควรคานึงถึงการ
พฒั นาคุณภาพของการให้บริการ สถานบริการของรัฐทุกแห่ง ควรเร่งรัดการจัดให้มีกิจกรรมการ
สง่ เสริมการเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งเดียว รวมทงั้ การให้ความรู้และการประชาสมั พนั ธ์ถึงความสาคญั
และประโยชน์ของการเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งตอ่ เนื่อง และสถานบริการของเอกชนก็ควรจะมีการ
ดาเนินการเช่นกนั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี


78

ตารางท่ี 1 ผลการดาเนนิ งานอนามยั แมแ่ ละเดก็ ตามตวั ชีว้ ดั รองในกลมุ่ หญิงมคี รรภ์และมารดา

ตัวชีว้ ดั (KPI) เป้ าหมาย ผลงานการดาเนินงาน

2548 2549 2550 2551

กล่มุ หญิงตงั้ ครรภ์ 39.92

1.หญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สปั ดาห์ ร้อยละ 50 ร้อยละ ร้อยละ 37.37 88.78

15.99 36.69 12.57

2. หญิงมีครรภ์ได้รับบริการดแู ลกอ่ นคลอด ร้อยละ 90 ร้อยละ ร้อยละ 87.43 100.0
32.32
ครบตามเกณฑ์ 74.71 75.46
20.39
(ผ้มู าคลอด)
0.80
3. หญิงมีครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการ ไมเ่ กินร้อยละ 10 ร้อยละ ร้อยละ 12.19 23.23: การ
เกิดมีชีพ
ขาดธาตเุ หลก็ 14.50 13.06 แสนคน
ผ่าน 100
4. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคดั
%
กรองธาลสั ซีเมีย 100

- หญิงตงั ้ ครรภ์ทงั ้ หมด ร้อยละ 80 ร้อยละ ร้อยละ 100.0 100.0

-อายคุ รรภ์ไมเ่ กิน 16 สปั ดาห์ (ปี 2550 ให้ 97.09 94.21 43.37 100.0
100.0
รายงานทอ่ี ายคุ รรภ์ไมเ่ กิน 12 สปั ดาห)์ ร้อยละ ร้อยละ สารวจ
34.3
57.32 68.07

5. หญิงมีครรภ์อายตุ า่ กวา่ 20 ปี คลอดบตุ ร ไมเ่ กินร้อยละ 10 ร้อยละ ร้อยละ 20.10

20.97 21.30

6. หญิงมีครรภ์ตดิ เชือ้ เอช ไอ วี ไมเ่ กินร้อยละ 1 ร้อยละ 1.0 ร้อยละ 0.8 0.90

7. อตั ราสว่ นมารดาตาย ไมเ่ กิน 18 :การ 11.46: การ 12.08:การ 0

เกิดมีชีพแสนคน เกิดมีชีพ เกิดมีชีพแสน

แสนคน คน

8. รพศ./รพท./ร.พ.ส่งเสริมสขุ ภาพมีการ ร้อยละ 100 5 แหง่ /50 10 แหง่ / 87.5

ดาเนินงานตามกระบวนการโรงเรียนพอ่ แม่ % 100% (7 แหง่ )

9. โรงพยาบาลทกุ แหง่ ผา่ นเกณฑ์การ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 100

ประเมินลกู เกิดรอดแม่ปลอดภยั ร้อยละ 50

กล่มุ แม่

1. รพ.มีคลินิกเพอ่ื ลกู กินนมแม่ 6 เดอื น ร้อยละ 100.0 100.0 100.0 100.0

ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

- รพศ./รพท. ร้อยละ 50 NA 50.0 100.0

- รพช. ร้อยละ 40 12.5 50.0

2. แมเ่ ลีย้ งลกู ด้วยนมอยา่ งเดียวอยา่ งน้อย ร้อยละ 10 ร้อยละ ร้อยละ 41.00

6 เดอื น 37.67 54.02

ทีม่ า: งานสง่ เสริมสขุ ภาพและรักษาพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


79

หญงิ มคี รรภฝ์ ากครรภก์ อ่ น 12 สปั ดาห์

45

40 39.92

36.69 37.37

35

30

ร ้อยละ 25

ฝากครรภก์ ่อน 12 สัปดาห์

20
15 15.99

10

5

0 2549 2550 2551
2548

ปี งบประมาณ

รูปที่ 1 ผลการดาเนนิ งานหญิงมีครรภ์ฝากครรภ์กอ่ น 12 สปั ดาห์

หญงิ มคี รรภไ์ ดร้ ับบรกิ ารดแู ลกอ่ นคลอดครบตามเกณฑ์

87.43 88.78

90 74.71 74.46 2548
2549
85 2550
2551
80
รอ้ ยละ

75

70

65

2548 2549 2550 2551

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 2 ผลการดาเนนิ งานหญิงมีครรภ์ได้รับบริการดแู ลกอ่ นคลอดครบตามเกณฑ์

หญงิ มคี รรภ์มภี าวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

15 14.5
14.5

14

ร ้อยละ 13.5 13.06 หญงิ มคี รรภม์ ภี าวะ
12.19 โลหติ จางจากการขาด
13 12.57 ธาตเุ หล็ก
2551
12.5

12

11.5

11 2549 2550
2548

ปี งบประมาณ

รูปที่ 3 ผลการดาเนินงานหญิงมีครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตเุ หลก็

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี


80

หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ บั การตรวจคดั กรองธาลสั ซเี มยี

120 100 100 หญงิ มคี รรภไ์ ดร้ ับการ
100 97.09 ตรวจคัดกรองธาลัสซเี มยี
94.21 หญงิ มคี รรภท์ ัง้ หมด

80 68.07 หญงิ มคี รรภไ์ ดร้ ับการ
57.32 ตรวจคัดกรองธาลัสซเี มยี
ร้อยละ อายคุ รรภไ์ ม่เกนิ 16
60 สัปดาห์
40 43.37
หญงิ มคี รรภไ์ ดร้ ับการ
36.79 ตรวจคัดกรองธาลัสซเี มยี
อายคุ รรภไ์ ม่เกนิ 12
20 สัปดาห์

0 2549 2550 2551
2548

ปี พ.ศ.

รูปท่ี 4 ผลการดาเนินงานหญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคดั กรองธาลสั ซีเมีย

หญงิ มคี รรภอ์ ายุตา่ กวา่ 20 ปี คลอดบตุ ร

21.4 21.3
21.2
20.97
21
ร ้อยละ 20.8 20.39 หญงิ มคี รรภอ์ ายุตา่
20.6 20.1 กวา่ 20 ปี คลอด
20.4
20.2

20
19.8
19.6
19.4

2548 2549 2550 2551

ปี งบประมาณ

รูปที่ 5 ผลการดาเนนิ งานหญิงมีครรภ์อายตุ ่ากวา่ 20 ปี คลอดบตุ ร

อตั าราสว่ นมารดาตาย

25

23.23

20

ร้อยละ 15 อัตาราสว่ นมารดา
ตายตอ่ แสนการ
11.46 12.08 เกดิ มชี พี

10

5

0 2548 2549 0 2551 2552
2547
2550

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 6 อตั ราสว่ นมารดาตาย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


81

โรงเรยี นพอ่ แม่

100 100 100 2548
90 87.5 2549
80 2550
70 50 2551
60
2548
รอ้ ยละ 50
40
30
20
10
0

2549 2550 2551

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 7 ผลการดาเนินงานโรงเรียนพอ่ แม่

โรงพยาบาลลกู เกดิ รอดแมป่ ลอดภยั

100 100 100 100

100

90

80

70

รอ้ ยละ 60 2548
50 2549
2550
40 2551

30

20

10

0

2548 2549 2550 2551

ปี งบประมาณ

รูปที่ 8 ผลการดาเนินงานโรงพยาบาลทกุ แหง่ ผ่านเกณฑ์การประเมินลกู เกิดรอดแม่ปลอดภยั

แมเ่ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งเดยี ว 6 เดอื น

60 54.02 2548
50 2549
40 37.67 41 2550
รอ้ ยละ 30 2551สารวจ
20 2548 34.3
10

0

2549 2550 2551สารวจ

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 9 อตั ราแม่เลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งเดยี วอยา่ งน้อย 6 เดอื น

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


82

ข้อเสนอแนะ
1.ทกุ อาเภอ ควรจดั ให้มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาแนวทางการดาเนินงานพฒั นางานอนามัย

แม่และเดก็ โดยคณะกรรมการงานอนามัยแม่และเด็กระดบั อาเภอ (MCH. Board) อยา่ งต่อเนื่อง ทุก
1-2 เดือน

2. ควรจัดให้มีการให้ความรู้เรื่องเพศและอนามยั เจริญพนั ธ์ุที่ถกู ต้องในกลมุ่ วยั รุ่น เพ่ือสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ การเตรียมความพร้อมก่อนจะเป็ นพอ่ แม่ตอ่ ไป และการให้คาปรึกษา ปรึกษาถงึ การ
วางแผนครอบครัวในมารดาทมี่ ีบุตรตงั้ แตอ่ ายนุ ้อย โดยเฉพาะในอาเภอท่ีมีปัญหามารดาวยั รุ่นในอตั รา
สงู เกินกวา่ เป้ าหมายกาหนด

3. การสง่ เสริมพฒั นาการเด็ก ควรจัดให้มีกิจกรรมท่ีหลากหลายและมีการดาเนินการในทุก
ระดบั ควรจดั ให้มีการรณรงค์สร้างกระแส จัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมพฒั นาการเด็กอยา่ งตอ่ เน่ือง

4. สถานบริการทกุ แหง่ ควรมีการพฒั นาการคณุ ภาพบริการให้เป็ นไปตามมาตรฐานและมีการ
พฒั นาการตามแนวทางโรงพยาบาลสายใยรักแหง่ ครอบครัวอยา่ งตอ่ เนื่อง

 กลุ่มทารก
จากผลกระทบสว่ นหนงึ่ ของการพฒั นาคณุ ภาพการให้บริการในกลมุ่ หญิงตงั้ ครรภ์ สาเหตจุ าก

มารดาอายนุ ้อยตงั้ ครรภ์ และภาวะโภชนาการในแม่ โดยเฉพาะภาวะโลหิตจางทีพ่ บวา่ เพิ่มสงู ขนึ ้ หญิง
ตงั้ ครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครัง้ แรก ก่อน 12 สปั ดาห์ มีจานวนน้อย นา่ จะเป็ นสาเหตุสาคญั ท่ีสง่ ผล
กระทบต่อสขุ ภาพทารก ซึ่งจะเห็นได้ว่าอตั ราทารกนา้ หนกั น้อยกวา่ 2,500 กรัม เกินกว่าเป้ าหมายที่
กาหนด แต่ก็มีแนวโน้มลดลง แต่อัตราอุบตั ิการณ์ขาดออกซิเจนเม่ือแรกคลอดเทา่ กบั 22.46 เพ่ิมขึน้
เลก็ น้อย แตส่ าหรับอตั ราตายทารกมีแนวโน้มลดลง

ตารางท่ี 2 ผลการดาเนนิ งานอนามยั แมแ่ ละเด็กตามตวั ชีว้ ดั รองในกลมุ่ ทารก

ตัวชวี้ ดั (KPI) เป้ าหมาย ผลงานการดาเนินงาน
กลุ่มทารกแรกเกดิ 2548 2549 2550 2551

1. ทารกแรกเกดิ นา้ หนกั ไมเ่ กนิ ร้อยละ 7 ร้อยละ 9.35 ร้อยละ 8.89 8.73 8

น้อยกวา่ 2,500 กรัม

2. ภาวะขาดออกซเิ จนใน ไมเ่ กนิ 30:1000 29.23:1,000 21.51:1,000 20.18:1,000 22.46:1,000

ทารกแรกเกดิ การเกดิ มีชีพ

3. อตั ราตายปริกาเนิด ไมเ่ กิน 9:1000การ 8.10: 1,000 5.12:1,000 6.01 5.78

เกิดทงั้ หมด

4. อตั ราตายทารก ไมเ่ กนิ 15:1,000 7.31 7.56 7.66 6.36

การเกดิ มชี ีพ

ท่ีมา: งานสง่ เสริมสขุ ภาพและรักษาพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี


83

ร ้อยละ ทารกแรกเกดิ นา้ หนกั นอ้ ยกว่า 2,500 กรมั

9.5
9.35

9
8.89
8.73

8.5
ทารกน้าหนักนอ้ ยกวา่
2,500 กรัม

88

7.5

7 2549 2550 2551
2548

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 10 อตั ราทารกแรกเกิดนา้ หนกั กวา่ 2,500 กรัม

ภาวะขาดออกซเิ จนในทารกแรกเกดิ

35

30 29.23

25

21.51 22.46

ร ้อยละ 20 20.18 ภาวะขาด
ออกซเิ จน:1,000
การเกดิ มชี พี
15

10

5

0
ปี งบประมาณ

รูปท่ี 11 อตั ราภาวะขาดออกซเิ จนในทารกแรกเกิด

อตั ราตายปรกิ าเนดิ

9
8 8.1

7

6 6.01 5.78

ร้อยละ 5 5.12 อัตราตายปรกิ าเนดิ
ไมเ่ กนิ 9:1,000
4 การเกดิ ทงั้ หมด

3

2

1

0 2549 2550 2551
2548

ปี งบประมาณ

รูปที่ 12 อตั ราตายปริกาเนดิ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


84

อตั ราตายทารก

9

8 7.31 7.56 7.66
7

6.36
6

ร้อยละ 5 อัตราตายทารก
ไม่เกนิ 15:1,000
4 การเกดิ มชี พี

3

2

1

0 2549 2550 2551
2548

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 13 อตั ราตายทารก

ตารางที่ 3 ผลการดาเนินงานอนามยั แมแ่ ละเดก็ ตามตวั ชีว้ ดั รองในกลมุ่ เด็กปฐมวยั

ตวั ชวี้ ดั (KPI) เป้ าหมาย ผลงานการดาเนินงาน

2548 2549 2550 2551

กลุ่มเดก็ ปฐมวัย 95.65

1. เดก็ แรกเกดิ -6 ปีมีนา้ หนกั ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ร้อยละ 96.08 83.7
(อนามยั 49)
ตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 93 96.39 93.84
จากการ
2. เดก็ แรกเกิด-6 ปีมพี ฒั นาการ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ร้อยละ 98.38 (รง.) สารวจ

สมวยั ร้อยละ 80 99.5 96.37 48.6 ร้อยละ 100

(รง.) (รง.) (อนามยั 49)

ร้อยละ ร้อยละ 52.0 (Modified

80.4 89.8 denverII)

(สารวจ) (Healthy) ( 1,140 ราย)

3. รพศ./รพท.ร.พ.สง่ เสริมมี ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ร้อยละ 100

คลนิ กิ สง่ เสริมโภชนาการ

พฒั นาการเดก็ และทนั ตสขุ ภาพ

ทม่ี า: งานส่งเสริมสขุ ภาพและรักษาพยาบาล สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

เด็กปฐมวยั เป็ นวยั ท่ีสาคญั ที่สดุ ของชีวิต โดยเฉพาะในช่วงตงั้ แตแ่ รกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี เป็ น
ช่วงวัยแห่งการเจริญเติบโต มีการพัฒนาในทุก ๆ ด้านของชีวิต อีกทัง้ เป็ นจุดเร่ิมต้นของการ
วางรากฐานคุณภาพชีวิต จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปัญญา การอบรมเลยี ้ งดูและการสง่ เสริม
พฒั นาการของเด็กในวยั นี ้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม การดแู ลเด็กด้านสขุ ภาพปัจจยั หนง่ึ ที่ควรทาคือการ
ตรวจประเมินพฒั นาการ ในปี 2550 เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการสมวยั คิดเป็ นร้อยละ คดิ เป็ นร้อยละ 98.4

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


Click to View FlipBook Version