The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 04:48:21

รายงานประจำปี2551

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

131

สรุป

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มีโรงพยาบาลในกากบั รัฐ 10 แหง่ ประกอบด้วย

- โรงพยาบาลศนู ย์ 1 แหง่

- โรงพยาบาลทวั่ ไป 1 แหง่

- โรงพยาบาลชุมชน 8 แหง่

ผลงาน : ผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ตารางท่ี 1 แสดงผลประเมินโรงพยาบาลทง่ี านบริการของกลมุ่ การพยาบาล ผา่ นเกณฑ์/ไม่ผา่ น
เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพบริการพยาบาลตามแนวทางการประเมินคณุ ภาพภายใน
ตงั้ แตร่ ะดบั 3 ขนึ ้ ไป จาแนกรายโรงพยาบาล จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2551

ลาดบั โรงพยาบาล ผลงาน ประเมิน
ร้ อยละ
1 เจ้าพระยายมราช 100 ผา่ น
2 สมเด็จพระสงั ฆราชองค์ที่ 17 83.33 ผา่ น
3 อู่ทอง
4 สามชุก 80 ผา่ น
5 ดา่ นช้าง 88.88 ผา่ น
6 เดมิ บางนางบวช 66.66 ผา่ น
7 ศรีประจนั ต์ 88.88 ผา่ น
8 ดอนเจดีย์ 55.55 ผา่ น
9 บางปลาม้า 55.55 ผา่ น
10 หนองหญ้าไซ 44.44 ไมผ่ า่ น
11.11 ไม่ผา่ น

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


132

 งานพัฒนาคุณภาพห้องปฏบิ ัตกิ ารชันสูตรสาธารณสุขโรงพยาบาล

ความเป็ นมา
การพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏิบตั ิการชนั สตู รสาธารณสขุ โรงพยาบาล ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้

เริ่มดาเนินการอยา่ งจริงจงั ในรูปคณะกรรมการระดบั จงั หวดั
- ปี 2547-2548 โดยเริ่มจากมาตรฐานห้องปฏบิ ตั กิ ารทางการแพทย์ ซง่ึ ใช้แบบประเมิน 100

ข้อ ของ สมาคมเทคนิคการแพทย์แหง่ ประเทศไทย
- ปี 2549 ได้มีการประชมุ คณะกรรมการและให้ทกุ โรงพยาบาลเครือขา่ ยรัฐเข้าร่วมโครงการ

พฒั นาไปพร้อมๆกนั โดยใช้มาตรฐาน ISO 15189 ซงึ่ การดาเนนิ งานพบปัญหาอปุ สรรคเก่ียวกบั
มาตรฐาน ISO 15189 ไมส่ อดคล้องกบั ความต้องการขององค์กรในขณะนนั้

- ปี 2550 โรงพยาบาลท่ีมีความพร้อมขอสมคั รเข้าร่วมโครงการพฒั นาโดยใช้มาตรฐาน ISO
15189 จานวน 5 แหง่ สว่ นท่เี หลอื ก็ดาเนินการพฒั นาไปพร้อมๆกนั โดยใช้แนวทางการประสาน
เครือขา่ ยช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั มีการพฒั นาเลอื่ นระดบั อยา่ งตอ่ เน่อื งจากขนั้ 1 ถึงขนั้ ท่ี 3

- ปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี รับนโยบายและเห็นความสาคญั ของการ
พฒั นาคณุ ภาพห้องปฏิบตั ิการชนั สตู รสาธารณสขุ โรงพยาบาล เพราะผลการตรวจวิเคราะห์ หรือข้อมลู
ทไ่ี ด้จะต้องมีคณุ ภาพสงู ในด้านความถกู ต้อง แมน่ ยา และเช่ือถือได้ การพฒั นางานให้มีมาตรฐาน
จะสง่ ผลดีตอ่ การดแู ล วนิ ิจฉยั และรักษาสขุ ภาพของประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ ดงั นนั้ สานกั งาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จงึ ให้การสนบั สนนุ สง่ เสริมการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพ
ห้องปฏิบตั กิ ารชนั สตู รสาธารณสขุ โรงพยาบาลของรัฐทกุ แหง่ ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด
สนบั สนนุ โรงพยาบาลที่พร้อมขอรับการรับรอง ISO 15189

ปัจจัยเส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
1. การดาเนนิ งานให้บรรลเุ ป้ าประสงค์ นโยบายจะต้องชดั เจน จริงจงั และตอ่ เน่ือง
2. งบประมาณ เป็ นปัจจยั หนงึ่ ทีส่ นบั สนนุ ให้การดาเนินงานพฒั นาไปได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
เพราะในบางบริบทจะต้องมีงบประมาณเป็ นตวั กระต้นุ การพฒั นา
3. บุคลากรในแต่ละโรงพยาบาลไม่เพยี งพอ ทาให้การพฒั นาเกิดความไม่ตอ่ เนอ่ื ง
4. ระบบงานมาก(Routine)
5. หวั หน้าห้องปฏบิ ตั ิการบางแหง่ ยงั ไมใ่ ห้ความสาคญั กบั การพฒั นาฯ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


133

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
โครงการพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารชนั สตู รสาธารณสขุ โรงพยาบาล จ.สพุ รรณบุรี
1) ตัวชีว้ ดั ตามประเดน็ การตรวจราชการ
: ร้อยละ 30 ของห้องปฏบิ ตั กิ ารมีการพฒั นาตามเกณฑ์มาตรฐาน ยกระดบั
ขนึ ้ 1 ขนั้
2) กลยทุ ธ์
2.1 จดั ทาแผนงาน /งบประมาณสนบั สนนุ
2.2 จดั ทาคาสงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการฯระดบั จงั หวดั ในการขบั เคลอื่ นแผนงาน/
โครงการให้บรรลเุ ป้ าประสงค์
2.3 จดั ประชมุ ชีแ้ จงแผนงาน โครงการให้ผ้ทู ร่ี ับผดิ ชอบและเก่ียวข้องทกุ ระดบั
ได้เข้าใจเป้ าประสงค์ของโครงการ
2.4 คณะกรรมการจดั ประชุมติดตามความก้าวหน้า และแลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกนั
ทกุ เดือน
2.5 ดาเนินการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการจดั ทาเอกสารคณุ ภาพ / ตรวจประเมินระบบ
คณุ ภาพ 2 ครัง้ / ศกึ ษาดงู านห้องปฏบิ ตั ิการท่ผี า่ นการรับรอง
2.6 จงั หวดั ให้การสนบั สนนุ สง่ เสริม และช่วยเหลอื ในสว่ นขาด ของคณะกรรมการ
พฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2.7 สรุปผลการดาเนินงาน และประเมินผล

สรุป
1. การพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏบิ ตั กิ าร ตามมาตรฐาน ISO 15189

1.1 ห้องปฏบิ ตั กิ ารท่ไี ด้รับการรับรองฯ : ไม่มี
1.2 ห้องปฏิบตั กิ ารทไี่ ด้ขอการรับรองฯ ปี 2551 จานวน 1 แหง่ : รพ.สมเดจ็ ฯ
1.3 ระดบั การพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏิบตั กิ ารที่เข้าร่วมโครงการ

- ขนั้ ที่ 3 : คดิ เป็ นร้อยละ 30 ของ รพ.ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ
- ขนั้ ที่ 2 : คดิ เป็ นร้อยละ 40 ของ รพ.ทเี่ ข้าร่วมโครงการฯ
- ขนั้ ท่ี 1 : คิดเป็ นร้อยละ 30 ของ รพ.ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี


134

2. ผลการพฒั นาคณุ ภาพห้องปฏบิ ตั ิการที่เข้าร่วมโครงการของ จ.สพุ รรณบรุ ี

2.1 ห้องปฏิบตั ิการที่มีการยกระดบั ขนึ ้ 1 ขนั้ :6 แหง่
แหง่
2.2 ห้องปฏิบตั กิ ารทีม่ ีผลการพฒั นาเทา่ เดิม :3
แหง่
2.3 ห้องปฏบิ ตั ิการทมี่ ีระดบั ขนั้ ลดลง : ไมม่ ี

2.4 ห้องปฏิบตั ิการทีม่ ีผลการพฒั นารักษาระดบั เดมิ : 1

ตารางท่ี 1 แสดงผลการพัฒนาคุณภาพห้องปฏิบตั ิการฯ จาแนกรายโรงพยาบาล

มาตรฐาน ISO 15189 การยก การรับรอง

ลาดบั โรงพยาบาล ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ระดบั HA LA ISO

คะแนน ขนั้ ท่ี คะแนน ขนั้ ที่ 15189

1 เจ้าพระยายมราช 185 3 188 3 เท่าเดมิ - ขอ -

2 สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 171 2 188 3 เพม่ิ 1 ขนั้ - ขอ -

17

3 อทู่ อง 168 2 186 3 เพม่ิ 1 ขนั้ - - -

4 เดมิ บางนางบวช 108 1 125 2 เพมิ่ 1 ขนั้ - - -

5 ศรีประจนั ต์ 87 1 132 2 เพมิ่ 1 ขนั้ - - -

6 สามชกุ 107 1 130 2 เพม่ิ 1 ขนั้ - - -

7 บางปลาม้า 91 1 91 1 เทา่ เดมิ - - -

8 ดา่ นช้าง 110 1 114 1 เท่าเดมิ - - -

9 หนองหญ้าไซ 98 1 98 1 เท่าเดมิ - - -

10 ดอนเจดยี ์ 90 1 126 2 เพมิ่ 1 ขนั้ - - -

ปัญหา /อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
1. ระบบงานไม่สนบั สนนุ การดาเนนิ งานพฒั นา เน่ืองจาก งานประจามีมาก
: ควรพิจารณาหาแนวทางสง่ ตอ่ งาน ที่ไม่ค้มุ กบั การทาเอง
2. หวั หน้าห้องปฏบิ ตั กิ ารบางแหง่ ยงั ไมใ่ ห้ความสาคญั กบั การพฒั นาฯ อาจเน่อื งจาก การ
บริหารจดั การอตั รากาลงั ไมส่ มดลุ หรือเหมาะสม (ขาด)
: ควรพจิ ารณาปรับโครงสร้างการบริหารจดั การแบบคณุ ภาพ และขอเพิม่ อตั รากาลงั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


135

งานทนั ตสาธารณสขุ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


136

งานทนั ตสาธารณสุข

 งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเดก็ ปฐมวยั (0-5 ปี )

สถานการณ์
สถานการณ์สขุ ภาพชอ่ งปากเด็กปฐมวยั จงั หวดั สพุ รรณบุรี เด็กอายุ 3 ปี เม่ือปี 2540 เป็ นโรค

ฟันผุ ร้อยละ 63.6 และ ปี พ.ศ.2546-2550 ร้อยละ 71.4, 73.1, 69.7, 69.1 และ 67.1 ตามลาดบั (รูปท่ี1)
จะเหน็ วา่ แนวโน้มการเกิดโรคฟันผใุ นเด็กอายุ 3 ปี ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในชว่ ง 5 ปี (ปี 2546-
2550) คอ่ ยๆ ลดลง จากสถานการณ์ดงั กลา่ วประเมินจากการจดั บริการสง่ เสริมสขุ ภาพในเดก็
ปฐมวยั ในช่วงปี 2540-2545 ไมไ่ ด้เน้นการดาเนนิ งานในกลมุ่ นจี ้ ะเน้นในกลมุ่ เดก็ ประถมศกึ ษา จะ
เห็นวา่ ในปี 2546 เด็กอายุ 3 ปี เป็ นโรคฟันผเุ พม่ิ มากขนึ ้ กวา่ ในปี 2540 (ปี 2540 ฟันผรุ ้อยละ 63.6,
ปี 2546 ฟันผรุ ้อยละ 71.4) แตใ่ นช่วงปี 2546-2550 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้เน้นการแก้ไขปัญหา
สขุ ภาพชอ่ งปากในเด็กปฐมวยั มากขนึ ้ โดยกาหนดแนวคิดและหลกั การป้ องกนั ฟันผุในเด็กปฐมวยั อยา่ ง
เป็ นระบบ โดยจดั ทาโครงการตา่ งๆ และดาเนินการอยา่ งตอ่ เนือ่ ง การเกิดโรคฟันผุในเดก็ ปฐมวยั ในชว่ งปี
2546-2550 จึงมีแนวโน้มลดลง ในปี 2550 ตวั ชีว้ ดั สถานะสขุ ภาพงานสง่ เสริมของกองทนั ต
สาธารณสขุ กาหนดให้ “ร้อยละ 40 ของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผ”ุ เม่ือเปรียบเทียบกบั สถานะ
สขุ ภาพ เดก็ อายุ 3 ปี ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2550 คอื “ร้อยละ 32.9 ของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจาก
ฟันผุ” พบวา่ ตา่ กวา่ เกณฑ์ตวั ชวี ้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ ดงั นนั้ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีจึงต้องให้
ความสาคญั กบั การดาเนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพและป้ องกนั โรคในชอ่ งปากเดก็ ปฐมวยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
และให้บริการอยา่ งมีคณุ ภาพ

รอ้ ยละ 67.1
ปี 2550
74
73.1

72
71.4

70 69.7 69.1
68

66

64

ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549

รูปท่ี 1 อตั ราการเกิดโรคฟันผใุ นเดก็ อายุ 3 ปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2546-2550

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


137

แผนงาน/โครงการแก้ ไขปั ญหา

1. โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคในช่องปากแม่/ลูก
1) ตวั ชีว้ ดั งานสง่ เสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวยั ของกองทันตสาธารณสุข (โครงการ

สง่ เสริมสขุ ภาพและป้ องกนั โรคในช่องปากภายใต้โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหง่ ครอบครัว)
1.1 ร้อยละของหญิงตงั้ ครรภ์ได้รับการตรวจชอ่ งปาก และคาแนะนา
1.2 ร้อยละของเดก็ อายุ 9-12 เดือน ได้รับการตรวจฟัน
1.3 ร้อยละของผ้ปู กครอง เดก็ 9-12 เดือน ได้รับการสาธิตการแปรงฟันให้เดก็

2) ตวั ชีว้ ดั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
1.1 ร้อยละของเดก็ 1 ½ ปี ได้รับการตรวจฟัน
1.2 ร้อยละของผ้ปู กครองเดก็ 1 ½ ปี ได้รับการสาธิตการแปรงฟันให้เด็ก

3) เป้ าหมาย
3.1 หญิงตงั้ ครรภ์ได้รับการตรวจชอ่ งปากและคาแนะนา ร้อยละ 80
3.2 เดก็ อายุ 9-12 เดือน, 1 ½ ปี ได้รับการตรวจฟันและผ้ปู กครองเด็กได้รับการสาธิตการ

แปรงฟันให้เดก็ ร้อยละ 70
4) กลยทุ ธ์
4.1 พฒั นาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่
4.2 เร่งรัดสถานบริการสาธารณสขุ ภาครัฐ
4.3 พฒั นาระบบการนิเทศติดตาม ประเมินผล
5) กิจกรรมทีด่ าเนนิ การ
5.1 ตรวจสขุ ภาพช่องปาก และให้คาแนะนาการดูแลสุขภาพช่องปากแก่หญิงตงั้ ครรภ์

ท่ีมาฝากครรภ์ในสถานบริการ
5.2 ตรวจฟันเด็กท่ีมารับวคั ซีนหดั (9 เดือน) ในสถานบริการ และให้คาแนะนาการดแู ล

สขุ ภาพชอ่ งปากและสาธิตการแปรงฟันให้แก่ผ้ปู กครองเดก็
5.3 ตรวจฟันเด็กท่ีมารับวคั ซีนดีทีพี เข็มที่ 4 ในสถานบริการและให้คาแนะนาการดูแล

สขุ ภาพชอ่ งปากและสาธิตการแปรงฟันให้แกผ่ ้ปู กครองเดก็
6) งบประมาณ
จากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ PP area base 65% เป็ นเงนิ 284,972 บาท

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


138

7) ผลการดาเนินงาน
7.1 หญิงตงั้ ครรภ์ท่ีได้รับการตรวจสขุ ภาพช่องปาก และให้คาแนะนาการดูแลชอ่ งปาก

จานวน 5,668 คน คิดเป็ นร้อยละ 82.1 ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ ตามโครงการ
สง่ เสริมสขุ ภาพและป้ องกนั โรคในช่องปาก ภายใต้โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแหง่ ครอบครัว

7.2 เด็กที่มารับวัคซีนหัดในสถานบริการได้รับการตรวจฟันและผู้ปกครองเด็กได้รับ
คาแนะนาการดแู ลสขุ ภาพช่องปาก และได้รับการสาธิตการแปรงฟันให้เด็กจานวน 6,949 คน คิด
เป็ นร้อยละ 86.7 ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ

7.3 เดก็ ท่ีมารับวคั ซีนดที ีพี เขม็ ที่ 4 ในสถานบริการได้รับการตรวจฟันและผ้ปู กครองเดก็
ได้รับคาแนะนาการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากและได้รับการสาธิตการแปรงฟันให้เดก็ จานวน 6,845 คน
คิดเป็ นร้อยละ 84.4 ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

2. โครงการรณรงค์ทนั ตสาธารณสุข “5 ปี สู่ฝัน หนูน้อยฟันไม่ผุ”

1) ตวั ชีว้ ดั ตามแผนยทุ ธศาสตร์
ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เป้ าหมายได้รับความรู้ด้านทนั ตสขุ ภาพ

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 80
3) กลยทุ ธ์

3.1 สร้างการมีสว่ นร่วมในเครือขา่ ยงานสง่ เสริมสขุ ภาพ
3.2 ประสานความร่วมมอื จากสถานบริการสาธารณสขุ
3.3 ประสานการสนบั สนนุ กบั ภาคเอกชน
4) กิจกรรมทด่ี าเนินการ
4.1 จดั ประชมุ เจ้าหน้าท่ที ่ีเก่ียวข้อง
4.2 ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง
4.3 ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นสอื่ ตา่ งๆ
4.4 จดั ประกวด/แขง่ ขนั กิจกรรมที่เก่ียวข้องกบั การสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพของนกั เรียน
4.5 มอบเกียรตบิ ตั รแกเ่ ดก็ อายุ 5 ปี ทไี่ มม่ ีฟันผุ
4.6 เกม/การแสดงของนกั เรียน
4.7 จดั กิจกรรม “Walk Rally ความรู้ทนั ตสขุ ภาพ”
5) งบประมาณ
ตามแผนยทุ ธศาสตร์ ผลผลติ ที่ 8 เป็ นเงนิ 96,634 บาท

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


139

6) ผลการดาเนินงาน
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้จดั กิจกรรมรณรงค์ทนั ตสาธารณสขุ “5 ปี สฝู่ ัน

หนนู ้อยฟันไมผ่ ุ” จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ครัง้ ที่ 6 ในวนั ที่ 8 มกราคม 2551 ณ สานกั งานเขตพนื ้ ท่ี
การศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต 1 อาเภอเมือง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
กิจกรรมรณรงค์ทนั ตสาธารณสขุ ประกอบด้วย

1. การมอบเกียรติบตั ร/ของขวญั แก่เดก็ อายุ 5 ปี (เกิดปี 2545) ท่ไี ม่มีฟันผุ จานวน 796 คน
2. การประกวดระบายสภี าพ มีเด็กอนบุ าลเข้าร่วมแขง่ ขนั 364 คน
3. การประกวดวาดภาพระบายสี 3 ระดบั คอื ระดบั ชนั้ ป.1-2, ป.3-4 และ ป.5-6 ในหวั ข้อ
ภาพ “ฟันดีไม่มีขาย ถ้าอยากได้ต้องดแู ล” ผ้เู ข้าแขง่ ขนั ทงั้ สนิ ้ 2,818 คน
4. การประกวดทนั ตสขุ ภาพ 3 ประเภท คือประเภทฟันนา้ นม ฟันผสม และฟันแท้ มีนกั เรียน
อนบุ าลและนกั เรียน ป.1-6 เข้าร่วมแขง่ ขนั จานวน 157 คน
5. การแขง่ ขนั ตอบปัญหาทนั ตสขุ ภาพ มีโรงเรียนประถมศกึ ษาเข้าร่วมแขง่ ขนั 10 โรงเรียน
เป็ นนกั เรียนชนั้ ป.5-6 โรงเรียนละ 2 คน รวมทงั้ สนิ ้ 20 คน
6. กิจกรรม “Walk Rally ความรู้ทนั ตสขุ ภาพ” มีผ้ปู กครองและเดก็ เข้าร่วมกิจกรรม จานวน
600 คน
7. มมุ สารวจเชือ้ ในชอ่ งปาก แสดงให้เหน็ ตวั เชือ้ โรคในชอ่ งปากด้วยกล้อง Phase contrast
8. การแสดงนิทรรศการและเกมความรู้ด้านทนั ตสขุ ภาพ มีเด็กนกั เรียน และผ้ปู กครองเข้า
ร่วมกิจกรรม 1,500 คน ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รับความรู้ด้านทนั ตสุขภาพ จานวน 1,500 คน
(เป้ าหมาย 1,000 คน) คิดเป็ นร้อยละ 100 ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ตามแผนยทุ ธศาสตร์

3. โครงการส่งเสริมป้ องกันทนั ตสุขภาพในศูนย์เดก็ เล็ก

1) ตวั ชีว้ ดั งานสง่ เสริมสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กปฐมวยั ของกองทนั ตสาธารณสขุ
1.1 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ
1.2 ร้อยละของศนู ย์เด็กเลก็ จดั กิจกรรมแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสฟี ันผสม

ฟลอู อไรด์
2) ตวั ชีว้ ดั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
ร้อยละของเครือขา่ ยศนู ย์เด็กเลก็ มีสว่ นร่วมในการดแู ลกิจกรรมสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพใน

ศนู ย์เดก็ เลก็
3) เป้ าหมาย
3.1 ศูนย์เด็กเล็กจดั กิจกรรมแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสฟี ันผสมฟลอู อไรด์ ร้อยละ 95

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


140

3.2 ศนู ย์เดก็ เลก็ มีสว่ นร่วมในการดแู ลกิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพทนั ตสขุ ภาพ ร้อยละ 80
4) กลยทุ ธ์

4.1 สร้างการมีสว่ นร่วมเครือขา่ ยงานสง่ เสริมสขุ ภาพ
4.2 พฒั นาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ /ผ้ดู แู ลเด็ก ในการดาเนินงาน
สง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในเด็กปฐมวยั
4.3 พฒั นาระบบการนิเทศติดตาม ประเมินผล
4.4 ประกวดศนู ย์เดก็ เลก็ ดีเดน่ ด้านสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ
5) กิจกรรมท่ดี าเนินงาน
5.1 ศนู ย์เดก็ เลก็ ดาเนนิ กิจกรรมสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพ
- ครูตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กปี ละ 2 ครัง้ เดอื นมิถนุ ายน และเดือนธนั วาคม
- เด็กเลก็ แปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์ทกุ วนั
- จดั ผลไม้เป็ นอาหารวา่ งให้เดก็ 3-5 วนั /สปั ดาห์
5.2 เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ ดาเนนิ กิจกรรมสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในศนู ย์เดก็ เลก็
- ฝึกแปรงฟันให้เด็กอายุ 3-5 ปี
- ให้ทนั ตสขุ ศกึ ษา
5.3 พฒั นาศนู ย์เด็กเลก็ ด้านสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
6) งบประมาณ
จากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ PP area base 65% เป็ นเงนิ 46,560 บาท
7) ผลการดาเนินงาน
7.1 ผ้ดู แู ลเดก็ ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากเดก็ ได้จานวน 223 แหง่ 7,611 คน คดิ เป็ นร้อยละ
95.7 ของจานวนศนู ย์เดก็ เลก็ และร้อยละ 92.7 ของจานวนเดก็ ตามลาดบั
7.2 ศนู ย์เดก็ เลก็ จดั กิจกรรมแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์ ได้
จานวน 231 แหง่ 8042 คน คิดเป็ นร้อยละ 99.1 ของศนู ย์เด็กเลก็ และร้อยละ 98.0 ตามลาดบั ของ
จานวนเด็ก ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ
7.3 ศนู ย์เด็กเลก็ ที่มีการจดั ผลไม้เป็ นอาหารวา่ งให้เดก็ 3-5 วนั /สปั ดาห์ จานวน 187 แหง่
คดิ เป็ นร้อยละ 80.3 ของศนู ย์เดก็ เลก็
7.4 เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รับการฝึกปฏิบตั แิ ปรงฟัน จานวน 11,495 ครัง้
7.5 ให้ทนั ตสขุ ศกึ ษาแกเ่ ดก็ เลก็ โดยเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ จานวน 211 แหง่ 7,414 คน
คิดเป็ นร้อยละ 90.6 ของจานวนศนู ย์เด็กเลก็ และร้อยละ 90.3 ของจานวนเด็ก ตามลาดบั
7.6 ผลการดาเนนิ งานพฒั นาศนู ย์เด็กเลก็ ด้านสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


141

เพื่อเป็ นการกระตุ้นศูนย์เด็กเล็กให้ดาเนินงานส่งเสริมป้ องกันทันตสุขภาพอย่างมี

คณุ ภาพได้มาตรฐาน สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้จัดให้มีการประกวดศูนย์เด็กเล็ก

ดีเดน่ ด้านสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในระดบั อาเภอ และระดบั จงั หวดั มีผลการประกวด ดงั นี ้

ผลการประกวดศนู ย์เดก็ เลก็ ดเี ด่นด้านสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพระดบั อาเภอ ได้รับเงินรางวลั

2,000 บาท พร้อมเกียรตบิ ตั ร ได้แก่

อาเภอเมือง ได้แก่ ศนู ย์เด็กเลก็ เทศบาลตาบลสวนแตง

อาเภอสองพี่น้อง ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ บ้านหนองกระทู้

อาเภออทู่ อง ได้แก่ ศนู ย์เด็กเลก็ เทศบาลตาบลสระยายโสม

อาเภอเดมิ บางนางบวช ได้แก่ ศนู ย์เด็กเลก็ องค์การบริหารสว่ นตาบลเขาพระ

อาเภอสามชกุ ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ หนองสะเดา

อาเภอดา่ นช้าง ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ บ้านรังงาม

อาเภอศรีประจนั ต์ ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ บางงาม

อาเภอดอนเจดยี ์ ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ เทศบาลตาบลดอนเจดีย์

อาเภอบางปลาม้า ได้แก่ ศนู ย์เด็กเลก็ กฤษณา

อาเภอหนองหญ้าไซ ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ บ้านลาพนั บอง

ผลการประกวดศนู ย์เดก็ เลก็ ดีเดน่ ด้านสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ ระดบั จงั หวดั

รางวลั ชนะเลศิ ได้แก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ บ้านลาพนั บอง อาเภอหนองหญ้าไซ ได้รับรางวลั 5,000

บาท พร้อมโล่

รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็กกฤษณา อาเภอบางปลาม้าได้รับเงินรางวลั

3,000 บาท พร้อมโล่

รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 ได้แก่ ศนู ย์เด็กเล็ก องค์การบริหารสว่ นตาบลเขาพระ อาเภอ

เดิมบางนางบวช ได้รับเงินรางวลั 2,000 บาท พร้อมโล่

รางวลั ชมเชย ได้แก่ ศูนย์เด็กเลก็ บางงาม อาเภอศรีประจนั ต์ ได้รับเงินรางวลั 1,000 บาท

พร้อมเกียรติบตั ร

ผลการดาเนนิ งาน

จากผลการดาเนนิ งานในปี งบประมาณ 2551 กิจกรรมสง่ เสริมป้ องกันทนั ตสขุ ภาพในเด็ก
ปฐมวยั ทุกกิจกรรมผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั พฤตกิ รรมสขุ ภาพ แตจ่ ากผลการสารวจสภาวะสขุ ภาพของ
ประชาชนในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551 พบวา่ เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผรุ ้อยละ 35.1 ซง่ึ ไมผ่ ่านเกณฑ์
ตวั ชีว้ ดั สถานะสขุ ภาพของกองทนั ตสาธารณสขุ ปี 2551 (Carries free ของเดก็ อายุ 3 ปี ร้อยละ 40)
(รูปท่ี 2) ประเมินได้วา่ การลดโรคฟันผุในเดก็ ปฐมวยั นนั้ เป็ นงานทตี่ ้องใช้เวลา ประกอบกบั ต้องให้ผู้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


142

ใกล้ชิดเด็กเป็ นผ้ดู แู ลเป็ นหลกั ซง่ึ ผ้ดู ูแลเด็กอาจจะมีข้อจากดั หลายอยา่ งไม่สามารถดแู ลสขุ ภาพช่อง
ปากของบุตรหลานได้อยา่ งเต็มท่ี เช่น ฐานะเศรษฐกิจ, เวลา, ความรู้, ทนั คติ อีกทงั้ การสง่ เสริม
ป้ องกนั สขุ ภาพช่องปากเด็กปฐมวยั ต้องเร่ิมตงั้ แตข่ ณะแม่ท้องจนเดก็ คลอด และเติบโตขนึ ้ โดยมีการ
ดแู ลอยา่ งตอ่ เน่ือง ประกอบกบั บุคลากรสาธารณสขุ และบุคลากรอ่ืนๆ ทีเ่ กี่ยวข้องเหน็ ความสาคญั
ของปัญหาทนั ตสาธารณสขุ น้อยกวา่ ปัญหาสาธารณสขุ อื่นๆ

รอ้ ยละ

60
50.9

50 42.6
40.0
35.6 35.5 34.9 34.0
40 35.1 30.4 29.8
26.3
30 21.2

20

10

0

เกณฑ์ชี้รวัวดมก ัท้องง ัจ ัทงนหวัตดฯ
อ.หออ.อ.อน..ศบอออสรีด.อา.ง.อเงปออด่ห.งอรสดาปิน.ะอาู่เญเพี่นมล้ ัจมาจนทมาื้ชบไ้นชุดอีมาอาอ้ตซง์งกงายง์ง

รูปท่ี 2 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ท่ปี ราศจากฟันผุ” จาแนกรายอาเภอ จังหวดั สุพรรณบุรี
ปี งบประมาณ 2551

 งานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเดก็ วัยเรียน (อายุ 6-14 ปี )

สถานการณ์

ในช่วง 10 ปี ท่ผี า่ นมาเด็กประถมศึกษามีฟันผเุ ป็ นจานวนมาก ซงึ่ จากการสารวจสภาวะทนั ต
สขุ ภาพของประชาชนในจงั หวดั สพุ รรณบุรี เม่ือปี 2540 พบวา่ เด็กอายุ 12 ปี เป็ นโรคฟันผรุ ้อยละ 64.7
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้ดาเนนิ โครงการเพ่อื แก้ไขปัญหาทนั ตสขุ ภาพในเดก็ ประถมศกึ ษาอยา่ งเป็ น
ระบบและตอ่ เน่ือง เรื่อยมาจนถงึ ปี 2550 และจากการสารวจสขุ ภาพชอ่ งปากของประชาชนจงั หวดั
สพุ รรณบุรี พบวา่ สถานการณ์สขุ ภาพชอ่ งปากเด็กวยั เรียน ปี พ.ศ.2548-2550 พบวา่ อตั ราการเกิด
โรคฟันผใุ นเด็กอายุ 12 ปี ระหวา่ ง ปี 2540 และ 2548 จะเห็นวา่ ปี 2548 มีอตั ราโรคฟันผลุ ดลงเพยี ง
เลก็ น้อย แตใ่ นปี 2549 มีแนวโน้มลดลงมากขนึ ้ และคงที่ในปี 2550 สว่ นคา่ เฉลยี่ ผุ ถอน อุด ของ
เด็ก ในปี 2548 จะสงู กวา่ ในปี 2540 แตก่ ็ลดลงในปี 2550 ดงั รูปท่ี 3

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


143

รอ้ ยละ 64.7 64.4 54.7 54.7
70 1.8 ฟนั ผุ
60 1.9 1.9 ค่าเฉล่ยี ผุ ถอน
50 อดุ (DMFT)
40 ปี 2548 ปี 2549
30 1.5
20
10 ปี 2550
0

ปี 2540

รูปท่ี 3 อัตราการเกิดโรคฟันผุ และค่าเฉล่ีย ผุ ถอน อุด (DMFT)ในเดก็ อายุ 12 ปี
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2540, 2548-2550

อยา่ งไรก็ตามสาเหตขุ องการเกิดโรคฟันผใุ นเด็กวยั เรียนมีหลายอยา่ ง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ
สาเหตทุ ีม่ าจากวถิ ีชีวติ ท่ีเปลย่ี นไปตามการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย ดงั นนั้ การ
แก้ไขปัญหาสขุ ภาพช่องปากในเด็กวยั เรียน ต้องจดั การให้เกิดการดแู ลทนั ตสขุ ภาพอยา่ งครบวงจร
ตงั้ แตก่ ารสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพการป้ องกนั โรคในช่องปาก และการให้บริการทันตสขุ ภาพทม่ี ีคณุ ภาพ
ครอบคลมุ มีประสทิ ธิภาพและตอ่ เน่อื ง

แผนงาน/โครงการแก้ ไขปั ญหา
1. โครงการเฝ้ าระวังและส่งเสริมทนั ตสุขภาพในโรงเรียนประถมศกึ ษา

1) เป้ าหมายและตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ
1.1 ร้อยละ 80 ของโรงเรียนประถมศกึ ษาแปรงฟันด้วยยาสฟี ันผสมฟลอู อไรด์ทกุ วนั
1.2 ร้อยละ 75 ของโรงเรียนประถมศกึ ษาปลอดนา้ อดั ลม

2) กลยทุ ธ์
2.1 สร้างการมีสว่ นร่วมเครือขา่ ยโรงเรียน
2.2 พฒั นาความรู้การสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในเด็กวยั เรียนแก่เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ

และครู
2.3 พฒั นาระบบข้อมลู
2.4 สนบั สนนุ การดาเนินกิจกรรมสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี


144

3) กิจกรรมทด่ี าเนนิ การ
3.1 โรงเรียนดาเนินกิจกรรมเฝ้ าระวงั และสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ
1. ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากนกั เรียนชนั้ อนบุ าล และนกั เรียนประถมศกึ ษาโดยครู ปี ละ

2 ครัง้ เดือนมิถนุ ายน และเดอื นธันวาคม
2. นกั เรียนในโรงเรียนประถมศึกษาแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสีฟันผสม

ฟลอู อไรด์ทกุ วนั จานวนนกั เรียน ร้อยละ และ ตามลาดบั
3.2 เจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ ดาเนนิ กิจกรรมสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในโรงเรียน

ประถมศกึ ษา
1. ให้ทนั ตสขุ ศกึ ษาแก่นกั เรียน
2. ฝึกปฏบิ ตั แิ ปรงฟัน และย้อมสฟี ันแก่นกั เรียน ป.1-6

3.3 ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากและให้ทนั ตสขุ ศกึ ษาแก่นกั เรียนชนั้ ม.1 โดยเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ

4. ผลการดาเนินงาน
4.1 ครูตรวจสขุ ภาพช่องปากนกั เรียนชนั้ อนบุ าล ได้จานวน 436 โรงเรียน 11,241 คน คิด

เป็ นร้อยละ 98.4 ของจานวนโรงเรียน และร้อยละ 96.7 ของจานวนนกั เรียน ตามลาดบั
4.2 ครูตรวจสขุ ภาพช่องปากนกั เรียนชนั้ ป.1-6 ได้จานวน 441 โรงเรียน 62,477 คน คิด

เป็ นร้อยละ 99.3 ของจานวนโรงเรียน และร้อยละ 97.3 ของจานวนนกั เรียน ตามลาดบั
4.3 นกั เรียนทกุ ชนั้ ในโรงเรียนประถมศกึ ษาแปรงฟันด้วยยาสฟี ันผสมฟลอู อไรด์ จานวน

417 โรงเรียน 75,241 คน คิดเป็ นร้อยละ 93.9 ของจานวนโรงเรียนและ ร้อยละ 90.6 ของจานวน
นกั เรียน ตามลาดบั ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ

4.4 ให้ทนั ตสขุ ศกึ ษาแก่นกั เรียนชนั้ อนบุ าลโดยเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ จานวน 390
โรงเรียน 15,582 คน คิดเป็ นร้อยละ 88.0 ของจานวนโรงเรียน และร้อยละ 82.6 ของจานวนนกั เรียน
ตามลาดบั

4.5 ให้ทนั ตสขุ ศกึ ษาแกน่ กั เรียนชนั้ ป.1-6 โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ จานวน 405
โรงเรียน 50,271 คน คิดเป็ นร้อยละ 91.2 ของจานวนโรงเรียน และร้อยละ 78.3 ของจานวนนกั เรียน
ตามลาดบั

4.6 โรงเรียนทป่ี ลอดนา้ อดั ลม จานวน 357 แหง่ คิดเป็ นร้อยละ 85.6 ของโรงเรียนทีท่ า
การสารวจ ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ตสาธารณสขุ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


145

4.7 นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 1 ได้รับการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก และได้รับทนั ตสขุ
ศกึ ษา จานวน 123 โรงเรียน 11,840 คน คิดเป็ นร้อยละ 97.6 ของจานวนโรงเรียน และร้อยละ 99.6
ของจานวนนกั เรียน ตามลาดบั

4.8 เดก็ อายุ 6-14 ปี ได้รับฝึกปฏบิ ตั แิ ปรงฟันและย้อมสฟี ัน จานวน 40,001 ครัง้

2. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และป้ องกันโรคด้านทนั ตกรรมสาหรับเดก็
“ยมิ้ สดใส เดก็ ไทยฟันดี” ภายใต้ชุดโครงการวัยเรียน วัยใส อนามยั ดี

1) ตวั ชีว้ ดั งานสง่ เสริมสขุ ภาพและป้ องกนั โรค PP composites (สปสช.)
- ร้อยละของนกั เรียน ป.1 และ ป.3 ได้รับบริการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก และลงบนั ทกึ
- ร้อยละของนกั เรียน ป.1 ได้รับบริการเคลอื บหลมุ ร่องฟัน

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 80
3) กลยทุ ธ์

3.1 สร้างการมีสว่ นร่วมเครือขา่ ยโรงเรียน
3.2 พฒั นาความรู้ทกั ษะแก่ทนั ตบคุ ลากร ในการจดั กิจกรรมสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพใน
โรงเรียน ร่วมกบั ฝ่ ายตา่ งๆ ท่เี กี่ยวข้อง
3.3 พฒั นาระบบข้อมลู
3.4 พฒั นาระบบการนิเทศตดิ ตาม ประเมินผล
3.5 เร่งรัดการดาเนนิ งาน
4) กิจกรรมทีด่ าเนินการ
4.1 ประชุมทนั ตบคุ ลากร
4.2 แตง่ ตงั้ กรรมการ
4.3 ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก (Full Mouth Examination) เดก็ ประถมศกึ ษาชนั้ ปี ที่ 1 และ 3
และลงบนั ทกึ ในฐานข้อมลู
4.4 เคลอื บหลมุ ร่องฟัน (Sealant) ให้แก่นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาชนั้ ปี ที่ 1
4.5 ตดิ ตาม ตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน
4.6 รายงานผลงานโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป และสรุปผลการดาเนนิ งาน
5) ผลการดาเนินงาน
5.1 การบริการทนั ตกรรม

1. การตรวจสขุ ภาพช่องปาก (Full Mouth Examination) เด็กประถมศกึ ษาชนั้ ปี ท่ี 1
และ 3 และลงบนั ทกึ ในฐานข้อมลู จานวน 21,715 คน คดิ เป็ นร้อยละ 109.5 ของเป้ าหมาย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี


146

2. การเคลือบหลมุ ร่องฟัน (Sealant) CUP ได้เคลือบหลมุ ร่องฟัน ให้แก่นกั เรียนชัน้
ประถมศกึ ษาปี ที่ 1 จานวน 5,729 คน 16,444 ซี่ คดิ เป็ น 116.6 และ 133.9 ของเป้ าหมาย

จากผลการดาเนนิ งานบริการทนั ตกรรมทงั้ 2 กิจกรรม ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั งานสง่ เสริม
สขุ ภาพและป้ องกนั โรค PP composites (สปสช.)

5.2 การบริหารจดั การ
1. การตรวจสอบคณุ ภาพ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี ได้ติดตามผลการ

ดาเนินงานโดยการสมุ่ ตรวจสอบคณุ ภาพบริการของ CUP เพื่อตรวจสอบการติดแนน่ สารเคลอื บ
หลมุ ร่องฟัน (การติดแนน่ ของSealant) ในนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 1 จานวน 553 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 112.6 ของเป้ าหมาย

2. ประชุมทนั ตบคุ ลากร 10 โรงพยาบาลจานวน 9 ครัง้ เพอื่ ประสานงานโครงการฯ ใน
ระดบั นโยบาย

3. จดั ประชุมทนั ตาภบิ าล 2 ครัง้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพระดบั ผ้ปู ฏบิ ตั ิ
6) งบประมาณ

จากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ PP area base 65% รวมเป็ นเงนิ 2,050,737 บาท

3. โครงการโรงเรียนในฝันด้านทนั ตสุขภาพจังหวัดสุพรรณบรุ ี

1) ตวั ชีว้ ดั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ร้อยละของนกั เรียนในโรงเรียนเป้ าหมายปราศจากฟันผุ

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 100
3) กลยทุ ธ์

3.1 สร้างการมีสว่ นร่วมของผ้เู ก่ียวข้อง
3.2 พฒั นาระบบข้อมลู
3.3 พฒั นากิจกรรมสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในโรงเรียนประถมศกึ ษาตามเกณฑ์
มาตรฐาน
3.4 นิเทศตดิ ตามประเมินผล
4) กิจกรรมท่ีดาเนินการ
4.1 จดั ประชมุ /อบรม
4.2 คดั เลอื กโรงเรียน
4.3 จดั ทาเกณฑ์มาตรฐานงานสง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในโรงเรียน
4.4 พฒั นาโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


147

4.5 ประเมินโรงเรียนระดบั อาเภอ และระดบั จงั หวดั
5) ผลการดาเนินงาน

5.1 จดั ประชมุ ทนั ตบุคลากรเพอื่ เป็ นแกนนา จานวน 10 โรงพยาบาล 1 ครัง้
5.2 โรงพยาบาลคดั เลอื กโรงเรียนประถมศกึ ษา เข้าร่วมโครงการอาเภอละ 1 โรงเรียน
รวม 10 โรงเรียน
5.3 จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมทันตสขุ ภาพในโรงเรี ยนประถมศึกษา
ผ้เู ข้าร่วมประชมุ ประกอบด้วย ครู เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ และทนั ตบุคลากร จานวน 60 คน ในวนั ที่
19-20 มิถนุ ายน 2551 มีกาหนดการดงั นี ้

- 19 มิถนุ ายน 2551 ประชุมท่ีห้องประชมุ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
- 20 มิถนุ ายน 2551 ศกึ ษาดงู านทีโ่ รงเรียนบ้านเขตเมือง อ.เมอื ง จ.สมทุ รสงคราม
5.4 โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ 10 โรงเรียน ดาเนินการพฒั นากิจกรรมสง่ เสริมป้ องกัน
ทนั ตสขุ ภาพในโรงเรียนร่วมกบั โรงพยาบาลและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง
5.5 โรงพยาบาล 10 แหง่ ร่วมกบั สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ และสถานีอนามยั ประเมิน
โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการระดบั อาเภอตามเกณฑ์มาตรฐาน
5.6 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั ประเมินโรงเรียนระดบั จงั หวดั ตามเกณฑ์มาตรฐาน มี
โรงเรียนทผ่ี า่ นเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 9 แหง่
5.7 มอบเกียรตบิ ตั ร ให้แก่ โรงเรียนท่ีผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จานวน 9 แหง่
6) งบประมาณ
งบประมาณจากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ PP area base 65% รวมเป็ นเงนิ
208,820 บาท

4. โครงการประกวดคู่หโู รงเรียนส่งเสริมทนั ตสุขภาพ

ตามที่สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ร่วมกบั กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
ดาเนินโครงการประกวดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ในปี งบประมาณ 2548 และได้
ดาเนนิ การตอ่ เนือ่ ง จนถึงปี งบประมาณ 2550 เพอ่ื กระต้นุ ให้เกิดการพฒั นาคณุ ภาพการดาเนินงาน
สง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพในสถานศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา และเพื่อให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ ง
พนื ้ ท่ี ในปี งบประมาณ 2551 ได้กาหนดแนวทางการดาเนินงานใหมเ่ พอ่ื ให้มีการขยายเครือขา่ ยไปยงั
โรงเรียนอื่นๆ ทีต่ ้องการคาแนะนา หรือการสนบั สนุนการดาเนินงานร่วมกับการแลกเปลี่ยนแนวคิด
กรมอนามยั จงึ จดั ประกวดคหู่ โู รงเรียนสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพขนึ ้ โดยแบง่ กิจกรรมออกเป็ น 3 หมวด

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


148

หมวดที่ 1 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองทนั ตสขุ ภาพที่สอดคล้องกบั หลกั สตู ร
การศกึ ษาขนั้ พนื ้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544

หมวดท่ี 2 การควบคมุ การบริโภคอาหาร/ขนมที่เป็ นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ
หมวดท่ี 3 การแปรงฟันหลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสฟี ันผสมฟลอู อไรด์ทกุ วนั
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้จดั ประกวดคหู่ โู รงเรียนสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ
ระดบั จงั หวดั โดยให้โรงเรียนนาเสนอผลงานเดน่ เป็ นเอกสาร/ผลงาน/โครงการ/กิจกรรมสง่ เสริมทนั ต
สขุ ภาพโดยแจ้งวตั ถปุ ระสงค์ ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ผลทไ่ี ด้รับจากโครงการ สง่ ภาพถา่ ย วดี ีทศั น์
หรือนาเสนอสอ่ื อื่นๆ โดยไม่จากดั รูปแบบ
ผลการประกวดคหู่ โู รงเรียนสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพ ปี งบประมาณ 2551 ระดบั จงั หวดั
โรงเรียนท่ชี นะเลศิ การประกวดได้รับเงินรางวลั 3,000 บาท พร้อมโลม่ ีผลการประกวด
ดงั นี ้
หมวดท่ี 1 โรงเรียนบ้านหนองอุโลก และโรงเรียนบ้านสระบวั ก่า อาเภอดา่ นช้าง
หมวดท่ี 2 โรงเรียนบ้านหนองแหน และโรงเรียนวดั บลั ลงั ก์ อาเภอหนองหญ้าไซ
หมวดท่ี 3 โรงเรียนวดั หนองไผ่ และโรงเรียนวดั หนองสงั ข์ทอง อาเภอสามชุก
โรงเรียนทไ่ี ด้รับรางวลั ชนะเลศิ ทงั้ 3 หมวด เป็ นตวั แทนของจงั หวดั เข้าประกวดในระดบั เขต
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้รับรางวลั การประกวดคหู่ โู รงเรียนสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพระดบั เขต
ปี งบประมาณ 2551 ดงั นี ้
หมวดที่ 1 รางวลั ชนะเลิศอนั ดบั 2 โรงเรียนบ้านหนองอุโลก และโรงเรียนบ้านสระบวั ก่า
อาเภอดา่ นช้าง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
หมวดที่ 2 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 โรงเรียนบ้านหนองแหน และโรงเรียนวดั บลั ลงั ก์
อาเภอหนองหญ้าไซ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
หมวดที่ 3 รางวลั ชนะเลศิ โรงเรียนวดั หนองไผ่ และโรงเรียนวดั หนองสงั ข์ทอง
อาเภอสามชุก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
งบประมาณ
จากศนู ย์อนามยั ที่ 4 ราชบุรี จานวน 35,000 บาท

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


149

ผลการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเดก็ วัยเรียน (อายุ 6-14 ปี )

การดาเนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปากเดก็ วยั เรียน ปี งบประมาณ 2551 มีผลการ
ดาเนินงานผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ทกุ ตวั และเม่ือเปรียบเทยี บผลการสารวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากของ
เดก็ อายุ 12 ปี ปี 2551 กบั ตวั ชีว้ ดั สถานะสขุ ภาพช่องปากเดก็ วยั เรียนของกองทนั ตสาธารณสขุ ก็
ผา่ นเกณฑ์เชน่ เดยี วกนั
ตวั ชีว้ ดั สถานะสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กวยั เรียน ผลการสารวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กอายุ
ของกองทนั ตสาธารณสขุ ปี งบประมาณ 2551 12 ปี ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ

2551
ร้อยละ 45 ของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ ร้อยละ 55.2 ของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุ

ถงึ แม้วา่ สถานะสขุ ภาพชอ่ งปากของเดก็ อายุ 12 ปี จะผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกองทนั ต
สาธารณสขุ แตก่ ารเกิดโรคฟันผใุ นเด็กวยั เรียนมีปัจจยั หลายอยา่ ง ดงั นนั้ จึงต้องดาเนินโครงการ
สง่ เสริมป้ องกนั ทนั ตสขุ ภาพในเดก็ วยั เรียนอยา่ งตอ่ เนื่องเพื่อเป็ นการเฝ้ าระวงั โรค

 งานฟันเทยี มพระราชทาน และงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

สถานการณ์

จากผลการสารวจสภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากผ้สู งู อายุ (60 ปี ขนึ ้ ไป) ปี 2548-2550 เม่ือ
เปรียบเทยี บกนั จะเหน็ วา่ ผ้สู งู อายมุ ีแนวโน้มการสญู เสยี ฟันเพ่มิ ขนึ ้ ทกุ ปี โดยเฉพาะถ้าผ้สู งู อายสุ ญู เสยี
ฟันทงั้ ปากจะสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและคณุ ภาพชีวิตผ้สู งู อายอุ ยา่ งชดั เจน (ตารางท่ี 60) ประกอบกบั
ความต้องการใสฟ่ ันเทียมเพ่อื การเคยี ้ วอาหารของผ้สู งู อายุ นามาสนู่ โยบายของกระทรวงสาธารณสขุ
ในโครงการฟันเทยี มพระราชทาน ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ 3 ปี ตงั้ แตป่ ี 2548-2550 การดาเนนิ
โครงการฟันเทยี มพระราชพระราชทาน ปี 2548 และ 2550 เป็ นการเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยหู่ วั ในวาระมหามงคล 80 พรรษา (5 ธนั วาคม 2550) สว่ นปี 2549 เพอื่ เฉลมิ พระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เน่ืองในโอกาสจดั งานฉลองสริ ิราชสมบตั ิครบ 60 ปี ในปี 2549

ในปี 2551 กระทรวงสาธารณสขุ ได้มนี โยบายให้ดาเนินการตามโครงการฟันเทียม
พระราชทานตอ่ เนอื่ งอีก 3 ปี ในปี 2551-2553 เพอ่ื สขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ของผ้สู งู อายุ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


150

ตารางท่ี 1 สถานการณ์สุขภาพช่องปากผู้สงู อายุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2548-2550

ผ้สู ูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึน้ ไป) ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550

1. มีฟันหลงั แท้ ใช้เคยี ้ วอาหารอยา่ งน้อย 4 คสู่ บ ร้อยละ 38.5 32.7 28.1

2. มีฟันหลงั เป็ นฟันแท้กบั ฟันเทียม หรือฟันเทียมกบั ฟัน - 18.7 22.5

เทยี ม อยา่ งน้อย 4 คสู่ บ ร้อยละ

แผนงาน/โครงการ การแก้ไขปัญหา
1. โครงการฟันเทยี มพระราชทานภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

1) ตวั ชีว้ ดั ตามประเด็นการตรวจราชการ
ร้อยละของผ้สู งู อายไุ ด้รับบริการใสฟ่ ันเทียมตามเป้ าหมายทก่ี าหนด

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 100
3) กลยทุ ธ์

3.1 จดั ตงั้ คณะทางานบริหารงานระดบั จงั หวดั
3.2 สนบั สนนุ การบริการโดยให้คลนิ ิกเอกชนเป็ นหนว่ ยร่วมบริการ
3.3 พฒั นาระบบสง่ ตอ่
3.4 พฒั นาระบบข้อมลู
3.5 นเิ ทศตดิ ตาม ประเมินผล
4) กิจกรรมท่ีดาเนนิ การ
4.1 การบริการ

1. CUP ท่ีจดั บริการใสฟ่ ันเทยี มในสถานบริการ 8 แหง่ มีการดาเนนิ งาน ดงั นี ้
- ตรวจประเมินสภาวะช่องปากผ้สู งู อายุ
- ตรวจขนึ ้ ทะเบยี น และให้บริการใสฟ่ ันเทียม

2. CUP ท่ไี มไ่ ด้จดั บริการใสฟ่ ันเทยี มในสถานบริการ 2 แหง่ มีการดาเนินงาน ดงั นี ้
- ตรวจประเมินสภาวะชอ่ งปากผ้สู งู อายุ
- ตรวจขนึ ้ ทะเบียน และให้การสง่ ตอ่ ไปยงั คลนิ กิ เอกชนและโรงพยาบาลใกล้เคียงท่ี

มีศกั ยภาพ
4.2 การบริหาร
1. จดั ประชมุ ทนั ตบุคลากร
2. ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินคณุ ภาพบริการ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


151

5) ผลการดาเนินงาน
5.1 ผ้สู งู อายไุ ด้รับการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากเพอ่ื ขนึ ้ ทะเบยี น และได้รับการใสฟ่ ันเทยี ม

จานวน 442 คน คิดเป็ นร้อยละ 100.5 ของเป้ าหมาย ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ประเดน็ การตรวจราชการ
5.2 จดั ประชมุ ทนั ตบุคลากร 10 โรงพยาบาล ร่วมกบั โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพและป้ องกนั

โรคในช่องปากด้านทนั ตกรรมสาหรับเดก็ “ยมิ ้ สดใส เด็กไทยฟันดี” จานวน 9 ครัง้
5.3 ประเมินคณุ ภาพบริการและความพงึ พอใจผ้สู งู อายุ จานวน 43 คน คดิ เป็ นร้อยละ

97.7 ของเป้ าหมาย
6) งบประมาณ ; จากสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาตใิ นลกั ษณะ Vertical Program

และกองทนุ ฟันเทยี มพระราชทาน
ประเดน็ สาคญั ของปัญหา
ในปี งบประมาณ 2551 มีการปรับเปล่ียนระบบการเบิกจ่ายเงินค่าบริการใสฟ่ ันเทียม

ให้แกภ่ าครัฐ และเอกชน ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ ประชาชน โดยเฉพาะประชาชนท่ีมาขอรับบริการใน CUP
ท่ีไม่ได้จดั บริการใสฟ่ ันเทียมในสถานบริการเอง (สง่ ต่อภาคเอกชน) ประชาชนในอาเภอนนั้ จะขาด
โอกาสการใสฟ่ ันเทยี ม (โดยไมค่ ิดมลู คา่ )

2. โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

1) ตวั ชีว้ ดั ของสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ร้อยละของผ้สู งู อายกุ ลมุ่ เป้ าหมายได้รับการสง่ เสริมสขุ ภาพและเผ้าระวงั โรค

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 80
3) กลยทุ ธ์

3.1 สร้างการมีสว่ นร่วม
3.2 สนบั สนนุ กิจกรรมสง่ เสริมทนั ตสขุ ภาพในผ้สู งู อายุ
3.3 พฒั นาระบบการนิเทศตดิ ตาม ประเมินผล
4) กิจกรรมและผลการดาเนนิ งาน
4.1 จดั ประชมุ ชีแ้ จงการดาเนินงานแก่โรงพยาบาลเพอื่ เป็ นแกนนา 10 โรงพยาบาล 2 ครัง้
4.2 โรงพยาบาลจัดนิทรรศการทนั ตสขุ ภาพในวนั ผ้สู งู อายุ 16 เมษายน 10 โรงพยาบาล 1 ครัง้
4.3 โรงพยาบาล 9 แห่ง (ยกเว้นโรงพยาบาลดอนเจดีย์) และสถานีอนามัยตาบลสระกระโจม
อาเภอดอนเจดยี ์ จดั กิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปากในชมรมผ้สู งู อายุ อาเภอละ 1 ชมรม รวม 10 ชมรม
จานวน 1,345 คน คดิ เป็ นร้อยละ 93.8 ของเป้ าหมาย
5) งบประมาณ ; จากสานกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแห่งชาติ PP area base 65% เป็ นเงิน
68,560 บาท

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


152

งานควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ
และสขุ ภาพจติ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


153

 งานควบคุมป้ องกันโรคไม่ติดต่อ (โรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง)

โรคไม่ติดตอ่ เป็ นปัญหาสาธารณสขุ ทสี่ าคญั ระดบั ประเทศ ซงึ่ ปัจจุบนั ได้ทวีความรุนแรงมาก
ขนึ ้ โดยสง่ ผลสขุ ภาพ วิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ตลอดจนสภาพแวดล้อมของประชากรเป็ นอยา่ งมาก
เน่อื งจากเป็ นโรคทเ่ี ป็ นสาเหตกุ ารตาย การเจ็บป่ วย ทีส่ าคญั ทงั้ ในเขตเมืองและชนบท ไม่วา่ จะเป็ น
โรคเบาหวานความดนั โลหิตสงู โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ซงึ่ กลมุ่ โรคเรือ้ รังเหลา่ นอี ้ าจมีปัจจยั เสย่ี งร่วม
หนงึ่ ปัจจยั หรือมากกวา่ ได้แก่ การสบู บุหร่ี ดื่มสรุ าเกินขนาด การบริโภคอาหารทไ่ี มถ่ กู สดั สว่ นและ
ปริมาณไม่เหมาะสม ขาดการออกกาลงั กาย ภาวะอ้วน

สถานการณ์โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง

ข้อมูลการป่ วย
สาหรับอตั ราผ้ปู ่ วยในด้วยโรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสงู ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบวา่
จานวนผ้ปู ่ วยในด้วยโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหติ สงู มีแนวโน้มสงู ขนึ ้ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ซง่ึ อตั ราทงั้
2 โรค สงู กวา่ อตั ราป่ วยของะดบั ประเทศ ดงั รูปที่ 1-2

รูปท3่ี 17 อตั ราป่วยต่อประชากรแสนคนดว้ ยโรคเบาหวาน ของ รูปท่ี 2 อตั ราป่วยตอ่ ประชากรแสนคนดว้ ยโรคความดนั โลหติ สูง ของ

รูปที่ อตั ราป่ วจย. .ตสอุ่พปรรระณชบากรุ ีแรลแสะปนรคะนเดทวส้ ยไทโรยคเแบ. าพ.ห2.5ศว4า.82น-52ข4585อ-0ง2550 รปู ท่ี อตั ราปจ่.วสยุพตรอ่รปณรบะรุชแี าลกะรปแรสะนเทคสนไดทยว้ ยแโรพค.คศว.2า5ม4ด8น-ั 2โ5ล5ห0ติ สงู

จ.สพุ รรณบรุ แี ละประเทศไทย ปี พ.ศ.2548-2550 ของ จ.สพุ รรณบรุ แี ละแระเทศไทย ปี พ.ศ.2548-2550

อตั ราตอ่ แสน อตั ราตอ่ แสน

1200 862.2 876.12 1025.79 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 1500 1143.89 1094.2 1411.68 จ.สพุ รรณบรุ ี
1000 490.53 586.81 650.43 ประเทศไทย 1000 659.57 778.12 ประเทศไทย

800 พ.ศ. 500 544.08 2549 2550 พ.ศ.
600 0
400 2548
200

0

2548 2549 2550

ทมี่ า สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ทม่ี า สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

ข้อมูลการตาย
จากการวเิ คราะห์ข้อมลู จานวนและอตั ราตายด้วยโรคไม่ติดตอ่ ทีเ่ ป็ นปัญหาสาธารณสขุ สาคญั ของ
ประเทศ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสงู จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบวา่ อตั ราตายด้วย
โรคเบาหวานมีแนวโน้มสงู ขนึ ้ สว่ นโรคความดนั โลหิตสงู มีแนวโน้มลดลง และเม่ือเปรียบเทยี บกบั อตั รา
ตายระดบั ประเทศ ในปี 2550 พบวา่ อตั ราตายด้วยโรคเบาหวานสงู กวา่ ระดบั ประเทศ สาหรับอตั รา
ตายด้วยโรคความดนั โลหิตสงู ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศ รูปที่ 3-4

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


154

รูปท่ี 3 อตั ราตายต่อประชากรแสนคนดว้ ยโรคเบาหวาน ของ จ. รูปท่ี 4 อตั ราตายต่อประชากรแสนคนดว้ ยโรคความดนั โลหติ สูง ของ
รูปท่ี อตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคนดว้ ยโรคเบาหวาน รปู ท่ี อตั จร.สาตุพารยรณตอ่ บปรุ รีแะลชะาปกรระแเทสสนไคทนยดแว้ ยพโร.ศค.ค25ว4า8ม-ด2น5ั 5โล0หติ สงู
ของจส.สุพพุ รรรณณบบรุ ีแรุ แลี ละะปปรระะเทเทสศไไททยยแปพี พ.ศ.ศ.2.2554488-2-2555500
ของจ.สพุ รรณบรุ แี ละประเทศไทย ปี พ.ศ.2548-2550

อตั ราตอ่ แสน 11.9 12.9 จ.สพุ รรณบรุ ี อตั ราตอ่ แสน 4.2 4.3 3.8 จ.สพุ รรณบรุ ี
10.0 12.0 ประเทศไทย 4.0 3.9 3.1 ประเทศไทย
15 5
13.0 4
3
12.3 2
10

5

1

0 2549 2550 พ.ศ. 0 2549 2550 พ.ศ.
2548 2548

ทม่ี า สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ทมี่ า สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

ปัจจยั เส่ียงท่มี ีผลต่อการดาเนินงาน
มีการเพ่มิ ขนึ ้ ของความชกุ ของปัจจยั เสย่ี งที่กอ่ ให้เกิดโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดเพ่มิ ขนึ ้ ในทกุ

กลมุ่ อายุ (การสบู บหุ รี่ ความดนั โลหิตสงู อ้วน เบาหวาน การบริโภคผกั ผลไม้น้อย ขาดการออกกาลงั
กาย ฯลฯ)

ปัจจยั เสยี่ งทีส่ ง่ ผลตอ่ ภาระการเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดมีความแตกตา่ งกนั ระหวา่ งเพศ
ชายและเพศหญิง โดยพบวา่ เพศชายมีลาดบั ปัจจยั เสย่ี งที่สาคญั คอื การดื่มเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์
การสบู บหุ ร่ี ความดนั โลหิตสงู ดชั นีมวลกายสงู โคเลสเตอรอลสงู บริโภคผกั และผลไม้น้อย ขาดการ
ออกกาลงั กาย ในขณะท่ีเพศหญิงมีลาดบั ปัจจยั เสย่ี งทีส่ าคญั คอื ความดนั โลหติ สงู ดชั นมี วลกาย
โคเลสเตอรอลสงู ขาดการออกกาลงั กาย การสบู บุหร่ี และการบริโภคผกั ผลไม้น้อย

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา
1. โครงการรณรงค์ป้ องกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่

1) ตวั ชีว้ ดั ตามประเดน็ การตรวจราชการ
ประชากรอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไปได้รับบริการตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ได้ถกู ต้อง
ตามมาตรฐาน
2) เป้ าหมาย ร้อยละ 65
3) กลยทุ ธ์

3.1 ด้านนโยบายและแผนการปฏบิ ตั งิ าน
- สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรีและเครือขา่ ยสถานบริการสาธารณสขุ ทกุ
แหง่ มีแผนการปฏิบตั ิการป้ องกนั และควบคมุ โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ครบถ้วน มีการ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


155

พฒั นาระบบข้อมลู โดยมีระบบรายงานผลการดาเนินงานเดอื นละ 1 ครัง้ มีการสง่ ตอ่ และติดตาม
ผ้ปู ่ วย เป็ นรูปแบบเดียวกนั และเชื่อมโยงในระดบั ตาบล อาเภอ และจงั หวดั

3.2 การเพิ่มคณุ ภาพบริการ เพอ่ื ลดปัญหาโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสงู
- ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ เพือ่ เฝ้ าระวงั พฤติกรรมเสย่ี ง การตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน
และความดนั โลหติ สงู ให้กบั เจ้าหน้าทีผ่ ้รู ับผดิ ชอบระดบั อาเภอและจงั หวดั
- ประชุมพฒั นาระบบการจดั เก็บ/วิเคราะห์ข้อมลู การจดั ทาทะเบยี นคดั กรอง
ทะเบียนผ้ปู ่ วย การเชื่อมโยงระบบรายงาน ระดบั จงั หวดั /อาเภอ/ตาบล
- ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ เพอ่ื เฝ้ าระวงั พฤตกิ รรมเสย่ี งและใช้เทคนคิ การคดั กรอง
เก่ียวกบั โรคไม่ติดตอ่ โดยสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
- ผสมผสานงานบริการรักษา เพอ่ื พฒั นาระบบสง่ ตอ่ การดแู ลผ้ปู ่ วยในสถานบริการ
ตดิ ตามเย่ียมบ้าน การจดั ทา Family Folder ให้ครบถ้วน

3.3 การให้บริการลดความเสยี่ งเพอ่ื ลดปัญหาโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู
- จดั ทาโครงการรณรงค์ป้ องกนั และควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
ปี งบประมาณ 2552

4) จากสถานการณ์ดงั กลา่ ว จงั หวดั สพุ รรณบุรี จงึ ได้จดั ทาโครงการรณรงค์ป้ องกนั และควบคมุ
โรคไมต่ ดิ ตอ่ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีขนึ ้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ประชาชนทว่ั ไปมีความรู้และได้รับขา่ วสาร
เตอื นภยั รวมทงั้ รู้จกั แนวทางปฏบิ ตั ิในการป้ องกนั และควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ เรือ้ รังและประชาชนกลมุ่ เสย่ี ง
โดยเฉพาะอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไป ได้รับบริการคดั กรองความเสยี่ งเบอื ้ งต้นตอ่ การเป็ นโรคเบาหวาน ความดนั
โลหิตสงู และโรคหลอดเลอื ดสมอง (อมั พฤกษ์ อมั พาต) โดยการดาเนนิ งานในโครงการ มีการจดั
กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แกป่ ระชาชนเรื่องโรคไมต่ ิดตอ่ เรือ้ รัง มีการผลติ สอื่ ตา่ งๆเพือ่ สอื่ สารเตือนภยั
ในชุมชน จดั อบรมพฒั นาความรู้เพม่ิ ศกั ยภาพเจ้าหน้าที่ เพอ่ื พฒั นาประสทิ ธิภาพในการจดั บริการคดั
กรองโรค ไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รัง โดยประชาชนท่อี ยใู่ นกลมุ่ เสย่ี งได้รับคาแนะนาในการปฏบิ ตั ิตวั เพ่อื ลด
ภาวะเสยี่ ง และเข้าคา่ ยปรับเปลยี่ นพฤติกรรมสขุ ภาพ และกลมุ่ ผ้ปู ่ วยได้รับการสง่ ตอ่ เพื่อไปรับการ
ตรวจวินิจฉยั และรักษาจากแพทย์ที่โรงพยาบาล

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี


156

แผนงาน/โครงการ กิจกรรมหลกั กลมุ่ เป้ าหมาย เวลาดาเนนิ การ งบประมาณและ
ม.ค.-ก.ย. 2551 แหลง่ งบประมาณ
แผนงาน/โครงการ
สปสช. จานวน
1.โครงการรณรงค์ - รณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ให้ ประชาชนทวั่ ไป 224,600 บาท
ป้ องกนั และควบคมุ ความรู้แกป่ ระชาชนในการ
โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รัง ป้ องกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่
(โรคเบาหวาน โรคความ
ดนั โลหิตสงู
โรคอมั พฤกษ์ อมั พาต

2. โครงการ -จดั ทาคา่ ยปรับเปล่ียนพฤติกรรม ผ้ปู ่ วยโรคไมต่ ิดตอ่ ม.ค.-ก.ย. 2551 สปสช. จานวน
ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม สขุ ภาพผ้ปู ่ วยโรคไมต่ ิดตอ่ เรือ้ รัง เรือ้ รังและกลมุ่ เส่ยี ง มิ.ย. 2551 350,000 บาท
สขุ ภาพผ้ปู ่ วยโรคไม่ และ ตอ่ การเกิดโรค
ติดตอ่ เรือ้ รังและกลมุ่ กลมุ่ เสี่ยง สปสช. จานวน
เส่ียง เจ้าหน้าท่ี 150,000 บาท
3.โครงการอบรมพฒั นา -จดั อบรมพฒั นาความรู้เจ้าหน้าท่ี ผ้รู ับผดิ ชอบงานโรค
ความรู้เพื่อเพิ่มศกั ยภาพ เรื่องโรคไมต่ ิดตอ่ เรือ้ รัง ไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รัง
เจ้าหน้าท่ีในการดแู ล ในสถานบริการ
ผ้ปู ่ วยโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รัง สาธารณสขุ จงั หวดั
และกล่มุ เส่ียง สพุ รรณบุรี

ผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานคดั กรองโรคเบาหวานความดนั โลหิตสงู ในประชากรอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไป

ปี งบประมาณ 2551 พบวา่ การดาเนินงานคดั กรองเบาหวานในภาพรวมของจงั หวดั คดั กรองได้ร้อย
ละ 78.59 และผ้ทู ่ผี า่ นการคดั กรองอยใู่ นกลมุ่ ปกติ ร้อยละ 83.11 กลมุ่ เสย่ี ง ร้อยละ 9.32 กลมุ่ ป่ วย
ร้อยละ 3.57 การดาเนนิ งานคดั กรองความดนั โลหิต พบวา่ คดั กรองได้ร้อยละ 80.03 ผ้ทู ่ผี า่ นการคดั
กรองอยใู่ นกลมุ่ ปกติ ร้อยละ 83.77 กลมุ่ เสย่ี ง ร้อยละ 11.62 กลมุ่ ป่ วย ร้อยละ 4.61

ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 35 ปี ขน้ึ ไป ในจงั หวดั สุพรรณบุรี ทไี่ ดร้ บั บรกิ าร
คดั กรองโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ตามมาตรฐาน ปี งบประมาณ 2547-2551

ปี งบประมาณ เบาหวาน (DM) ความดนั โลหติ สูง (HT)

2547 เป้ าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ เป้ าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ
2548 72.47
2549 301,526 218,540 84.59 301,526 218,540 72.47
2550
340,810 288,281 74.00 340,810 289,979 85.09
75.80
285,512 211,189 285,512 217,860 76.30

352,279 267,048 352,279 267,048 75.80

2551 412,976 324,569 78.59 412,976 330,530 80.03

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


157

งานดูแลผ้พู กิ าร

การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมที่จะนาไปสคู่ วามมน่ั คงและเจริญก้าวหน้าของประเทศ ได้

นนั้ จะต้องเน้นการพฒั นาประชากรให้มีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี โดยถ้วนหน้ากนั และไม่วา่ ประเทศนนั้ ๆ

จะพฒั นาไปสคู่ วามเจริญก้าวหน้ามากเพยี งใดก็ตาม สงั คมนนั้ ก็ยงั มีบคุ คลท่ีมีความบกพร่อง

ทางร่างกาย จิตใจ พฤติกรรมและสตปิ ัญญารวมอยดู่ ้วย ซงึ่ เขาเหลา่ นนั้ รวมถกู เรียกวา่ “คน

พกิ าร” จากผลการสารวจความพกิ ารและภาวะทพุ ลภาพ ของสานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ปี 2544

พบวา่ ประชากร 63 ล้านคน เป็ นคนพกิ ารประมาณ 1.1 ล้านคน หรือคิดเป็ นร้อยละ 1.8 ของ

ประชากรทงั้ หมดโดยสว่ นใหญ่มีสาเหตมุ าจากการเจ็บป่ วย ความพิการมาแตก่ าเนดิ และ

อบุ ตั เิ หตตุ า่ ง ๆ ซงึ่ คนพกิ ารเหลา่ นนั้ เป็ นผ้ทู ่ีมีความทกุ ข์ทรมานยิ่ง อีกทงั้ เป็ นภาระของครอบครัว

และสงั คม แตห่ ากเขาได้รับการฟืน้ ฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) ตามวิธีการทกี่ าหนดขนึ ้ จะ

ทาให้คนพกิ ารได้รับการรักษาโรคท่เี ป็ นอยอู่ ยา่ งถกู ต้อง เป็ นการป้ องกนั ไม่ให้เกิดความผดิ ปกติเพม่ิ

มากขนึ ้ รวมทงั้ ได้ใช้เคร่ืองชว่ ยที่เหมาะสม และได้รับการฟืน้ ฟสู ภาพร่างกาย จิตใจ อารมณ์

ตลอดจนสงั คมให้กลบั คนื มาสสู่ ภาพท่เี หมาะสมและ ใกล้เคียงปกติเดิมมากท่สี ดุ สามารถพงึ่ ตนเอง

และปฏิบตั ิหน้าทกี่ ารงานได้ตามอตั ภาพ และจากการดาเนนิ กิจกรรมรณรงค์ตรวจประเมินและจด

ทะเบยี นเพื่อฟืน้ ฟสู มรรถภาพคนพกิ ารตงั้ แตป่ ี งบประมาณ 2548 เป็ นต้นมา มีผลให้การลงทะเบียน

ผ้มู ีสทิ ธิในระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า ที่ระบปุ ระเภทสทิ ธิคนพิการ(ท.74) ของจงั หวดั

สพุ รรณบุรี มีจานวนเพม่ิ ขนึ ้ โดยปัจจบุ นั มีจานวน 6,643 คน (ข้อมลู ณ วนั ที่ 6 ตลุ าคม 2551)

อยา่ งไรก็ตามยงั พบคนพิการอีกเป็ นจานวนมากทย่ี งั ไมไ่ ด้รับการลงทะเบียนผ้มู ีสทิ ธิในระบบ

หลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า

ปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ดาเนินงานตาม
นโยบายของสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขตพนื ้ ที่ (ราชบุรี) ซงึ่ ได้จดั สรร
งบประมาณให้กบั สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ตามโครงการพฒั นาระบบบริการฟืน้ ฟู
สมรรถภาพคนพกิ าร ปี งบประมาณ 2551 เป็ นจานวนเงนิ ทงั้ หมด 353,318.12 บาท แบง่ จดั สรร
เป็ น 2 งวด งวดที่ 1 (80%) เป็ นจานวนเงิน 282,654.50 บาท และงวดท่ี 2 (20%) เป็ น
จานวนเงนิ 70,663.62 บาท และสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้จดั สรรงบประมาณให้
คปสอ. ทกุ แหง่ ตามสดั สว่ นคนพิการ รายละเอียดดงั ตาราง 2

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


158

ตารางท่ี 2 แสดงรายละเอียดการจดั สรรงบประมาณ ฟื น้ ฟูสมรรถภาพคนพิการ ปีงบประมาณ 2551

อาเภอ จานวนคนพกิ าร (คน) งบประมาณท่ีได้รับ (บาท)

เมือง 1,208 69,109.02

เดมิ บางนางบวช 593 33,918.54

ดา่ นช้าง 568 32,469.93

บางปลาม้า 589 33,706.55

ศรีประจนั ต์ 427 24,414.28

ดอนเจดีย์ 335 19,150.00

สองพ่นี ้อง 1,017 58,156.16

สามชกุ 492 28,160.00

อ่ทู อง 672 38,441.00

หนองหญ้ าไซ 276 15,793.12

รวม 6,177 353,318.12

ทม่ี า : งานควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และสขุ ภาพจติ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

คปสอ.ทกุ แหง่ ได้ดาเนนิ งานตามโครงการพฒั นาระบบบริการฟืน้ ฟสู มรรถภาพคนพิการ
กิจกรรมหลกั ในการดาเนินงาน เช่น อบรมญาตคิ นพกิ าร ฟืน้ ฟสู มรรถภาพคนพิการ และอ่ืน ๆ

ในสว่ นของโรงพยาบาล สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขตพนื ้ ท่ี (ราชบรุ ี)
จดั สรรงบประมาณ เป็ นคา่ อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ปี งบประมาณ 2551 (ลว่ งหน้า) ให้แก่หนว่ ย
บริการเพอื่ จดั ซอื ้ อปุ กรณ์เคร่ืองช่วยคนพกิ าร ตามรายการทก่ี าหนด รายละเอียด ดงั ตาราง 3

ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดการจดั สรรงบประมาณ ค่าอปุ กรณ์เคร่ืองช่วยคนพกิ าร ปีงบประมาณ 2551

อาเภอ จานวนคนพกิ าร (คน) งบประมาณท่ีได้รับ (บาท)

เมอื ง 1,208 307,788.54

เดมิ บางนางบวช 593 28,000.00

ดา่ นช้าง 568 28,000.00

บางปลาม้า 589 28,000.00

ศรีประจนั ต์ 427 28,000.00

ดอนเจดีย์ 335 28,000.00

สองพ่ีน้อง 1,017 100,000.00

สามชกุ 492 28,000.00

อ่ทู อง 672 28,000.00

หนองหญ้ าไซ 276 28,000.00

รวม 6,177 631,788.54

ท่มี า : งานควบคมุ โรคไมต่ ิดต่อและสขุ ภาพจิต สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


159

จากนโยบายของสานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขตพนื ้ ท่ี (ราชบุรี) ได้
สนบั สนนุ ให้มีการจดั ตงั้ หรือพฒั นาศนู ย์สาธิตอุปกรณ์และเครื่องชว่ ยคนพิการ ขนึ ้ ในโรงพยาบาล
เพอื่ เป็ นสถานทร่ี วบรวมอปุ กรณ์เครื่องชว่ ยคนพกิ ารทกุ ประเภท จดั บริการเพ่อื อานวยความสะดวก
ให้คนพิการได้ทดลองใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยท่เี หมาะสมกบั ตนเอง นนั้ ซง่ึ สานกั งานหลกั ประกนั
สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขตพนื ้ ที่ (ราชบรุ ี) ได้ดาเนินการคดั เลอื กโรงพยาบาลชุมชนนาร่อง เพอ่ื เข้า
ร่วมโครงการ ภายใต้ชื่อ “ ศนู ย์พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพคนพิการแบบครบวงจร ” โดยที่
โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช ได้เข้าร่วมและดาเนินงานตามโครงการฯ ดงั กลา่ ว และได้รับ
งบประมาณสนบั สนนุ ตอ่ เน่ืองเป็ นระยะเวลา 3 ปี จากงบฟื น้ ฟูสมรรถภาพคนพิการ ปี 2549 – 2551
ดงั นี ้

ปี ท่ี 1 สนบั สนนุ งบประมาณ จานวนหนว่ ยบริการละ 400,000 บาท
เพอื่ วางระบบบริหารจดั การในหนว่ ยบริการ การพฒั นาจดั บริการสขุ ภาพสาหรับคนพกิ าร
พร้อมกบั สร้างความร่วมมือกบั ชมุ ชนและองค์กรในท้องถิ่น เพือ่ สนบั สนนุ การทางานระยะยาว
ปี ที่ 2 และ 3 สนบั สนนุ งบประมาณ จานวนหนว่ ยบริการละ 100,000 บาท
เพื่อสนบั สนนุ ให้ระบบการให้บริการสขุ ภาพสาหรับคนพิการมีความตอ่ เน่อื ง พร้อมกบั
การสร้างความยง่ั ยนื ให้เกิดขนึ ้ ในระบบด้วยการทาความร่วมมือกบั องค์กรในระดบั ท้องถิ่นและการมี
สว่ นร่วมของชุมชน
นอกจากนี ้ได้ดาเนินการตรวจวนิ ิจฉยั และประเมินความพิการ (เป็ นงบประมาณตาม
โครงการตอ่ เน่ืองจากปี งบประมาณ 2550) และจดั สรรงบประมาณให้แกโ่ รงพยาบาล 10 แหง่
รายละเอียด ตงั ตาราง 4

ตารางที่ 4 แสดงรายละเอยี ดการจดั สรรงบประมาณ คา่ ตรวจวินิจฉยั และประเมนิ ความพิการ

ปีงบประมาณ 2550

อาเภอ จานวนคนพกิ ารทไี่ ดร้ บั การตรวจวนิ ิจฉยั / งบประมาณทไี่ ดร้ บั (บาท)
ประเมนิ ความพกิ าร (คน)

รพศ.เจา้ พระยายมราช 208 20,800.00
17,700.00
เดมิ บางนางบวช 177
9,100.00
ดา่ นชา้ ง 91 15,200.00

บางปลามา้ 152 11,200.00
4,500.00
ศรีประจนั ต์ 112
36,200.00
ดอนเจดยี ์ 45 14,700.00
15,700.00
สองพนี่ อ้ ง 362
2,800.00
สามชุก 147 147,900.00

อทู่ อง 157

หนองหญา้ ไซ 28

รวม 1,479

ที่มา : งานควบคมุ โรคไม่ติดต่อและสขุ ภาพจิต สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


160

ผลการปฏบิ ัตงิ านตามตวั ชีว้ ัดในแนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณี
ปกติ กระทรวงสาธารณสุข (E-inspection)

โครงการที่ 4 โครงการสง่ เสริมและสนบั สนนุ การระดมศกั ยภาพของหนว่ ยงาน องค์กรและ
เครือขา่ ยตา่ ง ๆ ท่ีทางานด้านสขุ ภาพ

ตารางที่ 5 ตวั ชีว้ ดั ที่ 0403 ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลชมุ ชนทมี่ ีสง่ิ อานวยความ

สะดวก สาหรับผ้พู กิ ารขนั้ พนื ้ ฐาน

รหสั ตวั ชีว้ ดั /รายการข้อมลู เป้ าหมาย ผลงาน ร้ อยละ

0403 ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลชมุ ชน 8 8 100

ที่มสี งิ่ อานวยความสะดวกสาหรับผ้พู กิ ารขนั้

พนื ้ ฐาน

จานวน รพช. ทงั้ หมด 8 8 100

จานวน รพช. ที่มีสง่ิ อานวยความสะดวกสาหรับคน 8 8 100

พกิ ารขนั้ พืน้ ฐาน (1= ม,ี 0= ไมม่ )ี

ทม่ี า : งานอนามยั สงิ่ แวดล้อมและอาชวี อนามยั สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ปัญหาและอปุ สรรค
การดาเนนิ งานของโรงพยาบาล ซง่ึ ต้องดาเนินการลงข้อมลู การให้บริการ โดยที่ผ้ปู ่ วยในลง

โปรแกรม NHSO และผ้ปู ่ วยนอกลงในโปรแกรม DRG MX พบวา่ มีผลงานน้อย ซง่ึ สานกั งาน
หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สาขาเขตพืน้ ที่ (ราชบุรี) จา่ ยเงนิ ให้ตามผลงาน ทแี่ สดงในโปรแกรม
ทงั้ สอง ปัญหาพบวา่ คนพกิ ารทมี่ ารับบริการ มีบตั รประกนั สขุ ภาพท่ีไม่ใช่ ท.74 จึงไม่สามารถลง
ข้อมลู ในโปรแกรม NHSO และ DRG MX ได้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


161

 งานสุขภาพจิต

สภาพปัญหา

ตารางท่ี 6 อตั ราการฆา่ ตวั ตายทสี่ าเร็จและไมส่ าเร็จตอ่ ประชากรแสนคน ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ปี งบประมาณ 2548-2551

อาเภอ ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551

สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ

เมืองฯ 1.19 70.02 1.90 63.39 0.62 66.01 6.13 66.80

สองพ่นี ้อง 13.01 86.53 8.19 99.98 3.96 43.51 4.74 81.39

ศรีประจนั ต์ 7.53 96.47 8.02 88.23 11.03 50.44 7.94 99.99

สามชกุ 0 14.10 0 20.06 5.40 41.42 5.43 76.03

เดมิ บางฯ 3.89 49.28 1.38 54.01 5.41 59.51 10.86 70.62

ดา่ นช้าง 7.75 80.65 11.39 122.09 9.47 108.86 9.43 40.88

ดอนเจดีย์ 2.09 69.24 4.48 44.86 0 83.10 4.39 81.16

อ่ทู อง 2.4 42.50 5.10 44.20 8.30 34.86 6.65 51.54

บางปลาม้า 0 25.75 1.28 23.17 1.23 25.93 3.72 44.71

หนองหญ้าไซ 6.01 36.18 2.12 8.51 0 33.28 2.09 60.48

รวม 4.60 62.64 4.52 60.68 4.40 53.44 6.19 66.70

หมายเหตุ ตวั ชีว้ ดั ปี 2551 อตั ราการฆา่ ตวั ตายสาเร็จ ไมเ่ กิน 6.3 ตอ่ ประชากรแสนคน

จากข้อมลู ย้อนหลงั 4 ปี จะเห็นวา่ สถานการณ์การฆา่ ตวั ตายสาเร็จของจงั หวดั สพุ รรณบุรี ไม่
เกินตวั ชีว้ ดั ที่กาหนด แต่เมื่อแยกเป็ นรายอาเออ ปี 2551 จะพบวา่ มี อาเออเดิมบางนางบวช อาเออ
ดา่ นช้าง อาเออศรีประจนั ต์ และอาเอออู่ทอง ยงั คงมีปัญหารุนแรงอยู่

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี


162

แผนงาน/โครงการ กิจกรรมหลกั กลมุ่ เป้ าหมาย เวลาดาเนินการ งบประมาณ/
แผนงาน/โครงการ

แหลง่

-โครงการพฒั นาขีด - อบหลกั สตู ร Suicide ให้แกพ่ ยาบาลให้การ - เดอื น -งบสง่ เสริม
ปรึกษา จานวน 40 คน พฤษอาคม 2551 สขุ อาพและ
ความสามารถพยาบาลให้ counseling จากโรงพยาบาล 10 ป้ องกนั โรค
แห่ง สปสช. 32,400
การปรึกษาในการให้ความ บาท

ช่วยเหลือผ้ทู ่ีเสี่ยงตอ่ การ

ฆา่ ตวั ตาย

-โครงการพฒั นา - ประชมุ ชีแ้ จงมาตรฐานงานฯ - โรงพยาบาล 10 แหง่ - เดอื น งบสง่ เสริม

มาตรฐานงานสขุ อาพจิต - คณะกรรมการประเมนิ - สถานีอนามยั อาเออ พฤษอาคม- สขุ อาพและ
กนั ยายน 2551 ป้ องกนั โรค
และจติ เวชในระบบบริการ มาตรฐานงาน ละ 2 แห่ง สปสช. 17,100
- เดอื น บาท
สาธารณสขุ - ประชมุ สรุปและแจ้งผลการ พฤษอาคม- งบสง่ เสริม
กนั ยายน 2551 สขุ อาพและ
ประเมนิ ป้ องกนั โรค
สปสช.
-โครงการแก้ปัญหา -สสอ.แตล่ ะแห่งกาหนดปัญหา -สสอ.ศรีประจนั ต์ 100,000 บาท

สขุ อาพจิตแบบมีสว่ นร่วม สขุ อาพจติ ของพนื ้ ท่ี ลาดบั ที่ 1 -สสอ.ดา่ นช้าง

ของชมุ ชน ในพนื ้ ที่ที่มี เพื่อดาเนินการแก้ไข -สสอ.อทู่ อง

ความเสย่ี งสงู -สสอ.จดั ทาแผนแก้ไขปัญหาฯ -สสอ,สามชกุ

และดาเนนิ การตามแผน

-สรุปและรายงานผลการ

ดาเนินงานตามแผนฯแก่

ผ้บู ริหาร

-โครงการป้ องกนั และ -อบรมเรื่องการใช้แบบคดั กรอง ผ้รู ับผดิ ชอบงาน เดอื นมีนาคม- งบ สป. 15,520
ผ้ทู ี่มีอาวะซมึ เศร้าและเสี่ยงตอ่ สขุ อาพจิตใน กนั ยายน 2551 บาท
แก้ไขปัญหาผ้ทู ี่มีอาวะ การฆา่ ตวั ตาย สอ. 174 คน
ซึมเศร้าและฆา่ ตวั ตาย สสอ. 10 คน

โรงพยาบาล 10 คน

- ดาเนนิ การคดั กรองในกลมุ่

เส่ียง (ผ้สู งู อาย,ุ ผ้ปู ่ วยเบาหวาน

ความดนั คนพกิ าร)

-โรงพยาบาลจดั ระบบรองรับให้

การรักษาผ้ปู ่ วยท่ีผา่ นคดั กรอง

มาจากชมุ ชน

-จดั ระบบสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วยคนื สู่

ชมุ ชน

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


163

จากตารางยทุ ธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ จะเหน็ ได้วา่ จงั หวดั สพุ รรณบุรีมีแผนจดั ทาโครงการ
ป้ องกนั และกนั และแก้ไขปัญหาผ้ทู ่มี ีอาวะซมึ เศร้าและเสยี่ งตอ่ การฆา่ ตวั ตาย เพ่ือดาเนินการคดั กรอง
กลมุ่ เส่ียงจากชุมชน และสง่ ต่อให้โรงพยาบาล ในการวินิจฉยั โรคซึมเศร้ าและให้การรักษารวมทงั้ มี
ระบบสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วยให้ได้รับการดแู ลต่อเนื่องในชุมชน ในสว่ นพยาบาลให้การปรึกษาจดั ให้มีการมีการ
อบรมหลกั สตู ร Suicide counseling เพอื่ เพ่ิมพนู ทกั ษะและความสามารถให้การปรึกษาในผ้ปู ่ วยท่ีมี
อาวะซึมเศร้ าและเสีย่ งตอ่ การฆ่าตวั ตายเพ่ือให้มีความมัน่ ใจในการปฏิบัติงานมากขึน้ สาหรับใน
อาเออที่มีปัญหารุนแรง จดั ให้มีการสนบั สนนุ งบประมาณตามโครงการแก้ปัญหาสขุ อาพจิตแบบมีสว่ น
ร่วมของชุมชน ในพนื ้ ที่ที่มีความเสย่ี งสงู โดยให้พนื ้ ท่ีได้มีการค้นหาสาเหตุ กาหนด ลาดบั ความสาคญั
ของปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาของพืน้ ที่เอง และในอาพรวมของจังหวัดได้จัดให้มีการประเมิน
มาตรฐานงานสขุ อาพจิตในทุกโรงพยาบาลและระดบั สถานีอนามัย นาร่อง อาเออละ 2 แห่ง เพ่ือ
ยกระดบั มาตรฐานและคณุ อาพการให้บริการ

ผลการดาเนินงาน

ตารางท่ี 7 แสดงจานวนคนท่ฆี ่าตัวตายสาเร็จแยกรายอาเภอ จ.สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2551

อาเภอ ประชากรกลางปี ผลการดาเนินงาน อัตราต่อประชากร
แสนคน
เมืองสพุ รรณบรุ ี 163,174 จานวนคน 6.13
เดิมบางนางบวช 73,631 ท่ีฆ่าตวั ตายสาเร็จ
ดา่ นช้าง 63,596 10.86
บางปลาม้า 80,527 10 9.43
ศรีประจนั ต์ 63,005 8 3.72
ดอนเจดยี ์ 45,586 6
สองพีน่ ้อง 126,549 3 7.94
สามชกุ 55,239 5 4.39
อ่ทู อง 120,287 2 4.74
หนองหญ้าไซ 47,947 6 5.43
รวมทงั้ จังหวดั 839,541 3
ระดบั จังหวัดในปี ท่ีผ่านมา 840,128 8 6.65
ระดับประเทศ(ปี 2550) 62,619,103 1 2.09
52 6.19
37 4.40
3,612 5.77

หมายเหตุ อตั ราการฆ่าตวั ตายสาเร็จตอ่ ประชากรแสนคน ระดบั ประเทศ ไม่เกิน 6.3 ตอ่ ประชากรแสนคน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


164

ตารางท่ี 8 แสดงข้อมลู วธิ กี ารทาร้ายตนเองแยกตามอายุ จากรายงาน 506 DS

จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2551

วธิ ีทาร้ายตนเอง กลุ่มอายุ (ปี ) รวม

<15 15-20 21-30 31-40 41-50 51-60 >60 ไม่ระบอุ ายุ 313
137
กนิ ยาเกนิ ขนาด 14 108 89 46 27 17 7 5 67
95
กนิ สารกาจดั แมลง 1 21 35 23 22 14 12 9 17
4
กินยากาจดั วชั พืช 1 11 22 15 5 8 1 4 3
39
กนิ สารเคมี 1 27 36 14 3 6 5 3 3
678
ใช้ของมคี ม 1435211 0

ปื น 0011110 0

กระโดดจากท่ีสงู 0010101 0

ผกู คอ 0296948 1

วธิ ีอื่นๆ 0010002 0

รวม 18 173 197 110 70 51 37 22

หมายเหตุ ในคนเดยี วกนั อาจใช้วธิ ีทาร้ายตนเองมากกวา่ 1 วธิ ี

ตารางท่ี 9 แสดงร้อยละของคนท่ีฆ่าตวั ตายสาเร็จเม่ือเทยี บกับจานวนคนท่ฆี ่าตัวตายทงั้ หมด

แยกตามกลุ่มอายุ

อายุ จานวนคนทฆี่ า่ ตวั ตาย จานวนคนท่ีฆา่ ตวั ตาย คิดเป็ นร้อยละ

ทงั้ หมด (คน) สาเร็จ (คน)

น้อยกวา่ 15 ปี 16 00

15-20 ปี 173 2 1.2

21-30 ปี 191 9 4.7

31-40 ปี 105 10 9.5

41-50 ปี 70 16 22.9

51-60 ปี 49 7 14.3

มากกวา่ 60 ปี ขนึ ้ ไป 33 8 24.2

ไมร่ ะบอุ ายุ 24 00

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


165

จากตารางแสดงจานวนคนท่ีฆา่ ตวั ตายสาเร็จแยกรายอาเออ ปี งบประมาณ 2551 พบวา่ มี 4
อาเออ ที่มีอตั ราการฆา่ ตวั ตายสาเร็จสงู กวา่ เกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ได้แก่ อาเออเดมิ บางนางบวช และเป็ นพืน้ ที่
ซา้ เดิมในปี ท่ีผ่านมา ได้แก่ อาเออด่านช้าง อาเออศรีประจันต์และอาเอออู่ทอง เม่ือเทียบกับข้อมูล
ย้อนหลงั 3 ปี พบวา่ อัตราการฆ่าตวั ตายสาเร็จของจงั หวดั สงู ขนึ ้ ทงั้ นีเ้นื่องจากมีความครอบคลมุ ใน
การเก็บรายงานมากขนึ ้

กลมุ่ อายทุ ีมีการทาร้ายตนเองมากทส่ี ดุ ได้แก่ กลมุ่ อายุ 21-30 ปี รองลงมาได้แก่กลมุ่ อายุ 15-
20 ปี , 31-40 ปี ตามลาดบั แตอ่ ัตราการฆา่ ตวั ตายสาเร็จกลบั พบสงู สดุ ในกลมุ่ อายุ 60 ปี ขนึ ้ ไป
รองลงมาได้แก่กลมุ่ อายุ 41-50 ปี และ 51-60 ปี สาหรับวิธีการทาร้ายตนเองทพ่ี บบอ่ ยท่สี ดุ คอื การกิน
ยาเกินขนาด สว่ นใหญ่ ได้แก่ยา พาราเซตามอล ยาแก้แพ้ ฯลฯ เนื่องจากเป็ นยาสามัญประจาบ้าน
หยิบฉวยได้งา่ ย รองลงมาได้แกว่ ธิ ีกินสารกาจดั แมลง กินสารเคมี ตามลาดบั

ตารางท่ี 10 แสดงจานวนการเข้าถงึ บริการของผู้ป่ วยซึมเศร้า (วนิ จิ ฉยั และให้การรักษา)

ผลการดาเนินงาน

อาเภอ ประชากรกลางปี เป้ าหมายการวนิ ิจฉัยโรค จานวนคนท่ไี ด้รับการ

ซึมเศร้ า(คน) วนิ ิจฉัยโรคซึมเศร้า

เมอื งสพุ รรณบรุ ี 163,174 224 290

เดมิ บางนางบวช 73,631 101 9

ดา่ นช้าง 63,596 88 6

บางปลาม้า 80,527 111 16

ศรีประจนั ต์ 63,005 87 13

ดอนเจดยี ์ 45,586 63 11

สองพ่นี ้อง 126,549 174 57

สามชกุ 55,239 76 36

อ่ทู อง 120,287 165 9

หนองหญ้าไซ 47,947 66 5

รวมทัง้ จังหวัด 839,541 1,155 452

คดิ เป็ นอตั ราการเข้าถงึ บริการ ร้อยละ 0.39
เกณฑ์ชีว้ ดั : อตั ราการเข้าถึงบริการของผ้ปู ่ วยซมึ เศร้าเพ่มิ ขนึ ้ ร้อยละ 1 (เม่ือเทยี บกบั ข้อมลู

ย้อนหลงั 3 ปี )
ตารางแสดงจานวนการเข้าถึงบริการของผ้ปู ่ วยซึมเศร้า ซึ่งหมายถึง ผ้ปู ่ วยที่ได้รับการวินิจฉัย
วา่ เป็ นโรคซมึ เศร้าและได้รับการรักษาด้วยยาต้านเศร้า พบวา่ อตั ราการเข้าถงึ บริการของผ้ปู ่ วยซมึ เศร้า
ตา่ กวา่ เกณฑ์ ตวั ชีว้ ดั ซงึ่ สาเหตอุ าจเนือ่ งจาก ยงั มีผ้ปู ่ วยซมึ เศร้าในชุมชนที่ยงั ไม่ถกู คดั กรองเข้าระบบ
การรักษา แพทย์ของโรงพยาบาลชุมชนบางแหง่ ไมม่ ีประสบการณ์ในการวินิจฉยั โรคซึมเศร้า แพทย์ไม่

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


166

มีเวลาเนื่องจากการวินิจฉัยผู้ป่ วยต้องใช้เวลามาก ผ้ปู ่ วยบางส่วนได้รับการวินิจฉัยและรักษาจาก
โรงพยาบาลเฉพาะทางจิตเวช แตไ่ ม่สามารถรายงานข้อมูลผ้ปู ่ วยได้ เน่ืองจากติดปัญหาละเมิดสทิ ธิ
ผ้ปู ่ วย
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ

1. ปัญหาการฆ่าตวั ตายพบมากในกลมุ่ ที่มีอายุน้อย ซึ่งสาเหตสุ ว่ นใหญ่มกั เกิดจากความ
น้อยใจ ปัญหาเร่ืองคนรัก วิธีการทาร้ายตนเองมกั ไม่รุนแรง แตม่ ีโอกาสทาซา้ ด้วยวิธีรุนแรงขนึ ้ อีก การ
แก้ไขปัญหาคอื ต้องสร้างอมู ิค้มุ กนั และเสริมสร้างความเข้มแขง็ ด้านจิตใจให้แกเ่ ดก็ และเยาวชนซง่ึ ต้อง
เร่ิมตงั้ แตอ่ ายยุ งั น้อย อายใต้กลวิธี ปรับทกุ ข์ สร้างสขุ แก้ปัญหา พฒั นาอีคิว

2. ปัญหาการเข้าถึงบริการของผ้ปู ่ วยซึมเศร้า ควรจดั ประสบการณ์ด้านการดูแลรักษาผ้ปู ่ วย
จิตเวชให้แพทย์ใช้ทนุ ในโรงพยาบาลชุมชน และให้ความสาคญั ในการคดั กรองกลมุ่ เสย่ี งตอ่ โรคซมึ เศร้า
โดยเฉพาะ ผ้ปู ่ วยเรือ้ รัง ผ้สู งู อายุ ผ้พู ิการ ผ้สู ญู เสยี กระทนั ฯลฯ เพ่ือเข้าสรู่ ะบบการักษามากขนึ ้

3. แนวโน้มของปัญหาสขุ อาพจิตจะมากขนึ ้ เนือ่ งจากปัญหาเศรษฐกิจถดถอย คนตกงานมาก
ขนึ ้ ปัญหาครอบครัว ปัญหาด้านสงั คมทต่ี อ่ เนื่องยงั ไม่ได้รับการแก้ไข ฯลฯ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องต้องให้
ความสาคญั และเตรียมรับมือกบั ปัญหาในอนาคต

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี


167

 การดาเนินงานลดปัญหาสุขภาพด้านอบายมุข

สถานการณ์
ผลติ ภณั ฑ์ยาสบู ประเภทบุหร่ีเป็ นสาเหตุท่ีทาให้เกิดโรคตา่ งๆ มากกวา่ 25 โรค ทงั้ ในผ้สู บู

บหุ รี่และผ้ใู กล้ชิดทไี่ มส่ บู บุหร่ี ทาให้เสยี ชีวิตก่อนวยั อนั ควร องค์การอนามยั โลกประมาณการวา่
ปัจจบุ นั จะมีผ้สู บู บหุ ร่ีทงั้ สนิ ้ 1,100 ล้านคน ในจานวนนรี ้ อยละ 80 อยใู่ นประเทศที่มีรายได้น้อยและ
รายได้ปานกลาง และประชากรโลกเสยี ชีวติ ถงึ ปีละ 4.9 ล้านคน หรือวนั ละ 13,600 คน คาดวา่ อีก 30
ปี ข้างหน้า จะเพ่ิมจานวนเป็ น 10 ล้านคนตอ่ ปี จากข้อมลู สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ในปี 2549 อัตรา
การสบู บหุ รี่รวมทกุ ประเภทร้อยละ 18.94 ชว่ งอายทุ มี่ ีการสบู บหุ ร่ีสงู สดุ คือประชากรอายุ 41-59 ปี
รองลงมาคือ 25-40 ปี กลมุ่ อายุ 15-18 ปี มีการสบู บุหร่ีเพ่มิ ขนึ ้ ถือเป็ นกลมุ่ เสย่ี งและเป็ นนกั สบู หน้า
ใหม่ท่ตี ้องเฝ้ าระวงั มากทีส่ ดุ

เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ การบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลใ์ นสงั คมไทยมีแนวโน้มสงู ขนึ ้ จาก
รายงานขององค์การอนามยั โลกเม่ือปี พ.ศ.2543 พบวา่ ประเทศไทยนบั เป็ นประเทศอนั ดบั ท่ี 5 ของ
โลกทีม่ ีการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มากนอกจากนยี ้ งั พบวา่ กลมุ่ วยั รุ่นชายมีการบริโภคมากขนึ ้
เช่นกนั ในขณะเดยี วกนั ผ้ปู ่ วยที่เป็ นโรคที่เก่ียวกบั การบริโภคเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลก์ ็มีจานวนสงู ขนึ ้
ด้วยเช่นกนั นอกจากนผี ้ ลกระทบที่มองเห็นอยา่ งเดน่ ชดั คือการเกิดอบุ ตั ิเหตบุ นท้องถนนซงึ่ นาความ
สญู เสยี ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม สขุ ภาพ มาสตู่ นเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาตอิ ยา่ ง
มหาศาลปัญหาดงั กลา่ วพบได้ทวั่ โลกและทกุ ประเทศพยายามทาการแก้ไขเพ่อื ลดปัญหาอยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง ในมตคิ ณะรัฐมนตรีเม่ือวนั ท่ี 14 ธันวาคม 2547 ได้กาหนดห้ามจาหนา่ ยบหุ รี่แก่เดก็ อายตุ า่ กวา่
18 ปี และห้ามจาหนา่ ยสรุ าแกเ่ ดก็ อายตุ า่ กวา่ 20ปี และกาหนดเวลาจาหนา่ ยสรุ าชนิดขายปลกี ตงั้ แต่
11.00 น.-14.00 น. และ 17.00 น.-24.00 น.

แผนดาเนินการ
ปัญหาการแพร่ระบาดของการบริโภคยาสบู ในปัจจุบนั มีแนวโน้มสงู ขนึ ้ เร่ือยๆ ตามลาดบั จะ

เห็นได้วา่ ปัจจบุ นั ผ้ทู ีต่ ิดบุร่ีอายนุ ้อยลงกวา่ เดิม ควรควบคมุ การโฆษณาในทกุ รูปแบบอยา่ งเคร่งครัด
เพอ่ื ไมใ่ ห้เยาวชน เข้าถึงบุหร่ีได้งา่ ย ดงั นนั้ การให้คาปรึกษาและรักษาผ้ตู ิดบหุ รี่จงึ มีความสาคญั ตอ่
การสาธารณสขุ ทาให้สามารถลดภาระโรค ช่วยทาให้สขุ ภาพของผ้ไู มส่ บู บหุ ร่ีดขี นึ ้ และเพ่ิมคณุ ภาพ
ชีวิตของประชาชน ซง่ึ ก็คอื มีผลดีตอ่ สขุ ภาพทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว ในการนสี ้ านกั งาน
สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี จึงได้จดั ทาโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา จานวน 2 โครงการ เพอ่ื ให้
ประชาชนทว่ั ไปได้มีสขุ ภาพทีด่ ีและปลอดภยั จากโรคที่เกิดจากบหุ รี่ ดงั นี ้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


168

แผนงาน/โครงการ กจิ กรรมหลัก กลุ่มเป้ าหมาย เวลาดาเนินการ งบประมาณและ
แหล่งงบประมาณ

1.โครงการประชาชน ให้ ความร้ ูและโทษของ เยาวชนอายุ 15 ปี มกราคม-กนั ยายน จานวน 237,000 บาท
ปลอดบหุ ร่ี พษิ ภยั ของบหุ รี่และให้ ขนึ ้ ไป ท่ีสบู บหุ ร่ี
คาแนะนาผ้ทู ่ีต้องการ ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 2551 จากสานกั งาน
เลกิ สบู บหุ ร่ี
หลกั ประกนั สขุ ภาพ

แหง่ ชาติ

2. โครงการบงั คบั ใช้ อบรมให้ความรู้เร่ือง เจ้าพนกั งานเจ้าหน้าที่ มกราคม-กนั ยายน จานวน 19,400บาท
และเฝ้ าระวงั การ บหุ รี่และ พรบ.ค้มุ ครอง ตาม พรบ. 2551 จากสานกั งาน
ละเมดิ กฏหมาย สขุ ภาพผ้ไู มส่ บู บหุ รี่ ปลดั กระทรวง
ควบคมุ การบริโภค
ยาสบู และเคร่ืองด่มื
แอลกอฮอล์

ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงานด้านการลดปัจจยั เสย่ี งการเกิดโรค จากการสบู บหุ รี่และด่ืมสรุ า สานกั งาน

สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนินการตามแผนงานโครงการเพื่อให้บรรลเุ ป้ าหมาย/ตวั ชีว้ ดั
โดยมีรายละเอียดดงั นี ้

1.เป้ าหมายการบงั คบั ใช้กฎหมาย
1.1 สถานที่สาธารณะ ทงั้ 5 ประเภท จดั เป็ นเขตปลอดบุหรี่ได้ถกู ต้อง (ร้อยละ 100) จากผล
การสมุ่ ตรวจสถานท่เี ป้ าหมายปี 2551 จานวน พบสถานทเ่ี ป้ าหมาย มีการจดั เขตปลอดบหุ รี่ได้อยา่ ง
ถกู ต้อง ร้อยละ 100 รายละเอียดดงั แสดงในตารางที่ 11

ตารางท่ี 11 จานวนร้อยละของผลการดาเนินงานจดั เขตปลอดบหุ ร่ีจาแนกตามสถานท่เี ป้ าหมาย

สถานท่เี ป้ าหมาย จานวน (แห่ง) จัดเขตปลอดบุหร่ี ร้ อยละ
สถานบริการสาธารณสขุ 199 199 100.00
สถานศกึ ษา 139 139 100.00
ศนู ย์การค้า 3 3 100.00
สถานที่ราชการ 60 60 100.00
ภตั ตาคารและร้านอาหาร (ที่ตดิ ตงั้ เครื่องปรับอากาศ) 46 46 100.00
437 437 100.00
รวม

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


169

1.2 ร้านค้าไมจ่ าหนา่ ยบหุ ร่ีและสรุ าให้แกเ่ ด็กอายตุ ่ากวา่ 18 ปี จากการสมุ่ ตรวจร้านค้า พบ
ร้านค้าท่ีปฏบิ ตั ถิ กู ต้องตามเกณฑ์ คดิ เป็ นร้อยละ 100

1.3 ร้านค้าท่ีได้รับใบอนญุ าตให้จาหนา่ ยบหุ ร่ี ไมม่ ีการโฆษณาท่ีจดุ ขาย จากผลการสมุ่
ร้านค้า พบวา่ ร้านท่ปี ฏบิ ตั ิถกู ต้องตามเกณฑ์ คดิ เป็ นร้อยละ 100

2. เป้ าหมายลดความเสย่ี งการเกิดโรคจากการสบู บุหรี่และสรุ า
2.1 มจี านวนคลนิ ิกให้คาปรึกษาเพื่อเลกิ บหุ ร่ีและสรุ า (ร้อยละ 100 ของ รพศ./รพท.) ผลการ

ดาเนนิ งานในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี รพศ.และรพท. มีการจดั ตงั้ คลนิ กิ ให้คาปรึกษาเพือ่ เลกิ บหุ ร่ีและสรุ า
ทงั้ 2 แหง่ คดิ เป็ นร้อยละ 100 และในปี 2551 ได้ดาเนินการจดั ตงั้ คลนิ ิกให้คาปรึกษาเพิ่มใน รพ.
ชุมชนอีก จานวน 6 แหง่

2.2 สนบั สนนุ การลดอตั ราการสบู บุหรี่ในประชาชน โดยการจดั กิจกรรมดงั นี ้
2.2.1 จดั กิจกรรมรณรงค์ในวนั งดสบู บุหร่ีโลก เม่ือ 31 พ.ค.2551 ใน สถานบริการ

สาธารณสขุ ทกุ แหง่
2.2.2 ประสานงานกบั สถานศกึ ษาโดยเฉพาะโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในการจดั

กิจกรรมรณรงค์เพอื่ ไมใ่ ห้มีผ้สู บู บหุ ร่ี ในกลมุ่ เยาวชน
2.2.3 รณรงค์ประชาสมั พนั ธ์ ให้ร้านค้าทจี่ าหนา่ ยบุหรี่ทกุ แหง่ ห้ามจาหนา่ ย บหุ ร่ี

แกเ่ ดก็ อายตุ า่ กวา่ 18 ปี และห้ามโฆษณาที่จุดขาย และห้ามจาหนา่ ยสรุ า แก่เดก็ อายตุ า่ กวา่ 20 ปี
และห้ามโฆษณาทีจ่ ุดขาย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


170

 การดาเนินงานบาบดั รักษาและฟื้นฟสู มรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพตดิ

สภาพปัญหาสถานการณ์ยาเสพตดิ

สถานการณ์ยาเสพติดจากประเทศเพอ่ื นบ้านท่เี ข้ามาสใู่ นประเทศไทย และสง่ ผลกระทบตอ่

ปัญหายาเสพตดิ ในประเทศไทย มี 3 ประเทศหลกั คือ พม่า ทีย่ งั เป็ นแหลง่ ผลติ หลกั และมีการลกั ลอบนา

ยาเสพติดเข้าสปู่ ระเทศไทย ไมว่ า่ จะเป็ น ยาบ้า เฮโรอีน ไอซ์ กลมุ่ ผ้ผู ลติ เป็ นชนกลมุ่ น้อยตามชายแดน ซงึ่

มีศกั ยภาพในการผลิตยาเสพติด สามารถดาเนินการได้ตามการสงั่ ซอื ้ หรือความการของลกู ค้าและถือเป็ น

ประเทศหลกั ทีม่ ีการสง่ ยาเสพติดเข้ามาในประเทศ

ประเทศที่สอง คอื สปป.ลาว ซง่ึ เป็ นแหลง่ ปลกู กญั ชา

ที่สาคญั อยทู่ เี่ มืองคาเกิด แขวงบอริคาไซ และมีการนา

กญั ชาเข้ามาประเทศไทย บางสว่ นสง่ ตอ่ ไปยงั ประเทศ

ท่สี าม นอกจากนยี ้ งั เป็ นแหลง่ พกั ยาบ้าที่สาคญั คอื

หลวงพระบาง นครหลวงเวียงจนั ทน์และเมืองสองคอน

แขวงสะหวนั เขต โดยสว่ นใหญ่จะเป็ นยาบ้าท่ีผลติ จาก

พม่าและลาเลยี งเข้ามาสู่ สปป.ลาว ก่อนลกั ลอบ

ลาเลยี งเข้าประเทศไทยทางภาคะวนั ออกเฉียงเหนือ

ประเทศที่สาม คือกัมพูชา ท่ีเป็ นแหลง่ เก็บกญั ชา และ

ยาบ้า จากสปป.ลาว ซงึ่ ปัจจุบนั มีแนวโน้มเพ่ิมขนึ ้ (รูปท่ี 5) รูปท่ี 5 แหล่งผลติ ยาเสพตดิ

พนื ้ ทนี่ าเข้าสาคญั ยงั คง ไอซ์ ไอซ์ %
อยทู่ างชายแดนภาคเหนอื แม้วา่ จะมี
สดั สว่ นการนาเข้าลดลง ท่ีผา่ นมา ท่าอากาศยาน ท่าอากาศยาน 84.1 88.2
สามารถจบั กมุ การนาเข้ายาเสพติดได้ ภูเก็ต สุวรรณภูมิ 63.6
ใน 19 จงั หวดั 45 อาเภอ ) ตลอดจน 29.7
พบการนาเข้าท่ที า่ อากาศยานสวุ รรณ โคเคน โคเคน
ภมู ิ และภเู ก็ต โดยเป็ นพนื ้ ที่นาเข้า 7.4 8.4 8.9 6.7
หลกั 9 จงั หวดั 19 อาเภอ ซงึ่ พนื ้ ที่ พนื้ ที่นำเข้ำหลัก 9 จ. 19 อ. 2.8
นาเข้าหลกั ยงั คงเป็ นพืน้ ที่ตามแผน พนื้ ท่ีนำเข้ำรอง 10 จ. 26 อ. ธค.49-พค.50
เทดิ ไท้ฯ สาหรับพนื ้ ทีน่ อกแผนท่ีมี ธค.48-พค.49 มยิ .-พย.49
แนวโน้มนาเข้าเพม่ิ ขนึ ้ ได้แก่ กลาง
อ.เมอื ง จ.มกุ ดาหาร อ.สงั ขละบุรี เหนอื อสี าน
จ.กาญจนบุรี (รูปท่ี 6)
รูปท่ี 6 พนื้ ท่นี าเข้ายาเสพตดิ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


171

สถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพตดิ ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ยาบ้า ยงั คงเป็ นยาเสพติดที่มีการแพร่
ระบาดในพนื ้ ท่ีทเ่ี ป็ นชุมชน โดยเฉพาะกลมุ่ ผ้ใู ช้แรงงานและผ้วู ่างงาน เยาวชน นสิ ติ นกั ศกึ ษา พนื ้ ท่ีทมี่ ี
การแพร่ระบาดมากจากสถิติการจบั กมุ ได้แก่ อ.เมือง อ.สามชกุ อ.อู่ทอง อ.สองพน่ี ้อง โดยมีการจบั กมุ คดี
สาคญั ท่สี ามารถยดึ ยาบ้าได้มากกวา่ 1,000 เม็ด สว่ นกญั ชายงั คงมีการลกั ลอบปลกู เลก็ น้อยเพื่อจาหนา่ ย
ในพนื ้ ที่ โดยปลกู แซมในพนื ้ ที่เพาะปลกู พืชทางเกษตร เช่น ไร่อ้อย ชนดิ ของยาเสพติดที่แพร่ระบาด
มากทสี่ ดุ ในพนื ้ ที่ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 3 อนั ดบั แรก คือ ยาบ้า กญั ชา และสารระเหย การนาเข้ายาเสพ
ติดโดยเฉพาะยาบ้ามีแหลง่ ท่มี าจากพนื ้ ท่ภี าคเหนอื มีการสงั่ ตรงมาจาหนา่ ยในพนื ้ ท่ี และผา่ นเส้นทาง
จงั หวดั ใกล้เคยี งกนั เช่น นครปฐม กาญจนบรุ ี อา่ งทอง สงิ ห์บรุ ี เป็ นต้น ชว่ งปี งบประมาณ 2551 มีการขนึ ้
ไปลาเลยี งยาบ้ามาจาหนา่ ยในพนื ้ ท่ี สามารถจบั กมุ ผ้ตู ้องหาที่มีภมู ิลาเนาในพนื ้ ท่จี งั หวดั สพุ รรณบรุ ีและยดึ
ทรัพย์สนิ ได้เป็ นจานวนมาก และอีกแหลง่ หนงึ่ ทีม่ ียาบ้าเข้ามาจาหนา่ ยคือมาจากชายแดนด้านอาเภอสงั ข
ละ จงั หวดั กาญจนบรุ ี เส้นทางการลาเลยี ง พบวา่ มีการซอื ้ ขายยาเสพตดิ กนั เป็ นทอดๆ ตอ่ จากกนั สว่ น
ใหญ่เป็ นบริเวณแนวเขตพนื ้ ทท่ี ี่ตดิ ตอ่ กนั เชน่ อ. อทู่ อง อ.สองพน่ี ้อง บางครัง้ ก็มีมาจากพนื ้ ท่ี อ.เลาขวญั อ.
พนมทวน จ.กาญจนบุรี และหากเป็ นการจบั กมุ ในเขตพืน้ ท่ี อ.สามชกุ อ.ศรีประจนั ต์ การซอื ้ ขายยาเสพตดิ
จะมีการสงั่ ซอื ้ จากผ้คู ้ายาเสพตดิ ในพนื ้ ที่ อ.สามโก้ อ.โพธ์ิทอง อ.วิเศษชยั ชาญ จ.อา่ งทอง ซง่ึ ยงั เป็ นกลมุ่
การค้าเดิมทยี่ งั มีความเคลอ่ื นไหว มีความสมั พนั ธ์เดมิ กบั ชนกลมุ่ น้อยพนื ้ ที่ภาคเหนอื ยงั สามารถสงั่ ตรง
จากพนื ้ ที่ภาคเหนือได้ และกลมุ่ การค้าใหม่ท่ีพฒั นาตวั เองขนึ ้ จากการเป็ นผ้เู สพ มาจาหนา่ ยยาบ้าเพื่อ
หวงั ผลกาไรจากสว่ นตา่ งราคา และเพอื่ นาไปเสพเอง

ดงั นนั้ ปริมาณผ้เู สพยาใหมจ่ ะเพ่ิมมากขนึ ้ เนือ่ งจากผ้เู สพทพี่ ฒั นาตวั ขนึ ้ มาเป็ นผ้คู ้าจะพยายามหา
ลกู ค้าให้ได้มากทสี่ ดุ เพอื่ ผลกาไรและยาสว่ นตา่ งทจี่ ะนาไปเสพได้ และในสว่ นของการบาบดั รักษาจะมี
ผ้สู มคั รใจเข้ารับการบาบดั น้อยลง เพราะสว่ นใหญ่ผ้เู สพอยา่ งเดยี วจะน้อยลงไป มีแตผ่ ้เู สพและค้าราย
ยอ่ ยด้วยมากขนึ ้ ซง่ึ คนกลมุ่ นจี ้ ะไมเ่ ข้ารับการบาบดั โดยสมคั รใจ สว่ นใหญ่จะเข้าบาบดั เพราะถกู จบั กมุ เข้า
พ.ร.บ. ฟืน้ ฟฯู ในสว่ นของบงั คบั บาบดั ตอ่ ไป ซง่ึ กลมุ่ นีม้ ีเพ่ิมมากขนึ ้ จนสานกั งานคมุ ประพฤติหาท่ี
บาบดั รักษาได้ไม่เพยี งพอ บางสว่ นก็จะสง่ เข้าบาบดั ที่ ร.พ. ซงึ่ จะทาให้เกิดภาระงานในการบาบดั รักษา
มากขนึ ้ และกอ่ ให้เกิดปัญหา เชน่ เวลาเข้ากลมุ่ จะทาให้ผ้ทู ี่ตงั้ ใจบาบดั รักษาขาดสมาธิในการบาบดั รักษา
และบางคนมีพฤติกรรมท่ชี กั ชวนเพ่อื นเสพอีกเพ่อื จะได้จาหนา่ ยยาได้ตอ่ ไป เป็ นต้น

ในระดบั หม่บู ้านทม่ี ีปัญหายาเสพติดทปี่ รากฏขา่ วสารยาเสพตดิ 3 ปี ติดตอ่ กัน (ปี 2549-2551) มี
จานวน 280 หมบู่ ้าน โดยพืน้ ที่ตาบลท่ีมีสดั สว่ นของปัญหามากท่ีสดุ คืออาเภอศรีประจันต์และอาเภอหนอง
หญ้าไซ ท่ีปรากฏขา่ วสารทุกตาบล 100% รองลงมาคืออาเภอเมือง ด่านช้าง บางปลาม้า สามชุก ปรากฏ
ขา่ วสารร้อยละ 85 ของตาบล สว่ นหม่บู ้านท่ีปรากฏขา่ วสารมากท่ีสดุ คือ อาเภอสามชุก ร้อยละ 57.35 ของ
หม่บู ้าน รองลงมาคือ อาเภอเมือง และศรีประจนั ต์ ร้อยละ 47.97 และ 42.19 ตามลาดบั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


172

ตารางท่ี 12 จานวนหม่บู ้านในจงั หวดั สพุ รรณบุรีที่ปรากฏขา่ วสารยาเสพตดิ 3 ปี ตดิ ตอ่ กนั (ปี 2549-2551)

ลาดบั อาเภอ ตาบล ตาบลที่ ปรากฏ ร้อยละ หมบู่ ้าน หมบู่ ้านที่ปรากฏ ร้อยละ

ทงั้ หมด ขา่ วสาร ทงั้ หมด ขา่ วสาร

1. เมืองสพุ รรณบรุ ี 20 17 85.00 123 59 47.97

2. เดิมบางนาง 14 8 121 20

บวช 57.14 16.53

3. ดา่ นช้าง 7 6 85.71 93 19 20.43

4. บางปลาม้า 14 12 85.71 127 24 18.90

5. ศรีประจนั ต์ 9 9 100.00 64 27 42.19

6. ดอนเจดยี ์ 5 4 80.00 49 11 22.45

7. สองพีน่ ้อง 15 11 73.33 140 33 23.57

8. สามชุก 7 6 85.71 68 39 57.35

9. อ่ทู อง 13 11 84.62 151 35 23.18

10. หนองหญ้าไซ 6 6 100.00 64 13 20.31

รวม 110 90 81.82 1,000 280 28.00

ด้านการบาบัดรักษา สาหรับสดั ส่วนผู้เข้ารับ

การบาบดั รักษาในสถานบริการสาธารณสุขแยกตาม

ระบบการบาบดั รักษา ปี 2549 -2551 พบวา่ ระบบ

บงั คบั บาบัดมีสดั สว่ นเพิ่มมากขึน้ จาก ร้อยละ 78.3

เป็ น 90.4 และ 91.7 ตามลาดบั (รูปท่ี 7) สว่ นระบบ 78.3 90.4 91.7 บงั คบั
สมคั รใจมีสดั สว่ นลดลง จากร้อยละ 21.7 เหลือร้อยละ สมคั รใจ

9.6 และ 8.3 ตามลาดบั ทงั้ นีเ้ น่ืองจากมาตรการใน 21.7 9.6 8.3
การบาบดั รักษาในระบบสมคั รใจ ผ้บู าบดั จะเข้ารับการ
ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551

บาบดั รักษาหรือไม่ก็ได้ หากผ้บู าบดั ขาดการบาบดั รักษาไป รูปท่ี 7 สดั สว่ นผเู้ ขา้ รบั การบาบดั รกั ษาในสถานบรกิ าร
เจ้าหน้าท่ีตดิ ตามแล้วก็ไมย่ อมมาบาบดั อีก หรือบางคน สาธารณสขุ แยกตามระบบการบาบดั รกั ษา ปี 2549 -2551

ก็ออกนอกพนื ้ ที่ติดตามไม่ได้ ทาให้ประสทิ ธิภาพการบาบดั รักษาไม่ได้ผลตามเกณฑ์ที่กาหนด เพราะไม่มี

มาตรการลงโทษใดๆและไม่มีสิ่งท่ีจูงใจท่ีดีพอ ท่ีจะให้ผู้ป่ วยเข้ารับการบาบดั ครบตามกาหนดได้ทาให้ผู้

บาบดั ขาดความสนใจในการเข้ารับการบาบดั รักษาในระบบสมคั รใจ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี


173

ตารางที่ 13 ผลการบาบดั รักษายาเสพติดของสถานบริการสาธารณสขุ ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ปี 2549-2551

ระบบบาบดั รักษา ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551

สมคั รใจ (ราย) 119 73 103

บงั คบั บาบดั (ราย) 329 689 1,140

แผนงาน/โครงการ
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี มีหน้าทรี่ ับผิดชอบยทุ ธศาสตร์หลกั ด้านการแก้ไข ผ้เู สพ/

ผ้ตู ิดยาเสพตดิ (Demand) ได้ดาเนินการใน 2 มาตรการหลกั คือ
1. นาผ้มู ีพฤติการณ์เสพยาเสพตดิ เข้าสรู่ ะบบการบาบดั รักษาระบบสมคั รใจให้มากท่สี ดุ
2. ตดิ ตามช่วยเหลอื ฟืน้ ฟู ผ้ทู ผี่ า่ นกระบวนการบาบดั รักษา ให้กลบั สสู่ งั คมได้อยา่ งปกติ
โดยดาเนินงานพฒั นาการบาบดั รักษาแบบบรู ณาการ และพฒั นาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ

ทงั้ ระบบสมคั รใจ บงั คบั บาบดั และต้องโทษ เพ่อื ให้มีข้อมลู เชื่อมตอ่ สามารถวเิ คราะห์หาปัญหาและแก้ไข
ปัญหาร่วมกนั ได้ มงุ่ ผลที่จะเอาชนะปัญหายาเสพติดให้ได้อยา่ งยง่ั ยืน โดยดารงความเข้มแขง็ ของการตอ่ สู้
เอาชนะปัญหาและการป้ องกนั และเฝ้ าระวงั ปัญหายาเสพตดิ อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยมีกิจกรรมหลกั ดงั นี ้

1.การค้นหาผ้เู สพ/ผ้ตู ิดยาเสพติด จดั ทาทะเบยี นและจาแนกประเภท
2.การบาบดั ฟืน้ ฟผู ้เู สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ
3.การบาบดั ฟืน้ ฟแู ละควบคมุ ผ้ตู ิดยาเสพติดหนกั หรือเรือ้ รัง (Hard core)
4.การให้ความชว่ ยเหลอื ผ้เู สพ/ผ้ตู ดิ ให้มีอาชีพ/รายได้
5.การรณรงค์ปรับเปลยี่ นเจตคติให้สงั คมยอมรับและให้โอกาสแกผ่ ้เู สพ/ผ้ตู ิดยาเสพติด
ในปี 2551 ได้จดั ทาแผนงาน/โครงการ เพอ่ื แก้ไขปัญหา จานวน 3 โครงการ ได้แก่
1. โครงการบาบดั รักษาผ้เู สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ระบบสมคั รใจ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

ปี งบประมาณ 2551
2. โครงการพฒั นาระบบข้อมลู ยาเสพตดิ (บสต.1-5) จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551
3. โครงการพฒั นาเครือขา่ ยการป้ องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


174

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ สสจ.สุพรรณบุรี ปี งบประมาณ 2551

แผนงาน/โครงการ กจิ กรรมหลกั กลมุ่ เป้ าหมาย ระยะเวลา งบประมาณและ

ดาเนนิ การ แหลง่ งบประมาณ

1. โครงการบาบดั รักษาผ้เู สพ/ ผ้เู สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ได้รับ ผ้เู สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ 1 ต.ค. 50– สป. จานวน

ผ้ตู ดิ ยาเสพติดระบบสมคั รใจ การบาบดั ในระบบสมคั รใจ จานวน 40 ราย 30 ก.ย. 51 133,600 บาท

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

2. โครงการพฒั นาระบบข้อมลู ข้อมลู ยาเสพตดิ (บสต.1-5) ผ้รู ับผดิ ชอบงานยาเสพติด 1 ต.ค. 50– สป. จานวน

ยาเสพตดิ (บสต.1-5) ของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีมี ของรพศ./รพท./รพช./ 30 ก.ย. 51 43,000 บาท

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ความถกู ต้องมากขนึ ้ สสอ./สอ./สสจ.

3. โครงการพฒั นาเครือขา่ ย พฒั นาเครือขา่ ยในการ เครือขา่ ยการป้ องกนั และ 1 ต.ค. 50– สป. จานวน

การป้ องกนั และแก้ไขปัญหา ดาเนินการป้ องกนั และ แก้ไขปัญหายาเสพตดิ ทกุ 30 ก.ย. 51 200,000 บาท

ยาเสพตดิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี แก้ไขปัญหายาเสพตดิ อาเภอๆละ1 เครือขา่ ย

รวม10 เครือขา่ ย

ผลการดาเนินงาน

ผลดาเนินงานบาบดั รักษาและฟืน้ ฟูสมรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ ปี งบประมาณ 2551 มีผ้เู ข้ารับ

การบาบดั รักษาในสถานบริการสาธารณสขุ และคา่ ยบาบดั รักษาทงั้ สนิ ้ จานวน 1,243 คน แบง่ ตาม

ประเภทการบาบดั รักษาฯ ดงั นี ้

1. เข้ารับการบาบดั รักษาระบบสมคั รใจในโรงพยาบาลทงั้ สนิ ้ จานวน 103 ราย เป้ าหมาย 40 ราย

คดิ เป็ น ร้อยละ 257

2. เข้ารับการบาบดั รักษาระบบบงั คบั บาบดั แบบไม่ควบคมุ ตวั ในโรงพยาบาล จานวน 1,080 ราย

3. จดั ทาคา่ ยบาบดั รักษาระบบบงั คบั บาบดั แบบควบคมุ ตวั 1 คา่ ย จานวน 60 ราย

สรุปรายละเอียดของผ้ทู ่ีเข้ารับการบาบดั รักษาได้ดงั นี ้

- มีผ้เู ข้ารับการบาบดั ท่ีไมเ่ คยเข้ารับการบาบดั มาก่อน จานวน 1091 ราย คดิ เป็ นร้อยละ 92.22

- มีผ้เู ข้ารับการบาบดั ทเี่ คยเข้ารับการบาบดั มากอ่ น จานวน 92 ราย คิดเป็ นร้อยละ 7.78

- ผ้ทู ่ียงั อยใู่ นระหวา่ งการบาบดั รักษา (ข้อมลู ณ 1 ต.ค. 51) จานวน 573 ราย (รวมผ้ปู ่ วยปี 50)

- ผ้ทู ไ่ี ด้รับการจาหนา่ ย จานวน 952 ราย (รวมผ้ปู ่ วยปี 50)

- ผ้ทู ี่จาหนา่ ยเพราะบาบดั ครบตามเกณฑ์ จานวน 658 ราย คิดเป็ นร้อยละ 69.12

- ผ้ทู จี่ าหนา่ ยเพราะบาบดั ไมค่ รบตามเกณฑ์ จานวน 294 ราย คดิ เป็ นร้อยละ 30.88

ประเภทยาเสพติดสว่ นใหญ่เป็ นยาบ้า ร้อยละ 99.58 ผ้เู ข้ารับการบาบดั สว่ นใหญ่เป็ นเพศชาย

ร้อยละ 93.53 อยใู่ นช่วงอายุ 18-24 ปี มากทสี่ ดุ ร้อยละ 43.28 อาชีพเป็ นผ้ใู ช้แรงงาน ร้อยละ

66.86 และจบการศกึ ษาชนั้ ประถมศกึ ษา ร้อยละ 50.46

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


175

ผลการดาเนินงานตามตัวชีว้ ดั การตรวจราชการ (E-inspection)
ตวั ชีว้ ดั ของกระทรวงสาธารณสขุ ตามการตรวจราชการ : E-inspection มี 1 ตวั ชีว้ ดั ซงึ่ จะวดั ใน

เชิงคณุ ภาพของการให้บริการบาบดั รักษาของสถานบริการ คือ ร้อยละ 75 ของผ้ปู ่ วยยาเสพติดในระบบ
สมคั รใจได้รับการจาหนา่ ยแบบครบเกณฑ์กาหนด ซง่ึ ผลการดาเนนิ งาน พบวา่ ในภาพรวมทงั้ จงั หวดั
สถานบาบดั ทีม่ ีผ้เู ข้ารับการบาบดั และมาบาบดั จนครบเกณฑ์กาหนด ร้อยละ 76.19 สถานบาบดั ที่มีผู้
ได้รับการจาหนา่ ยแบบครบเกณฑ์กาหนดครบ 100 % คือ รพ.ดา่ นช้าง ,รพ.ศรีประจนั ต์ และรพท.สมเดจ็ -
พระสงั ฆราช สว่ นรพศ.เจ้าพระยายมราช มีผ้เู ข้ารับการบาบดั แต่ drop out ไปก่อนครบเกณฑ์กาหนด
ทงั้ หมด เมื่อเปรียบเทียบกบั ผลงานปี ท่ีผา่ นมาพบวา่ น้อยกวา่ ภาพรวมในปี ทผี่ า่ นมา เนอื่ งจากในปัจจบุ นั
สภาพการป้ องกนั และแก้ไขปัญหาในระดบั ประเทศเปลยี่ นแปลงไป และในสว่ นของการบาบดั รักษา หากผู้
บาบดั ขาดการบาบดั ไป เจ้าหน้าทีต่ ดิ ตามแล้วก็ไม่ยอมมาบาบดั อีกหรือบางคนก็ออกนอกพนื ้ ทีต่ ิดตาม
ไมไ่ ด้ ทาให้ประสทิ ธิภาพการบาบดั รักษาไมไ่ ด้ผลตามเกณฑ์ท่ีกาหนด เพราะไมม่ ีสง่ิ ทจ่ี ูงใจที่ดพี อ และไม่
มีมาตรการลงโทษใดๆ ทีจ่ ะให้ผ้ปู ่ วยเข้ารับการบาบดั ครบตามกาหนดได้ทาให้ผ้บู าบดั ขาดความสนใจใน
การเข้ารับการบาบดั รักษา และในกรณีของผ้ทู ี่เข้ารับการบาบดั รักษาซา้ ๆกนั หลายครัง้ นา่ จะมีมาตรการ
อื่นท่จี ะทาให้ผ้เู สพไมก่ ล้าท่ีจะกลบั ไปเสพอีก (ตารางที่ 13)

ตารางที่ 14 ผลการดาเนนิ งานตามตวั ชีว้ ดั : ร้อยละ 75 ของผ้ปู ่ วยยาเสพติดในระบบสมคั รใจได้รับการ

จาหนา่ ยแบบครบเกณฑ์กาหนด

สถานบาบดั เป้ าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ร้ อยละ
ผลงาน

รพศ.เจ้าพระยายมราช 20 0

รพช.เดมิ บางนางบวช 8 6 75.00

รพช.ดา่ นช้าง 3 3 100

รพช. บางปลาม้า 15 11 73.33

รพช. ศรีประจนั ต์ 2 2 100

รพช. ดอนเจดยี ์ 7 5 71.43

รพช. สองพน่ี ้อง 2 2 100

รพช. สามชกุ 54 80

รพช. อทู่ อง 9 7 77.78

รพช. หนองหญ้าไซ 10 8 80

รวมทงั้ จงั หวดั 63 48 76.19

ระดบั จงั หวดั ในปีที่ผา่ นมา 79 63 79.75

ระดบั ประเทศ (ปีที่ผา่ นมา) 7427 6451 86.86

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


176

การดาเนินงานการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉนิ

สถานการณ์
ในปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้จดั บริการการแพทย์

ฉกุ เฉินในเขตพืน้ ท่ี โดยมีศนู ย์รับแจ้งเหตแุ ละสง่ั การ ตงั้ อยทู่ ีโ่ รงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราช และ
จดั ให้มีหนว่ ยปฏิบตั กิ ารการแพทย์ฉกุ เฉิน ทงั้ 3 ระดบั ได้แก่ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการการแพทย์ฉกุ เฉิน
ระดบั สงู (ALS) หนว่ ยปฏบิ ตั ิการการแพทย์ฉกุ เฉินระดบั พนื ้ ฐาน (BLS) ปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินเบอื ้ งต้น
(FR) ในปี 2550 มีเครือขา่ ยหนว่ ยบริการในโรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน รวม 15 แหง่ มลู นธิ ิ/
สมาคม 5 แหง่ และ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 40 แหง่ ออกปฏิบตั ิการด้านการแพทย์ฉกุ เฉิน
จานวน 1,995 ครัง้ เป็ นบริการระดบั ALS จานวน 776 ครัง้ ระดบั BLS จานวน 132 ครัง้
(ร้อยละ 6.62) ระดบั FR จานวน 1,087 ครัง้ (ร้อยละ 54.49) ผลการดาเนนิ งานเทยี บกบั ประชากร
คดิ เป็ นร้อยละ 0.24 สาหรับในปี 2551 มีเครือขา่ ยหนว่ ยปฏบิ ตั ิการการแพทย์ฉกุ เฉินระดบั สงู (รพ.
รัฐและเอกชน) จานวน 14 หนว่ ย หนว่ ยปฏิบตั กิ ารการแพทย์ฉกุ เฉินระดบั พนื ้ ฐาน (รพ.รฐั รพ.
เอกชน และสถานีอนามยั ) จานวน 34 หนว่ ย และหนว่ ยปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉินเบอื ้ งต้น จานวน 105 แหง่
(จากมลู นิธิ/สมาคม 5 แหง่ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 100 แหง่ ) ผลการดาเนินงานให้บริการ
การแพทย์ฉกุ เฉินรวมทงั้ สนิ ้ 3,127 ครัง้ แยกเป็ นบริการระดบั ALS จานวน 743 ครัง้ คิดเป็ นร้อยละ
23.76 ระดบั BLS จานวน 180 ครัง้ ร้อยละ 5.76 และ ระดบั FR จานวน 2,146 ครัง้ ร้อยละ
68.63 ผลการให้บริการเทยี บกบั เป้ าหมาย คิดเป็ นร้อยละ 6.11

การดาเนินงาน
สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้จดั ทาโครงการพฒั นาระบบบริการการแพทย์

ฉกุ เฉิน ปี 2551 รวมทงั้ ประสานงานขอความร่วมมือจากสานกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ในการสร้างเครือขา่ ยและจดั หนว่ ยบริการฉกุ เฉิน
เบือ้ งต้นในพนื ้ ทีข่ อง อปท. (สร้างทีมหนง่ึ ตาบลหนง่ึ ทมี ก้ชู ีพก้ภู ยั )

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


177

แผนงาน/ กิจกรรม กลุ่มเป้ าหมาย เวลา งบประมาณและ
ดาเนินการ แหล่งงบประมาณ
โครงการ -สานกั ระบบฯ/ศนู ย์ ม.ค. 51 – 595,000 บาท
รับแจ้งเหตฯุ ธ.ค. 51 จาก สปสช.สาขา
โครงการพฒั นา -พฒั นาระบบบริหารจดั การ -หนว่ ยปฏิบตั กิ าร เขตพนื ้ ท่ี(ราชบรุ ี)
การแพทย์ฉกุ เฉินทกุ ต.ค. 50 –
ระบบบริการ -พฒั นาบคุ ลากร ระดบั ก.ย. 51 50,000 บาท/
องค์กรปกครองสว่ น ท้องถ่ิน
การแพทย์ฉกุ เฉิน ปี -ประชาสมั พนั ธ์ 1669 ท้องถน่ิ ในพืน้ ที่ (86
แห่ง)
2551

โครงการหนง่ึ ตาบล -พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร
หนง่ึ ทีมก้ชู ีพก้ภู ยั

ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงานบริการการแพทย์ฉกุ เฉินทกุ ระดบั ALS, BLS, FR รวมทงั้ สนิ ้ 3,127

ครัง้ เพ่ิมขนึ ้ มากกวา่ ปี 2550 จานวน 1,132 ครัง้ อาเภอท่ีมีผลการดาเนนิ งานสงู สดุ ได้แก่
อาเภอศรีประจนั ต์ ร้อยละ 43.09 สาหรับอาเภอที่ผา่ นเกณฑ์ (ผา่ นร้อยละ 7 ขนึ ้ ไป) มี 2
อาเภอ คอื อาเภอศรีประจนั ต์ ร้อยละ 43.09 และอาเภอเมืองฯ ร้อยละ 9.95

ตารางที่ 15 ผลการดาเนินงานบริการการแพทย์ฉกุ เฉินทกุ ระดบั ALS, BLS, FR

ปี งบประมาณ 2551 จ.สพุ รรณบรุ ี

อาเภอ เป้ าหมาย ผลงาน ร้ อยละ
9.95
เมืองฯ 14,368 1,429 1.64
1.56
สองพี่น้อง 10,943 179 1.83
1.94
อ่ทู อง 5,133 80 43.09
2.40
บางปลาม้า 2,516 46 1.02
0.32
เดิมบางนางบวช 3,048 59 4.01
6.11
ศรีประจนั ต์ 2,460 1,060 0.24
0.75
ดา่ นช้าง 3,963 95

สามชกุ 3,435 36

หนองหญ้าไซ 1,859 6

ดอนเจดยี ์ 3,416 137

รวม 51,141 3,127

ระดบั จงั หวัดปี ท่ผี ่านมา 841,334 1,995

ระดบั ประเทศปี ท่ผี ่านมา 62,195,839 468,204

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี


178

5. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ
ประเดน็ สาคญั ของปัญหา -จดั เจ้าหน้าทป่ี ฏบิ ตั ิงานเป็ นเวรนอกเวลา
-ขอสนบั สนุนบุคลากรจากแผนกอื่นๆในรพ. มา
-บคุ ลากรท่ปี ฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยปฏบิ ตั ิการของ ผลดั เปลย่ี นปฏบิ ตั ิหน้าท่ีกบั รถก้ชู ีพ ร่วมกบั
รพช.มีน้อย ไมส่ ามารถจดั สรรบุคลากรปฏิบตั ิ บคุ ลากรทแี่ ผนกอบตั เิ หตฉุ กุ เฉิน
หน้าที่หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารการแพทย์ฉกุ เฉิน -ขอสนบั สนนุ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการจาก รพ.ใกล้เคยี ง
ระดบั สงู แยกจากเวรทห่ี ้องอบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉินได้ - ประสานงานให้ท้องถ่ินสนบั สนนุ งบประมาณ
(คนทีอ่ ยเู่ วรห้องฉกุ เฉินไมใ่ ชค่ นๆเดียวกนั กบั คน ในปี ตอ่ ไป
ทีอ่ อกปฏบิ ตั กิ ารกบั รถก้ชู ีพ) -จดั หาชอ่ งทางและขอสนบั สนนุ อปุ กรณ์สอ่ื สาร
-หนว่ ยปฏิบตั กิ ารเบอื ้ งต้น สงั กดั อปท. หลาย (โทรศพั ท์ หรือ วิทยสุ อ่ื สาร) จาก อปท.ให้กบั
แหง่ ยงั ไม่มีอปุ กรณ์และยานพาหนะ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินเบือ้ งต้น
-การประสานงานระหวา่ งศนู ย์รับแจ้งเหตกุ บั -ให้ศนู ย์รับแจ้งเหตตุ ิดตอ่ สอ่ื สารกบั หนว่ ย
หนว่ ยปฏิบตั ิการฉกุ เฉินเบือ้ งต้นยงั มีข้อจากดั ยงั ปฏบิ ตั ิการเพอ่ื เป็ นการเตรียมความพร้อมทกุ วนั
ไม่สามารถประสานงานได้ทกุ หนว่ ย (เพมิ่ เติมโดยเฉพาะกบั หนว่ ยปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉิน
เบือ้ งต้น)

การพัฒนาคุณภาพการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน

ตามท่ีกระทรวงสาธารณสขุ มีนโยบายพฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉินให้ครอบคลมุ
ทกุ พนื ้ ท่เี พอ่ื ให้ประชาชนทีเ่ จ็บป่ วยฉกุ เฉินได้รับการรักษาพยาบาลอยา่ งทว่ั ถึงและมีคณุ ภาพซงึ่
หมายถงึ การรับแจ้งเหตุ การคดั แยกผ้เู จ็บป่ วยฉกุ เฉินตามระดบั ความรุนแรงโดยแบง่ เป็ น E-U-N
(Emergent, Urgent and Non Urgent) กอ่ นสง่ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการระดบั ตา่ งๆ (ALS BLS และ FR)
ออกให้ความชว่ ยเหลอื ตามความรุนแรงของการเจ็บป่ วย และนาสง่ สถานพยาบาลอยา่ งเหมาะสม
ในปี 2551 นี ้ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้เร่ิมดาเนินการทศี่ นู ย์รับแจ้งเหตแุ ละสง่ั การเจ้าพระยายมราช
(โรงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราช)

การดาเนินงาน
จากโครงการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง การเพมิ่ ศกั ยภาพบุคลากรในการรับแจ้งเหตุ

และสงั่ การของระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉินจงั หวดั สพุ รรณบุรี ประจาปี 2551 โดยกลมุ่ งานเวช
ศาสตร์ฉกุ เฉินและนติ เิ วช ร่วมกบั กลมุ่ การพยาบาลโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช ในวนั ที่ 1-2
กรกฎาคม 2551 โดยมีเป้ าหมายให้บุคลากรที่ปฏบิ ตั ิหน้าที่ เป็ นพยาบาลศนู ย์รับแจ้งเหตแุ ละสงั่

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


179

การ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช พยาบาลท่ีปฏิบตั งิ านหนว่ ยก้ชู ีพโรงพยาบาลตา่ งๆ ทงั้ ภาครัฐ
และเอกชนในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีนนั้ เป็ นโครงการที่จะพฒั นาพยาบาลวชิ าชีพทจ่ี ะปฏบิ ตั ิงานใน
ระบบบริการการแพทย์ให้มีความรู้/ความเข้าใจในการคดั แยกผ้ปู ่ วยตามระดบั ความรุนแรง การ
ประสานงาน การสอ่ื สารทม่ี ีคณุ ภาพ โดยการนาเทคโนโลยีท่ีทนั สมยั มาใช้เพ่อื ให้ผ้ปู ่ วยได้รับการ
ดแู ลตามสภาพการเจ็บป่ วย และการนาสง่ สถานพยาบาลอยา่ งเหมาะสม

ผลการดาเนินงาน
คณุ ภาพการให้บริการของศนู ย์รับแจ้งเหตแุ ละสง่ั การของจงั หวดั มีการคดั แยกผ้ปู ่ วยฉกุ เฉิน

ตามระดบั ความรุนแรงกอ่ นจดั สง่ หนว่ ยปฏิบตั กิ ารท่เี หมาะสมออกให้ความชว่ ยเหลอื มีการคดั แยก
ได้รัอยละ 100 และมีการตรวจสอบคณุ ภาพโดยมีคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพระดบั จงั หวดั และมี
การประชุม Dead Case Conference ซง่ึ ผลงานตามตวั ชีว้ ดั “ร้อยละการสง่ั การมีการแยกประเภท
ผ้ปู ่ วย (E-U-N) ร้อยละ 90” ได้ 2 คะแนน และมีคณะกรรมการและมีการประชุม Dead Case
Conference ได้ 2 คะแนน รวมได้ 4 คะแนน (ผา่ นเกณฑ์)

การพัฒนาศกั ยภาพอาสาสมัครในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ตามท่ีกระทรวงสาธารณสขุ มีนโยบายพฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉกุ เฉินเพ่อื ให้

ครอบคลมุ ประชาชนทกุ พนื ้ ทเ่ี พื่อชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดการเจ็บป่ วยฉกุ เฉินและภัยพบิ ตั ิตา่ งๆ โดยจะต้อง
ได้รับการสง่ั การจากศนู ย์รับแจ้งเหตแุ ละสงั่ การ หนว่ ยปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินเบือ้ งต้น (FR) ซง่ึ เป็ น
อาสาสมคั รท่ีผา่ นการอบรมหลกั สตู รท่ีศนู ย์นเรนทรกาหนด เม่ือผา่ นการอบรมและออกปฏิบตั กิ าร
หนว่ ยระดบั FR ซงึ่ ต้องมีจานวนบคุ ลากรท่ีออกปฏบิ ตั ิงานไมน่ ้อยกวา่ 2 คนมีการแตง่ กายถกู ต้อง
ตามฟอร์มขององค์กรและให้การช่วยเหลอื เบือ้ งต้นพร้อมทงั้ นาสง่ สถานพยาบาลทเ่ี หมาะสมซง่ึ การ
ปฏิบตั งิ านดงั กลา่ วจะต้องได้รับการประเมินความรู้และทกั ษะโดยเฉพาะการดแู ลทางเดนิ หายใจ
การห้ามเลอื ด และการดามแขน/ขาท่ีสงสยั วา่ มีการบาดเจ็บได้อยา่ งถกู ต้อง

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


180

งานควบคุมโรคติดต่อ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


Click to View FlipBook Version