The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 04:48:21

รายงานประจำปี2551

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

85

แตจ่ ากการสารวจสถานการณ์เดก็ ปฐมวยั ปี 2549 โดยศนู ย์อนามยั ที่ 4 ราชบุรี จากการใช้แบบอนามยั
49 พบเด็กปฐมวยั มีพฒั นาการสมวยั ร้อยละ 48.6 และแบบ Modified Denver II ร้อยละ 52.0 และ
จากการสารวจของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551 พบวา่ เด็กมีพฒั นาการสมวยั ร้อย
ละ 83.7 ซ่ึงสว่ นใหญ่เกิดจากเด็กไม่ได้รับการสอนหรือฝึ กให้เรียนรู้หรือจักสตั ว์ สิ่งของ ภาษา หรือ
สภาพแวดล้อมรอบตวั จากบิดามารดา หรือปกครอง ในขณะท่ีการประเมินจากสถานบริการจะมีการ
สอนและแนะนาผ้ปู กครอง ซง่ึ เป็ นการเปิ ดโอกาสให้เด็กท่ีไม่ผ่านการประเมินมีโอกาสได้ฝึกและเรียนรู้
และแนะนาจากมารดา ผ้ปู กครอง แล้วจึงนดั ให้มาประเมินใหม่ ดงั นนั้ การสง่ เสริมพฒั นาการทงั้ ด้าน
กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ ด้านกล้ามเนือ้ มดั เลก็ /การปรับตวั ด้านภาษา ด้านสงั คมและการช่วยเหลือตนเอง
การรณรงค์การเล่านิทาน การส่งเสริมการเลน่ เพื่อสง่ เสริมพฒั นาการของเด็ก เพลงกลอ่ มเด็ก โดย
จะต้องมีการดาเนินการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ผลการตรวจประเมนิ พัฒนาการเด็ก 0-5 ปี มพี ัฒนาการสมวยั
ที่มารับบริการคลินิกเด็กดี

100 96.4 98.4 97.4
90
80 83.7
70
ร ้อยละ 60 สมวยั
50 สงสยั ลา่ ชา้
40
30 1.6 2.6 16.3
20 2551สารวจ
10 3.6 2550 2551
0
2549

ปี งบประมาณ

รูปท่ี 14 ผลการตรวจประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั

การสารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประชาชนครั้งท่ี 5 ปี พ.ศ. 2546 ของกอง
โภชนาการ กรมอนามยั พบวา่ เดก็ อายุ 0-5 ปี มีนา้ หนกั น้อยกวา่ เกณฑ์ ร้อยละ 11.3 ซึ่งมากกวา่ เกือบ
2 เทา่ ของโครงการวิจัยพฒั นาการแบบองค์รวมของเด็กไทย ปี พ.ศ. 2544 สว่ นภาวะเตีย้ ผอม และ
อ้วน ในปี พ.ศ. 2546 พบร้อยละ 7.9 ,6.0 และ 4.0 ตามลาดบั

ในปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้มีการเฝ้ าระวงั ภาวะโภชนาการโดยการ
ชงั่ นา้ หนกั เปรียบเทยี บตามเกณฑ์อายุ จากเด็กทไ่ี ด้รับการชง่ั นา้ หนกั ทงั้ หมดมีเด็กทีม่ ีนา้ หนกั เทียบอายุ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน คดิ เป็ นร้อยละ 95.65 เด็กมีนา้ หนกั น้อย (ผอม) ร้อยละ 1.44 เด็กโภชนาการเกิน
(อ้วน) ร้อยละ 2.91 ซงึ่ เดก็ ในเขตเมืองเริ่มมีแนวโน้มภาวะโภชนาการเกินสงู ขนึ ้ ซึ่งต้องเฝ้ าระวงั และให้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

86

ความสาคัญกับเรื่องโภชนศกึ ษาแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมทงั้ เน้นการจัดบริการที่คลินิก/มุมส่งเสริม
โภชนาการพฒั นาการเดก็ และทนั ตสขุ ภาพในทกุ แหง่

กราฟแสดงการเจญิ เตบิ โตของเด็ก 0-6 ปี

100 93.86 96.35 95.65
90
ร้อยละ 80 1.442.91 นน. ตามเกณฑ์
70 2551 นน.นอ้ ยกวา่ เกณฑ์
60 นน.มากกวา่ เกณฑ์
50
40 2.963.18 1.7 2.58
30 2549
20 2550
10 ปี งบประมาณ
0

รูปท่ี 15 กราฟแสดงการเจริญเติบโตของเดก็ ปฐมวยั 0-6 ปี

สาหรับโครงการที่เสริมสร้างความฉลาดทางสติปัญญากับเด็กปฐมวยั ที่งานสง่ เสริมสขุ ภาพ ฯ
สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีตามนโยบายของรัฐบาล คือโครงการเด็กไทยเฉลยี วฉลาด
ประเทศชาติแข็งแรง มีการสนับสนุนให้หญิงตงั้ ครรภ์ได้รับประทานเกลือไอโอดีน เพ่ือเสริมระดับ
สติปัญญาของทารกในครรภ์ และการจ่ายยาวิตามินเสริมธาตุเหล็กในเด็กอายุ 6 เดือน- 3 ปี และ
โครงการป้ องกนั ภาวะปัญญาอ่อนจากภาวะตอ่ มธัยรอยด์บกพร่องและเฟ็ นนิลคีโตนยเู รีย ปี 2551
จงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยการตรวจคดั กรองภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด ซง่ึ ในปี 2551 จะ
พบวา่ เดก็ มีภาวะผิดปติ 5 ราย หรือคดิ เป็ นร้อยละ 1: 1788 และในเด็กที่ได้รับบริการเจาะเลือดส้นเท้า
มีปริมาณ TSH ในเลือดจากส้นเท้าน้อยกวา่ 5 มล./ยูนิต/ลิตร ร้อยละ 10.98 เป็ นไปตามเป้ าหมาย
กาหนด

ตารางท่ี 4 แสดงผลการดาเนินงานการตรวจคัดกรองภาวะพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกดิ

ตัวชวี้ ัด (KPI) เป้ าหมาย ผลงานการดาเนินงาน

2548 2549 2550 2551

กลุ่มเดก็ ปฐมวัย

1. เดก็ ทารกอายุ 2วนั ได้รับการคดั กรอง ร้อยละ 100 100.0 100.0 100.0 100.0

ภาวะพร่องธยั รอยด์ฮอร์โมน อบุ ตั กิ ารณ์ 1:1,182 1:3,056 1:1788

-เดก็ ท่ีมีภาวะพร่องธยั รอยดฮ์ อร์โมน 1:3,000-1:4,000

2. เดก็ แรกเกดิ อายุ 2 วนั ขนึ ้ ไปมีปริมาณ ไมน่ ้อยกวา่ เริ่มดาเนินการปี 92.9 100.0

TSH ในเลือดจากการเจาะส้นเท้าน้อยกวา่ 5 ร้อย 60 2550

มล.ยนู ติ /ลติ ร

ท่ีมา: งานสง่ เสริมสขุ ภาพและรักษาพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี

87

ข้อเสนอแนะ
1. ควรแนะนาให้หญิงตงั้ ครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ตงั้ แต่เริ่มตงั้ ครรภ์เพื่อสร้างความรู้ความ

เข้าใจเกี่ยวกบั การดแู ลตนเองและบุตรในครรภ์ให้มีการเจริญเตบิ โตและมีสง่ เสริมสติปัญญาให้เป็ นเด็ก
เฉลยี วฉลาดจากการได้รับยาเสริมธาตเุ หลก็ และเกลอื ไอโอดีน

2. สถานบริการทกุ แหง่ จะต้องเน้นการให้โภชนศกึ ษา การจา่ ยเกลอื ไอโอดีนในหญิงตงั้ ครรภ์ มี
การตดิ ตามภาวะโภชนาการขณะตงั้ ครรภ์อยา่ งต่อเน่ืองเพราะหากแม่ขาดสารอาหารจะสง่ ผลกระทบ
ตอ่ บุตรในครรภ์

นอกจากนยี ้ งั ได้ทาการประเมินมาตรฐานโครงการสง่ เสริมพฒั นาเดก็ วยั เตาะแตะโดยผ้สู งู อายุ
ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี เน่ืองในวโรกาสพระชนมายุ 50
พรรษา เพม่ิ อีก 1โรงพยาบาลคือ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราช องค์ที่ 17 ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดีมากใน
ระดบั จงั หวดั

 การดแู ลหญงิ มคี รรภ์และทารกท่ีติดเชือ้ เอช ไอ วี
1.การติดเชือ้ เอช ไอ วี ในหญิงตงั้ ครรภ์

จากตารางแสดงอัตราการติดเชือ้ ในกลุ่มหญิงมีครรภ์รายใหม่ที่มาฝากครรภ์ ตัง้ แต่
ปี งบประมาณ 2548-2551 มีแนวโน้มลดลงคอื ร้อยละ 1, 0.8, 0.9 และ 0.8 ตามลาดบั ซง่ึ เป้ าหมายตงั้
ไว้ ร้อยละ 10

อตั ราการตดิ เชือ้ ในหญงิ ต้งั ครรภ์ทีม่ าฝากครรภ์และคลอด

2

1.5 1.7 11..56 11..23 1.3
1.0
้รอยละ 1.2 11..21 00..98 10..09 1
1 0.8

0.5

0

2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551

ปี งบประมาณ หญงิ ท่ีฝากครรภ์
หญงิ ท่ีมาคลอด

รูปที่ 16 แสดงผลการตรวจหาเชือ้ เอช ไอ วี ในหญิงตงั้ ครรภ์รายใหม่ และหญิงท่มี าคลอด
ปี งบประมาณ 2544– 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

88

สาหรับการดาเนินงานดแู ลหญิงตงั้ ครรภ์ท่ตี ิดเชือ้ เอช ไอ วี เป็ นการดาเนนิ งานภายใต้
โครงการป้ องกนั การถา่ ยทอดเชือ้ เอช ไอ วจี ากแมส่ ลู่ กู ซงึ่ จะพบวา่ ผลการดาเนินความครอบคลมุ การ
ได้รับยาต้านไวรัสในหญิงตงั้ ครรภ์ที่ติดเชือ้ เอช ไอ วีและทารกที่เกิดจากแม่ท่ีติดเชือ้ เอช ไอ วี จากผล
การดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีผา่ นมาของจงั หวดั สพุ รรณบุรี พบวา่ ในปี 2547
เป็ นต้นมาหญิงตงั้ ครรภ์ท่ีติดเชือ้ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัสขณะตงั้ ครรภ์ครอบคลมุ ตามเป้ าหมายที่
กาหนดไว้ (ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90) (รูปท่ี 31 ) สว่ นในทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชือ้ เอช ไอ วี พบว่า
ตงั้ แตป่ ี 2545 เป็ นต้นมาความครอบคลมุ ของทารกทเี่ กิดจากแม่ท่ตี ิดเชือ้ เอช ไอ วีได้รับยาต้านไวรัสสงู
กวา่ เป้ าหมายร้อยละ 90 มาโดยตลอด (รูปท่ี 31,32 )

ความครอบคลุมของการได้รับยาต้านไวรัสในหญงิ ต้ังครรภ์

ีปงบประมาณ ้รอยละ100 หญิงทมี่ าคลอดท้งั หมด
90 หญิงทฝ่ี ากครรภ์
80 หญิงทไ่ี ม่ฝากครรภ์
70
60
50
40
30
20
10
0

2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551

ปี งบประมาณ

รูปที่ 17 ความครอบคลมุ ของการได้รับยาต้านไวรัสในหญิงตงั้ ครรภ์ปี งบประมาณ 2544 - 2551

ความครอบคลมุ การดแู ลทารกที่เกดิ จากแม่ตดิ เชื้อเอช ไอ วี

100 96.9 96.985.2 100.0 99.096.097.944.7100 98.410908.8 10908.6
80 99.0

73.5

60

40

20

0
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551

ร้ อยละ การได้รบั ยาต้านไวรัส

การได้รับนมผสม

รูปที่ 18 ความครอบคลมุ ของการได้รับยาต้านไวรัสและนมผสมในทารกทเี่ กิดจากแม่ติดเชือ้
เอชไอวีปี งบประมาณ 2544 - 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

89

2. การติดเชือ้ เอช ไอ วีในเด็ก
ในปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนนิ งานตามแนวทางของกระทรวง

สาธารณสขุ ที่กาหนดเป้ าหมายลดอตั ราการติดเชือ้ เอช ไอ วีจากแม่สลู่ กู ไม่ให้เกินร้อยละ 6 ภายใต้
เงือ่ นไขการดาเนนิ งานตามแนวทางตอ่ ไปนี ้

1. หญิงตงั้ ครรภ์ท่ตี ิดเชือ้ เอช ไอ วีทกุ คนเริ่มกินยา AZT เม่ืออายคุ รรภ์ 28 สปั ดาห์ และได้รับ
เนวริ าพินเม่ือเจ็บครรภ์คลอด

2. ทารกทกุ คนที่เกิดจากแม่ท่ีตดิ เชือ้ เอช ไอ วี ให้ยาเนวิราพีนชนิดนา้ เม่ือรับสารนา้ ได้
3. ทารกทกุ คนท่เี กิดจากแมท่ ต่ี ิดเชือ้ เอช ไอ วไี ด้รับนมผสมแทนการเลยี ้ งลกู ด้วยนมแม่
จงั หวดั สพุ รรณบุรีได้เริ่มดาเนินการให้ยาเนวิราพีนในหญิงตงั้ ครรภ์เม่ือมาคลอดตงั้ แตป่ ลาย
เดอื นมกราคม 2547 สว่ นในเด็กแรกเกิด เนอ่ื งจากยาเนวิราพนิ ไซรัปไมม่ ีสนบั สนนุ โรงพยาบาลบางแหง่
ได้ผลติ ยาเนวริ าพีนชนดิ นา้ เอง และเร่ิมใช้เดือนมีนาคม 2547 อยา่ งไรก็ตามปัจจุบนั สามารถให้บริการ
ตามแนวทางข้างต้นได้ โดยการเบิกยาผ่านระบบ VMI ขององค์การเภสชั กรรม และการสนบั สนนุ นม
ผสมโดยกรมอนามยั ในปี 2551 นี ้ผลการดาเนินงานภายใต้โครงการติดตามเดก็ ท่เี กิดจากแม่ที่ติดเชือ้
เอชไอวี (CHILD) จากการตดิ ตามเด็กอายุ 18-24 เดือนท่ีสามารถติดตามมาเจาะเลือดได้ จานวน 70
รายหรือครอบคลุ มการวนิ จิ ฉยั สภาวะการตดิ เชือ้ ร้อยละ 81.6 ของเด็กทเ่ี กิดจากแมท่ ีต่ ดิ เชือ้ เอชไอวี ใน
จานวนนีไ้ ม่พบผลบวกเลย หรือคิดเป็ นอัตราการติดเชือ้ เอช ไอ วีจากแม่สลู่ กู ร้อยละ 0 ซึ่งนับว่า
สามารถดาเนนิ งานได้บรรลเุ ป้ าหมายท่ีกาหนดไว้ ตามรูปที่ 19 ท่ีแสดงอตั ราการถ่ายทอดเชือ้ เอชไอวี
จากแมส่ ลู่ กู จะเหน็ วา่ มีแนวโน้มลดลงอยา่ งชดั เจน

อตั ราการถา่ ยทอดเชอื้ จากแมส่ ลู่ กู

9 8.33 5.88 2548
8 2549
7 2548 2550
6 2551
5
รอ้ ยละ 0 0
4
3 2551
2
1
0

2549 2550

ปี งบประมาณ

รูปที่ 19 อตั ราการถา่ ยทอดเชอื ้ เอชไอวจี ากแมส่ ลู่ กู จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2544 – 2550

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี

90

3. การดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวท่ีตดิ เชือ้ เอช ไอ วี
การให้บริการการดแู ลสขุ ภาพสาหรับผ้ตู ดิ เชือ้ เอช ไอ วีและผ้ปู ่ วยโรคเอดส์ มาตรการท่ีสาคญั

ในการดแู ลผ้ตู ดิ เชือ้ คือ การสง่ เสริมสขุ ภาพของผ้ตู ดิ เชือ้ ท่ียงั ไม่มีอาการให้สามารถดแู ลสขุ ภาพตนเอง
ได้ นอกจากการดแู ลหญิงหลงั คลอดแล้ว ยงั มีบุคคลอื่นๆท่ีต้องมาเกี่ยวข้องด้วย คือ ลกู สามี และญาติ
ซึง่ หากหญิงที่ติดเชือ้ ยินยอมเปิ ดเผยผลเลือด กลมุ่ บุคคลดงั กลา่ วควรเป็ นกลมุ่ เป้ าหมายในการดแู ล
ด้านสขุ ภาพ และการชว่ ยเหลอื ด้านสงั คมและจิตใจด้วย ซง่ึ การดาเนินงานดงั กลา่ วเป็ นการดาเนินงาน
ภายใต้โครงการดแู ลหญิงหลงั คลอดและครอบครัวทต่ี ดิ เชือ้ เอช ไอ วี (CARE)

ในปี งบประมาณ 2551 จากเป้ าหมายหญิงหลงั คลอดที่ติดเชือ้ เอช ไอ วี และครอบครัวได้รับ
การดแู ลอยา่ งตอ่ เนื่อง ร้อยละ 90 ผลการดาเนนิ งานพบวา่ มีหญิงหลงั คลอดที่ติดเชือ้ เอช ไอ วีทงั้ หมด
70 ราย เข้าโครงการเพื่อรับการดแู ลต่อเน่ือง 67 ราย หรือคิดเป็ นร้อยละ 97.1 อย่างไรก็ตามผลงาน
เพิม่ ขนึ ้ จากปี ทีด่ าเนินการผา่ นๆมา (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 ร้อยละของหญิงหลงั คลอดที่ติดเชือ้ เอช ไอ วี และครอบครัวได้รับการดแู ลอยา่ งตอ่ เนื่อง

ปี งบประมาณ 2548 – 2551 จ.สพุ รรณบุรี

ตวั ชีว้ ดั (KPI) เป้ าหมาย ผลงานการดาเนินงาน

2548 2549 2550 2551

หญิงหลงั คลอดที่ตดิ เชือ้ เอช ร้อยละ 90 ร้อยละ ร้อยละ 86.25 97.1

ไอ วี และครอบครัวได้รับการ 67.4 81.9

ดแู ลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ท่ีมา: งานสง่ เสริมสขุ ภาพและรักษาพยาบาล สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

91

ภาพกจิ กรรมงานอนามยั แม่และเดก็ ปี 2551

 ดูงานอนามัยเจริญพนั ธ์ใุ นวัยรุ่นกลุ่มหญงิ ตงั้ ครรภ์อายนุ ้อยท่ศี นู ย์อนามัยท่ี 6
จงั หวดั ขอนแก่น

จัดประชมุ งานแม่และเดก็ การดาเนินงานในโรงพยาบาลเอกชน
ณ ห้องประชมุ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

92

งานมหกรรมรวมพลคนกนิ นมแม่ 10 สิงหาคม 2551 ท่เี ซ็นทรัล ลาดพร้าว กทม.

โครงการอบรม Breast feeding ท่ีโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยายมราชสุพรรณบุรี

พิธมี อบวุฒบิ ัตร สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี

รายงานประจาปี 2551

93

 งานส่งเสริมสุขภาพกล่มุ เด็กวยั เรียนและเยาวชน

ตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายสร้างหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า เพื่อให้คนไทยทกุ คนมีสขุ ภาพ
และคุณภาพชีวิตที่ดี โครงการโรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพเป็ นกลยทุ ธ์หนง่ึ ในการสร้างหลกั ประกัน
สขุ ภาพถ้วนหน้า โดยมีโรงเรียนเป็ นจดุ เริ่มต้นและศนู ย์กลางของการพฒั นาสขุ ภาพอนามยั ภายใต้
ความตระหนกั ถึงความสาคญั ของกระบวนการพฒั นาทีอ่ าศยั ความสมั พนั ธ์เชิงสร้างสรรค์ระหว่าง
นกั เรียน ครอบครัว ชุมชน สถาบนั ศาสนา โรงเรียน และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในพนื ้ ท่ี

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายดาเนินงานโครงการโรงเรียนสง่ เสริม
สขุ ภาพมาตงั้ แตป่ ี งบประมาณ 2541 โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้นกั เรียนทุกคนได้รับบริการสขุ ภาพ
และพฒั นาโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ ซง่ึ มุ่งเน้นให้เด็กวยั เรียนและ
ประชาชนในทุกพืน้ ท่ี หนั มาให้ความสาคญั และรู้จักดูแลสุขภาพตนเอง มีพฤติกรรมสขุ ภาพท่ี
ถกู ต้องเหมาะสม สามารถควบคมุ มลู เหตปุ ัจจยั และสภาวะแวดล้อมทมี่ ีผลตอ่ สขุ ภาพได้

และต่อมาในปี งบประมาณ 2548 กรมอนามัย ได้เร่ิมมีนโยบายให้ดาเนินงานโครงการ
เด็กไทยทาได้ในโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ โดยมีจุดม่งุ หมายเพื่อปลกู จิตสานกึ ของเด็กและเยาวชน
ในการสง่ เสริมสขุ ภาพและการดแู ลรักษาสง่ิ แวดล้อมให้เอือ้ ตอ่ การมีสขุ ภาพดี โดยให้ความสาคญั
กับการพัฒนาศักยภาพเด็กนักเรียนเพ่ือเป็ นแกนนาด้านสขุ ภาพในโรงเรียนภายใต้ชื่อ “ชมรม
เด็กไทยทาได้” ซงึ่ เน้นพฤติกรรมสขุ ภาพใน 3 ด้าน ได้แก่ การดแู ลรักษาสขุ ภาพฟัน ความสะอาด
ปลอดภยั และคณุ ภาพทางโภชนาการของอาหาร การมีและใช้ส้วมถกู หลกั สขุ าภิบาล

สาหรับปี งบประมาณ 2551 กรมอนามยั ได้กาหนดให้พฒั นาโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพตาม
เกณฑ์มาตรฐานฯ ระดบั เพชร เขตพนื ้ ทก่ี ารศกึ ษาละ 1 โรงเรียน รวม 3 โรงเรียน และพฒั นาให้ผา่ น
เกณฑ์ฯ กลมุ่ สาธารณสขุ ละ 1 แหง่ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จงึ ได้ดาเนินการตามกิจกรรม ดงั นี ้

1. ชีแ้ จงนโยบายและการดาเนินงานโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ และงานสง่ เสริมสขุ ภาพ
กลมุ่ เด็กวยั เรียนและเยาวชนในโรงเรียน

2. อบรมพฒั นาศกั ยภาพทีมประเมินงานสง่ เสริมสขุ ภาพทกุ อาเภอ ๆ ละ 10 คน
3. ประชุมสมั มนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดาเนินงานโครงการเด็กไทยทาได้ในโรงเรียน

สง่ เสริมสขุ ภาพทกุ อาเภอ
4. ชีแ้ จงการพฒั นาและดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพระดับ

เพชร เขตพนื ้ ท่ีการศกึ ษาละ 1 โรงเรียน
5. สนับสนุนให้ทุกอาเภอจัดอบรมนักเรียนแกนนาสขุ ภาพในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ร้อยละ 50 ของโรงเรียนทงั้ หมด

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

94

6. สมุ่ ประเมินและคดั เลือกโรงเรียนเด็กไทยทาได้ดีเด่น และชมรมเด็กไทยทาได้ดีเด่น

ระดบั จงั หวดั

ตารางท่ี 6 ผลงานตามตวั ชีว้ ดั โรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ และโครงการเดก็ ไทยทาได้ จ.สพุ รรณบรุ ี

ปี งบประมาณ 2549-2551

ตวั ชวี้ ัด เป้ าหมาย ผลงาน (ร้อยละ)

ปี งบประมาณ 2551 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551

1. โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 91.21 98.74 99.79

มาตรฐานฯ ขนั้ พนื ้ ฐาน

2. โรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 20.50 26.41 31.58

มาตรฐานฯ ระดบั ทอง

3. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เข้าร่วม ร้อยละ 50 12.55 40.46 57.81

โครงการเดก็ ไทยทาได้

4. โรงเรียนเด็กไทยทาได้ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 - 14.64 48.74

มาตรฐานการประเมนิ ฯ

5. โรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์ กลมุ่ สาธารณสขุ ละ - - -

มาตรฐาน ระดบั เพชร 1 แห่ง

จากการดาเนินงานดงั กล่าว สรุปผลตามตวั ชีว้ ดั โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพได้ตามตาราง
ข้างต้น และจะเหน็ ได้วา่ มีโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพผา่ นเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดบั ทอง ร้อยละ 31.58
ซง่ึ ต่ากวา่ เป้ าหมายท่ีกาหนด สว่ นหนึง่ อาจมีสาเหตมุ าจากการขาดงบประมาณ เพราะจากการ
ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพพบว่า เกณฑ์มาตรฐานที่มักจะเป็ นปัญหาของโรงเรียน คือ
องค์ประกอบท่ี 4 และ 7 ซึ่งเป็ นเร่ืองของสิ่งแวดล้อมและสขุ าภิบาลอาหารในโรงเรียน ซึ่งการ
พฒั นาองค์ประกอบดงั กลา่ ว จาเป็ นต้องใช้เงนิ งบประมาณมากพอสมควร

สาหรับเดก็ ไทยทาได้ในโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพนนั้ เนื่องจากสานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั
สุพรรณบุรี ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดอบรมนักเรียนแกนนาสุขภาพร้ อยละ 50 ของ
โรงเรียนทัง้ หมด จึงทาให้มีโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการตามเป้ าหมาย คือ ร้ อยละ 57.81 แต่
เนื่องจากปี การศึกษาและปี งบประมาณมีระยะเวลาท่ีแตกต่างกัน จึงทาให้ไม่สามารถประเมิน
โรงเรียนได้แล้วเสร็จภายในปี งบประมาณ 2551 เพราะมีหลายโรงเรียนต้องการให้เข้าประเมิน
โรงเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ซง่ึ เป็ นต้นปี งบประมาณ 2552 จึงมีโรงเรียนผา่ นเกณฑ์มาตรฐานฯ เพียง
ร้อยละ 48.74 ยังไม่ได้ตามเป้ าหมายท่ีกาหนด และจังหวดั สุพรรณบุรี จะสนบั สนุนให้โรงเรียน
พฒั นาตามเกณฑ์มาตรฐานฯ ตอ่ ไป

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี

95

และในส่วนของโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพระดบั เพชร 3 โรงเรียนนัน้ ยังอยู่ในช่วงกาลัง
พัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพระดับเพชร และรอการประเมินจากศูนย์
อนามยั ท่ี 4 ในภาคเรียนที่ 2 เช่นเดยี วกนั

สาหรับการสารวจคณุ ภาพเกลอื เสริมไอโอดีนในครัวเรือน จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ทาการสมุ่
สารวจคณุ ภาพเกลอื เสริมไอโอดีนในครัวเรือนของนกั เรียนในโรงเรียน อย.น้อย พบว่า เกลือเสริม
ไอโอดนี มีปริมาณสารไอโอดนี ท่ไี ด้มาตรฐาน ร้อยละ 92.04 ซงึ่ เป็ นไปตามเป้ าหมายที่กาหนด และ
สาหรับการใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สาหรับนักเรียนชัน้ ป.5 และ ม.1 นัน้
นกั เรียนทกุ คนได้รับการจดั สรรและใช้แบบบนั ทกึ ฯ ตามเป้ าหมายท่กี าหนดเชน่ กนั

ตารางท่ี 7 ผลงานตามตวั ชีว้ ดั ด้านสขุ ภาพของนกั เรียนประถมศกึ ษา จ.สพุ รรณบรุ ี
ปี งบประมาณ 2549-2551

ตวั ชวี้ ดั ด้านสุขภาพ เป้ าหมาย ผลงาน (ร้อยละ)
ไมเ่ กินร้อยละ 5 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551
1. นกั เรียนประถมศกึ ษามีสายตาผดิ ปกติ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 5
2. นกั เรียนประถมศกึ ษามีการได้ยนิ ผดิ ปกติ ไมเ่ กินร้อยละ 5 - 2.73 1.04
3. นักเรียนประถมศึกษามีภาวะโลหิตจางจาก - 0.02 0
การขาดธาตเุ หลก็ ไมเ่ กินร้อยละ 5 0.76 0.40 0.14
4. นักเรียนประถมศึกษาขาดสารไอโอดีนท่ี
แสดงออกด้วยอาการคอพอก ไมเ่ กนิ ร้อยละ 8 0.01 0.24 0.06
5. นกั เรียนประถมศกึ ษาท่ีมนี า้ หนกั ตามเกณฑ์
สว่ นสงู ต่ากวา่ เกณฑ์ฯ (ผอม) ไมเ่ กนิ ร้อยละ 7 4.94 4.84 3.66
6. นกั เรียนประถมศกึ ษามนี า้ หนกั ตามเกณฑ์
สว่ นสงู มากกวา่ เกณฑ์ฯ (ท้วม เริ่มอ้วน และอ้วน) ไมเ่ กนิ 6.14 6.53 6.63
7. นกั เรียนประถมศกึ ษามีสว่ นสงู ตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 5
ตา่ กวา่ เกณฑ์ฯ (คอ่ นข้างเตยี ้ และเตยี ้ ) 3.92 3.81 3.53

และการให้บริการสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน สรุปผลการตรวจสุขภาพและเฝ้ าระวัง
ภาวะการเจริญเติบโตได้ตามตารางข้างต้น ซ่ึงจะเห็นได้ว่าผลงานเป็ นไปตามเป้ าหมายท่ีกรม
อนามัยกาหนด แต่จะสงั เกตได้ว่าผลการเทียบนา้ หนกั ตามเกณฑ์สว่ นสงู ที่มากกว่าเกณฑ์ฯ มี
แนวโน้มวา่ จะเพ่ิมมากขนึ ้ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จะพิจารณาดาเนินการแก้ไข
ปัญหาตอ่ ไป

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

96

 งานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ

สถานการณ์
ปัจจุบนั จงั หวดั สพุ รรณบุรี มจี านวนผ้สู งู อายมุ ากขนึ ้ คดิ เป็ นสดั สว่ นประชากรผ้สู งู อายุ

ร้อยละ 13.2 (รูปที่ 20) ถือวา่ เป็ นภาวะสงั คมผ้สู งู อายุ ซงึ่ จะทาให้ภาวะเสย่ี งและปัญหาด้านสขุ ภาพ
เพิ่มขนึ ้ การสง่ เสริมและการดแู ลสขุ ภาพผ้สู งู อายุ จงึ ควรเน้นการสง่ เสริมสขุ ภาพและการดแู ลผ้สู งู อายุ
ระยะยาว ซง่ึ เป็ นการดแู ลสง่ เสริมสขุ ภาพผ้สู งู อายตุ งั้ แตย่ งั มีสขุ ภาพดีไมป่ ่ วย ให้ยืดระยะเวลาเวลาของ
การมีสขุ ภาพดีให้ยาวนานที่สดุ และขณะนีจ้ งั หวดั สพุ รรณบุรี มีชมรมผ้สู งู อายคุ รบทกุ ตาบล จานวน
110 ตาบล และตงั้ แต่ ปี 2549 กรมอนามยั ได้กาหนดตวั ชีว้ ดั หลกั คือ 1 ตาบล 1 ชมรมผ้สู งู อายมุ ี
กิจกรรมออกกาลงั กายอยา่ งน้อยเดือนละ 1 ครัง้ เป็ นแนวทางการดาเนนิ งานของพนื ้ ท่ีอยแู่ ล้ว
ประกอบกบั นโยบายของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ก็มีนโยบายเน้นการสง่ เสริมสขุ ภาพ
ผ้สู งู อายุ ทาให้จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ใช้กลยทุ ธ์การมีสว่ นร่วมของภาคเี ครือขา่ ย ในการสง่ เสริมสขุ ภาพ
ผ้สู งู อายุ ทกุ พนื ้ ทไ่ี ด้มีการสง่ เสริมสนบั สนุนให้ชมรมผ้สู งู อายุ มีกิจกรรมออกกาลงั กายและกิจกรรม
ด้านสขุ ภาพอ่ืน ๆ เชน่ การบริการตรวจคดั กรองสขุ ภาพผ้สู งู อายุ การให้ความรู้ด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพ
การประกอบกิจกรรมทางศาสนา ฯลฯ เป็ นประจาทกุ เดือน โดยใช้งบ UC และในปี งบประมาณ 2550-
2551 ชมรมผ้สู งู อายขุ องจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีได้รับสนบั สนนุ งบประมาณจากสภาผ้สู งู อายแุ หง่ ประเทศ
ไทย ดาเนินการโครงการอาสาสมคั รดแู ลผ้สู งู อายุ "เพือ่ นชว่ ยเพอ่ื น" ดาเนนิ กิจกรรมด้านสขุ ภาพทกุ
เดือน ในชุมชนของตนเองจานวน 7 ชมรม

รอ้ ยละ 15

10

5
รวม ชาย หญงิ

0 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 พ.ศ.
10 .4 10 .8 11.4 11.8 12 .3 12 .3 12 .7 12 .9 13 .6 13 .2 13 .2
รวม 9 .3 9 .7 10 .2 10 .6 11 11 11.4 11.5 12 .3 11.9 11.9
ชาย 11.4 11.8 12 .5 13 13 .4 13 .4 13 .9 14 .2 14 .9 14 .5 14 .5
หญงิ

รูปที่ 20 ร้อยละของผ้สู งู อายุ (60 ปี +) ตอ่ ประชากรทงั้ หมดของ จ.สพุ รรณบรุ ี
จาแนกตามเพศ ปี พ.ศ.2541-2551

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี

97

กจิ กรรมดาเนินการ
เพ่อื เสริมสร้างขีดความสามารถภาคเี ครือขา่ ยพฒั นาความเข้มแข็งและกระต้นุ การมีสว่ น

ร่วมด้านสขุ ภาพแก่ชมรมผ้สู งู อายุ งานสง่ เสริมสขุ ภาพ จงึ ดาเนนิ งานโครงการสง่ เสริมสขุ ภาพผ้สู งู อายุ
ปี 2551 และมีผลการดาเนนิ งานของโครงการ ดงั นี ้

แผนงาน/ กจิ กรรมหลัก ผลการดาเนินงาน งบประมาณและ
โครงการ แหล่ง

งบประมาณ

โครงการส่งเสริม อ บ รม แกนน า - มีแกนนาอาสาสมคั รผ้สู งู อายุ ตาบล 278,796 บาท

สุภาพผู้สูงอา ยุ อ า ส า ส มั ค ร ละ20 คนรวม2,200 คน ในการดาเนิน จาก สปสข.(PP)

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ผ้สู งู อายุ กิจกรรมชมรมผ้สู งู อายุ ด้านสขุ ภาพ

ปี 2551

คัดเลือกชมรม - ได้ชมรมผ้สู งู อายุดีเด่นด้านสุขภาพ 60,000 บาท

ผ้สู งู อายดุ เี ดน่ ระดบั จังหวดั จานวน 13 ชมรม ได้รับ จาก สปสช. PP

เกียรติบตั ร จาก นพ.สสจ. ระดบั เขต

ป ร ะ เ มิ น วั ด - วัดสง่ เสริมสขุ ภาพ จานวน 3 วัด มี

สง่ เสริมสขุ ภาพ วัดบ้านกร่าง อ.ศรีประจันต์ เป็ นสัด

ส่งเสริมสุขภาพดีเด่น รับโล่จากกรม

อนามัย และอีก 2 วัดรับเกียรติบัตร

จากกรมอนามัย ซึ่งขณะนีจ้ ังหวดั ส

พรรณบรุ ี มีวดั สง่ เสริมดีเด่น 2 วดั และ

วดั สง่ เสริม จานวน 21 วดั

ศู น ย์ ดู แ ล - สนับสนุนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ผ้สู งู อายชุ ุมชน ที่บ้านพกั คนชราบ้านเกาะแก้ว ต.หวั
โพธ์ิ อ.สองพ่ีน้อง และนพ.สสจ.ได้

มอบโลเ่ กียรตคิ ณุ ในการดูแลผ้สู งู อายุ

ในชุมชน แก่บ้านพกั คนชราบ้านเกาะ

แก้ว

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

98

ผลการดาเนินงานตามตัวชีว้ ดั : ร้อยละ 90 ของตาบลท่ีมีชมรมผ้สู งู อายุจัดกิจกรรมสขุ ภาพร่วมกัน
ทกุ เดือนอยา่ งน้อยเดือนละครัง้ พบวา่ ผลการดาเนินงาน ได้ร้อยละ 100 ซง่ึ ในปี 2550 และ 2551
จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีชมรมผ้สู งู อายุบ้านเดิมบาง ต.เดิมบาง อ.เดิมบางนางบวช และชมรมผ้สู งู อายุ
ตาบลมดแดง อ.ศรีประจนั ต์ ได้รับโลช่ มรมผ้สู งู อายอุ อกกาลงั กายดเี ดน่ ระดบั จงั หวดั จากกรมอนามยั
ตามลาดบั (ตารางท่ี 8) ในปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้ดาเนินการอบรมแกนนาอาสาม
สมคั รผ้สู งู อายุ ครบ 110 ตาบล/110 ชมรม ตามโครงการสง่ เสริมสขุ ภาพผ้สู งู อายุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551
เสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยเน้นความรู้และการปฏบิ ตั ดิ ้านการสง่ เสริมสขุ ภาพร่างกายและจิตใจ ซง่ึ คาดวา่ ชมรม
ผ้สู งู อายจุ ะสามารถดาเนินกิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพของผ้สู งู อายขุ องชมรมในพืน้ ที่ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
เพิ่มขนึ ้ และเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผ้สู งู อายใุ นชุมชนสามารถพงึ่ พาตนเองและดารงชีวิตอยไู่ ด้อยา่ งมี
ความสขุ ลดปัญหาด้านสขุ ภาพของผ้สู งู อายใุ นระยะยาว

ตารางท่ี 8 ผลการดาเนนิ งานตามตวั ชีว้ ดั ”ร้อยละ 90 ของตาบลท่มี ีชมรมผ้สู งู อายจุ ดั กิจกรรม
สขุ ภาพร่วมกนั ทกุ เดอื นอยา่ งน้อยเดือนละครัง้ ” จาแนกรายอาเภอ จ.สพุ รรณบรุ ี
ปี งบประมาณ 2551

อาเภอ เป้ าหมาย ผลการดาเนินงาน ร้ อยละ
ผลงาน
เมืองสพุ รรณบุรี 20 100
เดมิ บางนางบวช 14 20 100
ดา่ นช้าง 7 14 100
บางปลาม้า 14 7 100
ศรีประจนั ต์ 9 14 100
ดอนเจดีย์ 5 9 100
สองพน่ี ้อง 15 5 100
สามชุก 7 15 100
อ่ทู อง 13 7 100
หนองหญ้ าไซ 6 13 100
6

รวม 110 110 100

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

99

 งานส่งเสริมการออกกาลังกาย

โครงการออกกาลังกาย ปี 2551
ความเป็ นมา

การดาเนินการสร้างสขุ ภาพให้สาเร็จได้นนั้ จาเป็ นอยา่ งยิ่งจะต้องมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาค
สว่ น ไม่ใช่เฉพาะกระทรวงสาธารณสขุ เทา่ นนั้ รัฐบาลจงึ ได้ประกาศให้ปี 2545-2547 เป็ น ”ปี แหง่
การรณรงค์สร้างสขุ ภาพทวั่ ไทย” โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ประชาชน องค์กร หนว่ ยงาน ทงั้ ภาครัฐ
เอกชนและภาคประชาชน ได้รับรู้ ตระหนกั และใสใ่ จสขุ ภาพ ร่วมกนั สร้างและดแู ลสขุ ภาพ ตนเอง
ครอบครัว ชมุ ชน เพ่อื การมีสขุ ภาพดี ภายใต้กลยทุ ธ์ “รวมพลงั สร้างสขุ ภาพ” (Empowement
for Health) อยา่ งจริงจงั โดยเน้นการสง่ เสริมให้ประชาชนรวมกลมุ่ ทากิจกรรมในการสร้างสขุ ภาพ
และกาหนดโครงการสาคญั เพื่อสนบั สนนุ และสง่ เสริมให้ประชาชนมีการออกกาลงั กาย ซงึ่ มี
เป้ าหมายให้คนไทยอายุ 15 ปี ขนึ ้ ไป มีการออกกาลงั กายอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละอยา่ ง
น้อย 30 นาที จนเป็ นวิถีชวี ิตและเป็ นวฒั นธรรมของคนไทย และเน้นการบริโภคอาหารที่ถกู ต้อง
ตามหลกั โภชนาการ เพอ่ื ลดปัจจยั เสยี่ งตอ่ การเกิดโรคเมตะบอลกิ ซนิ โดรม การเฝ้ าระวงั โดยการวดั
รอบเอวในเพศชาย รอบเอวไมเ่ กิน 90 เซนตเิ มตร เพศหญิง ไม่เกิน 80 เซนตเิ มตร ซง่ึ ผลการ
ดาเนนิ งานของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีประจาปี งบประมาณ 2551 ได้เน้นการสร้างกระแสการออกกาลงั
กายในประชาชน และการเฝ้ าระวงั ภาวะอ้วนลงพงุ ได้รับงบประมาณสนบั สนนุ จากยทุ ธศาสตร์
สาธารณสขุ และงบประมาณจากสานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) จดั
กิจกรรมในระดบั ตาบล อาเภอ และจงั หวดั สาหรับการสร้างกระแสการออกกาลงั กายในเดก็
นกั เรียน ได้จดั อบรมโรงเรียนให้มีทกั ษะในการใช้โปรแกรมการทดสอบสมรรถภาพทางกายใน
นกั เรียน เพ่ือกระต้นุ ให้เกิดการออกกาลงั กายในโรงเรียนมากขนึ ้ ในระดบั องค์กรปกครองสว่ น
ท้องถ่ิน/หนว่ ยงานราชการ ได้คดั เลอื กเข้าโครงการภาครี ่วมใจคนไทยไร้พงุ จานวน 12 องค์กร
ด้วยกนั ซงึ่ โครงการจะสรุปผลในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2552 จากผลการดาเนนิ งานตาม มีรายละเอียด
ตามตารางที่ 9-12

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

100

ตารางท่ี 9 การดาเนินงานวัดรอบเอวในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เขต อาเภอเมือง

ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ อาเภอ ผลการดาเนินงาน
เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ

ร้ อยละของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ 80% เมือง 6 6 100
มธั ยมศึกษาในเขต อ. เมืองดาเนินกิจกรรมวดั
รอบเอวปีละ 2 ครัง้

6 6 100

ตารางท่ี 10 การดาเนินงานวัดรอบเอวในหน่วยงานภาครัฐ เขต อาเภอเมือง

ตัวชวี้ ดั เกณฑ์ อาเภอ ผลการดาเนินงาน
เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ

ร้อยละของหน่วยงานภาครัฐระดบั จังหวดั 80% เมือง 39 39 100
ในเขต อ. เมืองดาเนินกิจกรรมวดั รอบเอว
ปีละ 2 ครัง้

39 39 100

ตารางท่ี 11 การดาเนินงานวดั รอบเอวในชมรมสร้างสุขภาพ

ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ อาเภอ ผลการดาเนินงาน
เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ

ร้อยละ 80 ของชมรมสร้าง 80% เมอื งสพุ รรณบรุ ี 140 157 100

สขุ ภาพดาเนนิ กิจกรรมวดั รอบ เดมิ บางนางบวช 121 130 100

เอว ปีละ 2 ครัง้ ดา่ นช้าง 93 93 100

บางปลาม้า 127 127 100
ศรีประจนั ต์ 64 64 100

ดอนเจดยี ์ 50 50 100

สองพีน่ ้อง 152 172 100
สามชกุ 68 74 100

อทู่ อง 154 154 100
หนองหญ้ าไซ 66 73 100

รวม 1,035 1,094 100

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

101

ตารางท่ี 12 การสุ่มประชากรวดั รอบเอว (สุ่ม 50%) แยกรายอาเภอ (ปี ละ 1 ครัง้ )

สถานที่ ผลการดาเนินงาน (50%) รอบเอวปกติ (ชาย90 หญิง80 )

เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ ชาย ร้อยละ หญิง ร้อยละ

เมืองสพุ รรณบรุ ี 130,627 75,306 57.64 28,393 86.68 21,097 54.81

เดมิ บางนางบวช 61,251 35,447 57.87 13,375 77.43 14,370 72.16

ดา่ นช้าง 49,767 28,830 57.92 11,253 82.33 11,564 76.24

บางปลาม้า 65,929 33,618 50.99 9,310 88.46 11,951 73.82

ศรีประจนั ต์ 52,321 26,385 50.42 8,742 75.07 9,381 65.80

ดอนเจดีย์ 37,028 21,465 57.96 7,590 85.38 8,280 70.20

สองพี่น้อง 100,682 54,255 53.88 21,170 90.12 26,000 84.52

สามชุก 46,164 23,156 50.16 3,667 87.58 4,557 78.01

อ่ทู อง 85,527 43,347 50.68 20,177 90.95 20,192 83.57

หนองหญ้ าไซ 38,954 20,182 51.80 7,946 87.69 8,465 78.25

รวม 668,250 361,234 54.05 130,838 85.84 134,899 71.99

ผลการดาเนินงานในภาพรวม (ตลุ าคม- กนั ยายน 2551) สาหรับตวั ชีว้ ดั การดาเนินการวดั
รอบเอวในโรงเรียนสง่ เสริมสขุ ภาพระดบั มธั ยมศกึ ษา หนว่ ยงานราชการในเขต อาเภอเมือง ชมรมสร้าง
สขุ ภาพ ดาเนนิ กิจกรรมวดั รอบเอว ปี ละ 2 ครัง้ (ตารางท่ี1,2,3 ) ผลการดาเนินงานได้ครบ 100% สว่ น
การสมุ่ ประชากรตามหลกั สถิตใิ นเร่ืองการวดั รอบเอว สมุ่ ประชากรร้อยละ 50 (ตารางที่ 4 ) ผลการ
ดาเนนิ งานได้ร้อยละ 54.05 โดยที่เพศชายมีรอบเอวไมเ่ กิน 90 เซนติเมตร ร้อยละ 85 ผลการ
ดาเนนิ งานได้ร้อยละ 85.84 โดยที่เพศหญิงมีรอบเอวไม่เกิน 80 เซนติเมตร ร้อยละ 64 ผลการ
ดาเนนิ งานได้ร้อยละ 71.99 นอกจากนใี ้ นกิจกรรมระดบั ประชาชนสาหรับการสร้างกระแสการออก
กาลงั กาย ได้สนบั สนนุ งบประมาณในการสร้างกระแสโดยการจดั ประกวดชมรม ระดับ3 ซง่ึ มี
คณะกรรมการตดั สนิ จากศนู ย์อนามยั ที่ 4 ราชบรุ ี ทมี ท่ีชนะเลศิ จะได้รับโลร่ างวลั จากนายแพทย์
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี โดยมีทีมชนะเลศิ ท่ี 1,2,3 และชมเชยลาดบั ท่ี 1,2 คือ สานกั งาน
สาธารณสขุ อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี, คปสอ.อู่ทอง, สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอดา่ นช้าง, คปสอ.-
หนองหญ้าไซ, สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเดมิ บางนางบวช สาหรับการดาเนนิ โครงการคนไทย
ไร้พงุ ซง่ึ ใช้งบประมาณของ สปสช. ได้จดั ให้มีการประกวดคา่ ยลดเอวของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ โดย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

102

ทาการศกึ ษาก่อนและหลงั เข้าคา่ ยและประกวดทีมลดนา้ หนกั ได้มากทสี่ ดุ จะได้รับโลร่ างวลั พร้อม
เงนิ รางวลั มีทมี ทชี่ นะเลศิ ดงั นี ้

1.รางวลั ท่ี 1 โลร่ างวลั ประกวดคา่ ยลดเอว พร้อมเงนิ รางวลั จานวน 10,000 บาทได้แก่
สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอดา่ นช้าง

2. รางวลั ที่ 2 โลร่ างวลั ประกวดคา่ ยลดเอว พร้อมเงนิ รางวลั จานวน 8,000 บาทได้แก่
สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอสองพีน่ ้อง

3. รางวลั ท่ี 3 โลร่ างวลั ประกวดคา่ ยลดเอว พร้อมเงนิ รางวลั จานวน 5,000 บาทได้แก่
สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอดา่ นช้าง

4. โลร่ างวลั ชมเชย ประกวดคา่ ยลดเอว ได้แก่ สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเมือง
สพุ รรณบรุ ี

นอกจากนยี ้ งั ได้รับสนบั สนนุ งบประมาณจาก (สสส.) ในโครงการภาครี ่วมใจ คนไทย
ไร้พงุ โดยมีองค์กร/หนว่ ยงานเข้าร่วมโครงการ จานวน 12 องค์กรด้วยกนั คือ โรงเรียนกรรณสตู
ศกึ ษาลยั , สสอ.เมือง, รพ.เจ้าพระยายมราช, สถานตี ารวจภธู รอาเภอเมอื งสพุ รรณบุรี, ทว่ี า่ การ
อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี,แขวงการทางสพุ รรณบรุ ี ท่ี 1, องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี,
อบต.สนามชยั , เทศบาลโพธ์ิพระยา,เทศบาลสวนแตง, เทศบาลทา่ เสดจ็ ,เทศบาลเมืองสพุ รรณบุรี
ระยะเวลาดาเนินงาน กรกฎาคม-กมุ ภาพนั ธ์ 2552 จากการประเมินผลกอ่ นเข้าโครงการพบวา่
เพศชาย มีรอบเอวไม่เกิน 90 เซนตเิ มตร ร้อยละ 80.73 เพศหญิง มีรอบเอวไม่เกิน 80 เซนติเมตร
ร้อยละ 61.07 การประเมินผลในช่วงสนิ ้ สดุ โครงการต้องจดั การประชมุ การจดั การความรู้และถอด
บทเรียน(KM) และเอกสารสรุปผลโครงการสง่ ยงั (สสส.) จานวน 1 ชุด สาหรับกิจกรรมในนกั เรียน
ได้จดั โครงการอบรมโปรแกรมทดสอบสมรรถภาพทางกายในนกั เรียนไปแล้ว วิทยากรจากกองออก
กาลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ เพอื่ กระต้นุ ให้นกั เรียนท่ีจะเป็ นเยาวชนตอ่ ไปรู้รักษ์ เรื่องการออกกาลงั กาย
และการบริโภคอาหาร ซงึ่ จะสง่ ผลดีตอ่ สขุ ภาพในกลมุ่ เดก็ วยั เรียนทีจ่ ะเป็ นวยั ทางานในอนาคต

แนวทางการดาเนนิ งานตอ่ ไป ต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจอยา่ งตอ่ เน่ืองในประชาชน และ
การสร้างกระแส ในรูปสอื่ ตา่ ง ต้องทาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยในระดบั กรม/กอง ต้องสร้างสอื่ สาธารณะ
ให้มากเพ่ือให้เข้าถงึ ประชาชนในชนบท นอกจากนยี ้ งั ต้องอาศยั ภาคเี ครือขา่ ยแตล่ ะท้องที่ ทงั้ ใน
เร่ืองงบประมาณ คน และวสั ดตุ า่ งๆ ในระดบั หวั หน้าสว่ นราชการยงั ต้องให้ความสาคญั ของการ
ออกกาลงั กายและการบริโภคอาหารด้วย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

103

ปัญหา-อุปสรรค
1. ผ้รู ับผิดชอบงานบางคน รับผิดชอบงานหลายฝ่ าย ทาให้ขาดการติดตามงานอยา่ ง
ตอ่ เน่ือง
2. การอบรมพฒั นาองค์ความรู้ควรมีอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
3. ขาดการกระต้นุ การสร้างกระแสการออกกาลงั กายอยา่ งตอ่ เน่อื ง
4 การประสานงานและการสร้างการมีสว่ นร่วมของภาคเี ครือขา่ ยยงั ไม่เพียงพอ

แนวทางแก้ไข
1. การจดั ประชุมชีแ้ จงนโยบายการดาเนนิ งาน
2. การสนบั สนนุ งบประมาณและการพฒั นาองค์ความรู้แกเ่ จ้าหน้าท่ี/ประชาชน
3. ประชาสมั พนั ธ์การดาเนินกิจกรรมของชมรม ผา่ นสอ่ื ทกุ ชอ่ งทางอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4. ประสานความร่วมมือกบั องค์กรอิสระ/ภาคเี ครือขา่ ยเพื่อรับการสนบั สนนุ งบประมาณ/
วสั ดุ
5. เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ต้องเป็ นแบบอยา่ งของประชาชน ในการลดอ้วน ลดพงุ และการ
ออกกาลงั กายอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสามารถเป็ นผ้นู าท่ดี ีของประชาชนได้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

104

 งานเฝ้ าระวงั ป้ องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

สถานการณ์

มะเร็งปากมดลกู พบมากทีส่ ดุ ในสตรีอายุ 45-50 ปี เป็ นโรคที่รักษาให้หายได้ ถ้า

สามารถตรวจพบตงั้ แตใ่ นระยะก่อนเป็ นมะเร็ง จากผลการศกึ ษาในหลายประเทศ แสดงให้เห็นวา่

การตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ด้วยวธิ ี Pap smear ให้ครอบคลมุ กลมุ่ สตรีเปาหมายทงั้ หมด มี

ความสาคญั ตอ่ การลดอตั ราการเกิดและอตั ราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลกู มากกวา่ ความถี่ท่ี

ได้รับการตรวจแตไ่ ม่ครอบคลมุ ประชากรทงั้ หมด

สถานการณ์มะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านม จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบวา่

อตั ราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลกู ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ตงั้ แตป่ ี 2548 - 2550 เรียงลาดบั ดงั นี ้

4.95 , 3.69, และ 3.1 ตอ่ แสนประชากร (ตวั ชีว้ ดั ระดบั ประเทศไม่เกินร้อยละ 5.2 ) สว่ นอตั ราตาย

ด้วยโรคมะเร็งเต้านม เรียงลาดบั ดงั นี ้ 2.78 , 3.2 และ 3.5 (ตวั ชีว้ ดั ระดบั ประเทศไมเ่ กินร้อยละ

5.8) จงั หวดั สพุ รรณบุรีได้จดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์การเฝ้ าระวงั ป้ องกนั มะเร็งปากมดลกู และมะเร็ง

เต้านมตงั้ แตป่ ี 2548 ประกอบกบั มีนโยบายชดั เจนจากกระทรวงสาธารณสขุ และได้รับการ

สนบั สนนุ งบประมาณอยา่ งตอ่ เนอื่ งจากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ทาให้การ

ดาเนนิ งานตงั้ แตป่ ี 2549 ถึงปัจจุบนั ประสบความสาเร็จได้ผลงานทงั้ ด้านปริมาณและคณุ ภาพ

ประชาชนกลมุ่ เป้ าหมายได้รับความรู้ ตระหนกั ถงึ ภยั ของโรคดงั กลา่ ว สามารถเข้าถงึ บริการตรวจ

คดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านม ในทกุ พนื ้ ที่

การดาเนินงานเฝ้ าระวงั ป้ องกนั มะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านมของจงั หวดั

สพุ รรณบุรี เน้นการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ด้วยวธิ ี Pap smear และตรวจคดั กรองมะเร็ง

เต้านม ด้วยการค้นหาสตรีกลมุ่ เป้ าหมายทม่ี ีเต้านมผิดปกติ ตลอดจนการประเมินทกั ษะการ

ตรวจเต้านมด้วยตนเองอยา่ งถกู ต้องเป็ นประจาทกุ เดอื น ซง่ึ ได้ดาเนินการตอ่ เน่ืองมาตงั้ แตป่ ี 2548

กาหนดยทุ ธศาสตร์การดาเนินงานระยะเวลา 5 ปี (ปี 2548-2552) คาดวา่ จะสามารถลดอตั รา

ตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านมของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีลงได้ เพราะในการ

รักษาพยาบาลผ้ปู ่ วยโรคมะเร็ง นอกจากจะก่อให้เกิดการสญู เสยี ทางเศรษฐกิจคอ่ นข้างสงู มี

ผลกระทบด้านสงั คมแล้ว ยงั มีผลกระทบด้านร่างกายและจิตใจอยา่ งมาก ตอ่ ผ้ปู ่ วยและ

ครอบครัว การที่สามารถตรวจพบโรคมะเร็งปากมดลกู ในระยะก่อนเป็ นหรือระยะเร่ิมแรกจะ

สามารถชว่ ยชีวติ ผ้ปู ่ วยได้ กจิ กรรมการให้บริการจะตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้า

นมไปพร้อมกนั คานงึ ถงึ กลมุ่ เป้ าหมายไปรับบริการครัง้ เดยี วจะได้รับบริการตรวจ Pap smear

และตรวจเต้านมหรือได้รับการสอนเทคนิคการตรวจเต้านมด้วยตนเองทกุ ราย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี

105

ในปี 2551 เน้นการประชาสมั พนั ธ์ ให้ประชาชนตระหนกั ถงึ ภยั ของโรคดงั กลา่ ว
ประชมุ ชีแ้ จงแกนนาท่ีผา่ นการอบรมให้เข้าใจบทบาทและแนวทางการดาเนินงาน เน้นการจงู ใจ
เพ่ือนชว่ ยเพ่อื น จดั บริการความรู้และสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้บริการตรวจ Pap
smearไปพร้อมๆกนั ทงั้ ในและนอกสถานบริการ เพือ่ ให้ครอบคลมุ สตรีกลมุ่ เป้ าหมายให้มาก
ทสี่ ดุ

กลมุ่ เป้ าหมายในปี 2551 เป็ นสตรีท่เี กิดใน พ.ศ. 2516, 2511, 2506, 2501,
2496, 2491 จานวน 28,912 ราย สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี คาดหวงั วา่ การ
ดาเนินการอยา่ งตอ่ เนอื่ งและมีประสทิ ธิภาพในระยะเวลา 5 ปี จะสามารถลดอตั ราการเกิดและ
อตั ราการตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านม ของจงั หวดั สพุ รรณบุรีได้อยา่ งเป็ น
รูปธรรม

ปัจจยั เสยี่ งที่มีผลต่อการดาเนินงาน

1. การจดั กิจกรรมรณรงค์จะทาให้คณุ ภาพของการป้ าย Pap smear ลดลง เนอ่ื งจาก
กลมุ่ เป้ าหมายมีจานวนมาก ทาให้ต้องเร่งตรวจPap smear ให้เสร็จทนั เวลา เทคนิค
การป้ ายอาจขาดคณุ ภาพได้

2. ผ้บู ริหารต้องให้ความสาคญั และสนบั สนนุ การดาเนินงานเพ่อื ให้งานบรรลเุ ป้ าหมาย
3. นโยบายและงบประมาณ จะต้องให้การสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนื่อง และมีการประเมินผล

เป็ นระยะเพือ่ ปรับปรุงแนวทางการดาเนินงานให้สอดคล้องกบั ประเดน็ ปัญหาท่ีพบใน
แตล่ ะปี

การดาเนินงานสง่ เสริมการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านม จะประสบ
ความสาเร็จได้ หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องจะต้องมีสว่ นร่วมในการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ เข้าใจใน
บทบาทหน้าท่ี บรู ณาการงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตลอดจนการมีสว่ นร่วมทงั้ ภาครัฐ เอกชน
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ประชาชนและอาสาสมคั รที่มีใจรักเข้าร่วมกิจกรรม ทาให้ผลงาน
บรรลเุ ป้ าหมาย ประชาชนตน่ื ตวั ในการเฝ้ าระวงั ดแู ลสขุ ภาพตนเองให้ปลอดภยั จากโรคมะเร็ง
ดงั กลา่ ว

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

106

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา

1. โครงการสง่ เสริมการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็งเต้านม

1) ตวั ชีว้ ดั ตามประเด็นการตรวจราชการ

1.1 มะเร็งปากมดลูก

- สตรีอายุ 35 ,40 ,45 ,50,55,60 ปี ได้รับการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู

ด้วยวธิ ี Pap smear ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60

- สตรีกลมุ่ เป้ าหมายทต่ี รวจคดั กรอง Pap smear พบผลผิดปกตแิ ละเป็ นมะเร็ง

ได้รับการสง่ ตอ่ และรักษาอยา่ งตอ่ เนื่อง ร้อยละ 100

1.2 มะเร็งเต้านม

- สตรีอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไป ได้รับความรู้และผา่ นการประเมินทกั ษะการตรวจเต้านม

ด้วยตนเองอยา่ งถกู ต้องจากเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80

- สตรีกลมุ่ เป้ าหมายที่พบเต้านมผิดปกติและเป็ นมะเร็งเต้านม ได้รับการสง่ ตอ่

และรักษาอยา่ งตอ่ เน่ือง ร้อยละ 100

2. กลยุทธ์

2.1 นโยบาย งบประมาณพร้อมดาเนินการ

2.2 วางแผนการประชาสมั พนั ธ์ผา่ นสอ่ื วทิ ยุ และป้ ายประชาสมั พนั ธ์เชิญชวน

ให้กลมุ่ เป้ าหมายเข้ารับบริการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู และมะเร็ง

เต้านม ฟรี ณ สถานบริการสาธารณสขุ ใกล้บ้าน

2.3 พฒั นาฐานข้อมลู ประชากรเป้ าหมายให้สามารถตรวจสอบรายชอ่ื ในแตล่ ะ

พนื ้ ที่ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

2.4 จดั ประชมุ ชีแ้ จงแผนงาน โครงการให้ผ้ทู ี่รับผิดชอบและเกี่ยวข้อง

ประกอบด้วย นกั วชิ าการ นกั เซลล์วทิ ยา เจ้าหน้าท่ีทร่ี ับผดิ ชอบงาน และ ผ้ทู ี่

เกี่ยวข้อง OPD สตู ินรีเวชกรรม, OPD ศลั ยกรรม อ่ืนๆ

2.5 พฒั นารูปแบบการให้บริการทงั้ เชิงรับและเชิงรุก โดยยดึ ผ้รู ับบริการเป็ น

ศนู ย์กลาง

2.6 พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรระดบั ปฏิบตั กิ าร ด้านเทคนิคการตรวจ Pap smear

ให้มีคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยการประเมินคณุ ภาพ สไลด์

2.7 สง่ เสริม สนบั สนุน ให้ประชาชนในพนื ้ ทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วม เป็ นอาสาสมคั ร จูง

ใจกลมุ่ เป้ าหมาย ให้เข้ารับบริการให้ครอบคลมุ มากที่สดุ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี

107

2.8 จดั หา วสั ดุ ทางการแพทย์ในการทา Pap smear ทกุ ขนั้ ตอน ตลอดจนจดั หา
วสั ดทุ กุ รูปแบบให้พร้อม ในการสนบั สนนุ การดาเนินงานบรรลเุ ป้ าหมาย

2.9 พฒั นาระบบข้อมลู การวเิ คราะห์ ข้อมลู ให้มีคณุ ภาพสามารถตรวจสอบได้ทกุ
ขนั้ ตอน (แบบฟอร์มการเก็บข้อมลู ผ้ปู ่ วยมะเร็งรายใหม่ และผ้ทู พี่ บเต้านม
ผดิ ปกติ Breast mass )

2.10 พฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามความก้าวหน้าการดาเนนิ งานให้มี
ประสทิ ธิภาพ

2.11 กาหนดให้สถานบริการสาธารณสขุ ทกุ แหง่ ท่ใี ห้บริการตรวจคดั กรอง Pap
smear สง่ ข้อมลู หนว่ ยป้ าย และหนว่ ยอ่านไปทส่ี ถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ เพื่อทา
การตรวจสอบและวเิ คราะห์ข้อมลู ด้านคณุ ภาพ

ผลการดาเนินงาน
มะเร็งปากมดลกู Pap smear
1. สตรีเป้ าหมายทีเ่ กิดในปี พ.ศ. 2516,2511,2506,2501,21496,2491 รวมทงั้
จงั หวดั 28,912 ราย(ทะเบยี นราษฎร์)

ตารางที่ 13 แสดงผลงานการตรวจคดั กรอง Pap smear เป้ าหมาย จาแนกรายอาเภอ

จ.สพุ รรณบุรี ปี งบประมาณ 2551

ลาดับ อาเภอ เป้ าหมาย ผลงานตรวจ ร้อยละ

ทะเบยี นราษฎร์ Pap smear

1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 5612 3548 63.22

2 เดมิ บางนางบวช 2572 1816 70.61

3 ดา่ นช้าง 1941 1525 78.57

4 บางปลาม้า 2805 1903 67.84

5 ศรีประจนั ต์ 2278 1678 73.66

6 ดอนเจดีย์ 1779 1106 62.17

7 สองพี่น้อง 4274 3137 73.40

8 สามชกุ 1922 1286 66.91

9 อู่ทอง 4295 3271 76.20

10 หนองหญ้าไซ 1434 1005 70.08

รวม 28912 20275 70.13

แหลง่ ข้อมลู : จากรายงานการตรวจคดั กรอง Pap smear ของหนว่ ยบริการฯ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

108

จากตาราง พบวา่ อาเภอทมี่ ีผลงานตรวจคดั กรอง pap smear สงู สดุ ได้แก่
อาเภอดา่ นช้าง ร้อยละ 78.57 ,อาเภออทู่ อง ร้อยละ 76.20 และ อาเภอสองพน่ี ้อง ร้อยละ 73.66
ตามลาดบั แยกผลงานรายอาเภอผา่ นตวั ชีว้ ดั ทงั้ หมด

ตารางท่ี 14 แสดงผล Pap smear ผดิ ปกติ และเป็ นมะเร็งปากมดลกู (เป้ าหมาย) จาแนก

รายอาเภอ จ.สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551

ลาดับ อาเภอ ผลงาน ผลผิดปกติ ผลเป็ นมะเร็ง

ตรวจ

Pap smear

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 3548 34 0.96 6 0.17

2 เดิมบางนางบวช 1816 15 0.83 3 0.17

3 ดา่ นช้าง 1525 18 1.18 1 0.07

4 บางปลาม้า 1903 11 0.58 2 0.11

5 ศรีประจนั ต์ 1678 11 0.66 1 0.06

6 ดอนเจดีย์ 1106 7 0.63 2 0.18

7 สองพ่ีน้อง 3137 40 1.28 3 0.1

8 สามชกุ 1286 6 0.47 0 0

9 อู่ทอง 3271 23 0.70 2 0.06

10 หนองหญ้าไซ 1005 10 1.0 2 0.2

รวม 20275 175 0.86 22 0.11

แหล่งข้อมลู : รายงานประจาเดอื นจากหน่วยบริการและห้องปฏบิ ตั กิ ารฯ

จากตารางพบวา่ อาเภอท่พี บผิดปกติมากทส่ี ดุ ได้แก่ อาเภอสองพน่ี ้อง อาเภอเมอื ง
และอาเภออทู่ องตามลาดบั จะเหน็ วา่ การตรวจคดั กรอง Pap smear ครอบคลมุ กลมุ่ เป้ าหมาย
มาก จะพบผ้ทู ีผ่ ดิ ปกติมาก

ดงั นนั้ การตรวจคดั กรอง Pap smear จึงเป็ นวธิ ีการคดั กรองท่ีดีท่ีสดุ ในปัจจบุ นั ในการ
เฝ้ าระวงั ป้ องกนั โรคมะเร็งปากมดลกู ถ้าตรวจคดั กรองครอบคลมุ กลมุ่ เป้ าหมายมากท่ีสดุ ก็จะ
สามารถลดอตั ราการเกิดและอตั ราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลกู ลงได้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

109

ตารางท่ี 15 แสดงผลงานการตรวจคดั กรอง Pap smear อายุ 17-74 ปี ไมร่ วมกลมุ่ อายุ

35,40,45,50,55,60 ปี จาแนกรายอาเภอ

ลาดับ อาเภอ เป้ าหมาย ผลงานตรวจ ร้ อยละ

ทะเบียนราษฎร์ Pap smear

1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 57530 3661 6.36

2 เดมิ บางนางบวช 26866 1208 4.5

3 ดา่ นช้าง 21332 637 3.0

4 บางปลาม้า 28396 874 3.1

5 ศรีประจนั ต์ 23188 489 2.11

6 ดอนเจดีย์ 15825 422 2.7

7 สองพีน่ ้อง 43213 866 2.0

8 สามชกุ 20421 301 1.5

9 อทู่ อง 41655 1382 3.32

10 หนองหญ้าไซ 17089 510 3.0

รวม 295515 10350 3.50

แหล่งข้อมลู : รายงานประจาเดอื นการตรวจ Pap smear หน่วยบริการ

ตารางท่ี 16 แสดงผล Pap smear ผดิ ปกติ และเป็ นมะเร็งปากมดลกู กลมุ่ เสย่ี งนอกเป้ าหมาย
จาแนกรายอาเภอ

ลาดบั อาเภอ ผลการตรวจ ผลผดิ ปกติ ผลเป็ นมะเร็ง

Pap smear

จานวน ร้อยละ จานวน ร้ อยละ
10 0.27
1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 3661 74 2.02 2 0.2
1 0.16
2 เดมิ บางนางบวช 1208 19 1.57 2 0.23
4 0.81
3 ดา่ นช้าง 637 13 2.04 2 0.5
1 0.12
4 บางปลาม้า 874 9 1.03 0 0
3 0.22
5 ศรีประจนั ต์ 489 16 3.27 0 0
25 0.24
6 ดอนเจดีย์ 422 7 1.66

7 สองพน่ี ้อง 866 31 3.58

8 สามชกุ 301 5 1.66

9 อ่ทู อง 1382 21 1.52

10 หนองหญ้าไซ 510 3 0.59

รวม 10350 198 1.91

แหลง่ ข้อมลู : รายงานประจาเดือนผลการอา่ นสไลด์จากห้องปฏบิ ตั ิการฯ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

110

คณุ ภาพของการป้ ายสไลด์ส่งตรวจ Pap smear
จากการดาเนนิ งานสง่ เสริมการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ด้วยวิธี Pap smear

บคุ ลากรสาธารณสขุ ท่ีเกี่ยวข้อง จะได้มีการอบรมฟืน้ ฟคู วามรู้ ทกั ษะ และเทคนคิ การทา Pap
smear ให้มีคณุ ภาพและตอ่ เนอื่ ง จงั หวดั ได้กาหนดการประเมินผลงานทงั้ ปริมาณและคณุ ภาพ

ตารางท่ี 17 แสดงคณุ ภาพสไลด์ (กลุ่มเป้ าหมาย)

จานวน Sat and Sat but Sat but Sat but no endo Unsat

สไลด์ (วินิจฉยั ได้) (วนิ จิ ฉยั ได้แตม่ ี (วนิ ิจฉยั ได้ แตไ่ ม่พบ (ไม่สามารถ

ข้อจากดั ) เซลลบ์ ริเวณ T- ให้การวนิ ิจฉยั ได้)

Zone)

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

21523 11194 53.23 260 1.21 10028 46.59 41 0.19

ตารางท่ี 18 แสดงคุณภาพสไลด์ (นอกกลุ่มเป้ าหมาย)

จานวน Sat and Sat but Sat but Sat but no endo Unsat

สไลด์ (วนิ จิ ฉยั ได้) (วนิ ิจฉยั ได้แตม่ ี (วินจิ ฉยั ได้ แตไ่ ม่พบ (ไมส่ ามารถ

ข้อจากดั ) เซลล์บริเวณ T- ให้การวินิจฉยั ได้)

Zone)

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

15678 9452 60.28 326 2.07 5880 37.50 20 0.13

แหลง่ ข้อมลู : รายงานประจาเดือนจากห้องปฏิบตั กิ ารฯ

จากตารางพบวา่ คณุ ภาพสไลด์ในภาพรวมจงั หวดั อยใู่ นเกณฑ์ดีพอใช้ เม่ือดเู ป็ นราย
อาเภอและรายสถานบริการ พบวา่ หนว่ ยบริการบางแหง่ จะต้องได้รับการฟืน้ ฟูเทคนิคการทา Pap
smear ให้ได้คณุ ภาพเพม่ิ ขนึ ้ จงั หวดั จะต้องดาเนินการให้เกิดประสทิ ธิภาพ ปัญหาทีพ่ บอีกสว่ น
หนง่ึ มาจากเจ้าหน้าทมี่ ีการเปลยี่ นแปลงโยกย้ายบอ่ ยและอตั รากาลงั ไมเ่ พียงพอ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

111

ตารางท่ี 19 แสดงผลอ่านสไลด์พบผดิ ปกติ (กลุ่มเป้ าหมาย)

จานวน ASCUS ASC-H AGUS HPV LSIL HSIL HSIL HSIL

สไลด์ CIN CIN II CIN CIS AIS SCCA Adeno Other รวม

I III CA

21523 44 14 1 7 20 1 27 55 3 - 19 2 2 195

ตารางท่ี 20 แสดงผลอ่านสไลด์พบผดิ ปกติ (นอกกลุ่มเป้ าหมาย)

จานวน ASCUS ASC-H AGUS HPV LSIL HSIL HSIL HSIL

สไลด์ CIN CIN II CIN CIS AIS SCCA Adeno Other รวม

I III CA

15678 61 15 4 16 41 5 32 40 1 - 12 7 4 238

แหล่งข้อมลู : รายงานประจาเดอื นจากห้องปฏบิ ตั กิ ารฯ

จากตาราง พบวา่ ผลผิดปกตใิ นระยะเริ่มแรกและกอ่ นเป็ นมะเร็งเพ่มิ มากขนึ ้
ซงึ่ แสดงให้เหน็ วา่ กลมุ่ ทีผ่ ิดปกติดงั กลา่ ว ถ้ามีการเฝ้ าระวงั ตดิ ตามการรักษาอยา่ งตอ่ เนอื่ งจะ
สามารถป้ องกนั ไม่ให้เป็ นโรคมะเร็งปากมดลกู ได้

ดงั นนั้ ทกุ ขนั้ ตอนของการดาเนนิ งานตรวจคดั กรอง Pap smear จะต้องคานงึ ถงึ
ประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพเป็ นสาคญั เพราะเป็ นการดแู ลสขุ ภาพประชาชนโดยตรง เพื่อให้
ปลอดภยั จากโรคมะเร็งปากมดลกู

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

112

ตารางท่ี 21 ผลงานตรวจคัดกรอง Pap smear ย้อนหลัง 4 ปี จ.สุพรรณบุรี

ปี งบประมาณ

รายละเอียด/กิจกรรม 2548 2549 2550 2551

สตรีอายุ 35,40,45,50,55,60 ปี 20275
(70.13% )
ตรวจคดั กรอง Pap smear 20208 19046 23811 195 ราย
(0.96 %)
(53.70 %) ( 53.01 %) ( 63.50 %) 22 ราย
(0.11 %)
พบผดิ ปกติ 166 ราย 163 ราย 216 ราย
10350
(0.82%) (0.86 %) (0.91 %) (3.50%)

พบเป็ นมะเร็ง 41 ราย 48 ราย 51 ราย 200
( 0.02%)
( 0.20 %) (0.25 %) (0.28 %)
25
สตรีอายุ 17-74ปี (ไม่รวมกลุ่ม 0 กบั 5 ) ( 0.24%)

ตรวจคดั กรอง Pap smear 18776 17599 15715 30625
(9.44 %)
(6.72%) ( 6.30 %) (5.45%)
395
พบผดิ ปกติ 151 257 231 ( 1.29%)

(0.80 %) ( 1.46%) (1.47%) 47
( 0.15 %)
พบเป็ นมะเร็ง 73 78 41
0.01 %
(0.39%) (0.44 %) ( 0.26%)

รวมสตรีช่วงอายุ 17-74 ปี ทงั้ หมด

ตรวจคดั กรอง Pap smear 38984 36645 39526

(12.37%) ( 11.63 %) (12.13%)

พบผดิ ปกติ 317 420 447

( 0.81%) ( 1.15%) (1.13%)

อตั ราอุบตั ิการณ์เกิดมะเร็งปากมดลกู 114 126 92

( 0.29%) ( 0.34%) ( 0.23%)

อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์เกิดมะเร็งปากมดลกู

ของ จ.สพุ รรณบรุ ี(ประชากรหญิงทงั้ หมด) 0.02 % 0.03 % 0.02 %

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

113

การดาเนินงานมะเร็งเต้านม

การดาเนินงานตรวจคดั กรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไป ของจงั หวดั

สพุ รรณบุรี กาหนด 2 รูปแบบ คือ 1 ) ดาเนินงานควบคไู่ ปกบั การตรวจคดั กรอง

Pap smear 2) ดาเนนิ การประเมินความรู้และทกั ษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ผลงาน พบวา่ สตรีกลมุ่ เป้ าหมายรวมทงั้ จงั หวดั 214,099 ราย(ทะเบยี นราษฎร์) ได้รับ

การตรวจคดั กรองมะเร็งเต้านม (โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ) จานวน 27,215

ราย และผา่ นการประเมินความรู้และทกั ษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยแพทย์และ

เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ จานวน 178,018 ราย คดิ เป็ นร้อยละ 83.15 พบผดิ ปกติ 883

ราย คิดเป็ นร้อยละ 0.50 พบเป็ นมะเร็ง 86 ราย คดิ เป็ นร้อยละ 0.05

ตารางท่ี 22 แสดงผลงานประเมนิ ความรู้และทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
อย่างถกู ต้อง จาแนกรายอาเภอ จ.สุพรรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551

ลาดับ อาเภอ เป้ าหมาย ผลงาน ร้ อยละ

ทะเบยี นราษฎร์ ความรู้และ

ทักษะ

1 เมืองสพุ รรณบุรี 42027 35111 83.54

2 เดมิ บางนางบวช 20469 16617 81.18

3 ดา่ นช้าง 14232 12059 84.73

4 บางปลาม้า 21095 17420 82.58

5 ศรีประจนั ต์ 17454 14094 80.75

6 ดอนเจดีย์ 11522 10147 88.07

7 สองพี่น้อง 30040 25066 83.44

8 สามชกุ 15385 12962 84.25

9 อ่ทู อง 29688 24674 83.11

10 หนองหญ้าไซ 12187 9868 80.97

รวม 214099 178018 83.15

แหลง่ ข้อมลู : รายงานประจาเดอื นจากหน่วยบริการ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

114

ตารางท่ี 23 แสดงพบเต้านมผดิ ปกตแิ ละเป็ นมะเร็ง จาแนกรายอาเภอ จ.สุพรรณบรุ ี

ปี งบประมาณ 2551

ลาดบั อาเภอ เป้ าหมายผ่านประเมิน ผลผิดปกติ ผลเป็ นมะเร็ง

ความรู้และทกั ษะ

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 35111 222 0.63 23 0.07

2 เดมิ บางนางบวช 16617 158 0.95 11 0.07

3 ดา่ นช้าง 12059 37 0.31 4 0.03

4 บางปลาม้า 17420 58 0.33 6 0.03

5 ศรีประจนั ต์ 14094 33 0.23 2 0.01

6 ดอนเจดีย์ 10147 28 0.27 3 0.03

7 สองพ่นี ้อง 25066 194 0.77 16 0.06

8 สามชกุ 12962 26 0.20 5 0.04

9 อ่ทู อง 24674 103 0.42 15 0.06

10 หนองหญ้าไซ 9868 24 0.24 1 0.01

รวม 178018 883 0.5 86 0.05

แหล่งข้อมลู : รายงานประจาเดือนของหน่วยบริการ

จากตาราง จะเหน็ วา่ การค้นหาและพบผ้ทู มี่ ีเต้านมผิดปกติได้ครอบคลมุ และเร็ว เป็ น
การช่วยลดอตั ราการเกิดมะเร็งเต้านมระยะลกุ ลามและอตั ราการตายลงได้ ตลอดจนช่วยประหยดั
งบประมาณท่ตี ้องใช้ในการรักษา และชว่ ยให้ครอบครัว ชมุ ชนมีความสขุ ได้

ตารางท่ี 24 ผลงานการเฝ้ าระวงั ป้ องกนั มะเร็งเต้านม ย้อนหลัง 4 ปี จ.สุพรรณบุรี

ปี งบประมาณ

รายละเอียด/กิจกรรม 2548 2549 2550 2551

กลมุ่ เป้ าหมายอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไปตาม 215391 211713 215885 214099

ทะเบียนราษฎร์

ได้รับความรู้และทกั ษะการตรวจ 189647 186521 186736 178018

เต้านมด้วยตนเองฯ ( 88.05 %) ( 88.10 %) ( 86.50%) ( 83.15%)

พบผดิ ปกติ 725 259 825 883

( 0.38 %) ( 0.14%) ( 0.44%) ( 0.49%)

อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์ เป็นมะเร็ง 65 51 87 86

ในสตรีเป้ าหมาย ( 0.03%) ( 0.03%) ( 0.05 %) ( 0.05%)

อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์เกิดโรคมะเร็ง

จ.สพุ รรณบรุ ี 0.03 % 0.02 % 0.04 % 0.04 %

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

115

ตารางท่ี 25 แสดงอตั ราตายต่อแสนประชากรด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2548-2550

มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

จานวน(ราย) อัตราตาย จานวน(ราย) อัตราตาย

ปี ต่อแสนประชากร ต่อแสนประชากร

2548 41 5.0 23 2.8

2549 31 4.0 27 3.2

2550 26 3.1 29 3.5

ตัวชีว้ ดั ระดับประเทศ
- อตั ราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลกู ตอ่ แสนประชากรไมเ่ กินร้อยละ 5.2

- อตั ราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านมตอ่ แสนประชากรไม่เกินร้อยละ 5.8

สรุป
แนวทางการดาเนินงานสง่ เสริมการตรวจคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ด้วยวิธี Pap smear เป็ นแนวทางที่

ดีที่สดุ ในปัจจุบนั ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี เพราะ การดาเนินงานท่ีมีประสทิ ธิภาพและตอ่ เนื่อง จะทาให้อตั รา
ป่ วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลกู ระยะลกุ ลามและอตั ราตายลดลงอยา่ งเป็ นรูปธรรม องค์ประกอบที่ทาให้สาเร็จ

1. ประชาชนต้องได้รับความรู้ที่ถกู ต้อง และเข้าถงึ บริการได้สะดวก รวดเร็ว จะทาให้ประชาชนใสใ่ จใน
การดแู ลสขุ ภาพตนเองอยา่ งสม่าเสมอ มากขนึ ้

2. บคุ ลากรสาธารณสขุ ทุกระดบั ที่เก่ียวข้อง จะต้องตระหนกั ในบทบาทหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย มีการ
พฒั นาศกั ยภาพการทางานของตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง และมีการพฒั นาการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบทกุ
ขนั้ ตอน

3. นโยบายมีความชัดเจนและตอ่ เนือ่ ง งบประมาณเพียงพอ และผ้บู ริหารให้การสนบั สนนุ
แนวทางการดาเนินงานสง่ เสริม

แนวทางการดาเนินงานสง่ เสริมการตรวจคดั กรองมะเร็งเต้านม ด้วยการให้ความรู้และประเมินทกั ษะ
การตรวจเต้านมด้วยตนเองอยา่ งถกู ต้องแก่กลมุ่ เป้ าหมาย ปัจจุบันยงั เป็ นแนวทางการดาเนินงานท่ีไม่
สามารถประเมินคุณภาพได้นอกจากปริมาณ ทาให้พบผ้ปู ่ วยเป็ นมะเร็งเต้านมเพิ่มมากขนึ ้ ทกุ ปี
องค์ประกอบทีจ่ ะทาให้สาเร็จ

1. นโยบายมีความชัดเจนและตอ่ เน่อื ง งบประมาณเพยี งพอ ผ้บู ริหารให้การสนบั สนนุ
2. สตรีกลมุ่ เป้ าหมายมีความรู้ ทกั ษะ และตระหนกั ในการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเป็ น
ประจาสม่าเสมอ
3. จะต้องมีแนวทางการดาเนินงานท่ีสามารถ ค้นหากลมุ่ เป้ าหมายทมี่ ีความผิดปกตขิ องเต้า
นมให้ได้มากทสี่ ดุ และเร็วที่สดุ ตลอดจนการติดตามผ้ทู ี่พบความผิดปกตขิ องเต้านมและเป็ นมะเร็ง ให้
ได้รับการสง่ ตอ่ รักษาอยา่ งมีประสิทธิภาพและตอ่ เนื่อง

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี

116

 งานส่งเสริมบริการวางแผนครอบครัว

สถานการณ์
การดาเนนิ งานวางแผนครอบครัวในอดีต ประเทศไทยประสบความสาเร็จจนเป็ นทยี่ อมรับ

ในระดบั สากลจนทาให้อตั ราเพ่มิ ประชากรลดลง จานวนประชากรเพมิ่ ขนึ ้ อยา่ งช้าๆ ซง่ึ นบั เป็ น
ความสาเร็จเชิงปริมาณ กลา่ วคือ สามารถจูงใจและให้บริการคมุ กาเนิดด้วยวธิ ีตา่ งๆ แก่
ผ้รู ับบริการได้จานวนมาก จนสามารถบรรลเุ ป้ าหมายของโครงการ หรือเป้ าหมายทางประชากร
และการพฒั นาของประเทศได้ แตถ่ งึ อยา่ งไรเรายงั มิอาจสรุปได้วา่ เป็ นผลงานท่สี มบรู ณ์และนา่ พงึ
พอใจ หากผ้รู ับบริการคมุ กาเนดิ เหลา่ นนั้ ตดั สนิ ใจทาการคมุ กาเนดิ โดยทยี่ งั ไมม่ ีความรู้ ความ
เข้าใจอยา่ งแจม่ แจ้ง ถึงประสทิ ธิภาพและผลท่ีจะตามมาจากการคมุ กาเนดิ แตล่ ะวธิ ี

ปัจจบุ นั การดาเนินงานให้ความสาคญั กบั คณุ ภาพบริการ และการให้บริการวางแผน
ครอบครัวท่ีผสมผสานอนามยั การเจริญพนั ธ์ุมากขนึ ้ เน้นให้สตรีกลมุ่ เป้ าหมายมีความรู้ ความ
เข้าใจทถ่ี กู ต้องถงึ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ประชาชนพงึ พอใจ และตดั สนิ ใจเลอื กวิธี
คมุ กาเนิดที่เหมาะสม

ปี 2551 การดาเนนิ งานสง่ เสริมการให้บริการวางแผนครอบครัว โดยภาพรวมของจงั หวดั
สพุ รรณบุรี พบวา่ อตั ราคมุ กาเนิดรวมทกุ วิธี ร้อยละ 92.31 และเมื่อจาแนกรายวธิ ีของการ
คมุ กาเนิดพบวา่ มีการรับบริการคมุ กาเนิดแบบชวั่ คราว ร้อยละ76.32 และคมุ กาเนดิ แบบถาวร
ร้อยละ 15.98 ตามลาดบั

ปัจจยั เส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
1. นโยบายมีผลตอ่ การดาเนนิ งาน ถ้านโยบายไม่ชดั เจนและตอ่ เน่ือง จะทาให้การ
ดาเนินงานไม่เกิดการกระต้นุ หรือเกิดการพฒั นาได้
2. งบประมาณ ถ้ามีงบประมาณเพียงพอ จะทาให้การดาเนนิ งานมีการพฒั นาอยา่ ง
ตอ่ เนอื่ ง
3. การกาหนดตวั ชีว้ ดั จากสว่ นกลาง ไม่ควรตงั้ ตวั ชวี ้ ดั สงู เกินไป เพราะจะทาให้ผ้ปู ฏิบตั ิ
คานงึ ถึงผลงานด้านปริมาณ มากกวา่ คณุ ภาพ และไมค่ านงึ ถงึ การให้ความรู้ความ
เข้าใจกบั กลมุ่ เป้ าหมาย

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
โครงการสง่ เสริมการให้บริการอนามยั เจริญพนั ธ์แุ ละการวางแผนครอบครัว
1) ตวั ชีว้ ดั ตามประเด็นการตรวจราชการ
- สตรีอายุ 15-44 ปี ได้รับบริการวางแผนครอบครัวรวมทกุ วิธี ไมน่ ้อยกวา่
ร้อยละ 90

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

117

2) กลยทุ ธ์
2.1 จดั ทาแผนงาน /งบประมาณสนบั สนนุ
2.2 จดั ประชมุ ชีแ้ จงแผนงาน โครงการให้ผ้ทู ร่ี ับผดิ ชอบและเกี่ยวข้องทกุ ระดบั

ได้เข้าใจแนวทางการดาเนินงาน
2.3 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานบริการทกุ แหง่ เปิ ดคลนิ ิกบริการอนามยั เจริญพนั ธ์ุ

ทค่ี รอบคลมุ ทกุ มิตขิ องวยั เจริญพนั ธ์ุทีค่ วรได้รับตามชว่ งวยั ทเ่ี หมาะสม
2.4 ประชาชน/อาสาสมคั รในพืน้ ทเี่ ข้ามามีสว่ นร่วม ในการกระจายความรู้ความ

เข้าใจในการรับบริการวางแผนครอบครัวอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
2.5 จดั หา เวชภณั ฑ์คมุ กาเนิดให้เพยี งพอตอ่ การรับบริการของประชาชนในพนื ้ ที่
2.6 จดั ทาแผนพฒั นาระบบข้อมลู การวเิ คราะห์ ข้อมลู ให้มีคณุ ภาพ
2.7 พฒั นาแนวทางการนิเทศติดตามและประเมินผล

ตารางท่ี 1 อตั ราการคมุ กาเนิดรวมทกุ วิธี จาแนกเป็ นรายอาเภอ

ลาดบั อาเภอ เป้ าหมาย สตรีเป้ าหมาย คิดเป็ น
ร้ อยละ
MWRA คุมกาเนิดรวม 90.84
91.24
1 เมืองสพุ รรณบรุ ี 30523 27727 93.06
93.59
2 เดมิ บางนางบวช 12974 11838 95.68
92.59
3 ดา่ นช้าง 12063 11226 92.13
92.19
4 บางปลาม้า 14880 13926 92.47
91.18
5 ศรีประจนั ต์ 11770 11261 92.31

6 ดอนเจดีย์ 8640 8000

7 สองพนี่ ้อง 24239 22332

8 สามชกุ 10187 9391

9 อทู่ อง 22796 21079

10 หนองหญ้าไซ 9093 8294

รวม 157165 145074

แหลง่ ข้อมลู : จากรายงานของหน่วยบริการ

สรุป
ในภาพรวมของจงั หวดั สพุ รรณบุรี อตั ราคมุ กาเนดิ รวมทกุ วธิ ีทกุ อาเภอไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 90

ทาให้การสง่ เสริมการวางแผนครอบครัวบรรลเุ ป้ าหมาย และประชาชนมีความรู้เพมิ่ มากขนึ ้ เข้าใจในการ
วางแผนครอบครัว

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี

11

ตาราง 2 จานวนผู้รับบริการวางแผนครอบครัวรายใหม่ จาแนกตามวธิ คี

วธิ

ปี หว่ งอนามยั
รวม Intra uterine ยาเมด็ ทาหม

Total device Oral pills Tube

2546 17,534 86 6,111 1,

2547 95,934 92 41,168 1,

2548 107,229 366 44,907 5,

2549 14,084 49 4,453 1,
2550 13,717 57 4,106 1,
2551

ทมี่ า: สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551

18

คุมกาเนิด พ.ศ. 2546 - 2551

ธีคมุ กาเนิด Contraceptive methods

มนั หญิง ทาหมนั ชาย ยาฉีด ยาฝัง ถงุ ยางอนามยั อ่ืน ๆ

ectomy Vasectomy Injection Norplant Condom Others
,671 42 9,080 130 414 -
,698 22 52,916 38 - -
,233 523 55,330 148 722 -

,535 18 7,911 113 - -
,657 11 7,675 67 44 -

สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

11

ตาราง 3 จานวนผู้รับบริการวางแผนครอบครัวรายใหม่ จาแนกตามวิธีคมุ

วธิ ีค

ห่วงอนามยั
อาเภอ

รวม Intra uterine ยาเมด็ ท
Total device Oral pills T

ยอดรวม 16,388 82 4,928
เมืองสพุ รรณบรุ ี 2,835 8 618
เดมิ บางนางบวช 484 6 178
ดา่ นช้าง 4,807 - 1,235
บางปลาม้า 763 4 298
ศรีประจนั ต์ 597 7 176
ดอนเจดีย์ 602 - 202
สองพ่ีน้อง 2,736 1 855
สามชกุ 665 2 181
อทู่ อง 2,391 54 1,061
หนองหญ้ าไซ 508 - 124

ท่ีมา: สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี 2551

19

มกาเนิด เป็ นรายอาเภอ พ.ศ. 2551

คมุ กาเนิด Contraceptive methods

ทาหมนั หญิง ทาหมนั ชาย ยาฉีด ยาฝัง ถงุ ยาง อื่น ๆ
Tubectomy Vasectomy Injection Norplant อนามยั Others
Condom

1,775 11 9,441 54 97 -

762 5 1,429 2 11 -

44 1 234 9 12 -

86 2 3,468 8 8 -

63 - 398 - - -

91 1 318 4 - -

27 - 358 15 - -

436 2 1,388 - 54 -

77 - 405 - - -

172 - 1,104 - - -

17 - 339 16 12 -

สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

12

ตาราง 4 จานวนคู่สมรสท่กี าลังใช้วธิ คี มุ กาเนิดจากสถานบริการ ของโคร

วธิ ีคมุ ก

ห่วงอนามยั

ปี รวม Intra uterine ยาเมด็ ทาหมนั หญงิ ทาหมนั ชา
Total device Oral pills Tubectomy Vasectom

2546 51,484 377 21,704 1,671 42

2547 95,934 92 41,168 1,698 22

2548 106,245 366 44,907 4,269 503

2549 104,428 1,035 42,467 16,235 4,314

2550 124,279 914 49,951 19,753 4,492

2551 145,077 1,968 58,183 20,393 4,726

ทมี่ า: สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี 2551

20

รงการวางแผนครอบครัวแห่งชาติ พ.ศ. 2546 - 2551

กาเนิด Contraceptive methods

สตรีสมรสในวยั อตั ราคมุ กาเนิด

เจริญพนั ธ์ุ Percentage of

าย ยาฉดี ยาฝัง ถงุ ยางอนามยั อ่นื ๆ Currently contraceptive

my Injection Norplant Condom Others married used

women in (%)

reproductive

ages

26,586 205 ... 899 61,975 83.03

52,916 38 ... - 110,006 87.21
80.72
55,330 148 ... 722 131,620 77.36
92.07
39,805 572 ... - 134,984 92.31

43,616 1,055 3,239 1,259 124,279

52,009 1,088 5,920 790 157,165

สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

12

ตาราง 5 จานวนคู่สมรสท่ีกาลังใช้วิธคี ุมกาเนิดจากสถานบริการ ของโครง

วธิ ีค

อาเภอ รวม ห่วงอนามัย ยาเมด็ ทาหมนั หญิง ทาหมนั ชาย
Total Intra uterine Oral pills Tubectomy Vasectomy

device

ยอดรวม 145,077 1,968 58,183 20,393 4,726
เมอื งสพุ รรณบุรี 27,727 101 12,229 4,097 583
เดมิ บางนางบวช 11,841 32 5,209 1,945 227
11,226 43 4,488 787 169
ดา่ นช้าง 13,926 124 4,370 1,713 727
บางปลาม้า 11,261 76 4,337 1,804 74
ศรีประจนั ต์ 8,000 17 3,799 1,103 269
22,332 126 9,287 2,152 800
ดอนเจดีย์ 9,391 126 3,907 1,599 127
สองพีน่ ้อง 21,079 1,319 7,388 4,075 1,340
สามชกุ 8,294 4 3,169 1,118 410
อ่ทู อง
หนองหญ้าไซ

ที่มา: สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551

21

งการวางแผนครอบครัวแห่งชาติ จาแนกเป็ นรายอาเภอ พ.ศ. 2551

คุมกาเนิด Contraceptive methods

ยาฉดี ยาฝัง ถุงยาง อ่นื ๆ สตรีสมรสในวัย อัตราคมุ กาเนิด
Injection Norplant อนามัย Others เจริญพนั ธ์ุ Percentage of
Condom contraceptive
Currently married
used
women in (%)
reproductive ages

52,009 1,088 5,920 790 157,165 92.31
30,523
8,868 61 998 790 12,974 90.84
12,063 91.27
4,344 22 62 - 14,880 93.06
11,770 93.59
5,445 105 189 - 8,640 95.68
24,239 92.59
5,703 93 1,196 - 10,187 92.13
22,796 92.19
4,278 111 581 - 9,093 92.47
91.21
2,684 15 113 -

8,805 224 938 -

3,305 22 305 -

5,441 395 1,121 -

3,136 40 417 -

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

122

 งานสาธารณสุขในแรงงานต่างด้าว

สถานการณ์
ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมื่อวนั ที่ 18 ธนั วาคม 2550 เห็นชอบแนวทางการจดั ระบบ

แรงงานตา่ งด้าวหลบหนีเข้าเมืองสญั ชาติ พมา่ ลาว และกมั พชู า ปี 2551 โดยอนญุ าตให้แรงงาน
ตา่ งด้าวหลบหนีเข้าเมืองทงั้ 3 สญั ชาติ กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2552
กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ที่ 14 มีนาคม 2552 (5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ตามนโยบาย
การพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ) กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2552 และกลมุ่
ทไ่ี ด้รับจดทะเบียนคนตา่ งด้าว ทร.38/1 (จดทะเบียนไว้ปี 2547) แตป่ ัจจุบนั มีสถานะเป็ นคนตา่ ง
ด้าวทีไ่ มไ่ ด้รับการผอ่ นผนั เพราะไมป่ ฏบิ ตั ิตามเง่อื นไขของประกาศกระทรวงมหาดไทย ให้อยใู่ น
ราชอาณาจกั รเป็ นการชวั่ คราว เพ่อื รอการสง่ กลบั และทางานได้ไมเ่ กิน 2 ปี สนิ ้ สดุ วนั ท่ี 28
กมุ ภาพนั ธ์ 2552 นนั้

กระทรวงสาธารณสขุ ขอให้สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ทกุ จงั หวดั ดาเนนิ การตรวจ
สขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าวทงั้ 4 กลมุ่ ตามแนวทางกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง
การตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าว ให้ทนั ตามเวลาที่กาหนด

ปัจจัยเส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
1. นโยบายปี ตอ่ ปี มีผลทาให้แรงงานตา่ งด้าวหนอี อกนอกระบบเป็ นจานวนมาก
2. นโยบายการให้เคลอ่ื นย้ายข้ามจงั หวดั ได้แบบเสรี ทาให้เกิดปัญหาแรงงานตา่ งด้าวท่ี
ผดิ กฎหมายเป็ นจานวนมาก
3. แรงงานตา่ งด้าวท่ีตรวจพบโรคท่ีต้องทาการรักษาตอ่ เน่อื ง ไมม่ าตรวจตามนดั หนไี ปที่
อื่น ตามตวั ไม่พบ ซงึ่ อาจมีผลกระทบกบั โรคติดตอ่ ท่อี าจเกิดการระบาดได้ เชน่ วณั
โรค ซิฟิลสิ
เอดส์ ฯลฯ
4. มีแรงงานตา่ งด้าวท่ตี งั้ ครรภ์และคลอดบุตรเป็ นจานวนมาก พบปัญหาตามา

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
1. กาหนดแนวทางการดาเนินงานตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ ง
ด้าว
2. ออกคาสง่ั ประกาศโรงพยาบาลทส่ี ามารถตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพ
แรงงานตา่ งด้าวได้ในปี 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี

123

2) กลยทุ ธ์
2.1 ประชมุ ชีแ้ จงแนวทางการดาเนินงานให้ผ้เู กี่ยวข้องได้เข้าใจ
2.2 กาหนดโรงพยาบาลที่สามารถตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานต่างด้าว

ได้ โดยออกหนงั สอื คาสง่ั
2.3 ประสานงานกบั จดั หางานจงั หวดั ในการกาหนดแนวทางการตรวจสขุ ภาพและ

การขนึ ้ ทะเบยี นจะต้องสมั พนั ธ์กนั และเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
2.4 ประกาศให้ผ้ปู ระกอบการได้ทราบถงึ ระยะเวลาของการนาแรงงานตา่ งด้าวมา

ตรวจสขุ ภาพและขนึ ้ ทะเบยี นประกนั สขุ ภาพ
2.5 โรงพยาบาลทปี่ ระกาศในคาสงั่ ดาเนนิ การตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพตาม

ระยะเวลาที่กาหนด
2.6 สรุปผลการตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าวสง่ จงั หวดั ตาม

หลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด
2.7 รายงานผลการให้บริการทางการแพทย์และการเบิกจา่ ยเงนิ คา่ บริการทางการ

แพทย์ของแรงงานตา่ งด้าวทงั้ ในระบบและนอกระบบ เพอ่ื ประเมินสถานการณ์
แรงงานตา่ งด้าวในพนื ้ ที่

ตารางท่ี 1 สรุปผลการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว จาแนกตามเพศและสัญชาติ
จ.สุพรรณบุรี ปี งบประมาณ 2551

รายละเอียด รวม เพศ สญั ชาติ

ชาย หญิง พม่า ลาว กมั พชู า
48
1. จานวนท่ตี รวจสขุ ภาพ 2934 1721 1213 2776 110
48
ทงั้ หมด 0

2. พบผดิ ปกติ (ประเภท 1) 2848 1701 1147 2692 108 0

3. พบโรคท่ีต้องติดตามรักษา 33 20 13 33 0 0

(ประเภท 2)

4. พบโรคต้องห้ามมิให้ทางาน 0 0 0 0 0

(ประเภท 3)

5. ตงั้ ครรภ์ 53 0 53 51 2

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

124

 งานสาธารณสุขในแรงงานต่างด้าว

สถานการณ์
ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมื่อวนั ท่ี 18 ธันวาคม 2550 เห็นชอบแนวทางการจดั ระบบ

แรงงานตา่ งด้าวหลบหนีเข้าเมืองสญั ชาติ พม่า ลาว และกมั พชู า ปี 2551 โดยอนญุ าตให้แรงงาน
ตา่ งด้าวหลบหนีเข้าเมืองทงั้ 3 สญั ชาติ กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2552
กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ที่ 14 มีนาคม 2552 (5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ตามนโยบาย
การพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ) กลมุ่ ใบอนญุ าตทางานหมดอายวุ นั ที่ 30 มิถนุ ายน 2552 และกลมุ่
ทไ่ี ด้รับจดทะเบียนคนตา่ งด้าว ทร.38/1 (จดทะเบยี นไว้ปี 2547) แตป่ ัจจบุ นั มีสถานะเป็ นคนต่าง
ด้าวทีไ่ มไ่ ด้รับการผอ่ นผนั เพราะไม่ปฏบิ ตั ติ ามเง่อื นไขของประกาศกระทรวงมหาดไทย ให้อยใู่ น
ราชอาณาจกั รเป็ นการชวั่ คราว เพอ่ื รอการสง่ กลบั และทางานได้ไมเ่ กิน 2 ปี สนิ ้ สดุ วนั ที่ 28
กมุ ภาพนั ธ์ 2552 นนั้

กระทรวงสาธารณสขุ ขอให้สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ทกุ จงั หวดั ดาเนนิ การตรวจ
สขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าวทงั้ 4 กลมุ่ ตามแนวทางกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง
การตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าว ให้ทนั ตามเวลาที่กาหนด

ปัจจัยเส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
5. นโยบายปี ตอ่ ปี มีผลทาให้แรงงานตา่ งด้าวหนีออกนอกระบบเป็ นจานวนมาก
6. นโยบายการให้เคลอ่ื นย้ายข้ามจงั หวดั ได้แบบเสรี ทาให้เกิดปัญหาแรงงานตา่ งด้าวที่
ผดิ กฎหมายเป็ นจานวนมาก
7. แรงงานตา่ งด้าวที่ตรวจพบโรคท่ีต้องทาการรักษาตอ่ เนอ่ื ง ไมม่ าตรวจตามนดั หนไี ปที่
อื่น ตามตวั ไม่พบ ซง่ึ อาจมีผลกระทบกบั โรคติดตอ่ ทีอ่ าจเกิดการระบาดได้ เช่น วณั
โรค ซิฟิลสิ
เอดส์ ฯลฯ
8. มีแรงงานตา่ งด้าวทีต่ งั้ ครรภ์และคลอดบุตรเป็ นจานวนมาก พบปัญหาตามา

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
3. กาหนดแนวทางการดาเนินงานตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ ง
ด้าว
4. ออกคาสงั่ ประกาศโรงพยาบาลท่สี ามารถตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพ
แรงงานตา่ งด้าวได้ในปี 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

125

2) กลยุทธ์
2.8 ประชุมชีแ้ จงแนวทางการดาเนินงานให้ผ้เู ก่ียวข้องได้เข้าใจ
2.9 กาหนดโรงพยาบาลท่ีสามารถตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าว

ได้ โดยออกหนงั สอื คาสง่ั
2.10 ประสานงานกบั จดั หางานจงั หวดั ในการกาหนดแนวทางการตรวจสขุ ภาพและ

การขนึ ้ ทะเบยี นจะต้องสมั พนั ธ์กนั และเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
2.11 ประกาศให้ผ้ปู ระกอบการได้ทราบถงึ ระยะเวลาของการนาแรงงานตา่ งด้าวมา

ตรวจสขุ ภาพและขนึ ้ ทะเบียนประกนั สขุ ภาพ
2.12 โรงพยาบาลทีป่ ระกาศในคาสงั่ ดาเนนิ การตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพตาม

ระยะเวลาที่กาหนด
2.13 สรุปผลการตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าวสง่ จงั หวดั ตาม

หลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด
2.14 รายงานผลการให้บริการทางการแพทย์และการเบิกจา่ ยเงินคา่ บริการทางการ

แพทย์ของแรงงานตา่ งด้าวทงั้ ในระบบและนอกระบบ เพอื่ ประเมินสถานการณ์
แรงงานตา่ งด้าวในพนื ้ ที่

ตารางท่ี 2 สรุปผลการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว จาแนกตามเพศและสัญชาติ
จ.สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551

รายละเอียด รวม เพศ สญั ชาติ

ชาย หญิง พม่า ลาว กมั พชู า
48
1. จานวนท่ีตรวจสขุ ภาพ 2934 1721 1213 2776 110
48
ทงั้ หมด 0

2. พบผิดปกติ (ประเภท 1) 2848 1701 1147 2692 108 0

3. พบโรคที่ต้องติดตามรักษา 33 20 13 33 0 0

(ประเภท 2)

4. พบโรคต้องห้ามมิให้ทางาน 0 0 0 0 0

(ประเภท 3)

5. ตงั้ ครรภ์ 53 0 53 51 2

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

126

 งานพัฒนากระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ความสาคญั
การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ เพือ่ ให้เกิดการดาเนินงานท่ีมีคณุ ภาพ และประสทิ ธิภาพ

สอดคล้องกบั สถานการณ์ และบริบทของแตล่ ะหนว่ ยบริการ เพือ่ ตอบสนองความต้องการและความ
คาดหวงั ของผ้รู ับบริการ การทีป่ ระชาชนมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี เป็ นปัจจยั พนื ้ ฐานสาคญั ในการพฒั นา
ประเทศ การพฒั นาโรงพยาบาลด้วยกระบวนการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ ก็เป็ นอีกเครื่องมือหนง่ึ
ในการดาเนินงานพฒั นาโรงพยาบาล เพอ่ื ดาเนินงานเชิงรุกในการสร้างเสริมสขุ ภาวะ ของประชาชนให้
มีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ีอยา่ งยง่ั ยืน

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มีการพฒั นาโรงพยาบาลด้วยกระบวนการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ
เพือ่ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานมาตงั้ แตป่ ี 2547 ปัจจบุ นั โรงพยาบาลทกุ แหง่ ในกากบั รัฐผา่ นการ
ประเมินกระบวนการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพทงั้ หมด มี 6 แหง่ ท่ีผา่ นประเมินในปี 2548 และอีก 4
แหง่ ผา่ นประเมินในปี 2549 แตถ่ งึ อยา่ งไรการพฒั นาต้องดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เนื่อง ทงั้ การพฒั นา
เครือขา่ ย มีเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ความสาเร็จทางเทคโนโลยี นวตกรรมท่เี ป็ นประโยชน์ตอ่ ประชาชนใน
ด้านการสง่ เสริมสขุ ภาพ และจะเป็ นตวั กระต้นุ ให้เกิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป

ปัจจยั เส่ียงท่มี ผี ลต่อการดาเนินงาน
1. นโยบายทกุ ระดบั
2. ผ้บู ริหารทกุ ระดบั ที่เก่ียวข้องต้องให้ความสาคญั และสนบั สนุนการดาเนนิ งานอยา่ ง
ตอ่ เนอ่ื ง
3. การทางานเป็ นทีม
4. งบประมาณ

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
โครงการพฒั นาโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพให้ยง่ั ยนื จ.สพุ รรณบรุ ี
1) ตัวชีว้ ดั ตามประเด็นการตรวจราชการ
- ร้อยละ 90 ของโรงพยาบาลในกากบั รัฐ ผา่ นการประเมินกระบวนการ
โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี

127

2) กลยุทธ์
2.1 จดั ทาแผนงาน /โครงการ/งบประมาณสนบั สนนุ
2.2 จดั ประชมุ ชีแ้ จงแผนงาน โครงการให้ผ้ทู ่ีรับผดิ ชอบและเก่ียวข้องทกุ ระดบั

ได้เข้าใจแนวทางการดาเนนิ งาน
2.3 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้โรงพยาบาลมีการพฒั นาโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพให้ได้

ตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.4 เปิ ดเวทีสมั มนา แลกเปลยี่ นเรียนรู้ เสนอผลงานการพฒั นาโรงพยาบาลสง่ เสริม

สขุ ภาพของทกุ โรงพยาบาล
2.5 จงั หวดั ให้การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2.6 ตดิ ตามประเมินผลและประสานงานสว่ นทเ่ี กี่ยวข้อง

ตารางท่ี 1 สรุปผลประเมนิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จ.สุพรรณบุรี

ลาดบั โรงพยาบาล ผา่ น ครบ 3 ปี ประเมินซา้ หมายเหตุ

ประเมิน

ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553

1 เจ้าพระยายมราช ผา่ น ผา่ น

2 สมเด็จพระสงั ฆราชฯ ผา่ น ผา่ น

3 บางปลาม้า ผา่ น รอประเมิน ขอประเมิน พค.52

4 ศรีประจนั ต์ ผา่ น - รอประเมิน

5 สามชุก ผา่ น ผา่ น

6 เดมิ บางนางบวช ผา่ น - รอประเมิน

7 ดา่ นช้าง ผา่ น - รอประเมิน

8 ดอนเจดีย์ ผา่ น รอประเมิน

9 อทู่ อง ผา่ น ผา่ น

10 หนองหญ้าไซ ผา่ น - รอประเมิน

ข้อมลู ณ เดอื นมนี าคม 2552

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

128

 โครงการจติ อาสาในโรงพยาบาล

ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมา มีการเปลย่ี นแปลงมากมายในสงั คมไทย ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ ระบบบริการ
สาธารณสขุ อยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ เช่น ภาวะวกิ ฤตทางเศรษฐกิจ ปี 2540 การลดอตั รากาลงั เพ่อื ลด
คา่ ใช้จา่ ยบุคลากรภาครัฐ การปฏิรูประบบสขุ ภาพ พรบ.หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ปี 2545 การ
ดาเนนิ งานสร้างหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า ทาให้ผ้รู ับบริการในโรงพยาบาลภาครัฐเพิม่ มากขนึ ้ เกิน
กวา่ อตั รากาลงั ของแพทย์และเจ้าหน้าทที่ จี่ ะให้บริการ ความคาดหวงั ของผ้รู ับบริการท่จี ะได้รับบริการ
อยา่ งรวดเร็ว ต้องการให้แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สว่ นตา่ ง ๆ รับฟังข้อมลู ของตนเองอยา่ ง
ละเอียด แตเ่ นื่องจากผ้รู ับบริการมจี านวนมาก ต้องเร่งรีบในการให้บริการบางครัง้ การสอ่ื สารทไ่ี ม่เข้าใจ
กอ่ ให้เกิดข้อขดั แย้งและนาไปสกู่ ารร้องเรียน ฟ้ องร้อง มีความทกุ ข์ทงั้ 2 ฝ่ าย หา่ งไกลกบั ระบบบริการที่
มีหวั ใจของความเป็ นมนษุ ย์

กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ จึงได้จดั ทาโครงการจิตอาสาใน
โรงพยาบาลขนึ ้ ตงั้ แตป่ ี งบประมาณ 2550 โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อพฒั นาบริการด้านสขุ ภาพใน
โรงพยาบาลให้มีคณุ ภาพ เกิดความพงึ พอใจกบั ผ้มู ารับบริการ และกาหนดเป้ าหมายให้โรงพยาบาล
ศนู ย์และโรงพยาบาลทวั่ ไปผา่ นเกณฑ์การประเมินฯ และโรงพยาบาลชมุ ชนผา่ นเกณฑ์ฯ การประเมิน
ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 50 จงั หวดั สพุ รรณบุรี จงึ ได้ดาเนนิ การในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ
ทกุ แหง่ ในปี งบประมาณ 2550 โรงพยาบาลศนู ย์และโรงพยาบาลทวั่ ไป ผา่ นเกณฑ์การประเมินฯ ทงั้ 2
แหง่ และโรงพยาบาลชุมชนผา่ นเกณฑ์ฯ การประเมิน 4 แหง่ คดิ เป็ นร้อยละ 50 ตามเป้ าหมายท่ี
กาหนด และสาหรับปี งบประมาณ 2551 กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ ได้กาหนดให้โรงพยาบาลผา่ น
เกณฑ์ฯ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 จงั หวดั สพุ รรณบุรี ผา่ นเกณฑ์ฯ ทกุ โรงพยาบาล คิดเป็ นร้อยละ 100
เป็ นไปตามเป้ าหมายที่กาหนดเช่นเดียวกนั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

129

 งานพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล

ความสาคัญ
การพฒั นาเครือขา่ ยคณุ ภาพบริการพยาบาลจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จุดเดน่ ของการพฒั นาอยทู่ ี่

เครือขา่ ยภายในจงั หวดั มีความเข้มแข็ง ร่วมมอื กนั พฒั นางาน บริการพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐานมา
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มีคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลระดบั จงั หวดั ขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ให้
บรรลเุ ป้ าประสงค์ เน้นกระบวนการมีสว่ นร่วมของเครือขา่ ยทางการพยาบาลทงั้ ระดบั จงั หวดั และ
ระดบั เขต กาหนดวิสัยทศั น์ : “ การบริการพยาบาลของจังหวดั สุพรรณบุรีมีคุณภาพได้
มาตรฐาน เพ่อื สุขภาพท่ดี ีของประชาชน ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ภารกิจร่วม จะต้อง
พฒั นาระบบบริการพยาบาลในเครือขา่ ยจงั หวดั สพุ รรณบุรีให้ได้มาตรฐาน ยดึ หลกั วชิ าการอยา่ งมีเหตุ
มีผล เคารพในคณุ คา่ และศกั ด์ศิ รีความเป็ นมนษุ ย์ ผ้รู ับบริการอนุ่ ใจ และสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของ
ประชาชนในการดแู ลสขุ ภาพตนเอง

ปี 2551 งานพฒั นาคณุ ภาพบริการพยาบาลได้กาหนดไว้ในตวั ชีว้ ดั หนงึ่ ของการตรวจราชการ
และนเิ ทศงานกรณีปกตริ ะดบั กระทรวง ซง่ึ เป็ นตวั ชีว้ ดั คณะท่ี 6 : โครงการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน
ระบบบริการสขุ ภาพในยามปกติและยามมีสถานการณ์ฉกุ เฉิน เพ่ือประเมินคณุ ภาพบริการพยาบาล
ของหนว่ ยงานในกลมุ่ การพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล ซงึ่ กาหนดไว้วา่
งานบริการพยาบาล : 1) งานบริการพยาบาลผ้ปู ่ วยอบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉิน 2) งานบริการผ้ปู ่ วยนอก
3) งานบริการให้คาปรึกษาด้านสขุ ภาพอนามยั 4) งานบริการฝากครรภ์ 5) งานบริการผ้ปู ่ วยใน
6) งานบริการผ้ปู ่ วยหนกั 7) งานบริการวสิ ญั ญีพยาบาล 8) งานบริการผ้ปู ่ วยผา่ ตดั 9) งานบริการ
ผ้คู ลอด 10) งานป้ องกนั และควบคมุ การตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล 11) และงานบริหารการพยาบาลของ
กลมุ่ การพยาบาล

ดงั นนั้ เพ่ือบรรลเุ ป้ าประสงค์ ตามนโยบายการพฒั นาคณุ ภาพบริการพยาบาล คณะกรรมการ
พฒั นาคณุ ภาพการพยาบาลจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จึงได้จดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาคณุ ภาพบริการ
พยาบาล ร่วมกนั ขบั เคลอ่ื นตามภารกิจที่กาหนด

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

130

ปัจจัยเส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
1. นโยบายระดบั กระทรวง ต้องตอ่ เนอ่ื ง และชดั เจน เพ่อื เป็ นตวั กระต้นุ ให้งานดงั กลา่ วบรรลุ
เป้ าประสงค์
2. งบประมาณ ในการบริหารจดั งานด้านการพฒั นาคณุ ภาพต้องเพยี งพอ
3. บุคลากรทางการพยาบาลมีไม่เพยี งพอ
4. ปัจจยั ภายนอกบางอยา่ งท่ไี มส่ ามารถควบคมุ ได้

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
โครงการพฒั นาเครือขา่ ยคณุ ภาพการพยาบาล จ.สพุ รรณบรุ ี
1. ตัวชีว้ ัดตามประเด็นการตรวจราชการ
ร้อยละ 50 ของโรงพยาบาลทง่ี านบริการของกลมุ่ การพยาบาล ผา่ นเกณฑ์การ
ประเมินคณุ ภาพบริการพยาบาลตามแนวทางการประเมินคณุ ภาพภายใน ตงั้ แต่
ระดบั 3 ขนึ ้ ไป
2. กลยทุ ธ์
2.1 จดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ /โครงการ /งบประมาณสนบั สนนุ
2.2 จดั ประชุมชีแ้ จงแผนงาน โครงการให้คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล
จงั หวดั ได้ทราบ
2.7 สง่ เสริม สนบั สนุน งานบริการพยาบาลให้มีคณุ ภาพได้มาตรฐาน
2.8 ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร : การจดั ทาคมู่ ือแนวทางการประเมินคณุ ภาพบริการ
พยาบาล ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี เพอื่ ให้ทกุ โรงพยาบาลได้นาไปใช้
2.9 ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ : การนามาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชนไปใช้ ของ
พยาบาลทปี่ ฏิบตั งิ านใน PCU
2.10 คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพฯ ประชุมปรึกษาหารือ ร่วมมอื และตดิ ตาม
ความก้าวหน้าเดือนละครัง้
2.11 ประเมินผลงานตามเกณฑ์ชีว้ ดั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


Click to View FlipBook Version