The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 04:48:21

รายงานประจำปี2551

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

181

 งานเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา

ในปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนินงานระบบงานการ
เฝ้ าระวงั โรค (รายงานโรค 506_507) โดยรวบรวมบตั รรายงานโรคจากเครือขา่ ยระดบั จงั หวดั ได้แก่ สถานี
อนามยั 174 แหง่ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ 10 แหง่ โรงพยาบาลของรัฐ 10 แหง่ และโรงพยาบาล
เอกชน 3 แหง่ รวม 197 แหง่ ตงั้ แตป่ ลายเดอื นพฤศจิกายน 2550 ได้อบรมการใช้โปรแกรม R 506
ของสานกั ระบาด-วทิ ยามาบริหารจดั การ ประมวลผล และรับ-สง่ ข้อมลู ในหลายช่องทาง :คือโปรแกรม
ws_ftp pro และ เวบเมล งานระบาดวิทยาชื่อ epibase ; และ งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ช่ือ dcdc :
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี (http://www.spo.moph.go.th) มาเรียบเรียง วิเคราะห์ และแปลผล
สถานการณ์โรคติดตอ่ ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี เพื่อเป็ นข้อมลู ในการป้ องกนั ควบคมุ โรค เป็ นข้อมลู
สนบั สนนุ ในการตดั สนิ ใจและติดตามประเมินผลของผ้บู ริหาร เพือ่ เผยแพร่ภายในเครือขา่ ยฯ โดยมีจานวน
บตั รทงั้ ปี จาแนกตามอาเภอตา่ ง ๆ ดงั นี ้

โรคอจุ จาระร่วง
นบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 9 ธันวาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รับรายงาน

ผ้ปู ่ วยโรค Diarrhoea จานวนทงั้ สนิ ้ 14,818 ราย คดิ เป็ นอตั ราป่ วย 1,758.64 ตอ่ ประชากรแสนคน มี
รายงานผ้เู สยี ชีวิต1 ราย อตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 0.12 อตั ราผ้ปู ่ วยตายเทา่ กบั ร้อยละ 0.01

พบผ้ปู ่ วยเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย โดยพบเพศหญิง 8,499 ราย เพศชาย 6,318 ราย
อตั ราสว่ นเพศหญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.35 : 1

กลมุ่ อายทุ พ่ี บสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 0 - 4 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 7421.51 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 5-9 ปี , 65 ปี ขนึ ้ ไป, 10-14 ปี , 55-64ปี , 45-54 ปี ,15-24 ปี , 35-44ปี , 25-34ปี
อตั ราป่ วยเทา่ กบั 2,509.59 ,2,344.58, 1,640.27,1,594.12, 1,145.82, 903.46 และ 883.78 ราย
ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ุ โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดอื น มกราคม 1598 ราย กมุ ภาพนั ธ์
1686 ราย มีนาคม 1503 ราย เมษายน 1048 ราย พฤษภาคม 1215 ราย มิถนุ ายน 1496 ราย
กรกฏาคม 1394 ราย สงิ หาคม 1049 ราย กนั ยายน 1176 ราย ตลุ าคม 1278 ราย พฤศจิกายน 1212
ราย ธนั วาคม 163 ราย

โรคอาหารเป็ นพษิ
นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบรุ ี ได้รับรายงาน

ผ้ปู ่ วยโรค Food Poisoning จานวนทงั้ สนิ ้ 649 ราย คดิ เป็ นอตั ราป่ วย 77.02 ตอ่ ประชากรแสนคน ไม่
มีรายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวติ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


182

พบผ้ปู ่ วยเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย โดยพบเพศหญิง 401 ราย เพศชาย 248 ราย อตั ราสว่ น
เพศหญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.62 : 1 กลมุ่ อายทุ ีพ่ บสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 0-4 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากร
แสนคนเทา่ กบั 166.61 ราย รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 5-9 ปี , 10 -14 ปี , 65 ปี ขนึ ้ ไป, 55 - 64 ปี , 45 -54
ปี ,15-24 ปี , 35-44 ปี , 25-34 ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 106.67, 101.07, 94.08, 78.38, 70.76, 55.07 และ
49.66 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน มกราคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดอื น มกราคม 95 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 88
ราย มีนาคม 76 ราย เมษายน 47 ราย พฤษภาคม 45 ราย มิถนุ ายน 57 ราย กรกฏาคม 60 ราย
สงิ หาคม 35 ราย กนั ยายน 50 ราย ตลุ าคม 36 ราย พฤศจิกายน 50 ราย ธนั วาคม 10 ราย

โรคตบั อักเสบ
นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบรุ ี ได้รับรายงาน

ผ้ปู ่ วยโรค ตบั อกั เสบรวม(10-13,69-70) จานวนทงั้ สนิ ้ 176 ราย คดิ เป็ นอตั ราป่ วย 20.89 ตอ่
ประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวิต

พบผ้ปู ่ วยเพศชายมากกวา่ เพศหญิง โดยพบเพศชาย 117 ราย เพศหญิง 59 ราย อตั ราสว่ น
เพศชาย ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 1.98 : 1

กลมุ่ อายทุ ีพ่ บสงู สดุ คือกลมุ่ อายุ 55 - 64 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 43.39 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 45 - 54 ปี , 65 ปี ขนึ ้ ไป, 35 - 44 ปี , 25 - 34 ปี , 15 - 24 ปี ,5 - 9 ปี , 0 - 4 ปี ,
10 - 14 ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 40.07,28.47,25.1,13.67,12.54, 2.16 และ 1.66 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน มกราคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 33 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 8
ราย มีนาคม 13 ราย เมษายน 12 ราย พฤษภาคม 5 ราย มิถนุ ายน 15 ราย กรกฏาคม 19 ราย
สงิ หาคม 17 ราย กนั ยายน 15 ราย ตลุ าคม 14 ราย พฤศจิกายน 20 ราย ธันวาคม 5 ราย

โรคไข้สุกใส
นบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2551 ถึงวนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รับรายงาน

ผ้ปู ่ วยโรค Chickenpox จานวนทงั้ สนิ ้ 615 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 72.99 ตอ่ ประชากรแสนคน ไมม่ ี
รายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวติ

พบผ้ปู ่ วยเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย โดยพบเพศหญิง 336 ราย เพศชาย 279 ราย อตั ราสว่ น
เพศหญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.20 : 1

กลมุ่ อายทุ ี่พบสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 5-9 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 215.21 ราย
รองลงมาคือ กลมุ่ อายุ 10-14 ปี , 0-4 ปี , 15-24 ปี , 25-34 ปี , 35-44 ปี ,65 ปี ขนึ ้ ไป, 45-54 ปี , 55- 64
ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 207.1, 199.06, 95.61, 56.86, 22.31, 14.49 และ 9.8 ราย ตามลาดบั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


183

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดอื น มีนาคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 62 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 96
ราย มีนาคม 141 ราย เมษายน 69 ราย พฤษภาคม 37 ราย มิถนุ ายน 42 ราย กรกฏาคม 40 ราย
สงิ หาคม 32 ราย กนั ยายน 25 ราย ตลุ าคม 26 ราย พฤศจิกายน 38 ราย ธันวาคม 7 ราย

โรคหดั รวม (Measles)
นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวนั ที่ 9 ธันวาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รบั รายงาน

ผ้ปู ่ วยโรค หดั รวม(21,22) จานวนทงั้ สนิ ้ 51 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 6.05 ตอ่ ประชากรแสนคน ไม่มี
รายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวติ

พบผ้ปู ่ วยเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย โดยพบเพศหญิง26 ราย เพศชาย 25 ราย อตั ราสว่ นเพศ
หญิงตอ่ เพศชาย เทา่ กบั 1.04 : 1

กลมุ่ อายทุ ี่พบสงู สดุ คือกลมุ่ อายุ 0 - 4 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 25.96 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 10 - 14 ปี , 25 - 34 ปี , 45 - 54 ปี ,65 ปี ขนึ ้ ไป, 55 - 64
ปี , 35 - 44 ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 20.59,12.54,9.94,1.44,.85, 0 และ 0 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน กรกฎาคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 0 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 0
ราย มีนาคม 1 ราย เมษายน 1 ราย พฤษภาคม 1 ราย มิถนุ ายน 6 ราย กรกฏาคม 10 ราย สงิ หาคม
9 ราย กนั ยายน 9 ราย ตลุ าคม 9 ราย พฤศจิกายน 5 ราย ธันวาคม 0 ราย

โรคปอดบวม

นบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 9 ธนั วาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รับรายงานผ้ปู ่ วย
โรค Pneumonia จานวนทงั้ สนิ ้ 1327 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 157.49 ตอ่ ประชากรแสนคน มีรายงาน
ผ้เู สยี ชีวติ 5 ราย อตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน เทา่ กบั 0.59 อตั ราผ้ปู ่ วยตายเทา่ กบั ร้อยละ 0.38

พบผ้ปู ่ วยเพศชายมากกวา่ เพศหญิง โดยพบเพศชาย728 ราย เพศหญิง 599 ราย อตั ราสว่ นเพศ
ชาย ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 1.22 : 1

กลมุ่ อายทุ ่พี บสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 0 - 4 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 960.69 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 65 ปี ขนึ ้ ไป, 5-9 ปี , 55-64 ปี , 4 -54 ปี , 10-14 ปี ,35-44 ปี , 25-34 ปี , 15-24 ปี
อตั ราป่ วยเทา่ กบั 477.83,168.43,121.76,60.53,57.99, 28.79 และ 13.32 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน กนั ยายน โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 147 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 162
ราย มีนาคม 138 ราย เมษายน 74 ราย พฤษภาคม 50 ราย มิถนุ ายน 81 ราย กรกฏาคม 90 ราย
สงิ หาคม 131 ราย กนั ยายน 188 ราย ตลุ าคม 129 ราย พฤศจิกายน 123 ราย ธันวาคม 14 ราย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี


184

โรควณั โรค

นบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2551 ถงึ วนั ที่ 9 ธนั วาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รับรายงาน
ผ้ปู ่ วยโรค วณั โรครวม(32,33,34) จานวนทงั้ สนิ ้ 445 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 52.81 ตอ่ ประชากรแสน
คน มีรายงานผ้เู สยี ชีวิต 1 ราย อตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน เทา่ กบั 0.12 อตั ราผ้ปู ่ วยตายเทา่ กบั
ร้อยละ 0.22

พบผ้ปู ่ วยเพศชายมากกวา่ เพศหญิง โดยพบเพศชาย301 ราย เพศหญิง 144 ราย อตั ราสว่ น
เพศชาย ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 2.09 : 1

กลมุ่ อายทุ พี่ บสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 65 ปี ขนึ ้ ไป อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 101.51
ราย รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 55 - 64 ปี , 35 - 44 ปี , 10 - 14 ปี , 45 - 54 ปี , 5 - 9 ปี ,25 - 34 ปี , 0 - 4 ปี
, 15 - 24 ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 81.18,56.47,51.36,50.3,43.04, 30.29 และ 28.21 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน มกราคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 68 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 54
ราย มีนาคม 50 ราย เมษายน 44 ราย พฤษภาคม 57 ราย มิถนุ ายน 49 ราย กรกฏาคม 41 ราย
สงิ หาคม 23 ราย กนั ยายน 24 ราย ตลุ าคม 20 ราย พฤศจิกายน 13 ราย ธันวาคม 2 ราย

โรคมือเท้าปาก

นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2551 ถงึ วนั ที่ 9 ธันวาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบุรี ได้รับรายงานผ้ปู ่ วย
โรค Hand foot and mouth disease จานวนทงั้ สนิ ้ 73 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 8.66 ตอ่ ประชากรแสน
คน ไม่มีรายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวิต

พบผ้ปู ่ วยเพศชายมากกวา่ เพศหญิง โดยพบเพศชาย39 ราย เพศหญิง 34 ราย อตั ราสว่ นเพศชาย
ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 1.15 : 1

กลมุ่ อายทุ พ่ี บสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 0 - 4 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 134.15 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 10 - 14 ปี , 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 45 - 54 ปี , 25 - 34 ปี ,35 - 44 ปี , 65 ปี ขนึ ้
ไป, 55 - 64 ปี อตั ราป่ วยเทา่ กบั 3.31,1.87,1.57,.85,.72, 0 และ 0 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน มกราคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 17 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 11
ราย มีนาคม 3 ราย เมษายน 1 ราย พฤษภาคม 2 ราย มิถนุ ายน 5 ราย กรกฏาคม 5 ราย สงิ หาคม 5
ราย กนั ยายน 0 ราย ตลุ าคม 8 ราย พฤศจิกายน 10 ราย ธนั วาคม 6 ราย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


185

สรุปรายงานโรคท่เี ฝ้ าระวงั ทางระบาดวทิ ยา ของจงั หวัดสุพรรณบุรี

ตารางที่ 1 จานวนป่ วย อตั ราป่ วย อตั ราตาย อตั ราปวยตายดว้ ยโรคที่ เฝ้ าระวงั ทางระบาดวทิ ยา
จ.สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2551

โรค จานวนป่ วย อตั รา จานวน อตั ราตาย/ อตั ราป่ วย ประชากร
(ราย) ป่ วย/แสน ตาย แสน ตาย
842584
Diarrhoea 14884 1766.47 1 0.12 0.01 842584
842584
Pyrexia 2511 298.01 0 0.00 0.00 842584
Pneumonia 1355 160.81 5 0.59 0.37 842584
D.H.F,Total 942 111.80 0 0.00 0.00 842584
D.H.F. 683 81.06 0 0.00 0.00 842584
Food Poisoning 646 76.67 0 0.00 0.00 842584
Chickenpox 612 72.63 0 0.00 0.00 842584
H.conjunctivitis 492 58.39 0 0.00 0.00 842584
Tuberculosis,total 444 52.70 1 0.12 0.23 842584
Pulmonary T.B. 259 30.74 0 0.00 0.00 842584
Dengue fever 233 27.65 0 0.00 0.00 842584
Influenza 192 22.79 0 0.00 0.00 842584
842584
T.B. other organs 180 21.36 0 0.00 0.00 842584
842584
Hepatitis,Total 169 20.06 0 0.00 0.00 842584
Snake bite 162 19.23 0 0.00 0.00 842584
Suicide 154 18.28 1 0.12 0.65 842584
Dysentery ,Total 137 16.26 0 0.00 0.00 842584
842584
Hepatitis uns. 118 14.00 0 0.00 0.00 842584
Uns.dysentery 105 12.46 0 0.00 0.00 842584
842584
S.T.D.,total 101 11.99 0 0.00 0.00 842584
Herpes zoster 85 10.09 0 0.00 0.00 842584
Hand,foot and mouth disease 72 8.55 0 0.00 0.00 842584
Measles,Total 51 6.05 0 0.00 0.00 842584
842584
Hepatitis B 43 5.10 0 0.00 0.00 842584
Gonorrhoea 41 4.87 0 0.00 0.00 842584
Measles 41 4.87 0 0.00 0.00 842584
Dysentery,Bacillary 30 3.56 0 0.00 0.00 842584
D.H.F.shock syndrome 26 3.09 0 0.00 0.00 842584
Enteric fever,Total 26 3.09 0 0.00 0.00 842584
Malaria 23 2.73 0 0.00 0.00 842584
Mumps 20 2.37 0 0.00 0.00 842584
โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์อนื่ ๆ 20 2.37 0 0.00 0.00 842584
Paratyphoid 15 1.78 0 0.00 0.00 842584
Drug poisoning 14 1.66 0 0.00 0.00 842584

N.S.U./V 14 1.66 0 0.00 0.00 842584
หดู อวยั วะเพศและทวารหนกั 11 1.31 0 0.00 0.00 842584
842584
Measles c Complication 10 1.19 0 0.00 0.00 842584
yphoid 10 1.19 0 0.00 0.00 842584
AEFI 9 1.07 0 0.00 0.00 842584
Hepatitis A 8 0.95 0 0.00 0.00 842584
Syphilis 8 0.95 0 0.00 0.00 842584
842584
Mushroom poisoning 7 0.83 0 0.00 0.00 842584
Occupational diseases 6 0.71 0 0.00 0.00 842584
Pesticide poisoning 6 0.71 0 0.00 0.00 842584
842584
เรมิ ทอี่ วยั วะเพศ 6 0.71 0 0.00 0.00 842584
842584
T.B.meningitis 5 0.59 1 0.12 20.00 842584
Melioidosis 4 0.47 0 0.00 0.00 842584
Rubella 3 0.36 0 0.00 0.00 842584
Leptospirosis 3 0.36 0 0.00 0.00
Dysentery,Amoebic 2 0.24 0 0.00 0.00
Enteric fever(uns) 1 0.12 0 0.00 0.00
Tetanus inc.Neo.(25,53) 1 0.12 0 0.00 0.00
Tetanus exc.Neo. 1 0.12 0 0.00 0.00
Encephalitis uns. 1 0.12 0 0.00 0.00
L.G.V.&other&unsp.V.D. 1 0.12 0 0.00 0.00
Scrub Typhus 1 0.12 0 0.00 0.00

Meningitis,uns. 1 0.12 0 0.00 0.00
Acute Flaccid Paralysis 1 0.12 0 0.00 0.00
Encephalitis,total 1 0.12 0 0.00 0.00

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


186

 งานควบคุมโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวนั ท่ี 8 ธันวาคม 2551 สสจ.สพุ รรณบรุ ี ได้รับรายงานผ้ปู ่ วย
โรค ไข้เลอื ดออกรวม(26,27,66) จานวนทงั้ สนิ ้ 936 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วย 111.09 ตอ่ ประชากรแสน
คน ไม่มีรายงานผ้ปู ่ วยเสยี ชีวิต

พบผ้ปู ่ วยเพศชายมากกวา่ เพศหญิง โดยพบเพศชาย496 ราย เพศหญิง 440 ราย อตั ราสว่ นเพศ
ชาย ตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 1.13 : 1

กลมุ่ อายทุ ่ีพบสงู สดุ คอื กลมุ่ อายุ 10 - 14 ปี อตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนเทา่ กบั 427.46 ราย
รองลงมาคอื กลมุ่ อายุ 5 - 9 ปี , 15 - 24 ปี , 0 - 4 ปี , 25 - 34 ปี , 35 - 44 ปี ,55 - 64 ปี , 45 - 54 ปี ,
65 ปี ขนึ ้ ไป อตั ราป่ วยเทา่ กบั 291.94,250.77,97.37,63.33,25.79, 11.08 และ 9.9 ราย ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน สงิ หาคม โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 108 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 100
ราย มีนาคม 56 ราย เมษายน 74 ราย พฤษภาคม 81 ราย มิถนุ ายน 94 ราย กรกฏาคม 82 ราย
สงิ หาคม 128 ราย กนั ยายน 102 ราย ตลุ าคม 104 ราย พฤศจิกายน 7 ราย ธันวาคม 0 ราย

อาชีพท่ีมจี านวนผ้ปู ่ วยสงู สดุ คอื นปค. จานวนผ้ปู ่ วยเทา่ กบั 351 ราย รองลงมาคอื อาชีพนกั เรียน
, อาชีพรับจ้าง, อาชีพเกษตร, อาชีพค้าขาย, อาชีพงานบ้าน, อาชีพราชการ, อาชีพนกั บวช,
อาชีพอ่ืนๆ, อาชีพครู, อาชีพบุคคลากรสาธารณสขุ , อาชีพอาชีพพิเศษ, อาชีพเลยี ้ งสตั ว์, อาชีพ
ประมง, อาชีพทหาร/ตารวจ, จานวนผ้ปู ่ วยเทา่ กบั 348,163,29,20,12,6,4,2,1,0,0,0,0,0, ราย
ตามลาดบั

พบผ้ปู ่ วยสงู สดุ ในเดือน สงิ หาคมจานวนผ้ปู ่ วย เทา่ กบั 128 ราย จานวนผ้ปู ่ วยเดือนนี(้ ธันวาคม )
น้อยกวา่ เดอื นทแ่ี ล้ว (พฤศจิกายน) จานวนผ้ปู ่ วยเดือนนี ้( ธนั วาคม ) เทา่ กบั 0 ราย สว่ นเดือนท่ีแล้ว
(พฤศจิกายน ) เทา่ กบั 7 ราย โดยมีรายงานผ้ปู ่ วยเดือน มกราคม 108 ราย กมุ ภาพนั ธ์ 100 ราย
มีนาคม 56 ราย เมษายน 74 ราย พฤษภาคม 81 ราย มิถนุ ายน 94 ราย กรกฏาคม 82 ราย สงิ หาคม
128 ราย กนั ยายน 102 ราย ตลุ าคม 104 ราย พฤศจิกายน 7 ราย ธันวาคม 0 ราย

พบผ้ปู ่ วยในเขตเทศบาลเทา่ กบั 100 ราย ในเขตองค์การบริหารตาบลเทา่ กบั 836 ราย และไม่
ทราบเขต เทา่ กบั 0 ราย พบผ้ปู ่ วยในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลมากกวา่ ในเขตเทศบาล โดยจานวน
ผ้ปู ่ วยในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบล เทา่ กบั ร้อยละ 89.32 สว่ นผ้ปู ่ วยในเขตเทศบาล เทา่ กบั ร้อยละ
10.68

ผ้ปู ่ วยเข้ารับการรักษาท่ี โรงพยาบาลศูนย์เทา่ กบั 449 ราย โรงพยาบาลทว่ั ไป เทา่ กบั 262 ราย
โรงพยาบาลชุมชน เทา่ กบั 219 ราย สถานีอนามยั เทา่ กบั 5 ราย คลนิ กิ โรงพยาบาลเอกชน เทา่ กับ 1 ราย

อาเภอทม่ี ีอตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนสงู สดุ คืออาเภอ เมือง อตั ราป่ วยเทา่ กบั 176.28 ตอ่
ประชากรแสนคน รองลงมาคือ อาเภอ สองพ่นี ้อง, อาเภอ ศรีประจนั ต์, อาเภอ อ่ทู อง, อาเภอ ดอน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี


187

เจดยี ์, อาเภอ บางปลาม้า, อาเภอ หนองหญ้าไซ, อาเภอ ดา่ นช้าง, อาเภอ เดิมบางนางบวช, อาเภอ
สามชุก, อตั ราป่ วยเทา่ กบั 176.22 , 149.19 , 107.24 , 70.2 , 68.3 , 52.14 , 47.17 , 42.1 , 41.64
ตอ่ ประชากรแสนราย ตามลาดบั

ตารางที่ 2 จานวนและอตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนด้วยโรคไข้เลอื ดออก จาแนกรายอาเภอ

จ.สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2551

อาเภอ/จงั หวดั เป้ าหมายลดลง20% - จานวนป่ วยตาม จานวนป่ วยทงั้ ปี อตั ราป่ วย/ตอ่ แสน

ของคา่ มธั ยฐาน ปี 46-50 เกณฑ์(ไมเ่ กิน ) (ราย)

(อตั ราป่ วย/ตอ่ แสน)

เมืองฯ 95.66 159 293 176.28

เดิมบางฯ 25.80 19 31 42.10

ดา่ นช้าง 28.30 18 30 47.17

บางปลาม้า 57.12 46 55 68.30

ศรีประจนั ต์ 44.44 28 94 149.19

ดอนเจดยี ์ 21.94 10 32 70.20

สองพน่ี ้อง 71.91 91 225 177.80

สามชกุ 50.69 28 23 41.64

อ่ทู อง 57.36 69 129 107.24

หนองหญ้ าไซ 41.71 20 25 52.14

รวมระดบั จงั หวดั 52.0 440 937 111.21

หมายเหตุ เกณฑ์ชีว้ ดั ระดบั จงั หวดั : ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ20 ของคา่ มธั ยฐานจงั หวดั ย้อนหลงั 5 ปี (ปี พ.ศ. 2546-2550)
เกณฑ์ชีว้ ดั ระดบั ประเทศ : อตั ราป่ วยไข้เลือดออก

โรคไข้เลือดออกยงั เป็ นปัญหาสาธารณสขุ ของจงั หวดั สพุ รรณบุรีและมีการระบาดตอ่ เน่ือง
ถงึ แม้วา่ จะมีกิจกรรมการเฝ้ าระวงั ป้ องกันควบคุมโรคอย่างสม่าเสมอ แต่ก็ยงั ไม่สามารถลดอัตราป่ วยได้
ตามเป้ าหมาย จากรายงานการเฝ้ าระวงั ทางระบาดวิทยา 5 ปี ที่ผ่านมา ปี พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550
อตั ราป่ วยด้วยโรคไข้เลอื ดออก 73.15, 59.86, 48.83, 68.68 และ 88.08 ต่อประชากรแสนคน แนวโน้ม
การเกิดโรคพบว่าในปี พ.ศ. 2550 มีรายงานการเกิดโรคสงู กวา่ ทุกปี โดยเฉพาะในช่วงเดือนตลุ าคม –
เดือนธันวาคม ซ่ึงเป็ นช่วงฤดูหนาวแต่สภาพอากาศในปี นีค้ ่อนข้างร้ อนและมีฝนตกทาให้เอือ้ ต่อการ
เจริญเตบิ โตของยงุ ซง่ึ เป็ นพาหะนาโรค ทาให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลอื ดออกทกุ ฤดกู าลตลอดทงั้ ปี

แผนงาน/โครงการ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
รายงานประจาปี 2551


188

จากสภาพปัญหาจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีมีการระบาดของโรคไข้เลอื ดออกทกุ ฤดกู าลและตลอดทงั้ ปี
อนั เนือ่ งมาจากสภาพอากาศร้อนชืน้ ท่เี หมาะแกก่ ารเจริญเติบโตของยงุ ซงึ่ เป็ นพาหะนาโรคและกลมุ่ อายทุ ่ี
พบผ้ปู ่ วยมากทส่ี ดุ คอื 15 – 24 ปี และ 5 -9 ปี ซง่ึ เป็ นนกั เรียนระดบั มธั ยมและประถมศกึ ษา การลด
อตั ราป่ วยและตายด้วยโรคไข้เลอื ดออก จาเป็ นต้องมีกิจกรรมท่คี รอบคลมุ ในทกุ ด้าน ได้แก่ การป้ องกนั
โรคลว่ งหน้าโดยการรณรงค์ทาลายแหลง่ เพาะพนั ธ์ุยงุ ลายอยา่ งตอ่ เน่อื งสม่าเสมอ ซง่ึ ต้องได้รับความ
ร่วมมือจาก ชมุ ชน ประชาชนทกุ หลงั คาเรือน โรงเรียนทกุ แหง่ การเฝ้ าระวงั โรคโดยการสารวจค่าดชั นี
ลกู นา้ ยงุ ลาย คา่ HI และ คา่ CI ในพนื ้ ที่โดยอาสาสมคั รสาธารณสขุ และเจ้าหน้าทอี่ ยา่ งสม่าเสมอ การ
สอบสวนควบคมุ โรคโดยทมี SRRT ที่มีประสทิ ธิภาพ และความร่วมมือจากหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องได้แก่
หนว่ ยงานทางการศกึ ษาและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นสนบั สนนุ การดาเนินงาน สารเคมีและ
งบประมาณอยา่ งพอเพยี งในการป้ องกนั และควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก

การป้ องกนั การเสยี ชีวิตด้วยโรคไข้เลอื ดออก ประชาชนต้องได้รับความรู้ในการท่จี ะดแู ลตนเอง
และทราบอาการสาคญั ที่จะต้องมาพบแพทย์โดยเร็ว เจ้าหน้าท่ีสถานีอนามยั มีความรู้ในการวนิ ิจฉยั การ
ดแู ลผ้ปู ่ วยและการสง่ ตอ่ ทที่ นั เวลา แพทย์ พยาบาล สามารถวินจิ ฉยั รักษาและดแู ลผ้ปู ่ วยอยา่ งถกู ต้อง

ดงั นนั้ เพอื่ ให้การดาเนินงานบรรลเุ ป้ าหมายตามตวั ชีว้ ดั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ สานกั งาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จึงได้จดั ทาโครงการป้ องกนั และควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก ปี งบประมาณ
2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยมีกิจกรรมท่เี น้นการมีสว่ นร่วมของประชาชน ความร่วมมือของหนว่ ยงานท่ี
เกี่ยวข้อง การถา่ ยทอดความรู้สปู่ ระชาชน โดยใช้ชอ่ งทางตา่ งๆ การประชาสมั พนั ธ์ผา่ นสอ่ื สงิ่ พิมพ์ ทาง
สถานวี ทิ ยขุ องรัฐและวิทยชุ ุมชน การให้ความรู้ในโรงเรียน การให้ความรู้และการฝึกปฎบิ ตั ิแกอ่ าสมคั ร
สาธารณสขุ และเจ้าหน้าท่เี ทศบาล/อบต. และการพฒั นาศกั ยภาพทมี SRRT การพฒั นาศกั ยภาพ
บคุ ลากรสาธารณสขุ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ ดงั นี ้

แผนงาน/ กิจกรรมหลกั กลมุ่ เป้ าหมาย เวลาดาเนนิ การ งบประมาณและ
โครงการ แหลง่ งบประมาณ
โครงการป้ องกนั 1.จดั กจิ กรรมในสปั ดาห์ - นกั เรียนและ -26-30 พ.ย. 2550 -งบ UC และจาก
และควบคมุ โรค รณรงค์บ้านชมุ ชนปลอด ประชาชนทกุ กลมุ่ 25-29 ก.พ.2551 เทศบาล/อบต.
ไข้เลือดออก ลกู นา้ ยงุ ลาย 4 ครัง้ อายุ 26-30 พ.ค. 2551
ปี งบประมาณ 2.จดั ประกวดโรงเรียน 25-29 ส.ค. 2551 -งบ UC
2551 ดีเดน่ ในการป้ องกนั และ - โรงเรียนประถมและ - เดือน พ.ค. - ส.ค.
ควบคมุ โรคไข้เลือดออก มธั ยมทกุ แหง่ 2551
แผนงาน/ ระดบั อาเภอ
3.จดั ประชมุ เชิง -เจ้าหน้าที่ สอ.,อสม. -วนั ที่ 26,27 พ.ย. 2551 งบประมาณยทุ ธศาสตร์
ปฏบิ ตั กิ ารการพน่ เคมี 24-26 เม.ย. 51 ผลผลิตที่4 จานวน
จานวน 2 รุ่น เจ้าหน้าที่ อบต. 10 4-13 มิ.ย. 51 20,400 บาท

กิจกรรมหลกั อาเภอ จานวน 500 คน เวลาดาเนนิ การ งบประมาณและ

กลมุ่ เป้ าหมาย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี


189

โครงการ 4.จดั ประชมุ เชงิ - อสม. ตาบลท่ีมี - เดอื น พ.ย. – พ.ค. แหลง่ งบประมาณ
โครงการป้ องกนั ปฏิบตั กิ ารการเฝ้ าระวงั ผ้ปู ่ วยไข้เลอื ดออกสงู 2551 -งบประมาณ
และควบคมุ โรค ป้ องกนั และควบคมุ โรค จานวน 550 คน ยทุ ธศาสตร์ผลผลติ ท่ี
ไข้เลือดออก ไข้เลอื ดออก วนั ท่ี 19 ม.ค. 2551 4 จานวน 60,500
ปี งบประมาณ จานวน 10 รุ่น แพทย์และพยาบาล บาท
2551 5. จดั ประชมุ เรื่องการ จานวน100 คน -เดอื นกมุ ภาพนั ธ์
วนิ จิ ฉยั การรักษาและ 2551 งบประมาณจาก
การดแู ลผ้ปู ่ วยโรค -นกั เรียนและ สานกั งาน
ไข้เลอื ดออก ประชาชนในพนื ้ ที่ท่ีมี สาธารณสขุ จงั หวดั
6. จดั ทาสือ่ เพอ่ื สนบั สนนุ การระบาด
ในพนื ้ ท่ีระบาด -งบประมาณ
ยทุ ธศาสตร์ผลผลติ ที่
1. จดั อบรมเจ้าหน้าท่ี - เจ้าหน้าที่ - วนั ที่18 - 19 ก.พ. 4 จานวน 35,300
เร่ืองการดาเนินงานเฝ้ า บาท
ระวงั ป้ องกนั โรค ผ้รู ับผดิ ชอบงาน 2551 และ วนั ท่ี -งบประมาณ
การสอบสวนควบคมุ โรค ยทุ ธศาสตร์ผลผลติ ที่
การวนิ ิจฉยั และการดแู ล ระดบั อาเภอและ 25 – 26 ก.พ. 2551 4 จานวน 44,200
การสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วยโรค บาท
ไข้เลือดออก สถานีอนามยั จานวน
2. จดั ประชมุ เชงิ -งบประมาณ
ปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ยเพอ่ื 194 คน ยทุ ธศาสตร์ผลผลติ ที่
ถ่ายทอดความร้ ูเร่ื องการ 9 จานวน 12,060
ป้ องกนั โรคตดิ ตอ่ สู่ - ผ้สู ่อื ขา่ ว - เดือน ก.ย. 2551 บาท
ประชาชน หนงั สือพมิ พ์ ผ้จู ดั
รายการวทิ ยชุ มุ ชน
จานวน 67 คน

ผลการดาเนินงาน

ผลการดาเนินงานควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกในปี พ.ศ. 2551 มีผ้ปู ่ วยจานวน 927 ราย อตั ราป่ วย
110.02 ตอ่ ประชากรแสนคน สงู กวา่ เป็ นสองเทา่ ของตวั ชีว้ ดั ทกี่ าหนด 51.0 ตอ่ ประชากรแสนคน และเมื่อ
เปรียบเทยี บในระดบั เขต 4 อตั ราป่ วยอยลู่ าดบั สดุ ท้าย (อตั ราป่ วยของเขต 203.16) และอยลู่ าดบั ท่ี 40
ของประเทศ (อตั ราป่ วยของประเทศ 120.66) อาเภอทมี่ ีอตั ราป่ วยสงู 3 อนั ดบั แรกได้แก่ อาเภอเมือง
อาเภอสองพ่นี ้อง อาเภอศรีประจนั ต์ อตั ราป่ วย 176.22,176.22และ 149.19 ตามลาดบั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


190

ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบอตั ราป่ วยโรคไข้เลอื ดออกตอ่ ประชากรแสนคน จ.สพุ รรณบุรี

ระหวา่ งปี พ.ศ. 2550-2551

หน่วยงาน/อาเภอ ผลงานปี พ.ศ. 2550 ผลงานปี พ.ศ. 2551

(อัตราต่อแสนประชากร) (อัตราต่อแสนประชากร)

อาเภอเมือง 147.44 176.28

อาเภอเดมิ บางนางบวช 28.40 42.1

อาเภอดา่ นช้าง 41.02 47.17

อาเภอบางปลาม้า 123.49 68.3

อาเภอศรีประจนั ต์ 83.54 149.19

อาเภอดอนเจดีย์ 21.87 63.62

อาเภอสองพ่นี ้อง 125.0 176.22

อาเภอสามชกุ 54.03 39.83

อาเภออ่ทู อง 63.08 103.09

อาเภอหนองหญ้าไซ 56.08 52.14

ระดบั จงั หวดั 88.08 110.02

ระดบั เขต/ลาดบั ที่ของเขต 117.81/ลาดบั ที่ 4 203.16/ลาดบั ท่ี 4

ระดบั ประเทศ/ลาดบั ที่ของประเทศ 100.27/ลาดบั ที่ 45 120.66/ลาดบั ท่ี 40

หมายเหตุ อตั ราป่ วยโรคไข้เลอื ดออกลดลงร้อยละ 20 ของคา่ มธั ยฐานย้อนหลงั 5 ปี ตามปี ปฏิทิน
 เกณฑ์ ปี พ.ศ. 2550 เท่ากบั 55.5 ตอ่ ประชากรแสนคน
 เกณฑ์ ปี พ.ศ. 2551 เท่ากบั 51.0 ตอ่ ประชากรแสนคน

การป้ องกนั โรค
1. การฝึกอบรมอาสมคั รสาธารณสขุ เรื่องความรู้โรคไข้เลอื ดออกและฝึกปฏิบตั ิในการสารวจ
คา่ ดชั นีลกู นา้ ยงุ ลายคา่ HI และ คา่ CI อยา่ งถกู เทคนิค การใสท่ รายให้ถกู อตั ราสว่ น การ
ทาลายแหลง่ เพาะพนั ธ์ุยงุ อยา่ งถกู วิธีและครอบคลมุ และการถ่ายทอดความรู้ การปฏิบตั ิ
ในการป้ องกนั โรคแกป่ ระชาชนหลงั คาเรือนทรี่ ับผดิ ชอบ ในตาบลท่ีเกิดโรคสงู 10 ตาบล
2. การถา่ ยทอดความรู้สปู่ ระชาชน ฝึกอบรม อสม.หม่บู ้านละ 3 คน จานวน 3,212 คน
และเครือขา่ ยวิทยชุ ุมชน จานวน 67 คน
3. การดาเนินงานป้ องกนั โรคไข้เลอื ดออกในโรงเรียน มีการบูรณาการกบั โครงการโรงเรียน
สง่ เสริมสขุ ภาพให้ความรู้กบั ครูอนามยั และการทาโครงการประกวดโรงเรียนดีเด่นและ
โครงการมือปราบน้อยตามรอยลกู นา้ ในระดบั อาเภอ
4. การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนได้ประสานงานสขุ ภาพภาคประชาชนในการให้ความรู้และขอรับ
การสนบั สนนุ การดาเนินงาน วสั ดุ อุปกรณ์ในการป้ องกนั และควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกจาก
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


191

5. การรณรงค์สปั ดาห์บ้านชมุ ชนปลอดลกู นา้ ยงุ ลาย ปี ละ 4 ครัง้ โดยมีกิจกรรมทาลาย
แหลง่ เพาะพนั ธ์ุยงุ ลายในชมุ ชนและโรงเรียน และการสารวจคา่ ดชั นลี กู นา้ ยงุ ลาย คา่ HI
และ คา่ CI
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ียงั ให้ความสาคญั ในกิจกรรมนี ้เพราะเป็ นกิจกรรมท่ีจาเป็ นในการเฝ้ า
ระวงั โรคในพนื ้ ที่ รอบที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2550
รอบท่ี 2 เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2551
รอบที่ 3 เดอื นพฤษภาคม 2551
รอบที่ 4 เดือนสงิ หาคม 2551
ผลการสารวจคา่ ดชั นีลกู นา้ ยงุ ลายหม่บู ้าน/ชมุ ชน จานวน 1,025 หม่บู ้าน มีคา่ HI<

10 คดิ เป็ นร้อยละ 91.41,90.18,92.49 และ 90.4 ตามลาดบั
ผลการสารวจคา่ ดชั นีลกู นา้ ยงุ ลายโรงเรียน จานวน 475 โรงเรียน มีคา่ CI = 0 คิดเป็ น

ร้อยละ 97.05,98.28,96.56 และ 95.7 ตามลาดบั
ผลการสารวจคา่ ดชั นลี กู นา้ ยงุ ลายในเขตเทศบาล 16 ชุมชน มีคา่ HI< 10 16 ชมุ ชน

คดิ เป็ นร้อยละ 100 ทงั้ 4 รอบ
ผลการสารวจคา่ ดชั นีลกู นา้ ยงุ ลายในรพศ./รพท./รพช.10 แหง่ มีคา่ CI = 0 จานวน 10

แหง่ คิดเป็ นร้อยละ 100 ทงั้ 4 รอบ

การควบคุมโรค
1.พตั นาศกั ยภาพ ทีม SRRT ระดบั จงั หวดั และระดบั อาเภอ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตวั ชีว้ ดั ของงานควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก ได้แก่ ความทนั เวลาของการได้รับแจ้งผ้ปู ่ วยโรค
ไข้เลอื ดออก ความครบถ้วนของการสอบสวนผ้ปู ่ วยรายแรก ความพร้อมของทมี SRRT
ระดบั อาเภอ ความทนั เวลาและความครอบคลมุ ในการควบคมุ แหลง่ แพร่โรค
2.ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ อสม.และเจ้าหน้าทเ่ี ทศบาลและอบต.ในการพน่ เคมี
การดแู ลเคร่ืองพน่ การผสมนา้ ยาให้ได้อตั ราสว่ นทถี่ กู ต้อง การพน่ เคมีอยา่ งถกู เทคนคิ
ถกู เวลา เพอ่ื ให้การพน่ เคมีได้ผลและมีประสทิ ธิภาพ ตามคมู่ ือของกรมควบคมุ โรค
ดาเนนิ การใน 10 อาเภอ จานวน 500 คน

การรักษา
1.อบรมเจ้าหน้าท่ีสถานอี นามยั ในเรื่องการวนิ ิจฉยั การดแู ลผ้ปู ่ วยท่สี ถานีอนามยั และ

การสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วย และการให้ความรู้กบั ประชาชน หากมีไข้สงู เกิน 2 วนั ให้มาพบเจ้าหน้าที่หรือไป
โรงพยาบาล และให้ สอ./รพ.ทา Tourniquet test ทกุ ราย ในทกุ กลมุ่ อายุ

2.จดั ประชุมเร่ืองการวินจิ ฉยั การรักษา การสง่ ตอ่ และการพยาบาลดแู ลผ้ปู ่ วยโร
ไข้เลอื ดออกแก่แพทย์และพยาบาลจานวน 100 คน

3. มีศนู ย์ปรึกษาโรคไข้เลอื ดออกทีโ่ รงพยาบาลเจ้าพระยายมราช

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


192

ปัญหาอปุ สรรคท่ีทาให้การดาเนินงานไม่ได้ตามเป้ าหมาย
การป้ องกันโรค

1.ในบางพืน้ ท่พี บวา่ มีคา่ HI สงู เนอื่ งจากขาดความร่วมมือจากประชาชน สภาพท่อี ยู่
อาศยั มืดทบึ มีเศษขยะรอบบ้าน

2.อาชีพของประชาชนเออื ้ ตอ่ การเกิดโรค เชน่ รับซอื ้ ของเก่า ฟอกถงุ พลาสติก
3.จากสภาพอากาศที่เปลย่ี นแปลง ทาให้ประเทศไทยมีอากาศร้อนและฝนตกเกือบ
ตลอดปี เอือ้ ตอ่ การเจริญเติบโตของยงุ ลายซงึ่ เป็ นพาหะนาโรค และปี นมี ้ ีการระบาดของโรคสงู ทวั่ ประเทศ

การควบคุมโรคเม่อื มกี ารระบาด
1.ความพร้อมของทมี SRRT ในระดบั อาเภอ มีปัญหาเน่ืองจากเจ้าหน้าทอี่ ยใู่ นหลาย

หนว่ ยงาน สสอ./รพ./เทศบาล และมีงานทร่ี ับผดิ ชอบหลายงาน ทาให้บางครัง้ มีความลา่ ช้าในการ
ควบคมุ โรค

2.ความพร้อมของวสั ดุ อปุ กรณ์ ในการควบคมุ โรค เครื่องพน่ เคมี นา้ มนั บางแหง่ ต้อง
รอให้ อบต. ดาเนินการ

3. ความครอบคลมุ ของการควบคมุ โรค บางพืน้ ทด่ี าเนินการไมถ่ กู ต้องตามหลกั วิชาการ
เชน่ เทคนคิ การพน่ เคมี อตั ราสว่ นในการใสท่ รายและสภาพพนื ้ ท่ียากตอ่ การควบคมุ โรค เช่น นา้ ทว่ ม

แนวทางการดาเนินงานในปี งบประมาณ 2552
1. ดาเนนิ การในโรงเรียนประถม ซง่ึ เป็ นกลมุ่ เป้ าหมายทีม่ ีอตั ราป่ วยสงู กลมุ่ อายุ

10- 14 ปี
2. พฒั นาศกั ยภาพและเพมิ่ เครือขา่ ยทมี SRRT ในระดบั อาเภอและระดบั ตาบล
3. บูรณาการกบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องในการสร้างการมีสว่ นร่วมของชมุ ชน

 งานควบคุมโรคไข้หวัดนก

ผลการดาเนินงานตามตวั ชีว้ ดั : ผ้ปู ่ วยเฝ้ าระวงั ติดเชือ้ ไข้หวดั นกได้รับการสอบสวนโรคและรายงานโรค
โดย SRRT ตามเกณฑ์ (ร้อยละ100) พบว่า ปี งบประมาณ 2551 ไม่มีผู้ป่ วย โดยมีการดาเนินงาน
ดังนี ้

การดาเนินงานป้ องกันและควบคมุ โรคไข้หวดั นก จงั หวัดสุพรรณบุรี

ก.การเฝ้ าระวงั โรคในสัตว์ปี ก
ตามท่ี ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม – 15 ธนั วาคม 2551 ไมม่ ีการป่ วยตายอยา่ งผิดปกติของสตั ว์ปี ก

จาพวกเป็ ด ไก่ และนกกระทาในพนื ้ ท่จี งั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ข. การเฝ้ าระวังโรคในคน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


193

ก. กลมุ่ ผ้ปู ่ วยโรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจที่เฝ้ าระวงั ทงั้ หมด 241 ราย เป็ นผ้ปู ่ วยนอก 10 ราย
ผ้ปู ่ วยใน 231 ราย ผ้ปู ่ วยทงั้ หมดนมี ้ ีประวตั สิ มั ผสั สตั ว์ปี ก 3 ราย
ค. ผลทางห้องปฎิบตั ิการ

ผลการตรวจ RT-PCR จากกรมวิทย์ฯ จาแนกได้ดงั นี ้
◊ เป็ น Flu B 38 ราย (15.8 %) FLU A 29 (ราย 12.0 %)
◊ negative 174 ราย (71.2 %)

100.0 97.46

80.0

60.0

40.0 30.16 26.32
20.0 12.67
8.15 18.63
4.72 5.53 5.82 6.26

0.0

เ ิดมบางนาเง ืมบอวงช
่ดาน ้ชาง

บางปลา ้มา
ศ ีรประจัน ์ต
ดอนเจ ีด ์ย
สอง ีพ่น้อง

สามชุก
หนองห ู่อ ้ญทาอไงซ

รูปท่ี 1 อตั ราป่ วยโรคปอดบวม และไข้หวดั ใหญ่ จาแนกรายอาเภอ ทีด่ าเนนิ การเฝ้ าระวงั เชิงรุก
โรคไข้หวดั นก จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2551

อตั รา/แสน

248.6
250.0

200.0

150.0 106.7 87.8
3.9 5.8 5.6 6.8 4.2 6.2
100.0
50.0 31.2 5-9ปี 10-14ปี 15-24ปี 25-34ปี 35-44ปี 45-54ปี 55-64ปี 65+ ปี

0.0

<1 ปี 1-4 ปี

รูปท่ี 2 อตั ราป่ วยโรคปอดบวม และไข้หวดั ใหญ่ จาแนกกลมุ่ อายุ ท่ีดาเนนิ การเฝ้ าระวงั เชิงรุก
โรคไข้หวดั นก จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


194

แนวทางการดาเนินงานเฝ้ าระวัง ควบคมุ และป้ องกนั โรคไข้หวดั นก

การคัดกรองเพ่อื เตรียมพร้อมในการดูแลผู้ป่ วยไข้หวดั นกและไข้หวัดใหญ่ จงั หวดั
สุพรรณบรุ ี

การคดั กรองเพ่ือเตรียมพร้อมในการดแู ลผ้ปู ่ วยไข้หวดั นกและไข้หวดั ใหญ่ จังหวดั สพุ รรณบุรี นี ้มี
วตั ถปุ ระสงค์เพือ่ พฒั นาบคุ ลากรสาธารณสขุ ให้มีความพร้อมในการคดั กรอง เฝ้ าระวงั และรักษาพยาบาล
สามารถนาไปปฏิบตั ิ ถ่ายทอด และเป็ นที่ปรึกษาแก่บคุ ลากรอ่ืน ๆ ได้ ตลอดจนให้สถานบริการสาธารณสขุ
โดยเฉพาะโรงพยาบาลทุกระดับมีแนวทางในการคดั กรองเพื่อเตรียมพร้อมในการดูแลผู้ป่ วยไข้หวดั ใหญ่และ
ไข้หวดั นกให้มีมาตรฐานและเป็ นไปในทิศทางเดียวกนั โดยทาการศกึ ษาเฉพาะพืน้ ท่ีจงั หวดั สพุ รรณบุรี ใน
กลมุ่ ประชากรที่ป่ วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ ทงั้ กลมุ่ ท่ี 1 และกลมุ่ ท่ี 2 ผลการดาเนินงาน พบว่า
จงั หวดั สพุ รรณบุรีซึ่งเป็ นจังหวดั ที่มีความเสย่ี งต่อการเกิดโรคไข้หวดั นก เพราะเป็ นจงั หวดั ท่ีมีประชากร
ประกอบอาชีพเลีย้ ง สัตว์ปี ก ประเภท ไก่ เป็ ด นกกระทา ในหลายพืน้ ท่ี โดยเฉพาะอาเภอสองพ่ีน้อง
อาเภอบางปลาม้า อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี จึงจาเป็ นต้องมีการเฝ้ าระวงั ควบคมุ และป้ องกนั โรคไข้หวดั นก
อยา่ งตอ่ เนื่อง เริ่มมาตงั้ แตม่ ีการการระบาดในรอบแรก (มกราคม – พฤษภาคม 2547) เป็ นต้นมา โดยใน
ปี พ.ศ. 2551 ท่ผี า่ นมา จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้สง่ ซากสตั ว์ปี กทป่ี ่ วยตายผิดปกติจากหลายพืน้ ท่ีไปสง่ ตรวจ
ทางห้องปฏิบตั ิการ ยงั ไม่มีรายงานการตรวจพบเชือ้ โรคไข้หวดั นกในสตั ว์

เม่ือพิจารณาถึงจานวนผ้ปู ่ วย กลมุ่ ผ้ปู ่ วยโรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจที่เฝ้ าระวงั ทงั้ หมด 241 ราย
เป็ นผ้ปู ่ วยนอก 10 ราย ผ้ปู ่ วยใน 231 ราย ผ้ปู ่ วยทงั้ หมดนมี ้ ีประวตั ิสมั ผสั สตั ว์ปี ก 3 ราย ทงั้ นี ้สานกั งาน
สาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ได้ให้การสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานแก่ทีม SRRT และ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้การดาเนินการ เฝ้ าระวงั ควบคุม ป้ องกันโรคไข้หวดั นก เป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และสามารถปฏิบตั ิงานในท้องที่ทนั ทีที่พบผู้ป่ วยสงสยั โรคไข้หวดั นก หรือมีสตั ว์ปี กป่ วย
ตายผิดปกตใิ นพนื ้ ท่ี

สาหรับแนวทางการดาเนินงานเฝ้ าระวงั ควบคมุ และป้ องกันโรคไข้หวดั นก จาเป็ นต้องนาการ
ดาเนินงานแก้ ไขปั ญหาในลักษณะเชิงรุ กและการบริ หารจัดการแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องเข้ามาช่วย เพื่อให้สามารถจัดการแก้ปัญหาได้อย่างคลอ่ งตวั ไม่ซา้ ซ้อน และมีประสิทธิภาพสงู
โดยมีการเตรียมพร้อมไว้อยา่ งเหมาะสม และการพฒั นาระบบ กลไก ศกั ยภาพ และทรัพยากรด้านต่าง ๆ
ไว้อยา่ งตอ่ เน่อื ง ซง่ึ การพฒั นาระบบ กลไกและศกั ยภาพของจงั หวดั สพุ รรณบุรี แบ่งออกเป็ น 3 สว่ น คือ
1) การพฒั นาระบบและศกั ยภาพการเฝ้ าระวงั ควบคุมและป้ องกันโรคโดยภาครัฐ 2) การพฒั นาศกั ยภาพ
การรักษาพยาบาลผ้ปู ่ วยการควบคมุ การติดเชือ้ ในโรงพยาบาล และ 3) การพฒั นาความร่วมมือกับภาค
ประชาชนและภาคธุรกิจ เพื่อให้ประชาชน เกษตรกร และผ้ปู ระกอบการท่ีเกี่ยวข้องมีความเข้าใจปัญหา
การระบาดของโรคอยา่ งถกู ต้อง เกิดความตระหนกั ในการป้ องกันตนเองและหลกี เล่ยี งความเสี่ยงในการติด
โรค ภายใต้กลยทุ ธ์สาคญั ทจี่ งั หวดั ใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินงาน ได้แก่ 1) เจ้าหน้าที่ต้องมีความต่ืนตวั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


195

และมีความพร้อมในการปฏิบตั ิงานตลอดเวลา 2) สร้ างความตระหนักในการป้ องกันและควบคุมโรค
ไข้หวดั นกแก่ประชาชน 3) ทีมสอบสวนและควบคุมโรค (SRRT) มีความพร้อมในการออกปฏิบตั ิงานอย่าง
รวดเร็ว และทนั เหตกุ ารณ์ 4) อสม.ทาการสารวจสตั ว์ปี กทุกครัวเรือน หากพบสตั ว์ปี กป่ วย/ตายผิดปกติ
ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที 5) หน่วยงานสาธารณสุขและปศุสตั ว์ทุกระดับ มีการประสานข้อมูลและออก
ปฏิบตั ิงานร่วมกนั 6) วินิจฉัยโรคและให้การรักษาท่ีรวดเร็ว ตามมาตรฐานการดูแลผ้ปู ่ วยสงสยั ไข้หวดั นก
และ 7) มีการให้ขา่ วสารข้อมลู ท่ีถกู ต้องแก่ประชาชน ในด้านการบริหารจดั การแบบบูรณาการนนั้ ศูนย์
ปฏบิ ตั ิการป้ องกนั และแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้หวดั นกของระดบั จงั หวดั นาโดยผ้วู า่ ราชการ
จงั หวดั และศนู ย์ฯ ระดบั อาเภอ นาโดยนายอาเภอทกุ อาเภอ หากมีการระบาดของโรค จะเพม่ิ ความถ่ีของการ
ประชุมมากขนึ ้ ตามสถานการณ์

ในด้านปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน พบวา่ ประชาชนยงั ไมใ่ ห้ความสาคญั กบั ข้อมูลขา่ วสาร
เร่ืองไข้หวดั นกมากนกั ทาให้การให้ความร่วมมือในบางเร่ืองยงั ไม่ประสบความสาเร็จ นอกจากนี ้การคดั
กรองผู้ป่ วยกลุ่ม 2 ขึน้ อยู่กับการวินิจฉัยของแพทย์ ซ่ึงจะช้ากว่าในกลุ่มท่ีสัมผสั สัตว์ ปี ก ทาให้ออก
สอบสวนโรคลา่ ช้า และการดาเนนิ งานของทีม SRRT ก็ยงั ไม่คลอ่ งตวั นกั เน่ืองจากหน่วยงานแตล่ ะระดบั
ยงั ขาดแคลนยานพาหนะในการปฏบิ ตั งิ าน และการมีผ้ปู ่ วยกลมุ่ 2 เพิ่มขนึ ้ ทาให้เพ่ิมจานวนครัง้ ของการ
สอบสวนโรคด้วย

การซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ จงั หวัด
สุพรรณบุรี

ซ้อมแผนเตรียมความพร้ อมรับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวดั ใหญ่ จังหวดั สุพรรณบุรี สรุปใน

ภาพรวม พบวา่

1. กระบวนการซ้อมแผนฯ ในครัง้ นี ้ในภาพรวมแล้วบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ และได้ตามมาตรฐาน

ของเครื่องมือท่กี าหนดในคูม่ ือการซ้อม และบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของผ้จู ดั การซ้อม บรรยากาศในการ

ซ้อมเป็ นไปด้วยดี ผ้เู ขา่ ร่วมการฝึกซ้อมมีความรู้ความสามารถตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และแสดง

ความคดิ เห็นให้ข้อเสนออยา่ งกว้างขวาง ตอบโต้สถานการณ์ท่ีกาหนดให้ได้ทนั เวลา และสรุปเป็ นแนวทาง

หรือกิจกรรมได้ครบถ้วน สามารถระบุการเชื่อมโยงการประสานงาน และผ้รู ับผิดชอบตามกิจกรรมต่าง ๆ

ได้ เป็ นการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารทค่ี ้มุ คา่ ตลอดระยะเวลา 2 วนั ผ้เู ข้าร่วมการฝึกซ้อมอยคู่ รบมากกวา่ ร้อย

ละ 90 ของผ้เู ข้าร่วมฝึกซ้อมทงั้ หมด

2. การจดั กลมุ่ คณะผ้จู ดั การประชุมได้จดั จานวนสมาชิกกลมุ่ ได้ตามเป้ าหมาย ตามมาตรฐานท่ี

กาหนดไว้ อาจจะมีบางกลมุ่ ท่ีไม่ครอบคลมุ จานวนหนว่ ยงานท่ีเชิญเข้ามาร่วมการฝึกซ้อม เน่ืองจากติด

ภาระกิจอื่น แตไ่ ด้ตามเป้ าหมายท่ีต้องการ

3. หลงั เข้าร่วมการฝึ กซ้อมครัง้ นี ้ ผู้เข้าร่วมการฝึ กซ้อมเสนอแนะให้ผู้จัดการประชุมสรุปเป็ น

แนวทางรูปเล่ม และระบุชื่อ, หน่วยงานของผ้เู ข้าฝึกซ้อมทงั้ หมด ไว้ท้ายเลม่ ด้วย เพ่ือใช้ในการติดต่อ

ประสานงาน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


196

4. จากการประเมินตามคมู่ ือการซ้อมแผนรองรับการระบาดใหญ่ของไข้หวดั ใหญ่ ซงึ่ เป็ นคมู่ ือทไ่ี ด้
มาตรฐาน และได้รับการยอมรับจากนานาประเทศในภมู ิภาค และ WHO มีข้อสรุปดงั นี ้

4.1 กระบวนการและขนั้ ตอน ระยะเวลาในการซ้อม เป็ นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ ในคูม่ ือ
การซ้อม และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั กาญจนบุรี

4.2 เนอื ้ หาสาระแตล่ ะกลมุ่ ทตี่ อบสนองสถานการณ์สมมตุ ทิ ก่ี าหนดขนึ ้ เป็ นไปตามแนวทางของ
คมู่ ือการซ้อม

4.3 การซ้อมแผนฯ เป็ นไปตามแผนยุทธศาสตร์เร่งรัดแก้ไขปัญหาไข้หวดั นก และยทุ ธศาสตร์
เตรียมความพร้อมรองรับการระบาดใหญ่ของไข้หวดั ใหญ่ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้อนมุ ัติเห็นชอบตลอดทงั้
สอดคล้องกบั นโยบาย สามารถนาไปเป็ นแนวทางปฏบิ ตั ิได้ หรืออาจจะนาไปซ้อมจริงได้

4.4 ผ้เู ข้าร่วมฝึกซ้อมมีความรู้/ความเข้าใจ ในบทบาทมากขนึ ้ และทราบบทบาทภารกิจของ
หนว่ ยงานอ่ืนด้วย

4.5 การจดั การซ้อมแผนครัง้ นี ้นบั วา่ เป็ นประโยชน์ของจงั หวดั ซึง่ ผ้เู ข้าฝึกซ้อม มีความคิดเห็น
วา่ มีประโยชน์และค้มุ ค่า ซงึ่ ต่างจากการประชุมที่ผา่ น ๆ มา ไม่ได้รับประโยชน์เทา่ กับการประชุมครัง้ นี ้
และผ้เู ข้าประชมุ มีความพงึ พอใจถงึ แม้ระยะเวลาจะยาวนานก็ตาม แตไ่ ด้ความตระหนกั ท่ีจะเร่งรัดแก้ไข
ปัญหาโรคไข้หวดั นก และพร้อมท่ีจะรองรับการระบาดใหญ่ไข้หวดั ใหญ่ได้

 งานควบคุมวัณโรค

สถานการณ์
วณั โรคจดั เป็ นโรคติดตอ่ ที่เป็ นปัญหาสาคญั ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จากรายงานการเฝ้ าระวงั โรค

รง.506 ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ท่ีรายงานเฉพาะผ้ปู ่ วยวณั โรคปอดเสมหะบวก วณั
โรคอวยั วะอื่น ๆ ไม่รวมวณั โรคปอดเสมหะลบ วณั โรคก็ยงั มีอตั ราสงู อยใู่ น 10 อนั ดบั โรคแรกที่มีอตั รา
ป่ วยสงู สดุ มาตลอด สาหรับปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีมีผ้ปู ่ วยวณั โรครายใหม่ และรักษา
ซา้ รวมทงั้ สนิ ้ 750 ราย คิดเป็ นอตั ราป่ วยเทา่ กบั 88.88 ตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกเป็ นผ้ปู ่ วยวณั โรค
ปอดเสมหะบวกรายใหม่ 421 ราย ผ้ปู ่ วยวณั โรคกลบั เป็ นซา้ 25 ราย รวมเป็ นผ้ปู ่ วยวณั โรคปอดระยะ
แพร่เชือ้ 446 ราย คดิ เป็ นอตั ราป่ วยระยะแพร่เชือ้ เทา่ กบั 52.85 ตอ่ ประชากรแสนคน ผ้ปู ่ วยวณั โรคปอด
เสมหะลบรายใหม่ 197 ราย วณั โรคนอกปอด 107 ราย จานวนผ้ปู ่ วยวณั โรคมีแนวโน้มเพิ่มสงู ขนึ ้ มา
ตลอดแตล่ ดลงเลก็ น้อยเมื่อเปรียบเทียบกบั ปี ท่ีผา่ นมา ผ้ปู ่ วยวณั โรคนอกปอดมีแนวโน้มเพ่มิ สงู ขนึ ้ อยา่ งเห็น
ได้ชดั กลมุ่ อายทุ ป่ี ่ วยเป็ นวณั โรคปอดเสมหะบวกรายใหมพ่ บมากในกลมุ่ อายุ 25-34 ปี และ มากกวา่
65 ปี ขนึ ้ ไป ซงึ่ แสดงให้เห็นวา่ นอกจากวณั โรคจะเป็ นโรคทพ่ี บในกลมุ่ ผ้สู งู อายแุ ล้ว วณั โรคยงั มี
ความสมั พนั ธ์กบั การระบาดของโรคเอดส์อีกด้วย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี


197

แผนงาน/โครงการ
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้รับการสนบั สนนุ งบประมาณจากสานกั งานหลกั ประกนั

สขุ ภาพสาขาพนื ้ ที่ เขตราชบุรี ในสว่ นของ PP Areabased ตงั้ แตป่ ี งบประมาณ 2550 เป็ นจานวนเงิน 888,080
บาท โดยนามาพฒั นาคณุ ภาพการดาเนินงาน DOTS ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี ในเบือ้ งต้นจงั หวดั ได้
ดาเนนิ การปรับโครงสร้างพืน้ ฐานการดาเนินงาน โดยการจดั ประชุมแพทย์ การอบรมฟืน้ ฟคู วามรู้
ผ้รู ับผิดชอบงานระดบั อาเภอ และการจดั เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์สาหรับการจดั ตงั้ DOT Corner ทโ่ี รงพยาบาล
สถานีอนามยั ทกุ แหง่ และเรือนจา มีการสร้างแรงจูงใจผ้ปู ่ วยในด้านการรักษา โดยการจดั เตรียมกระเป๋ าพร้อม
อปุ กรณ์การป้ องกันการแพร่กระจายโรคให้ผ้ปู ่ วยวณั โรคท่มี าขนึ ้ ทะเบียนใหม่ การให้เงนิ ผ้ปู ่ วยท่ีมีผลเสมหะกลบั
เป็ นลบเม่ือสนิ ้ สดุ การรักษาระยะเข้มข้น เและให้รางวลั แกอ่ าเภอทมี่ ีผลเสมหะกลบั เป็ นลบมากกวา่ ร้อยละ 90 เม่ือ
สนิ ้ สดุ การรักษาระยะเข้มข้น มีการจดั กิจกรรมการเผยแพร่ความรู้เรื่องวณั โรคในวนั วณั โรคโลก การ
ควบคมุ กากบั ติดตามความก้าวหน้าและแก้ปัญหาวณั โรค โดยให้ทกุ อาเภอจดั ประชมุ DOTS Meeting ทกุ
อาเภอ ๆ ละ 4 ครัง้ จงั หวดั นเิ ทศตดิ ตามอาเภอทกุ 3 เดือน และอาเภอนิเทศงานสถานอี นามยั ภายใน
เขตความรับผิดชอบ อาเภอละ 8 ครัง้ เม่อื สนิ ้ สดุ ปี งบประมาณผลการดาเนนิ งานยงั เหน็ ความ
เปลยี่ นแปลงไม่เดน่ ชดั เน่อื งจากวณั โรคเป็ นโรคติดตอ่ เรือ้ รัง การดาเนนิ งานแก้ปัญหาจะต้องมีความ
ตอ่ เน่ืองหลายปี ดงั นนั้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีจงึ ได้ขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณจาก สปสช.เขต ใน
ปี งบประมาณ 2551 จานวน 735,500 บาท เพ่ือใช้ในกิจกรรมดงั นี ้

แผนงาน/โครงการ กิจกรรมหลัก กลุ่มเป้ าหมาย เวลาดาเนินการ งบประมาณและ
ม.ี ค. , ก.ค. 51 แหล่งงบประมาณ
การพัฒนาคุณภาพ 1.ก า ร ป ร ะ ชุ ม DOTS -ผ้ปู ระสานงานวณั
ก า ร ด า เ นิ น ง า น วั ณ Meeting ระดับจงั หวัด โรคระดบั อาเภอ มี.ค.-ก.ย. - งบpp area based
โ ร ค แ ล ะ DOTS ปี ละ 2 ครัง้ ๆ ละ 2 วนั เจ้าหน้าท่ีคลนิ ิกวณั 24 มี.ค.51 ข อ ง ส า นั ก ง า น
ปี งบประมาณ 2551 โรคของโรงพยาบาล มี.ค.- ก.ย. 51 หลักประกันสุขภาพ
-การประชมุ DOTS รัฐ เอกชนและ สาขาพนื ้ ที่เขตราชบรุ ี
Meeting ระดบั อาเภอ ๆ เรือนจา
ละ 4 ครัง้ - จนท.สอ. /สสอ./
ร พ . รั ฐ / ร พ . เ อ ก ช น /
- การจดั กิจกรรม เทศบาล/เรื อนจาใ น
เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ แตล่ ะอาเภอ
ความรู้เรื่องวณั โรค -รพ.ร่วมกับ สสอ.ทุก
-ก า ร จั ด ห า ชุ ด รั บ ใ ห ม่ แหง่ และ สสจ. แห่ง
ผู้ป่ วยวัณโรค (กระเป๋ า 1 ครัง้
พร้อมอปุ กรณ์ ฯ) - ผู้ป่ วยวัณโรคราย
ใหม่ 800 ราย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


198

แผนงาน/โครงการ กจิ กรรมหลัก กลุ่มเป้ าหมาย เวลาดาเนินการ งบประมาณและ
ม.ี ค. – เม.ย. แหล่งงบประมาณ
-ก า ร อ บ ร ม พี่ เ ลี ้ย ง -อสม.หมบู่ ้านละ 1
กากบั การกินยา คน (1,031 คน) ก.พ. - ก.ย.51
-การนิเทศติตามและ -ระดบั จงั หวดั นิเทศ
ประเมนิ ผล อาเภอทกุ 3 เดือน
อาเภอนิเทศตาบล
อาเภอละ 10 ครัง้

ผลการดาเนินงาน
ผลการรักษาผู้ป่ วยวณั โรคระหว่างเดือนตุลาคม 2550 - กันยายน 2551 ของจังหวัด

สพุ รรณบุรีพบวา่ อตั ราความสาเร็จของการรักษาของผ้ปู ่ วยวณั โรคปอดรายใหม่เสมหะบวก เทา่ กับร้อย
ละ 71.85 เสยี ชีวิตร้อยละ 15.55 ขาดยาร้อยละ 9.67 โอนออกไม่ทราบผลการรักษา 2.2.83 และ
รักษาล้มเหลว 2.12 สาเหตสุ าคญั ที่ทาให้ผลการรักษาไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายคือผ้ปู ่ วยเสียชีวิต และ
ขาดยา รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 อตั ราความสาเร็จของการรักษาวณั โรค จาแนกรายอาเภอ จ.สพุ รรณบุรี ปี 2551

อาเภอ เป้ าหมาย ผลการดาเนินงาน ร้ อยละ

เมืองสพุ รรณบุรี 133 ผลงาน 60.2
สองพ่นี ้อง 67 71.6
เดิมบางนางบวช 41 80 65.9
สามชกุ 26 48 92.3
ศรีประจนั ต์ 21 27 76.2
บางปลาม้า 42 24 90.5
อู่ทอง 44 16 75.0
ดอนเจดีย์ 22 38 72.7
ดา่ นช้าง 58 33 74.1
หนองหญ้ าไซ 22 16 77.3
43
17

ระดับจงั หวดั 476 342 71.8

รอบปี ท่ผี ่านมา 424 287 67.7

เกณฑ์ : มากกวา่ ร้อยละ 85

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


199

จากตารางพบวา่ อตั ราความสาเร็จของการรักษาวณั โรคเพมิ่ ขนึ ้ จากร้อยละ 67.7 เป็ นร้อยละ
71.8 อาเภอสามชุกและอาเภอบางปลาม้าสามารถดาเนินการได้เกินร้อยละ 90 มีเพียงอาเภอเมือง
สพุ รรณบรุ ีและเดมิ บางนางบวชทีม่ ีผลการดาเนนิ งานน้อยกวา่ ร้อยละ 70 ทเ่ี หลือมีผลการดาเนินงานเกิน
กวา่ ร้อยละ 70

เม่ือประเมินผลการดาเนินรายอาเภอพบวา่ อาเภอสามชุก บางปลาม้า มีผลสาเร็จของการ
รักษาได้ตามเป้ าหมายคอื เกินกวา่ ร้อยละ 90 อาเภอทีม่ ีผลสาเร็จของการรักษามากกวา่ ร้อยละ 70 คอื
อาเภอสองพีน่ ้อง อทู่ อง ดอนเจดยี ์ ดา่ นช้าง ศรีประจนั ต์และหนองหญ้าไซ สว่ นอาเภอทีม่ ีผลสาเร็จของ
การรักษาน้อยกวา่ ร้อยละ 70 คอื อาเภอเมือง และเดมิ บางนางบวช แตท่ กุ อาเภอมีผลการดาเนนิ ดกี วา่ ปี ที่
ผา่ นมา โดยเฉพาะโรงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราชและโรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ 17 มี
แนวโน้มในทางท่ดี ีขนึ ้ แตเ่ นอ่ื งจากเป็ นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ เป็ นโรงพยาบาลท่ีรับ refer ผ้ปู ่ วยจาก
โรงพยาบาลอ่ืนๆ ซง่ึ มอี าการหนกั และเสยี ชีวิตในเวลาตอ่ มา ทาให้อตั ราตายคอ่ นข้างสงู จากการศกึ ษา
รายงานสาเหตกุ ารตายของผ้ปู ่ วยวณั โรคในปี งบประมาณ 2551 พบวา่ มากกวา่ คร่ึงเสยี ชีวติ ในชว่ งการ
รักษาระยะเข้มข้น และประมาณ 1 ใน 3 เสยี ชวี ติ ภายในสปั ดาห์แรก ผ้ปู ่ วยวณั โรคท่เี สยี ชีวติ บางรายตดิ
เชือ้ เอดส์ บางรายเป็ นผ้ปู ่ วยทีม่ าด้วยโรคอ่ืนๆ เชน่ ไตวาย ปอดบวมรุนแรง โรคหวั ใจ อบุ ตั เิ หตุ แตผ่ ลการ
ตรวจเสมหะจากการ Suction เป็ นวณั โรคร่วมด้วย สาหรับผ้ปู ่ วยทเ่ี สยี ชีวติ ในช่วงการรักษาระยะตอ่ เน่ือง
ผ้ปู ่ วยสว่ นใหญ่อายมุ ากมีประวตั ิการเจ็บป่ วยอื่นๆหรือโรคประจาตวั เรือ้ รัง เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหิต
สงู ภาวะซดี COPD ฯลฯ และมปี ระวตั ติ ิดเชือ้ เอดส์และเสยี ชีวิตในวยั แรงงาน จากข้อมลู ดงั กลา่ วแสดงให้
เห็นวา่ ถ้ามีการค้นหาผ้ปู ่ วยวณั โรคให้มารับการรักษาเมื่อมีอาการตงั้ แต่เร่ิมแรก จะสามารถรักษาชีวติ
ผ้ปู ่ วยไว้ได้ นอกจากการเสยี ชีวิตแล้วการขาดยายงั เป็ นสาเหตสุ าคญั อนั ดบั สอง พบวา่ ผ้ปู ่ วยบาง
คนทางานตา่ งจงั หวดั เมื่ออาการดขี นึ ้ ก็จะกลบั ไปทางานตอ่ ไมส่ ามารถติดตามได้ บางคนใช้สทิ ธิบตั รทอง
โรงพยาบาลหนง่ึ แต่ตวั พานกั ท่อี าเภอหนงึ่ ผ้ปู ่ วยเร่ร่อน ผ้ปู ่ วยมีปัญหาทางจิตที่สง่ กลบั มารักษาตวั ท่ี
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ก็เป็ นปัญหาในการกินยาไมต่ อ่ เน่อื ง รวมทงั้ ผ้ปู ่ วย ปฎิเสธการกินยาเอง ดงั นนั้ ใน
ปี งบประมาณ 2552 จงั หวดั สพุ รรณบุรี จึงมีแนวทางการดาเนนิ งานท่ีสาคญั เพอ่ื แก้ปัญหา ดงั นี ้

1.การคดั กรองผ้ปู ่ วยทมี่ ีความเสยี่ งตอ่ การป่ วยเป็ นวณั โรคสงู ได้แก่ ผ้สู งู อายุ ผ้สู งู อายทุ ม่ี ี
โรคเรือ้ รัง ขาดสารอาหาร ผ้ปู ่ วยท่ีมีโรคเรือ้ รัง /ได้รับยากดภมู ิต้านทาน ผ้ตู ิดเชือ้ เอดส์ ผ้ตู ้องขงั ใน
เรือนจา ผ้สู มั ผสั โรคร่วมบ้าน ซง่ึ จงั หวดั จะดาเนนิ การคดั กรองทงั้ ในชมุ ชน เรือนจา และในโรงพยาบาล
(คลินิกโรคเรือ้ รังตา่ งๆ) โดยมีการคดั กรอง 3 ระบบ คือ ระบบปกติ การตรวจผ้สู มั ผสั โรควณั โรคร่วมบ้าน
ผ้ตู ิดเชือ้ เอดส์ ผ้ปู ่ วยโรคเรือ้ รังท่มี ารับการรักษาที่สถานบริการของรัฐ ระบบทสี่ องคือการคดั กรองผ้ปู ่ วย
ในชุมชน ร่วมกบั การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์การรณรงค์สร้างกระแสในวนั วณั โรคโลก และระบบทสี่ ามคอื
การคดั กรองความเสยี่ งในกลมุ่ อายุ 15 ปี ขนึ ้ ไป ผ้ทู ี่มีอาการไอเรือ้ รังเกินกวา่ 2 สปั ดาห์ จะได้รับการ
วินจิ ฉยั และรักษาวณั โรคตอ่ ไป

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


200

2.การรักษาผ้ปู ่ วยวณั โรคตามมาตรฐานการรักษาภายใต้การควบคมุ กากบั และดแู ลการกิน
ยาของพ่ีเลยี ้ งที่มีคณุ ภาพ เชน่ เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ หรือ อสม.ที่ผา่ นการอบรมหลกั สตู ร พี่เลยี่ งแล้ว
การพิจารณารบั ผ้ปู ่ วยวณั โรคไว้ในโรงพยาบาล 2 สปั ดาห์ โดยเฉพาะผ้ปู ่ วยวณั โรคปอดเสมหะบวก
ผ้ปู ่ วยที่มีอาการแทรกซ้อน ฯลฯ

3.การดาเนินงานผสมผสานวณั โรคและโรคเอดส์ โดยการให้บริการคาปรึกษา การคดั กรอง
วณั โรคในผ้ตู ิดเชือ้ /ผ้ปู ่ วยโรคเอดส์ การคดั กรองเอดสใ์ นผ้ปู ่ วยวณั โรค และการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ใน
ผ้ปู ่ วยวณั โรคโดยเร็ว (2-8 สปั ดาห์)

4.การพฒั นาระบบและการบริหารข้อตอ่ ได้แก่ การแตง่ ตงั้ Mr.TB ผ้ปู ระสานงานวณั โรคใน
โรงพยาบาล (HTC) คณะกรรมการวณั โรคของโรงพยาบาล การสง่ ตอ่ และการติดตามผ้ปู ่ วยที่ไปรักษาท่ี
สถานบริการทงั้ ภายใน/ภายนอก CUP หรือตา่ งจงั หวดั

5.การนิเทศติดตาม ควบคมุ กากบั และประเมินผลการดาเนินงาน
ระดบั จงั หวดั นเิ ทศงานอาเภอทกุ 3 เดือน
ระดบั อาเภอ นิเทศงานตาบลทกุ เดือน พร้อมมีการสรุปสถานการณ์
ความก้าวหน้าและปัญหาอปุ สรรคทกุ เดือน

6.การบริหารจดั การข้อมลู ด้วยระบบสารสนเทศ ได้แก่ โปรแกรม Smart TB , DMIS -TB
และ TB-Hunter

7.การประชมุ เพอ่ื ตดิ ตามความก้าวหน้าและพฒั นาคณุ ภาพการดาเนินงาน DOTS
ระดบั จงั หวดั ปี ละ 2 ครัง้
ระดบั อาเภอ ปี ละ 4 ครัง้

8.การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทกุ ระดบั ได้แก่ การประชุมวชิ าการแพทย์ การประชุม
Mr.TBและผ้ปู ระสานงานวณั โรคระดบั อาเภอ การฝึกอบรมผ้รู ับผดิ ชอบงานใหม่ทกุ ระดบั และการอบรม
อสม.

9.การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ความรู้และรณรงคส์ ร้างกระแสในวนั วณั โรคโลก
10.การศกึ ษาวิจยั สาเหตกุ ารตายของผ้ปู ่ วยวณั โรค

ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
1.การเปลยี่ นแปลงผ้รู ับผดิ ชอบงาน ทงั้ การเปลย่ี นงานและเสยี ชีวติ ของผ้ปู ฎิบตั งิ าน ทาให้การ

ดาเนนิ งานไมต่ อ่ เนือ่ ง ลา่ ช้า สคร.จดั การอบรมให้ได้ปี ละครัง้ ไม่ทนั การ จงั หวดั ต้องจดั อบรมเบอื ้ งต้นให้
เองทงั้ ที่ไม่ได้ตงั้ งบประมาณเผอ่ื เนอ่ื งจากเป็ นเหตกุ ารณ์เหนือความคาดหมาย

2.โปรแกรมของ สปสช. มีการปรับเปลยี่ นไม่ลงตวั ซกั ที มีทงั้ OFF Line (ทพี่ ฒั นามาหลายสิบ
เวอร์ชน่ั แล้ว) และกาลงั เร่ิมระบบ ON Line ซงึ่ ไมว่ า่ ระบบใดก็มีการลงรายละเอียดเยอะมากและ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี


201

โปรแกรมยงั ไม่สมบรู ณ์ สง่ รายงานแล้วบางโรงพยาบาลไมไ่ ด้เงิน On Top คา่ ดแู ลรักษา (รายละ 1,400 –
1,600 บาท) ในขณะท่ีปี 2552 สปสช.ลดเงินค่าบริหารจดั การเหลอื เพียง รายละ 1,000 บาท

3.เงนิ On Top ของสปสช. ในสว่ นคา่ ดแู ลรักษา ไมม่ ีข้อกาหนดรายละเอียดการนาไปใช้ทชี่ ดั เจน
และได้สนบั สนนุ เฉพาะผ้ปู ่ วย UC นา่ จะสนบั สนนุ ในกลมุ่ ผ้ปู ่ วยอื่นๆด้วย เชน่ ข้าราชการ ประกนั สงั คม
ตา่ งด้าว ฯลฯ

4.ผ้ปู ่ วยทางานตา่ งจงั หวดั เม่ือมีอาการดีขนึ ้ มกั ตดิ ตามตวั ไม่ได้ แม้จะมีเบอร์โทรศพั ท์ มือถือก็
ตาม (เดย๋ี วนเี ้ปลย่ี นเบอร์งา่ ย) ทาให้ต้องจาหนา่ ยเป็ นผ้ปู ่ วยขาดยา

5. การดาเนนิ งานวณั โรคต้องใช้ระยะเวลานานกวา่ โรคอ่ืนๆ กวา่ จะเห็นผลเปลยี่ นแปลง การ
ประเมินผลการรักษาในปี ปัจจบุ นั เป็ นผลงานของปี ทผ่ี า่ นมา หากมีการเร่งรัดผลงานให้ได้ตามเป้ าหมาย
โดยไมเ่ ข้าใจและคานงึ ถึงสภาพปัญหาของแตล่ ะพนื ้ ท่ี อาจเป็ นการกดดนั เจ้าหน้าท่ี

 งานสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค

สถานการณ์

การสร้างเสริมภมู ิค้มุ กนั โรค นบั เป็ นวธิ ีการป้ องกนั โรคท่ีดี และมีประสทิ ธิภาพมากที่สดุ

วธิ ีหนงึ่ เพราะหลงั จากปี พ.ศ. 2520 กระทรวงสาธารณสขุ ได้ขยายงานและผสมผสานบูรณาการงาน

สร้างเสริมภมู ิค้มุ กนั โรคเข้ากบั ระบบบริการสาธารณสขุ ในพนื ้ ที่ ทาให้ความครอบคลมุ การได้รับวคั ซนี

ของประชาชนกลมุ่ เป้ าหมายเพิม่ สงู ขนึ ้ และโรคตดิ ตอ่ ท่ีป้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีนท่สี าคญั ๆ ได้แก่ วณั โรค คอ

ตีบ ไอกรน หดั หดั เยอรมนั ตบั อกั เสบบี และไข้สมองอกั เสบเจอี ลดลงอยา่ งเหน็ ได้ชดั

วตั ถปุ ระสงค์ของแผนปฏบิ ตั ิงานโรคตดิ ตอ่ ท่ปี ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีนท่สี าคญั คอื การกวาด

ล้างโรคโปลโิ อให้หมดไป การกาจดั โรคบาดทะยกั ในทารกแรกเกิดให้เหลอื ไม่เกิน 1 ตอ่ พนั เด็กเกิดมีชีพ

รายอาเภอ และลดอตั ราป่ วยด้วยโรคติดตอ่ ทป่ี ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีน อาทิ คอตบี ไอกรน หดั ทกุ กลมุ่ อายแุ ละ

โรคไข้สมองอกั เสบเจอี โดยมีกลวิธีหลกั คอื การรักษาระดบั ความครอบคลมุ การให้วคั ซนี เกินกวา่ กวา่ ร้อย

ละ 90 ให้ทกุ หมบู่ ้าน/ตาบล การรณรงค์ให้วคั ซีนโปลโิ อ การเฝ้ าระวงั ผ้ปู ่ วยกล้ามเนอื ้ ออ่ นแรงเฉียบพลนั

พฒั นาระบบการเฝ้ าระวงั อาการภายหลงั การได้รับวคั ซนี การพฒั นาคณุ ภาพการให้บริการให้ได้

มาตรฐาน และการเฝ้ าระวงั สอบสวนและควบคมุ โรคเมื่อมีการระบาด

สาหรับจงั หวดั สพุ รรณบุรีสามารถรักษาระดบั ความครอบคลมุ ของการได้รับวคั ซีนใน

ประชาชนกลมุ่ เป้ าหมายเกินกวา่ ร้อยละ 90 ทกุ หม่บู ้าน/ตาบลและเทศบาล มากวา่ 10 ปี จงั หวดั

สพุ รรณบรุ ีมีผ้ปู ่ วยโปลโิ อรายสดุ ท้ายเมื่อปี พ.ศ. 2536 ไม่มีรายงานโรคบาดทะยกั ในเด็กแรกเกิด โรค

คอตีบ ตดิ ตอ่ กนั มาหลายปี รวมทงั้ โรคติดตอ่ ที่ป้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีนอ่ืนๆ เชน่ ไอกรน ตบั อกั เสบบี หดั

ไข้สมองอกั เสบเจอี ลดลงจนไม่เป็ นปัญหาของจงั หวดั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี


202

แผนงาน/โครงการ

ในเดือนมนี าคม 2551 กระทรวงสาธารณสขุ ได้ขยายการใช้วัคซีนรวม DTP-HB ครอบคลมุ ทกุ จังหวดั ท่วั

ประเทศ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จงึ ได้จดั การอบรมฟื น้ ฟูความรู้งานสร้างเสริมภมู ิค้มุ กนั โรคพร้อม

กบั การให้ความรู้เก่ยี วกับวคั ซีนที่นามาใช้ใหม่ให้แก่ผ้ปู ฏิบตั ิงานระดบั สถานีอนามยั และโรงพยาบาลทกุ แห่ง

เนอื่ งจากเท่าที่ผา่ นมามีการเปลยี่ นผ้รู ับผิดชอบงานทกุ ระดบั มีเจ้าหน้าที่จบใหม่ และจงั หวดั ไมไ่ ด้จดั การอบรมให้แก่

เจ้าหน้าทมี่ าหลายปี แล้ว มีการนิเทศงานโรงพยาบาล สานักงานสาธารณสขุ อาเภอและสมุ่ นิเทศงานสถานีอนามยั

อาเภอละ 1-2 แห่ง เพอ่ื ตรวจสอบระบบลกู โซ่ความเย็น การบริหารจดั การวัคซีน และระบบระเบยี นรายงาน

ผลการดาเนินงาน

ภาพรวมความครอบคลมุ การให้วคั ซนี ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีในกลมุ่ เด็กต่ากวา่ 5 ปี เท่ากบั ร้อยละ

99.97 เปรียบเทียบกบั ปี ท่ผี า่ นมาสงู ขนึ ้ เลก็ น้อย (ตารางท่ี 5) ทกุ หมบู่ ้าน/ตาบล/อาเภอสามารถดาเนินงานได้

ครอบคลมุ ตามเป้ าหมายเกนิ กวา่ ร้อยละ 90 วคั ซีนท่ยี งั ไม่สามารถดาเนินการได้ครบทกุ คน คือวคั ซีนหดั และ

วคั ซนี ป้ องกนั ไข้สมองอกั เสบเจอีเขม็ ท่ี 2 และ 3

การรณรงค์ให้วคั ซนี โปลโิ อปี พ.ศ. 2550 มีพนื ้ ทเี่ ป้ าหมาย จานวน 68 ตาบล ให้บริการหยอดวคั ซนี

เดก็ ไทยอายตุ า่ กวา่ 5 ปี 29,203 คน เด็กต่างชาติ 787 คน คิดเป็นความครอบคลมุ ร้อยละ 98.41 ของ

กลมุ่ เป้ าหมาย

มีรายงานผ้ปู ่ วยอมั พาตกล้ามเนอื ้ อ่อนแรงเฉียบพลนั (AFP) ในเด็กอายตุ ่ากวา่ 14 ปี รวมทงั ้ สนิ ้ 3 ราย

ครบตามเกณฑ์ ไม่พบการแพร่ระบาดของโรคตดิ ต่อท่ปี ้ องกนั ได้ด้วยวคั ซีน และความครอบคลมุ การให้วคั ซนี ใน

เดก็ ตา่ กวา่ 5 ปี

ตารางที่ 5 ความครอบคลมุ การให้วคั ซีน จาแนกรายอาเภอ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551

อาเภอ เป้ าหมาย ผลการดาเนินงาน ร้ อยละ
ผลงาน

เมอื งสพุ รรณบรุ ี 5,628 5,628 100.00

สองพีน่ ้อง 6,025 6,025 100.00

เดมิ บางนางบวช 2,454 2,452 99.92

สามชกุ 1,782 1,780 99.89

ศรีประจนั ต์ 1,970 1,970 100.00

บางปลาม้า 2,782 2,777 99.82

อ่ทู อง 4,841 4,841 100.00

ดอนเจดยี ์ 1,606 1,606 100.00

ดา่ นช้าง 2,599 2,599 100.00

หนองหญ้าไซ 1,593 1,593 100.00

ระดบั จงั หวัด 31,281 31,272 99.97

รอบปี ท่ีผ่านมา 31,780 31,719 99.81

ที่มา รายงานความครอบคลมุ วคั ซีนงวดท่ี 1-4 ปี งบประมาณ 2551

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


203

ปัญหาและข้อเสนอแนะ

1.เร่ิมนาวคั ซนี รวม DTP-HB มาใช้ แทนวคั ซนี DTP และ HB ในกลมุ่ เด็กอายตุ ่ากวา่ 1 ปี ใน

เดือนมีนาคม 2551 มีขา่ วเกี่ยวกบั เด็กเสยี ชีวิตหลงั การได้รับวคั ซีนรวม DTP-HB หลายครัง้ ทาให้

เจ้าหน้าทเ่ี กิดความกงั วลในการให้บริการ รวมทงั้ กมุ ารแพทย์บางคนยงั ไม่ยอมรับวคั ซนี รวม ยงั ให้

บริการวคั ซนี DPT และ HB แยกแทนการใช้วคั ซีนรวม ในชว่ งแรกๆมีปัญหาในการบริหารจดั การวคั ซนี

DPT และ HB ให้แก่สถานบริการอยบู่ ้าง แตง่ านควบคมุ โรคติดตอ่ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั

สพุ รรณบรุ ีได้ออกไปชีแ้ จงแกผ่ ้รู ับผดิ ชอบงานทกุ ระดบั เพือ่ สร้างความมน่ั ใจให้แก่ผ้ปู ฏิบตั งิ าน แตอ่ ยา่ งไร

ก็ตามในกรณีท่ีมีขา่ วการเสยี ชีวติ ของเด็กหลงั การได้รับวคั ซนี อยากให้สว่ นกลางมีหนงั สอื ชีแ้ จง

รายละเอียดเบือ้ งต้นให้ผ้เู ก่ียวข้องทราบโดยเร็ว เพ่ือให้ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านมีความมน่ั ใจในการให้ข้อมลู แก่

ผ้ปู กครอง

2.การรายงานการเฝ้ าระวงั อาการหลงั การได้รับวคั ซนี มีน้อยมาก โดยเฉพาะในรายท่ีมีอาการ

เลก็ น้อย เน่ืองจากเจ้าหน้าท่คี ิดวา่ เป็ นอาการปกตทิ เ่ี กิดขนึ ้ หลงั การได้รับวคั ซีน หรือขาดการติดตามเฝ้ า

ระวงั อาการเด็ก

 งานป้ องกันและควบคุมโรคตดิ เชือ้ เฉียบพลันระบบหายใจในเดก็

สถานการณ์
ปอดบวมเป็ นปัญหาสาธารณสขุ ทสี่ าคญั ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เป็ นโรคทีม่ ีอตั ราป่ วยสงู เป็ น

อนั ดบั 3 จาก 10 อนั ดบั แรก โดยเฉพาะกลมุ่ เด็กเลก็ ไมเ่ กิน 5 ปี จะมอี ตั ราป่ วยสงู กวา่ กลมุ่ อื่นๆ โรคติด
เชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเดก็ จงึ เป็ นปัญหาสาคญั ทงั้ ระดบั ประเทศและระดบั จงั หวดั จากข้อมลู ของ
สานกั ระบาดวทิ ยา เม่ือ พ.ศ. 2533 พบวา่ โรคปอดบวมเป็ นสาเหตกุ ารตายอนั ดบั 1 ของโรคติดเชือ้ ในเด็ก
อายตุ า่ กวา่ 5 ปี ถึงร้อยละ 42 สาหรับจงั หวดั สพุ รรณบุรี จากรายงานการเฝ้ าระวงั โรค รง. 506
ระหวา่ งปี พ.ศ. 2546 -2550 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีมีผ้ปู ่ วยปอดบวมในกลมุ่ เด็กอายตุ า่ กวา่ 5 ปี จานวน 839
ราย, 544 ราย, 737 ราย , 901 รายและ 795 รายคิดเป็ นอตั ราป่ วย ร้อยละ 1.66, 1.27 ,1.65 ,2.21 และ
1.72 ตามลาดบั และมีเดก็ เสยี ชีวติ ในปี พ.ศ. 2547-2550 จานวน 5 ราย , 4 ราย , 1 ราย และ 3 ราย คิด
เป็ นอตั ราตาย 11.64 , 8.97 , 2.45 และ 6.43 ตอ่ เด็กตา่ กวา่ 5 ปี แสนคน ตามลาดบั จากข้อมลู ดงั กลา่ ว
จะเห็นได้วา่ แม้อตั ราป่ วยของการเป็ นปอดบวมจะไม่สงู แตอ่ ตั ราการเสยี ชีวติ ยงั คงสงู กวา่ เป้ าหมายที่
กรมควบคมุ โรคกาหนดไว้วา่ ไม่ควรเกิน 1.8 ตอ่ แสนประชากร ซงึ่ สอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจุบนั
เนือ่ งจากงานป้ องกนั และควบคมุ โรคติดเชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็กท่ีเร่ิมดาเนินการมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.
2533 และขยายครอบคลมุ ทว่ั ประเทศในปี พ.ศ.2536 นนั้ หลงั ปฏริ ูประบบราชการงานในปี พ.ศ. 2546
งานป้ องกนั และควบคมุ โรคติดเชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็กจะแทรกตวั อยใู่ นงานปกติ ลดระดบั
ความเข้มข้นในการตดิ ตาม ควบคมุ กากบั ลดการใช้การบริบาลมาตรฐานโรคติดเชือ้ เฉียบพลนั ระบบ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


204

หายใจในเดก็ (SCM) ทาให้ขาดเจ้าภาพหลกั ในการดาเนนิ งาน โดยเฉพาะโรงพยาบาลมีแพทย์เป็ นผ้ใู ห้
การรักษา ประกอบกบั รายงานการใช้ยาปฏชิ ีวนะในเดก็ ท่ีป่ วยเป็ นโรคหวดั ทงั้ จากระบบรายงานและการ
สมุ่ ประเมินสถานบริการทกุ ระดบั พบวา่ มีการใช้ไมเ่ หมาะสม บางแหง่ มีอตั ราสงู กวา่ ร้อยละ 65 ซงึ่ การ
ใช้ยามากเกินความจาเป็ นนบั เป็ นสาเหตหุ นงึ่ ทีท่ าให้เกิดเชือ้ ดอื ้ ยาในอนาคต

แผนงาน/โครงการ
ในปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้พฒั นาศกั ยภาพเครือขา่ ย

การดาเนนิ งานป้ องกนั ควบคมุ โรคติดเชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็กทกุ ระดบั โดยได้รับการสนบั สนนุ
งบประมาณและทีมวิทยากรจากสานกั งานป้ องกนั ควบคมุ โรคท่ี 4 จงั หวดั ราชบุรี ในการจดั การอบรม
ฟืน้ ฟูความรู้เร่ืองการบริบาลมาตรฐานโรคตดิ เชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็กให้แก่เจ้าหน้าท่ีสถานี
อนามยั ทกุ แหง่ ๆละ 1-2 คน พยาบาลผ้ทู าหน้าทใ่ี ห้การรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลทกุ แหง่ รวมทงั้ สนิ ้
250 คน รวมทงั้ จดั การประชมุ ทีมนเิ ทศตดิ ตามงานระดบั อาเภอ (โรงพยาบาลและสานกั งาน
สาธารณสขุ อาเภอ)ทกุ อาเภอ เพ่อื กาหนดบทบาทและหน้าที่ในการตดิ ตาม ควบคมุ กากบั ให้การ
ดาเนนิ งานบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์

ผลการดาเนินงาน
หลงั ดาเนินงานพฒั นาเครือขา่ ยการดาเนินป้ องกนั และควบคมุ โรคติดเชือ้ เฉียบ พลนั ระบบหายใจ

ในเดก็ ในปี งบประมาณ 2551 มีรายงานจานวนผ้ปู ่ วยเดก็ อายตุ ่ากวา่ 5 ปี ป่ วยเป็ นปอดบวมรวมทงั้ สนิ ้
550 ราย คดิ เป็ นอตั ราป่ วยร้อยละ 1.12 เสยี ชีวิต 1 ราย คิดเป็ นอตั ราตายเทา่ กบั 2.03 ตอ่ แสน
ประชากร อตั ราป่ วยและอตั ราตายลดลงเมื่อเปรียบเทยี บกบั ปี ที่ผา่ นมา (ตารางท่ี 6 )

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี


205

ตารางท่ี 6 จานวนและอตั ราป่ วยตอ่ เดก็ แสนคน ด้วยโรคปอดบวมในเด็ก < 5 ปี จาแนกรายอาเภอ
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551

จานวนผู้ป่ วยปอดบวมในเดก็ < 5 ปี

อาเภอ เด็กต่ากว่า 5 ปี จานวนป่ วย อตั ราป่ วยต่อ
เดก็ แสนคน
เมืองสพุ รรณบุรี
สองพีน่ ้อง 12,917 191 1.48
เดมิ บางนางบวช 7,657 108 1.41
สามชกุ 3,575 10 0.28
ศรีประจนั ต์ 2,473 8 0.32
บางปลาม้า 2,893 46 1.59
อู่ทอง 3,822 65 * 1.70
ดอนเจดีย์ 6,877 55 0.79
ดา่ นช้าง 2,436 31 1.27
หนองหญ้ าไซ 4,233 10 0.23
ระดบั จงั หวัด 2,387 26 1.09
รอบปี ท่ผี ่านมา
49,260 550 1.12

46,217 795 1.72

ที่มา รง.506 หมายเหตุ * เสยี ชีวิต 1 ราย

ปัญหาและข้อเสนอแนะ
1.ผ้ปู กครองทีพ่ าเด็กมารับการรักษามกั ร้องขอให้เจ้าหน้าทจี่ ่ายยาปฏิชีวนะร่วมด้วย ทาให้อตั รา

การใช้ยาปฏิชีวนะสงู กวา่ เป้ าหมาย
2. สถานีอนามยั ในจงั หวดั สพุ รรณบุรีใช้โปรแกรม E-care ซงึ่ ไมค่ รอบคลมุ กิจกรรมงานป้ องกนั

และควบคมุ โรคติดเชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็ก เชน่ จานวนเดก็ ป่ วยเป็ นหวดั การใช้ยาปฏชิ ีวนะ
ในโรคหวดั การบริบาลผ้ปู ่ วยโรคตดิ เชือ้ เฉียบพลนั ระบบหายใจในเด็ก

3. การลงข้อมลู ผ้ปู ่ วยในคอมพิวเตอร์ มกั ไมม่ ีรายละเอียดสาคญั เก่ียวกบั การรักษาผ้ปู ่ วยเด็ก
ตามแนวทาง ARIC เช่น นา้ หนกั ตวั อตั ราการหายใจ ชายโครงบุม๋ หรือไม่ อุณหภมู ิร่างกาย ฯลฯ

4. เครือขา่ ยผ้รู ับผดิ ชอบงาน ARIC ในโรงพยาบาลไมช่ ดั เจน ไม่มีผ้รู ับผดิ ชอบในกลมุ่ การ
พยาบาล แนวทางการบริบาลมาตรฐาน ARIC มกั ไม่ได้รับการยอมรับจากแพทย์

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


206

งานควบคมุ โรคเอดสแ์ ละกามโรค

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี


207

รายงานผลการดาเนินงาน
การป้ องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ปี งบประมาณ 2551

สภาพปัญหาเอดส์
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ประสบกบั ปัญหาการแพร่ระบาดของเชอื ้ เอ็ชไอวี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2533

เรื่อยมาจนถงึ ปัจจุบนั รวมเป็ นระยะเวลา ประมาณ 18 ปี โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดในกลมุ่ ผ้ตู ดิ ยาเสพ
ติดก่อน หลงั จากนนั้ ประมาณ 1 ปี ก็พบการแพร่ระบาดของเชือ้ เอ็ชไอวใี นกลมุ่ หญิงตงั้ ครรภ์ ปัจจบุ นั
สถานการณ์เอดสเ์ ป็ นดงั นี ้

1. สถานการณ์การเจ็บป่ วยด้วยโรคเอดส์
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบผ้ปู ่ วยเอดสร์ ายแรก ปี พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบนั (30 กนั ยายน 2551 ) มี

ผ้ปู ่ วยเอดส์ 4,633 ราย เสยี ชีวติ 1,502 ราย ผ้ตู ดิ เชือ้ ปรากฏอาการ 1,737 ราย เสยี ชีวิต 403 ราย
(ตารางที่ 1) ร้อยละ 79.06 ของผ้ปู ่ วยเอดสต์ ิดเชือ้ จากการมีเพศสมั พนั ธ์ กลมุ่ อายทุ ป่ี ่ วยมากที่สดุ ได้แก่
กลมุ่ อายุ 25-34 ปี (ร้อยละ 45.84) อตั ราสว่ นระหวา่ งเพศชายตอ่ เพศหญิง เทา่ กบั 2.31 : 1

อาเภอที่มีอตั ราป่ วยตอ่ ประชากรแสนคนสงู สดุ ในปี พ.ศ. 2550 3 อนั ดบั แรก คือ อ. เดมิ บางฯ
อตั ราป่ วยเทา่ กบั 73 ตอ่ ประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ อ.ดอนเจดีย์ และ อ.หนองหญ้าไซ อตั รา
ป่ วย 60 และ 37 ตอ่ แสนประชากร ตามลาดบั ดงั รูปท่ี 1

โรคติดเชือ้ ฉวยโอกาสในผ้ปู ่ วยเอดส์ พบมากทีส่ ดุ 5 อนั ดบั แรกคือ Mycobacterium
tuberculosis, Pulmonary or extrapulmonary (ร้อยละ 34.16) รองลงมา คอื โรคปอดบวมจากเชอื ้
Penicillium carinii ( ร้อยละ 21.12 ) , โรค Cryptococcosis ( ร้อยละ 17.39),โรค Candidiasis ของ
หลอดอาหาร หลอดลม หรือปอด (ร้อยละ 2.76 ) และโรค Pneumonia recurent ( Bacteria) มากกวา่ 1
ครัง้ ใน 1 ปี ( ร้อยละ1.72 ) ตามลาดบั

ตารางท่ี 1 จานวนผ้ปู ่ วยเอดส์และผ้ตู ดิ เชือ้ เอดส์ปรากฏอาการ จาแนกตามสภาพผ้ปู ่ วยขณะรายงาน ตงั้ แต่ พ.ศ. 2533

ถงึ 30 กนั ยายน 2551 จ. สพุ รรณบรุ ี

ประเภทผู้ป่ วย/ พ.ศ. 2533 -ก.ย.51 2546 2547 2548 2549 2550 2551

เสียชีวติ

เอดส์ /เสียชีวติ 4633 / 1502 289 / 91 300 /94 367 / 92 273 /50 253/39 89/16

ผ้ตู ดิ เชือ้ ปรากฏ 1737/ 403 160 / 44 27 / 2 3 / 0 6/ 4 1 / 0 0 / 0
อาการ/เสียชีวติ 6370 / 1905 449 /135 327 /96 379 / 92 279 /54 254/39 89/16

รวม
ที่มา รง.506/1

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี


208

อตั ราต่อ 100,000 ประชากร 2548
2549
80 2550
70
60
50
40
30
20
10
0

ู่อทอง
เดิมบางฯ
สาม ุชก
หศนบีรสอาอปงง ่ดงรหปาะพ่ีลน้ญจั้านา้ชนไ้อมา ์ตางงซ
เมือจง. ุุสสดพพอรรนรรเจณณ ุดีุบบ ์ยีีรร

รูปที่ 1 อตั ราป่ วยตอ่ แสนประชากรด้วยเอดส์และผ้ตู ดิ เชือ้ เอดส์ปรากฏอาการ จาแนกตามท่ีอย่ปู ัจจบุ นั
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2548-2550

2.) สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ เอ็ชไอวี
จากการเฝ้ าระวงั การติดเชือ้ เอ็ชไอวีของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีตงั้ แตเ่ ดือนมิถนุ ายน 2533 จนถงึ

ปัจจบุ นั (มิถนุ ายน 2551) ในกลมุ่ ประชากรท่ีเป็ นตวั แทนของประชากรวยั เจริญพนั ธ์ุ 2 กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่
ชายไทยฯ อายุ 21 ปี และกลมุ่ หญิงตงั้ ครรภ์ พบวา่ กลมุ่ หญิงตงั้ ครรภ์มีแนวโน้มลดลงในช่วงเดือน
มิถนุ ายน 2545 จนถึง มิถนุ ายน 2547 และเพม่ิ ขนึ ้ ในรอบเดือนมิถนุ ายน 2548 และลดลงในสองรอบของ
การสารวจตอ่ มา สว่ นรอบลา่ สดุ มิถนุ ายน2551 เพมิ่ ขนึ ้ จากรอบที่ผา่ นมา คือ จากร้อยละ 0.66 เป็ น
ร้อยละ 1.02

สาหรับความชุกของการตดิ เชือ้ เอ็ชไอวี ชายไทยอายุ 21 ปี มีแนวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เนื่อง
ตงั้ แตร่ อบการสารวจ พฤษภาคม 2538 เป็ นต้นมา จนถงึ รอบลา่ สดุ ไม่พบการตดิ เชือ้ เอ็ชไอวี ดงั รูปที่ 2

ความชุก (%)

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี


209

3.5 ANC
3 ชายไทยฯ
2.5
2
1.5
1
0.5
0

2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551

ANC 1.01 3.21 1.73 1.32 1.72 2.93 2.02 2.02 1.42 1.7 1.45 1.4 0.9 1.36 1.12 0.66 1.02

ชายไทยฯ 3.3 2.7 2.8 1.2 1.2 1.2 0.1 0.3 0.4 1 0 0.4 0 0

รูปที่ 2 อตั ราความชกุ การตดิ เชือ้ เอ็ชไอวี กลมุ่ หญิงตงั้ ครรภ์ และชายไทยอายุ 21 ปี ฯ
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ.2535-2551

ประชากรกลมุ่ เสยี่ งได้แก่ กลมุ่ หญิงบริการตรง หญิงบริการแฝง ผ้ตู ดิ ยาเสพติด และชายทม่ี า
ตรวจกามโรคในช่วง 16 ปี ทผี่ า่ นมา หญิงบริการตรง และหญิงบริการแฝง มีแนวโน้มลดลงอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
รอบลา่ สดุ พบความชกุ ร้อยละ 6.7 ในกลมุ่ หญิงบริการตรง และร้อยละ 1.3 ในกลมุ่ หญิงบริการแฝง กลมุ่
ผ้ตู ิดยาเสพติดมีแนวโน้มลดลงเชน่ เดียวกนั รอบลา่ สดุ พบความชกุ ร้อยละ 1.8 สว่ นกลมุ่ ชายทีม่ าตรวจ
กามโรคมีแนวโน้มขนึ ้ ลงไมค่ งท่ี รอบลา่ สดุ พบอตั ราความชุกร้อยละ 5 ดงั รูปท่ี 3

ความชกุ (%)

70

60

50

40

30

20 ญ.บริการตรง

10 ญ.บริการแฝง

0 ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ
2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551
ชายทม่ี าตรวจ
ญ.บริการตรง 36.13 25.7 31.7 32.4 30.5 27.5 22.7 22.2 22.7 19.6 12.4 18.3 13.7 10.8 10.8 6.7 กามโรค

ญ.บริการแฝง 21.3 16.4 10.4 13.4 9.5 9.7 7.7 11.9 9.2 9 6.1 12 9.5 7.8 0 1.3

ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 38.9 32.3 41.8 47.1 53.3 57.6 38.1 42.1 38.2 27.9 7.9 13.6 10 1.5 0 1.8

ชายท่ีมาตรวจกามโรค 0 14.3 23.2 25.7 13.5 13.3 16.2 11.4 9.9 2.2 3.9 7.9 11.4 2.3 10.9 5

รูปท่ี 3 อตั ราความชกุ การตดิ เชือ้ เอช็ ไอวี กลมุ่ หญิงบริการตรง หญิงบริการแฝง ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ
และชายที่มาตรวจกามโรค จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ.2536-2551

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


210

3)สถานการณ์โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์
สถานการณ์โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551 มีอตั รา

ป่ วย 8.5 ตอ่ ประชากรแสนคน และเมื่อพิจารณาแนวโน้ม 5 ปี ย้อนหลงั ตงั้ แตป่ ี 2547-2551 มีแนวโน้ม
ขนึ ้ ลงไม่คงที่ คืออตั รา 9.1 ,7.8 , 9.2 ,7.8 และ 8.5 ตอ่ ประชากรแสนคน เม่ือพิจารณาเป็ นรายโรค 5 โรค
ได้แก่ ซฟิ ิลสิ ,หนองใน ,แผลริมอ่อน, กามโรคของตอ่ มและทอ่ นา้ เหลอื ง และหนองในเทยี ม พบวา่ โรค
หนองในมีแนวโน้มเพม่ิ ขนึ ้ อยา่ งชดั เจนในชว่ ง 3 ปี ทผ่ี า่ นมา (2549-2551) อตั รา 5.2 , 5.5, และ 6.1
ตารางที่ 2 และ รูปที่ 4

ตารางท่ี 2 จานวนและอตั ราป่ วยตอ่ แสนประชากร ด้วยโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ จาแนกตามชนิด โรค 5 โรค

ปีงบประมาณ 2547-2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ปี งบประมาณ

ชนิดโรคตดิ ตอ่ 2547 2548 2549 2550 2551

ทางเพศสมั พนั ธ์ จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา

หนองใน 44 5.1 44 5.1 45 5.2 48 5.5 51 6.1

ซฟิ ิลสิ 28 3.3 22 2.5 25 2.9 15 1.7 11 1.3

หนองในเทียม 1 0.1 1 0.1 9 1 1 0.1 7 0.8

แผลริมอ่อน 4 0.5 0 0 1 0.1 0 0 0 0

กามโรคของตอ่ มฯ 1 0.1 1 0.1 0 0 4 0.5 2 0.2

รวม 78 9.1 68 7.8 80 9.2 68 7.8 71 8.5

ทีม่ า รง. ก1,ก2

อตั ราต่อ 100,000 ประชากร หนองใน
12 ซิฟิ ลิส
10 หนองในเทียม
8 แผลริมออ่ น
6 กามโรคของตอ่ มฯ
4 กามโรครวม
2
0
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551

รูปที่ 4 อตั ราป่ วยตอ่ แสนประชากร ด้วยโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ จาแนกตามชนิดโรค 5 โรค
ปีงบประมาณ 2545-2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


211

4.สถานการณ์ด้านพฤติกรรมทีส่ มั พนั ธ์กบั การติดเชือ้ เอ็ชไอวี
การเฝ้ าระวงั พฤตกิ รรมท่ีสมั พนั ธ์กบั การตดิ เชือ้ เอชไอวีวยั รุ่นจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ.2548-2551

ทาการสารวจพฤติกรรม(Cross sectional Survey) ในกลมุ่ ประชากร 6 กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่ นกั เรียนชายชนั้
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 กลมุ่ นกั เรียนหญิงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 กลมุ่ นกั เรียนชายชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 กลมุ่
นกั เรียนหญิงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี5 และกลมุ่ นกั เรียนอาชีวศกึ ษาชาย(ปวช.ปี 2) กลมุ่ นกั เรียนอาชีวศกึ ษา
หญิง (ปวช.ปี 2) การคดั เลอื กตวั อยา่ งใช้วธิ ีการสมุ่ ตวั อยา่ งแบบงา่ ย (Simple Random Sampling) ใน
ทกุ กลมุ่ ประชากร จานวนตวั อยา่ งอยทู่ ่ีกลมุ่ ละ 340-460 ตวั อยา่ ง ผลการเฝ้ าระวงั พฤติกรรมฯ รอบ 4 ปี ที่
ผา่ นมา (2548-2551 ) พบวา่

การมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ แรก ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ทงั้ เพศชายและหญิงมีสดั สว่ น
คอ่ นข้างต่า ไม่ถึงร้อยละ 5 , นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 กลมุ่ นกั เรียนชายมีแนวโน้มลดลง (ร้อยละ
18,21,21และ 19 ตามลาดบั ) กลมุ่ นกั เรียนหญิงมีแนวโน้มขนึ ้ ลงไม่คงที่ (ร้อยละ 8,13,5 และ 11
ตามลาดบั ) , นกั เรียนอาชีวศกึ ษา(ปวช.ปี 2) กลมุ่ นกั เรียนชายมีแนวโน้มคอ่ นข้างคงท่ี (ร้อยละ 28,25,27
และ 27 ตามลาดบั ) กลมุ่ นกั เรียนหญิงมีแนวโน้มสงู ขนึ ้ (ร้อยละ 16, 18,27 และ27 ตามลาดบั ) ดงั รูปท่ี 5

อายเุ ฉลยี่ ของการมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ แรก นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ทงั้ เพศชายและหญิง
อยทู่ ี่อายุ 13 ปี นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 และนกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.ปี 2 ทงั้ เพศชายและเพศหญิง
อยทู่ อ่ี ายุ 15 ปี เทา่ กนั ทงั้ 4 รอบการสารวจ ดงั รูปท่ี 6

ร้อยละ

30 28 25 27 27 27 27

25 18 21 21 19 16 18
20

15 33 1 3 13 11
10 6 8
5 342
5

0
นร.ชาย ม.2 นร.หญงิ ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญงิ ม.5 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญงิ

2548 2549 2550 2551

รูปท่ี 5 ร้อยละของการมเี พศสมั พนั ธ์ครัง้ แรกของกลมุ่ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย /หญิง,
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี


212

ร้ อยละ

16 13 13 13 13 14 15 15 14 15 15 1515 15 15 15 16 15 15 15 15 15
14 13 13 13

12

10

8

6

4

2

0
นร.ชาย ม.2 นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญิง

2548 2549 2550 2551

รูปท่ี 6 ร้อยละของอายเุ ฉล่ยี การมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ แรกของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย /หญิง,
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในรอบปี ทผ่ี า่ นมา กบั แฟน/คนรักของการสารวจ 4 รอบ พบวา่ อตั รา
การใช้ถงุ ยาง ฯ มีแนวโน้มเพิ่มขนึ ้ ในกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ทงั้ เพศชายและหญิง (รอบลา่ สดุ
ชายอยทู่ ีร่ ้อยละ 57 หญิง อยทู่ รี่ ้อยละ 73) และกลมุ่ นกั เรียนชายชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 (รอบลา่ สดุ อยทู่ ี่
ร้อยละ 81) สว่ นกลมุ่ นกั เรียนหญิงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 และนกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ทงั้ เพศชายและ
หญิง มีแนวโน้มอตั ราใช้ถงุ ยางอนามยั ลดลง (รอบลา่ สดุ อยทู่ ี่ร้อยละ 18, 37 และ 19 ตามลาดบั ) รูปท่ี 7

ร้ อยละ

100 81 84 88
73 73
80
57 50 47 37
37 26
60 43 27 23 24
40 25 33 17 25 30 9 18 19
20

0 นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญิง
นร.ชาย ม.2
2548 2549 2550 2551

รูปท่ี 7 อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั กบั แฟนคนรักในรอบปีท่ีผา่ นมาของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย /หญิง,
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


213

อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในรอบปี ท่ีผา่ นมา กบั คนอ่ืน พบวา่ อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั มี
แนวโน้มลดลงอยา่ งชดั เจนในกลมุ่ นกั เรียนหญิงมธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 และนกั เรียนอาชีวศกึ ษา (ปวช.2) ทงั้
เพศชายและเพศหญิง (รอบลา่ สดุ อยทู่ ี่ นร.หญิง ม.5 อยทู่ ี่ร้อยละ 18 นร.ปวช. 2 ชาย อยทู่ รี่ ้อยละ 37
และ นร.ปวช.2 หญิง อยทู่ ่ี ร้อยละ 19 ) สาหรับนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ทงั้ เพศชายและหญิงไม่มี
เพศสมั พนั ธ์กบั คนอ่ืนในการสารวจรอบลา่ สดุ สว่ นกลมุ่ นกั เรียนชายชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 มีอตั ราการใช้
ถงุ ยางฯเพ่มิ จากรอบท่ีผา่ นมาเลก็ น้อย แตเ่ ม่ือพิจารณารายกลมุ่ ตวั อยา่ งของรอบลา่ สดุ พบวา่ มีอตั ราการ
ใช้ถงุ ยางฯ ในสดั สว่ นท่ีคอ่ นข้างต่า (ร้อยละ 15-37) ดงั รูปท่ี 8

100 100 100 100 84 88
80 67 73

60 47
40 25 27
20 12 15 27 23 18 37
9 26
24 19

0 นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญิง
นร.ชาย ม.2
2548 2549 2550 2551

รูปที่ 8 อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในรอบปีที่ผา่ นมากบั คนอ่ืนของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย /หญงิ ,
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในการมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ ลา่ สดุ กบั แฟน/คนรัก พบวา่ อตั ราการใช้
ถงุ ยางอนามยั ในกลมุ่ นกั เรียนชายชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 และกลมุ่ นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ทงั้ เพศชาย
และเพศหญิง มีแนวโน้มการใช้ถงุ ยางฯ เพ่ิมสงู ขนึ ้ สว่ นของกลมุ่ นกั เรียนหญิงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 5 อตั รา
การใช้ถงุ ยางฯลดลงจากรอบการสารวจท่ผี า่ นมา สาหรับกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ทงั้ เพศชาย
และเพศหญิง ไมใ่ ห้ข้อมลู และเมื่อพจิ ารณาภาพรวมแตล่ ะกลมุ่ ตวั อยา่ งของรอบการสารวจลา่ สดุ มีอตั รา
การใช้ถงุ ยางอนามยั อยทู่ ี่ร้อยละ 40-57 ดงั รูปที่ 9

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


214

ร้ อยละ

100 91

80 50 57 46 54 54
60 44 40 45 40 39 41
26 26 27
60 53 16
1
40 28 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญิง
นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5
20
2548 2549 2550 2551
0
นร.ชาย ม.2

รูปท่ี 9 อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในการมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ ลา่ สดุ กับแฟน คนรักของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
ชาย /หญิง, นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในการมีเพศสมั พนั ธ์ครัง้ ลา่ สดุ กบั คนอื่น พบวา่ อตั ราการใช้ถงุ ยาง
อนามยั มีแนวโน้มเพ่มิ ขนึ ้ ในกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 2 ทงั้ เพศชายและหญิง และกลมุ่ นกั เรียน
อาชีวศกึ ษา ปวช.2 ทงั้ เพศชายและหญิง โดยเฉพาะกลมุ่ นกั เรียนหญิงชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5 และ นกั เรียน
อาชีวศกึ ษาหญิง ปวช. 2 มอี ตั ราการใช้ถงุ ยางฯกบั คนอ่ืนสงู ถงึ ร้อยละ 100 ของการสารวจลา่ สดุ แตก่ ลมุ่
อาชีวศกึ ษาชาย ปวช.2 ถงึ แม้จะมีแนวโน้มของการใช้ถงุ ยางอนามยั เพ่ิมสงู ขนึ ้ จากรอบทผ่ี า่ นมาแตม่ ีอตั รา
การใช้ถงุ ยางฯ คอ่ นข้างต่า (ร้อยละ 30) สาหรับกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 ทงั้ เพศชายและเพศ
หญิง ไม่ให้ข้อมลู ดงั รูปที่ 10

ร้ อยละ

100 100 100 100
80 83 50 48
80
65 ปวช.2 หญิง
60 50
40 34 40
20 14 46

0 27 20 30
นร.ชาย ม.2 23

1

นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5 ปวช.2 ชาย

2548 2549 2550 2551

รูปที่ 10 อตั ราการใช้ถงุ ยางอนามยั ในการมเี พศสมั พนั ธ์ครัง้ ลา่ สดุ กับคนอ่ืนของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
ชาย /หญิง, นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


215

ความรู้เรื่องโรคเอดส์ พบวา่ ทกุ กลมุ่ ตวั อยา่ งสามารถตอบข้อคาถามถกู ครบทกุ ข้อ(6 ข้อ) มี
สดั สว่ นคอ่ นข้างตา่ ไมเ่ กินร้อยละ 20 กลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 2 มีสดั สว่ นตอบถกู ครบทกุ ข้อต่า
ที่สดุ ดงั รูปท่ี 11

ร้ อยละ 16 16 16 17 20 15 15 15 14
20 13 14 13 12 11 12

15 6777 8

10
5 4 554

0 นร.หญิง ม.2 นร.ชาย ม.5 นร.หญิง ม.5 ปวช.2 ชาย ปวช.2 หญิง
นร.ชาย ม.2
2548 2549 2550 2551

รูปที่ 11 ร้อยละความรู้เรื่องโรคเอดส์ตอบถกู ครบ 6 ข้อ ของกลมุ่ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย/หญิง,
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี 5 ชาย/หญิง นกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช.2 ชาย/หญิง จ.สพุ รรณบรุ ี 2548-2551

จากสภาพปัญหาเอดส์และโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี ทาให้ทราบวา่
ประชากรสว่ นหนง่ึ มีพฤตกิ รรมท่ีเสยี่ งตอ่ การตดิ เชือ้ เอ็ชไอวี โดยเฉพาะวยั รุ่นท่ีมีเพศสมั พนั ธ์คอ่ นข้าง
รวดเร็ว และสว่ นใหญ่ไมน่ ิยมการใช้ถงุ ยางอนามยั ซงึ่ สอดคล้องกบั ปัญหาของการแพร่ระบาดโรคหนอง
ในทม่ี ีแนวโน้มเพ่มิ สงู ขนึ ้ มีระดบั ความรู้เร่ืองโรคเอดส์คอ่ นข้างตา่ ดงั นนั้ การป้ องกนั และควบคมุ โรคเอดส์
ในพนื ้ ท่ี จะต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจท่ถี กู ต้องแกป่ ระชาชน โดยเฉพาะกลมุ่ วยั รุ่นให้มีความรู้เร่ืองเอดส์
อนามยั การเจริญพนั ธ์ุ และการไม่มีเพศสมั พนั ธ์ก่อนถึงวยั อนั ควร อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพ่อื ลดปัญหาการ
ตงั้ ครรภ์ทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ตงั้ ครรภ์อายนุ ้อย และลดการติดโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์และเอ็ชไอวี

ผลการดาเนินงาน
1) โครงการพฒั นาระบบบริการและตดิ ตามผลการรักษาผู้ติดเชือ้ เอช็ ไอวี และผ้ปู ่ วย

โรคเอดส์ ผู้ใหญ่ และเด็ก ด้วยยาต้านไวรัส

จงั หวดั สพุ รรณบุรีได้ดาเนินการดแู ลรักษาผ้ตู ดิ เชือ้ เอ็ชไอวี/ผ้ปู ่ วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
ภายใต้การบริหารจดั การกองทนุ เอดส์สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตติ อ่ เนื่องมาโดยตลอด ซง่ึ
งบประมาณ 2551 ผลงานการให้บริการดแู ลรักษาผ้ตู ดิ เชือ้ เอ็ชไอวที มี่ ีอาการและผ้ปู ่ วยเอดสท์ ่ีมีข้อบง่ ชีใ้ น

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


216

การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ ทงั้ หมดมีจานวน 384 ราย และผ้ตู ดิ เชือ้ เอ็ชไอวที ม่ี ีอาการและผ้ปู ่ วยเอดส์
ทีม่ ีข้อบง่ ชีใ้ นการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ ได้รับการรักษาจานวน 351 ราย คิดเป็ น ร้อยละ 91.4 และ เม่ือ
พิจารณา เป็ นรายโรงพยาบาล พบวา่ ผลการดาเนินงานผา่ นเกณฑ์ คือ ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 70 ตารางท่ี 3

จานวนผ้ปู ่ วยเอดสท์ ีเ่ ข้าถงึ ระบบบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ และยงั คงรับประทานยา
ต้านไวรัสในแต่ละปี อยทู่ ่ี 300-400 ราย และ ณ ปัจจุบนั มีผ้ปู ่ วยรับประทานยารวม 1,737 ราย คิดเป็ น
ร้อยละ 40 ของจานวนผ้ปู ่ วยเอดส์ทีย่ งั คงมีชีวติ อยู่ (4,465 ราย) ทเ่ี ข้าถึงระบบบริการรักษาด้วยยาต้าน
ไวรัสเอดส์ ดงั นนั้ การทางานด้านแก้ไขปัญหาเอดสต์ ้องเร่งดาเนินการรณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ให้กลมุ่ เสย่ี ง
ได้เข้าถึงระบบบริการดแู ลรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดสใ์ ห้มากขนึ ้ ซง่ึ กลยทุ ธ์ท่ที าให้การเข้าถงึ การบริการ
ดแู ลรักษาผ้ตู ิดเชือ้ เอดส์คือการเข้าถึงบริการปรึกษาเพ่อื เจาะเลอื ดอยา่ งสมคั รใจ (VCT) เพือ่ กระต้นุ ให้
กลมุ่ ท่ีป่ วยแล้วได้รับการรักษาได้เร็วขนึ ้ ซงึ่ จะทาให้ยืดอายใุ ห้ยนื ยาวขนึ ้ ตารางท่ี 4

ตารางที่ 3 จานวนผ้ตู ิดเชือ้ เอ็ชไอวี ท่ีมอี าการและผ้ปู ่ วยเอดส์ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เอ็ชไอวี
ปีงบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์ โรงพยาบาล ผลการดาเนินงาน
เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ
0705 ร้อยละของผ้ตู ดิ เชือ้ ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ รพศ.เจ้าพระยายมราช
HIV ท่ีมอี าการและผ้ปู ่ วย 70 รพท.สมเดจ็ พระสงั ฆราชฯ 89 77 86.5
เอดสท์ ่ีได้รับการรักษา รพช.อ่ทู อง 58 58 100
ด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ รพช.ดอนเจดีย์ 55 50 90.9
รพช.บางปลาม้า 22 19 86.4
ที่มา รง.520 รพช.ศรีประจนั ต์ 27 20 74.1
รพช.เดมิ บางนางบวช 25 25 100
รพช.สามชกุ 32 29 90.6
รพช.ดา่ นช้าง 24 24 100
รพช.หนองหญ้ าไซ 31 30 96.8
31 19 90.5
รวม 394 351 91.4

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


217

ตารางท่ี 4 จานวนผ้ปู ่ วยเอดส์ท่ีได้รับยาต้านไวรัสเอ็ชไอวีและกินยา ณ ปัจจบุ นั จาแนกรายโรงพยาบาล

ปี งบประมาณ 2547-2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี

โรงพยาบาล 2547 2548 2549 2550 2551 รวม

รพศ.เจ้าพระยายมราช 153 96 90 86 87 512

รพท.สมเด็จฯ 98 49 60 27 66 300

รพช.อูท่ อง 49 47 55 49 52 252

รพช.ดอนเจดยี ์ 9 13 9 15 23 69

รพช.บางปลาม้า 13 15 25 17 26 96

รพช.ศรีประจนั ต์ 19 16 17 16 26 94

รพช.เดิมบางนางบวช 16 29 24 16 31 116

รพช.สามชกุ 17 28 15 16 20 96

รพช.ดา่ นช้าง 29 31 19 36 31 146

รพช.หนองหญ้ าไซ 6 8 12 8 12 46

รพช.วิภาวด-ี ปิ ยราษฎร์ 0 0 0 5 5 10

สถานพยาบาล หมอ 0 0 0 0 0 0

สาเริง

รวม 409 332 326 286 384 1737

ท่ีมา รายงานเฉพาะการณ์ 2

2.) โครงการส่งเสริมการใช้ถงุ ยางอนามัย เพ่อื ป้ องกนั โรคเอดส์และโรคตดิ ต่อทาง
เพศสัมพนั ธ์

2.1 กระจายถงุ ยางอนามยั ฟรีแกป่ ระชากรกลมุ่ ตา่ งๆ ได้แก่ พนกั งานบริการทางเพศ,
ประชาชนทวั่ ไป, นกั เรียน/นกั ศกึ ษา, และสถานประกอบการโรงแรม พบวา่ ภาพรวมการกระจายถงุ ยาง
อนามยั ฟรีสนบั สนนุ แกก่ ลมุ่ ประชากรดงั กลา่ ว มีจานวนเพม่ิ สงู ขนึ ้ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประชากรทว่ั ไปและ
กลมุ่ นกั เรียนนกั ศกึ ษา และมีข้อทนี่ า่ สงั เกตคือกลมุ่ ประชากรดงั กลา่ ว มีความต้องการใช้ถงุ ยางอนามยั
ขนาดใหญ่ ( Size 52) เพ่ิมมากขนึ ้ ตารางท่ี 5, ตารางท่ี 6

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี


218

ตารางท่ี 5 จานวนการกระจายถงุ ยางอนามยั ฟรีแก่ประชากรกลมุ่ ตา่ งๆ เพ่ือป้ องกนั โรคเอดสแ์ ละโรคตดิ ตอ่ ทาง

เพศสมั พนั ธ์ ปีงบประมาณ 2547 – 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จาแนกตามกลุ่มประชากร

กลุ่มประชากร 2547 2548 2549 2550 2551

พนกั งานบริการทางเพศ 202,334 162,157 242,860 235,170 194,447
ประชาชนทว่ั ไป 144,448 133,318 303,504 278,114 315,041
นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 41,014 35,581 63,932 87,098 95,335
ผ้ตู ดิ เชือ้ เอ็ชไอวี 14,186 33,726 58,808 64,986
ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ - 1,040 1,200
สถานประกอบการโรงแรม - 20 - 75,541 93,122
17,500 12,220 55,134 735,771 764,131
รวม 405,296 357,482 699,156

ท่ีมา รง. ตอ. 100

ตารางท่ี 6 จานวนความต้องการใช้ถงุ ยางอนามยั ขนาดใหญ่ (Size) เพอ่ื ป้ องกนั โรคเอดส์และโรคตดิ ตอ่ ทาง

เพศสมั พนั ธ์ ปีงบประมาณ 2547 – 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จาแนกตามกลมุ่ ประชากร

กลมุ่ ประชากร 2547 2548 2549 2550 2551

พนกั งานบริการทางเพศ 23,900 4,800 5,700 1,500 33,762

ประชาชนทวั่ ไป 7,050 1,000 2,700 4,400 29,576

นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 700 900 100 8,936

ผ้ตู ดิ เชือ้ เอ็ชไอวี 1,300 4,000 7,036

ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ 1,050

สถานประกอบการโรงแรม 100 6,000 8,232

รวม 32,250 6,500 9,400 16,000 88,592

ท่ีมา รง. ตอ. 100

3) โครงการสนับสนุนและประสานความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการควบคมุ และป้ องกนั
โรคเอดส์ในพนื้ ท่ี

ปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้รับงบประมาณเพือ่ สนบั สนนุ และประสานความ
ร่วมมือภาคเี ครือขา่ ยในการควบคมุ และป้ องกนั โรคเอดส์ในพืน้ ท่ี จานวน 322,000 บาท ได้นามาจดั
ประชมุ เพอื่ ประสานความร่วมมือคณะอนกุ รรมการฯระดบั จงั หวดั จานวน 2 ครัง้ สนบั สนุนประสานความ
ร่วมมือคณะทางานศนู ย์ปฏบิ ตั ิร่วมป้ องกนั และแก้ไขปัญหาเอดสอ์ าเภอจานวน 10 อาเภอ ด้วยการจดั
ประชมุ สมั มนา 2 ครัง้ /ปี ซง่ึ คณะทางานฯอาเภอจดั ประชมุ ได้อาเภอละ 1-2 ครัง้ /ปี และสนบั สนนุ
กิจกรรมการป้ องกนั และแก้ไขปัญหาเอดส์แกห่ น่วยงานในคณะอนกุ รรมการฯ จานวน 10 โครงการ (10
หนว่ ยงาน) และแตล่ ะหนว่ ยงานที่ได้รับการสนบั สนุ นงบประมาณได้สรุปและนาเสนอผลการดาเนินงาน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


219

ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ นอกจากนไี ้ ด้สนบั สนนุ งบประมาณสว่ นหนง่ึ ให้คณะทางานฯอาเภอ จดั กิจกรรม
รณรงค์ตอ่ ต้านโรคเอดสใ์ นวนั เอดสโ์ ลกและวนั วาเลนไทน์ ผลการรณรงค์ พบวา่ กลมุ่ เยาวชนและวยั รุ่น
(อายุ 10-24 ปี ) เข้าร่วมกิจกรรมจานวน 30,079 คน แยกเป็ นในสถานศกึ ษา 22,301 คน นอก
สถานศกึ ษา 7,778 คน กลมุ่ ประชาชนทวั่ ไป 6,566 คน รวมทงั้ สนิ ้ 36,654 คน

4) โครงการวยั ใสเข้าใจเร่ืองเอดส์ รู้เร่ืองอนามยั การเจริญพนั ธ์ไุ ม่มเี พศสัมพันธ์ก่อน
ถงึ วยั อันควร

จงั หวดั สพุ รรณบุรีให้ความสนใจกบั ปัญหาวยั รุ่นท่มี ีเพศเสรีมากขนึ ้ ทาให้เกิดปัญหาการ
ตงั้ ครรภ์ที่ไม่พงึ ประสงค์ ตงั้ ครรภ์อายนุ ้อย การติดโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์และเอดส์ จงึ ได้จดั กิจกรรม
ให้ความรู้เรื่องเอดส์ อนามยั การเจริญพนั ธ์ุ เพ่อื ป้ องกนั การมีเพศสมั พนั ธ์ก่อนวยั อนั ควรในกลมุ่ นกั เรียนชนั้
มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 และนกั เรียนอาชีวศกึ ษา ปวช. 2 ในสถานศกึ ษาทกุ แหง่
(โรงเรียนขยายโอกาส, โรงเรียนมธั ยม และ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา) จานวน 129 แหง่ โดยได้รับงบประมาณ
สนบั สนนุ จาก สปสช. งบ PP area base 35 % การประเมินความรู้ และพฤติกรรมทางเพศภายหลงั การ
จดั กิจกรรม กาลงั อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี


220

งานคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภค

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


221

สรุปผลการดาเนนิ งานคุ้มครองผ้บู ริโภค ปี งบประมาณ 2551

@ ด้านยา @

การดาเนินการตรวจสถานประกอบการร้านขายยาและผลิตยาแผนโบราณ

ขายยาแผนปัจจุบนั จานวน 106 แห่ง

ขายยาแผนปัจจุบนั บรรจุเสร็จฯ จานวน 86 แห่ง

ขายยาแผนปัจจบุ นั บรรจุเสร็จสาหรับสตั ว์ จานวน 11 แห่ง

ขายยาแผนโบราณ จานวน 54 แห่ง

ผลิตยาแผนโบราณ จานวน 19 แห่ง

รวมท้งั ส้ิน จานวน 276 แห่ง

การต่ออายุใบอนญุ าต

ขายยาแผนปัจจุบนั จานวน 106 ฉบบั

ขายยาแผนปัจจุบนั บรรจุเสร็จฯ จานวน 86 ฉบบั

ขายยาแผนปัจจุบนั บรรจุเสร็จสาหรบั สตั ว์ จานวน 11 ฉบบั

ขายยาแผนโบราณ จานวน 54 ฉบบั

ผลิตยาแผนโบราณ จานวน 19 ฉบบั

จาหน่ายยาเสพตดิ ให้โทษ ในประเภท 3 จานวน 33 ฉบบั

ขายวตั ถุออกฤทธ์ิตอ่ จิตประสาท ในประเภท 3,4 จานวน 44 ฉบบั

ครอบครองหรือใชป้ ระโยชน์ซ่ึงวตั ถุออกฤทธ์ิ จานวน 44 ฉบบั

จาหน่ายซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษ ประเภท 2 จานวน 10 ฉบบั

การออกใบอนญุ าต

ใบอนุญาตขายยา จานวน 9 ฉบบั

วตั ถุเสพตดิ จานวน 10 ฉบบั

การเปล่ยี นแปลงแก้ไขรายการในใบอนุญาต

การเปล่ียนแปลงรายการในใบอนุญาต จานวน 33 รายการ

การยกเลิกใบอนุญาตขายยา จานวน 10 ฉบบั

การยกเลิกใบอนุญาตวตั ถุเสพตดิ จานวน 15 ฉบบั

การเฝ้ าระวงั ด้านผลิตภัณฑ์ยา

1. เกบ็ ตวั อยา่ งยาแผนโบราณจากแหล่งผลิตส่งตรวจวเิ คราะห์ดา้ นคุณภาพมาตรฐาน

จานวน 16 ตวั อยา่ ง

ผลการตรวจวเิ คราะห์ ผา่ นมาตรฐาน จานวน 16 ตวั อยา่ ง

(ตรวจวเิ คราะห์โดยศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยส์ มุทรสงคราม)

2. เก็บตวั อยา่ งยาแผนโบราณจากสถานท่ีจาหน่าย จานวน 3 ตวั อยา่ ง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


222

ผลการตรวจวเิ คราะห์ ผา่ นมาตรฐาน จานวน 2 ตวั อยา่ ง

ตกมาตรฐาน จานวน 1 ตวั อยา่ ง

(ตรวจวเิ คราะห์โดยกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข)

หมายเหตุ แจง้ ผลวเิ คราะหย์ าที่ตกมาตรฐานใหจ้ งั หวดั ทสี่ ถานที่ผลิตอยใู่ นเขตพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ

ดาเนินการตรวจสอบ

ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนเก่ยี วกับยา

รบั เรื่อง...10......เร่ือง ผลการดาเนินงาน......10........เรื่อง คิดเป็น...100%....
ตกั เตอื น.......6.........เรื่อง ดาเนินคดี / ส่งฟ้ องศาล........3.......เรื่อง
เปรียบเทยี บปรบั .......-..........ราย รอผลการดาเนินงาน.....-.......เร่ือง
ตรวจสอบแลว้ ไม่พบความผดิ ตามทรี่ อ้ งเรียน...........1.........เรื่อง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


ผลการตรวจสองเรื่องร้องเรียน พ.ร.บ.ยา 22

ลาดบั วนั /เดือน/ปี เร่ือง ชื่อ - สถานที่เขา้ ไป เจา้ ของผดู้ าเนินกิจการ
ตรวจสอบ นายดุสิต
1 14 ธ.ค.50 จาหน่ายวตั ถุออกฤทธ์ิ ,ยา
ควบคุมพิเศษ ,โดยไมไ่ ด้ ร้านดุสิตเวชภณั ฑ์ แสงรุ่งเรืองศรี
รับอนุญาตและขายยาไม่ 103/5 ม.4 ต.สวนแตง
ตรงประเภทใบอนุญาต อ.เมอื ง จ.สุพรรณบรุ ี

2 5 ก.พ.51 ผลิตและขายยาโดยไมไ่ ด้ 84/4 ม.4 ต.ดอนโพธ์ิ นายบญุ ช่วย ฉายวงศ์

รับอนุญาต ทอง อ.เมือง จ.

สุพรรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธาร


23

การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ

คร้ ังท่ี

สสจ.สุพรรณบรุ ี ไดด้ าเนินการขอหมายคน้ จาก ส่งเร่ืองให้ สภ.เมือง 1-

ศาลจงั หวดั สุพรรณบรุ ี เขา้ ตรวจคน้ เมือ่ วนั ท่ี 20 สุพรรณบุรี ดาเนินคดี

ธนั วาคม 50 ผลการตรวจคน้ พบ

- ยาไม่มเี ลขทะเบยี นตารับ

- ยาเพกิ ถอนทะเบยี นตารับ

- วตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตประสาทในประเภท 3,4

- ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 3

จานวน หลายสิบรายการ จึงยดึ ของกลางท้งั หมด

ส่งพนกั งานสอบสวน สภ.เมืองสุพรรณบรุ ี

จากการตรวจสอบพบว่า นายบุญเลิศ เกิดสุพรรณ ดาเนินการตกั เตือนและให้ - -

เป็นช่ือทใ่ี ชใ้ นการจดั รายการวทิ ยุ งดการกรระทาดงั กล่าว

ของ นายบุญช่วย ฉายวงศ์ จากการสอบถามนาย นายบญุ ช่วย ฉายวงศ์

บุญช่วย ให้การว่าไดจ้ าหน่ายยาแผนโบราณ ซ่ึงมี ไดร้ ับใบอนุญาตขายยาแผน

สรรพคุณในการรักษาโรคอมั พฤกษจ์ ริงแต่ไม่ โบราณเรียบร้อยแลว้

พบยาของกลาง โดยจาหน่ายยาท่ี บา้ นเลขที่ 84/4 ม.4 ส่วนสถานที่ผลิตยาแผน

อ.เมอื ง จ.สุพรรณบรุ ี ซ่ึงกาลงั ยนื่ เร่ืองขออนุญาต โบราณกาลงั อยใู่ นระหว่าง

ขายยาแผนโบราณ ต่อสสจ.สุพรรณบุรี และกาลงั การก่อสร้าง และสสจ.

ดาเนินการก่อสร้างสถานทผี่ ลิตยาแผนโบราณ สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ฝ้ าระวงั

และจะไดข้ ออนุญาตผลิตยาและข้ึนทะเบียนยา การผลิตยาระหว่างที่

แผนโบราณใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎหมาย ต่อไป สถานท่ผี ลิตยายงั ไม่ไดข้ อ

อนุญาต

รณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


22

ลาดบั วนั /เดือน/ปี เรื่อง ช่ือ - สถานทเ่ี ขา้ ไป เจา้ ของผดู้ าเนิน
ตรวจสอบ กิจการ
3 13 มี.ค.51 โฆษณาการขายยาทาง
สถานีวิทยุ 84/4 ม.4 นายบุญช่วย ฉายวงศ์
ต.ดอนโพธ์ิทอง อ.เมือง
จ.สุพรรณบรุ ี

4 4 เม.ย.51 ผลิตยาแผนโบราณโดย 1890/6 ม.6 ต.อ่ทู อง นางสาวสุรางค์

ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต อ.อ่ทู อง จ.สุพรรณบุรี โรจน์บุญถึง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธาร


24

การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ
ไดด้ าเนินการตรวจสอบ กรณีบา้ นเลขที่ 84/4
ม.4 ต.ดอนโพธ์ิทอง อ.เมอื ง จ.สุพรรณบรุ ี มกี าร คร้ ังท่ี
โฆษณาสรรพคุณของยาว่าสามารถรักษาโรคได้
สารพดั จากการตรวจสอบ พบวา่ นายบุญช่วย ไดด้ าเนินการตกั เตือน - -
ฉายวงศ์ เป็นเจา้ ของและผโู้ ฆษณา และมกี าร
โฆษณาทางสถานีวทิ ยุ จริง เจา้ ของโฆษณาและให้

ไดด้ าเนินการตรวจสอบสถานท่ดี งั กล่าว พบมี หยดุ การโฆษณาทาง
การจาหน่ายยาแผนโบราณจริง
สถานีวิทยุ พนกั งาน

เจา้ หนา้ ทไ่ี ดช้ ้ีแจงว่าหาก

ตอ้ งการโฆษณาตอ้ งขอ

อนุญาตโฆษณาให้ถกู ตอ้ ง

ถอ้ ยคาที่โฆษณาตอ้ งไม่

เป็นการฝ่าฝืน พรบ.ยา.

พ.ศ.2510 หากตรวจพบ

การโฆษณาทีไ่ ม่ถกู ตอ้ ง

อีก จะดาเนินการตาม

กฎหมาย

ไดด้ าเนินการตกั เตือนและ - -

ให้งดการกระทาดงั กล่าว

หากมคี วามประสงคจ์ ะทา

ต่อตอ้ งขออนุญาตขายยา

แผนโบราณให้ถูกตอ้ ง ต่อ

สสจ.สุพรรณบรุ ี และยาที่

ขายตอ้ งเป็นยาทมี่ เี ลข

ทะเบยี นตารับถูกตอ้ ง

รณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี


ลาดบั วนั /เดือน/ปี เร่ือง ช่ือ - สถานท่ีเขา้ ไป 22
ตรวจสอบ
5 17 เม.ย.51 ร้านทองขายยา เจา้ ของผดู้ าเนิน
ลดความอว้ น ร้านทองแมถ่ ุงเงิน กิจการ
246 ม.5 ต.หนอง
มะค่าโมง อ.ด่านชา้ ง นายสัชฌกุ ร
จ.สุพรรณบรุ ี เตม็ วิริยะนุกลู

6 23 พ.ค.51 ตรวจสอบการผลิตยา พทุ ธคุณ 150 ม.11 นางสาเนียง ยางสูง

ของพุทธคุณ ต.หนองหญา้ ไซ

อ.หนองหญา้ ไซ

จ.สุพรรณบุรี

7 18 พ.ค.51 ขายยาแผนโบราณโดย 1890/2 ม.6 ต.อ่ทู อง นายประยวน

ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต อ.อ่ทู อง จ.สุพรรณบรุ ี สินธุบวั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธาร


25

การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ
ไดด้ าเนินการการตรวจสอบ โดยวิธีล่อซ้ือ พบมี คร้ ังที่
การจาหน่ายยาลดความอว้ นจริง จึงไดด้ าเนินการ -ดาเนินการตาม พรบ.ยา 1-
ตามกฎหมาย โดยจดั ทาบนั ทกึ คาให้การ บนั ทึก พ.ศ.2510 ขณะน้ี รอผล
ยดึ ยา และนาตวั ผกู้ ระทาผดิ พร้อมของกลางส่ง วิเคราะห์ยาจากกรม 1-
มอบพนกงั กานสอบสวน สภ.ด่านชา้ ง เพื่อ วิทยาศาสตร์การ
ดาเนินการตามกฎหมาย ต่อไป แพทยเ์ พ่อื ประกอบการ
พจิ ารณาคดี
ไดด้ าเนินการตรวจสอบสถานทดี่ งั กล่าว พบการ - ส่งเรื่องใหส้ สจ.
ผลิตยาแผนโบราณโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต จึงได้ พระนครศรีอยธุ ยา
แจง้ ขอ้ กระทาผดิ ต่อผผู้ ลิต ดาเนินการตรวจสอบ
คลินิกคุณหมอ ในดา้ น
การจ่ายยาลดความอว้ น
คราวละมากๆเพอ่ื การ
จาหน่ายต่อ โดยมิไดม้ กี าร
ตรวจร่างกายของผซู้ ้ือ
ดาเนินการตาม พรบ.ยา
พ.ศ.2510 ฝ่าฝืนมาตรา 46
และมาตรา 72(4)

ดาเนินการตรวจสอบสถานทีด่ งั กล่าว เจา้ ของ ตกั เตือนให้งดการจาหน่าย - -
สถานท่ียอมรับว่ามีการจาหน่ายจริง พนกั งาน
เจา้ หนา้ ทีจ่ ึงไดท้ าการตกั เตือนให้งดการกระทา
ดงั กล่าว หากตรวจพบในภายหลงั จะดาเนินการ
ตามกฎหมายกาหนดอยา่ งเคร่งครัด

รณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี


22

ลาดบั วนั /เดือน/ปี เรื่อง ช่ือ - สถานทเ่ี ขา้ ไป เจา้ ของผดู้ าเนิน
ตรวจสอบ กิจการ
8 16 มิ.ย.51 ยาแผนโบราณไมม่ ี
ทะเบียน 163 ม.1 ต.ยา่ นยาว น.ส.สายหยดุ
อ.สามชุก จ.สุพรรณบรุ ี สายแกว้

9. 25 มิ.ย.51 สถานทผ่ี ลิตไม่ตรงกบั ที่ 12 ม.1 ต.ทงุ่ คอก นายบญุ เสริม ใจดีเฉย

แจง้ กบั อย. อ.สองพี่นอ้ ง

จ.สุพรรณบรุ ี

10 27 มิ.ย.51 ขอใหต้ รวจสอบยา 4 12 ม.1 ต.ทุ่งคอก อ.สอง นายบญุ เสริม ใจดีเฉย
มายเค (กินแลว้ มีอาการ พนี่ อ้ ง จ.สุพรรณบุรี
ขา้ งเคียง หนา้ ตามบวม
น้าตาไหล มไี ข)้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธาร


26

การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ
คร้ ังท่ี
ดาเนินการตรวจสถานทีด่ งั กล่าวเป็นร้านขายส่ง พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ไดท้ า --
สุรา และน้าแขง็ มกี ารจาหน่ายสุราขาว 30 ดกี รี การตกั เตือนใหง้ ดการ
ผลิตโดย หจก.หอมปฐมทอง จ.นครปฐม โดย จาหน่ายสุราพ่วงยาดอง --
ขายพ่วงกบั ยาดองเหลา้ บรรจุในซองซิบใส เหลา้ พร้อมส่งเร่ืองให้
ขนาด 1x2 น้ิว ผกู ดา้ ยแดงคลอ้ งทีค่ อขวด ซ่ึง สสจ.นครปฐมดาเนินการ --
น.ส.สายหยดุ ใหก้ ารว่าไม่ไดเ้ ป็นผกู้ ระทาข้ึนเอง ตรวจสถานทผ่ี ลิตดงั กล่าว
ดาเนินการตรวจสอบสถานทีด่ งั กล่าวซ่ึงยา้ ยมา พนกั งานเจา้ หนา้ ทไ่ี ด้
จาก เลขที่ 59 /114 ม.4 ถ.หลงั วดั หนามแดง ต. จดั ทาบนั ทกึ คาใหก้ ารและ
บางแกว้ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ขณะตรวจ ตกั เตือนให้แกไ้ ขฉลากให้
ไม่พบการผลิตยา แต่พบยา 4 มายเค จานวน 9 ถกู ตอ้ งตรงตามสถานท่ี
กล่อง โดยฉลากระบุไมต่ รงกบั เลขทีใ่ น ผลิต
ใบอนุญาตผลิตยาแผนโบราณ
(ยงั เป็นเลขท่ีเก่าอย)ู่ ผลการตรวจวเิ คราะห์ ยา 4
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ไี ดด้ าเนินการตรวจสอบ มายเค ผา่ นมาตรฐานดา้ น
สถานท่ดี งั กล่าวไดเ้ กบ็ ตวั อยา่ งยา 4 มายเค ส่ง การปนเป้ื อนจุลินทรีย์
ตรวจวิเคราะห์ ณ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์

รณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี


Click to View FlipBook Version