The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 04:48:21

รายงานประจำปี2551

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

227

@ ด้านอาหาร @

 ข้อมูลท่วั ไป

1. สถานทผี่ ลิตอาหารเขา้ ขา่ ยโรงงาน 91 แห่ง
2. สถานทผ่ี ลิตอาหารไม่เขา้ ข่ายโรงงาน 442 แห่ง

อาเภอ เ ืมอง
สอง ่พี ้นอง
ู่อทอง
่ดาน ้ชาง
เดิมบางนางบวช
ดอนเจดี ์ย
สาม ุชก
ศ ีรประจัน ์ต
บางปลา ้มา
หนองห ้ญาไซ
ประเภท

นา้ บริโภคฯ 10 11 9 2 5 3 8 8 8 2
นา้ แข็ง 7 4 2 2 - 1 3 1 1 -

 ผลการดาเนินงาน

1.การออกใบอนุญาต 23 ใบอนุญาต
2.การต่ออายใุ บอนุญาต 29 ใบอนุญาต
3.ตรวจสถานท่ี 68 แห่ง

ผลการดาเนินงานด้านสถานที่ผลติ อาหารท่ีต้องปฏิบัตติ ามเกณฑ์ GMP
ผลการดาเนินงานเชิงปริมาณ จานวนสถานที่ผลติ ทงั้ หมด......165......แหง่

สามารถดาเนนิ การได้........46........แหง่ คดิ เป็น.....27.88..........%

ผลการดาเนินงานเชิงคุณภาพ

คะแนน 60 - 69 70 - 79 80 – 89 90 - 100 หมายเหตุ
จานวน 2 18 15 11 -
ร้ อยละ 4.34 39.13 32.61 23.91 -

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี


228

 ผลการเกบ็ ตวั อย่างประจาปี 2551

ชื่อตวั อยา่ ง จานวนตวั อยา่ ง ผา่ นมาตรฐาน ไมผ่ า่ นมาตรฐาน
ทส่ี ง่ ตรวจ (ตวั อยา่ ง) (ตวั อยา่ ง)
1. นา้ แขง็ 12
2.นา้ บริโภค 17 5 4
3.นมพาสเจอร์ไรส์ 18 14 7
4.เครื่องดม่ื ฯ 19 12 6
5. เส้นกว๋ ยเต๋ียว 17 11 3
6. อาหารกระป๋ อง 5 2 1
7. นา้ ส้มสายชู 7 6 -
8. ซอสในภาชนะบรรจุทป่ี ิ ดสนิท 2 2 -
9. นา้ สลดั 1 1 -
10. เต้าเจีย้ ว 1 1 -
11. หนอ่ ไม้ปี๊ บ 1 1 1
12. ลกู ชิน้ 5 4 2
13. นา้ ปลา 5 3 1
14. ปลาสลดิ แดดเดยี ว 1 - -
1 1 37
รวม 100 63

ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนอาหาร

รับเรื่อง.....14.....เรื่อง ผลการดาเนินงาน......14........เร่ือง คิดเป็น...100%....
ตกั เตือน.....3...........เรื่อง ดาเนินคดี / ส่งฟ้ องศาล........-........เรื่อง
เปรียบเทยี บปรบั ..........4.......ราย รอผลการดาเนินงาน.....-.......เรื่อง
ตรวจสอบแลว้ ไม่พบความผดิ ตามท่รี อ้ งเรียน........7............เรื่อง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


# กรณเี รื่องร้องเรียนทงั้ หมด 14 เร่ือง ได้แก่ # 22

ลาดบั วนั /เดือน/ปี เร่ือง ชื่อ - สถานท่ีเขา้ ไป รายละเอียดเรื่องร

ตรวจสอบ เจา้ ของผดู้ าเน
นายจารัส ราชสิงห์
1 13 พ.ย.50 สสจ.สมุทรสงคราม ขอความ บริษทั มิทเชลล์ เคน
นายจารัส ราชสิงห์
ร่วมมอื ตรวจสอบสถานท่ีผลิต เนท มาร์ติน จากดั

และการโฆษณาเกี่ยวกบั

อาหาร

2 16 พ.ย.50 สสจ.กระบี่ ขอความร่วมมือ บริษทั มทิ เชลล์ เคน

ตรวจสอบสถานทผ่ี ลิตและ เนท มาร์ติน จากดั

การโฆษณาเกี่ยวกบั อาหาร

3 19 ธ.ค.50 ขอความร่วมมอื ตรวจสอบ ตลาดสดเทศบาลเมอื ง นางสาราญ พรหมว
การปนเป้ื อนของยาฆ่าแมลง สุพรรณบรุ ี
ในผลิตภณั ฑป์ ลาสลิดแดด
เดียว

4 19 ธ.ค.50 สานกั งานคณะกรรมการ บริษทั แฟนซีเวลิ ด์ นางสาวกุลยา วงศว์
อาหารและยา ขอความร่วมมือ จากดั
ตรวจสอบฉลาก เครื่องด่ืม
เกลือแร่ ระบคุ ายอ่ ORS

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธาร


29

ร้องเรียน ปี 2551

นินกิจการ การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ

คร้ ังท่ี

ห พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก สสจ. สถานทีผ่ ลิตผา่ นเกณฑก์ าร - -

สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสถานที่ ตรวจประเมิน GMP และ
ผลิตและเอกสารการโฆษณา ไม่พบเอกสารการโฆษณา

ดงั กล่าว ตามเร่ืองร้องเรียน

ห พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. สถานที่ผลิตผา่ นเกณฑก์ าร - -

สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสถานท่ี ตรวจประเมนิ GMP และ
ผลิตและเอกสารการโฆษณา ไม่พบเอกสารการโฆษณา

ดงั กล่าว ตามเรื่องร้องเรียน

วงศ์ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก ผลการตรวจวเิ คราะห์ ไม่ - -

สสจ.สพรรณบุรี ไดด้ าเนินการ พบยาฆ่าแมลงกลุ่ม

เก็บตวั อยา่ งส่งตรวจวเิ คราะห์ท่ี ออร์กาโนฟอสฟอรัสและ

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กลุ่มคาร์บาเมต

สมุทรสงคราม

วชั รไพบลู ย์ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก สสจ. บริษทั แฟนซีเวลิ ด์ จากดั 1 -

สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ แสดงฉลากทาใหผ้ บู้ ริโภค

สถานท่ีผลิต พบการกระทาผดิ เขา้ ใจผดิ ในสาระสาคญั ของ

จริงตามเร่ืองร้องเรียน อาหาร ฝ่าฝืนมาตรา 6(10)

โทษตามมาตรา 51 ปรับไม่

เกินสามหมนื่ บาท

รณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี


23

ลาดบั วนั /เดือน/ เรื่อง ชื่อ - สถานที่เขา้ ไป เจา้ ของผดู้ าเน
ปี ตรวจสอบ
ขอความร่วมมอื ตรวจสอบ สถานีวิทยกุ องทพั ภา
5 3 ม.ค.51 การโฆษณารักษาโรค ของ สถานีวทิ ยกุ องทพั ภาค ท่ี 1 จงั หวดั สุพรรณบ
เครื่องดื่มน้าผลไม้ ตรา 109 ที่ 1 จงั หวดั สุพรรณบุรี
ทางสถานีวิทยุ AM 1404 KHz

6 18 ก.พ.51 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สมไทยพานิช นางทวีทรัพย์ ตนั จร
นครปฐม ขอความร่วมมอื นางมว่ ย แซ่โซว
ตรวจสอบหน่อไมป้ ๊ีบปรับ
กรด โรงงานสมไทยพานิช
กรณีตรวจพบค่า pH ของ
หน่อไมไ้ ม่ไดม้ าตรฐาน

7 25 ก.พ.51 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ท.ชยั วฒั น์
นนทบรุ ี ขอความร่วมมอื
ตรวจสอบหน่อไมป้ ๊ีบปรับ
กรด โรงงาน ท.ชยั วฒั น์
กรณีตรวจพบค่า pH ของ
หน่อไมไ้ มไ่ ดม้ าตรฐาน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธาร


30

นินกิจการ การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมาย
าค คร้ ังท่ี เหตุ
บรุ ี พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. หัวหนา้ สถานีวิทยุ -
สุพรรณบุรี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ รับทราบในขอ้ กฎหมาย -
ริยานนท์ สถานีวทิ ยุ และช้ีแจงในขอ้ และถือปฏิบตั ิ หากฝ่าฝืน -
กฎหมายใหท้ ราบ หาก ยนิ ยอมใหด้ าเนินคดีตาม 1
ประสงคจ์ ะโฆษณาอาหารและ กฎหมาย
ยา จะตอ้ งขออนุญาตให้ถกู ตอ้ ง
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. ผลการตรวจวเิ คราะห์
สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ ตกมาตรฐาน ดาเนินคดี
สถานทผี่ ลิต และเกบ็ ตวั อยา่ ง เปรียบเทียบปรับ และแจง้
ส่งตรวจวิเคราะห์ ใหแ้ กไ้ ขเพ่ือเกบ็ ตวั อยา่ ง
ตรวจวิเคราะหซ์ ้า

พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก สสจ. ผลการตรวจวิเคราะห์ ผา่ น - -
สุพรรณบุรี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ มาตรฐาน
สถานทผ่ี ลิต และเกบ็ ตวั อยา่ ง
ส่งตรวจวเิ คราะห์

รณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี


ลาดบั วนั /เดือน/ปี เร่ือง ชื่อ - สถานท่เี ขา้ ไป 23

ตรวจสอบ เจา้ ของผดู้ าเน
นางพรพศิ ตนั จริยา
8 2 เม.ย.51 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั โรงงานหน่อไม้

สิงห์บรุ ี และสานกั งาน เฮียโต

คณะกรรมการอาหารอาหาร

และยา ขอความร่วมมือ

ตรวจสอบโรงงานหน่อไมเ้ ฮีย

โต กรณีตรวจพบค่า pH ของ

หน่อไมไ้ ม่ไดม้ าตรฐาน

9 23 พ.ค.51 สานกั งานคณะกรรมการ ยงเจริญ นายสมศกั ด์ิ อศั วฒั
อาหารและยา ขอความร่วมมอื
ตรวจสอบโรงงานหน่อไมย้ ง
เจริญ แสดงฉลากไม่ถกู ตอ้ ง

10 3 ม.ิ ย.51 สานกั งานคณะกรรมการ นางฉลวย กระแจะเจิม นางฉลวย กร
อาหารและยา ขอความร่วมมือ
ตรวจสอบสถานท่ีผลิตอาหาร
ในภาชนะบรรจุท่ีปิ ดสนิท
ผลิตสินคา้ ตราเดียวกนั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธาร


31 การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ
คร้ ังที่
นินกิจการ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก สสจ. ผลการตรวจวิเคราะห์ ผา่ น
านนท์ สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ มาตรฐาน --
สถานท่ีผลิต และเกบ็ ตวั อยา่ ง
ส่งตรวจวิเคราะห์

ฒน์วิไกร พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. พบวา่ สถานท่ผี ลิตได้ - -
ระแจะเจิม สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ ดาเนินการขอใบอนุญาต 1 -
สถานทผ่ี ลิต ผลิตอาหารและใบทะเบียน
ตารับเป็นทเ่ี รียบร้อยแลว้
ตรวจสอบสถานท่ผี ลิตมกี าร รวมท้งั ไดแ้ สดงฉลาก
ผลิตเงาะในน้าเช่ือม แสดง ถูกตอ้ งตามท่ขี ออนุญาตไว้
ฉลากไม่ตรงกบั ทีข่ ออนุญาต สานกั งานสาธารณสุข
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี จึง
ดาเนินคดีเปรียบเทยี บปรับ
กรณีผลิตอาหารแสดง
ฉลากไมถ่ ูกตอ้ ง และแจง้
ใหม้ าดาเนินการขออนุญาต
ใหถ้ ูกตอ้ ง

รณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


ลาดบั วนั /เดือน/ปี เรื่อง ช่ือ - สถานทเ่ี ขา้ ไป 23
ตรวจสอบ
11 16 ก.ค.51 สานกั งานคณะกรรมการ ท.ชยั วฒั น์ เจา้ ของผดู้ าเน
อาหารและยา ขอความ ท.ชยั วฒั
ร่วมมือตรวจสอบสถานทผ่ี ลิต สมไทยพาณิชย์
หน่อไมป้ ๊ีบปรับกรด กรณี โรงงานหน่อไมเ้ ฮียโต สมไทยพา
แสดงฉลากไม่ถูกตอ้ ง และค่า โรงงานหน่อไ
pH ไม่ไดม้ าตรฐาน เฮงศกั ด์ิ
เฮงศกั
12 7 ส.ค.51 ผบู้ ริโภคขอความร่วมมือ
ตรวจสอบสถานท่ผี ลิตอาหาร
ร้านเฮงศกั ด์ เนื่องจากสถานท่ี
ผลิตสกปรกมาก ผผู้ ลิตแต่กาย
ไม่เรียบร้อย

13 28 ส.ค.51 สสจ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ขอ บริษทั มทิ เชลล์ เคน นายจารัส ราชสิงห์
-
ความร่วมมอื ตรวจสอบ เนท มาร์ติน จากดั

สถานทีผ่ ลิตและการโฆษณา

เกี่ยวกบั อาหารผลิตภณั ฑ์ อายู

ร่าพงิ้ คเ์ ลด้ี สูตร 2

14 15 ก.ย.51 รพ.หนองหญา้ ไซ ขอความ -

ร่วมมอื สสจ.สุพรรณบรุ ี

ตรวจสอบนมโรงเรียน U.H.T.

เนื่องจากมเี ด็กนกั เรียน

รับประทานแลว้ ทอ้ งเสีย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธาร


32 การดาเนินการข้นั ตน้ สรุปผลการดาเนินงาน ความผดิ หมายเหตุ
คร้ ังท่ี -
นินกิจการ พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. กรณี ฉลากดาเนินคดี
ฒน์ สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสอบ เปรียบเทียบปรับโรงงาน 1
าณิชย์ สถานท่ผี ลิต และเก็บตวั อยา่ ง หน่อไมเ้ ฮียโต ส่วนผลการ
ไมเ้ ฮียโต ตรวจวเิ คราะห์ ตรวจวิเคราะห์ผา่ นท้งั 3
โรงงาน
กด์ ิ
สสจ.สุพรรณบุรี ส่งเรื่องให้ สถานที่ผลิตดงั กล่าวไมม่ ี - -
ห สสอ.เมอื ง ดาเนินการ ใบอนุญาต จึงแจง้ ใหง้ ด - -
ตรวจสอบสถานท่ีผลิต การผลิต และให้มา
ดาเนินการขออนุญาตให้
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี จาก สสจ. ถกู ตอ้ ง หากฝ่าฝืนจะ
สุพรรณบรุ ี ไดเ้ ขา้ ตรวจสถานท่ี ดาเนินคดีตามกฎหมาย
ผลิตและเอกสารการโฆษณา สถานท่ผี ลิตผา่ นเกณฑก์ าร
ดงั กล่าว ตรวจประเมิน GMP และ
ไม่พบเอกสารการโฆษณา
ตามเร่ืองร้องเรียน

พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ จาก สสจ. ผลการตรวจสอบ พบวา่ นม - -
สุพรรณบุรี ไดด้ าเนินการส่ง ดงั กล่าว เสื่อมสภาพไม่เหมาะ
ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑด์ งั กล่าว กบั การบริโภค จึงแจง้ ใหง้ ด
ตรวจวิเคราะห์คุณภาพ การจาหน่ายหรือแจกจา่ ย
ใหก้ บั เด็กนกั เรียนไดบ้ ริโภค

รณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี


233

@ ด้านสถานพยาบาล @

ข้อมูลท่วั ไป

1. สถานพยาบาลประเภทท่ีรบั ผปู้ ่ วยไวค้ า้ งคืน จานวน 5 แห่ง
แห่ง
2. สถานพยาบาลประเภทท่ไี ม่รบั ผปู้ ่ วยไวค้ า้ งคืน จานวน 188 แห่ง
แห่ง
2.1 สาขาเวชกรรม จานวน 82 แห่ง
แห่ง
2.2 สาขาเวชกรรมเฉพาะทาง จานวน 5 แห่ง
แห่ง
2.3 สาขาทนั ตกรรม จานวน 22 แห่ง

2.4 สาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จานวน 63

2.5 สาขาเทคนิคการแพทย์ จานวน 6

2.6 สาขาแพทยแ์ ผนไทย จานวน 5

2.7 สาขาสหคลินิก จานวน 5

ผลการดาเนินงาน

3. การตอ่ อายใุ บอนุญาตใหด้ าเนินการสถานพยาบาล 188 ใบอนุญาต

4. การตรวจมาตรฐานสถานพยาบาล (ตรวจประจาปี ) 188 แห่ง

4.1 อาเภอเมือง 66 แห่ง

4.2 อาเภอสองพนี่ อ้ ง 20 แห่ง

4.3 อาเภอด่านชา้ ง 16 แห่ง

4.4 อาเภอหนองหญา้ ไซ 6 แห่ง

4.5 อาเภอเดิมบางนางบวช 7 แห่ง

4.6 อาเภอสามชุก 25 แห่ง

4.7 อาเภอศรีประจนั ต์ 14 แห่ง

4.8 อาเภอดอนเจดีย์ 7 แห่ง

4.9 อาเภอบางปลามา้ 7 แห่ง

4.10 อาเภออู่ทอง 20 แห่ง

การดาเนนิ การตรวจสอบเร่ืองร้องเรียน จานวน 2 เร่ือง

วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2551
มีผรู้ อ้ งเรียนคลินิกทนั ตแพทยด์ ่านชา้ ง อาเภอด่านชา้ ง มีสภาพสกปรก ไม่เหมาะสมทีจ่ ะใหบ้ ริการ

ผลการดาเนินงาน

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี เขา้ ตรวจคลินิกดงั กล่าว เม่ือวนั ที่ 4 มิถุนายน 2551 แต่ไม่พบ

สภาพคลินิกที่สกปรกตามขอ้ รอ้ งเรียน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


234

วนั ท่ี 24 กันยายน 2551
มีผรู้ อ้ งเรียนโรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึง มีสภาพสกปรก มีแพทยแ์ ละพยาบาลไม่เพยี งพอต่อการ

ใหบ้ ริการ ไม่มีแผนกทนั ตกรรมใหบ้ ริการ ไม่มีเภสชั กรจา่ ยยา ไม่มีมาตรฐานในการส่งต่อผปู้ ่ วย
ผลการดาเนินงาน

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี เขา้ ตรวจคลินิกดงั กล่าว เมื่อวนั ที่ 15 ตุลาคม 2551 แตไ่ ม่พบมูล
ความผดิ ตามขอ้ ทกี่ ฎหมายกาหนด

@ เครื่องสาอาง @

ปี 2551 กลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดด้ าเนินโครงการความ
ปลอดภยั ดา้ นเคร่ืองสาอาง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2551 เพอ่ื ป้ องกนั อนั ตรายจากการใชเ้ ครื่องสาอางของผบู้ ริโภคโดย
การตรวจสอบ ติดตาม เฝ้ าระวงั อนั ตรายจากการใชเ้ คร่ืองสาอางที่วางจาหน่ายในร้านจาหน่ายผลิตภณั ฑ์
เคร่ืองสาอางในจงั หวดั สุพรรณบุรี รวมท้งั การประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผเู้ กี่ยวขอ้ งโดยเฉพาะรา้ นจาหน่ายที่วางขายสินคา้
โดยตรงตอ่ ผบู้ ริโภค ใหไ้ ดร้ ับทราบขอ้ มูลที่เป็นปัจจบุ นั รวมท้งั ขอ้ กาหนด กฎระเบียบและบทกาหนดโทษทผ่ี จู้ าหน่าย
จะไดร้ ับหากฝ่ าฝืนขายเคร่ืองสาอางที่ไม่ปลอดภยั ในการใช้ อีกท้งั การตดิ ตามตรวจสอบแหล่งจาหน่าย แหล่งคา้ ส่ง
เพอื่ ควบคุม กากบั การดาเนินกิจการใหอ้ ยภู่ ายใตข้ อ้ กาหนดของกฎหมาย โดยมีกิจกรรมและผลการดาเนินงาน
ดงั น้ีคอื

กิจกรรม ผลการดาเนินงาน
1.ตรวจร้านจาหน่ายผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอางใน จานวน 96 ร้าน
จงั หวดั สุพรรณบุรี
2.ตรวจการแสดงฉลากผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอางที่ จานวน 800 รายการ
วางจาหน่ายในร้านจาหน่ายผลิตภณั ฑ์
เครื่องสาอาง จานวน 56 รายการ
3.ตรวจวเิ คราะหห์ าสารหา้ มใชใ้ นเคร่ืองสาอาง ตรวจพบสารหา้ มใช้ 15 รายการ
(ไฮโดรควิโนน สารประกอบของปรอทและกรด
เรทิโนอิก) (ผา่ นร้อยละ 73.21)
4.ตรวจสอบเร่ืองรอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การแสดง จานวน 1 เรื่อง
ฉลากผลิตภณั ฑเ์ ครื่องสาอางไม่ถกู ตอ้ ง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


235

โครงการอาหารปลอดภยั

ผลงานการตรวจสอบการปนเปื้ อน

ดาเนินการตรวจสอบสารปนเป้ื อน 6 ชนิดในอาหารสด รวม 3,643 ตวั อยา่ ง ผา่ นเกณฑ์ 3,601 ตวั อยา่ ง
คิดเป็นรอ้ ยละ 98.85 รายละเอียดดงั ตาราง

สารปนเป้ื อน ตรวจ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ อาหารสดท่พี บสารปนเป้ื อน

ยาฆ่าแมลง 1429 1388 97.13 คะนา้ (9), ข้ึนฉ่าย(2), ปลาหมึก(2),

ถว่ั ฝักยาว(3), พริก(3), กะหล่าปลี(3),

ตน้ หอม(6), ปลาหวาน, ผกั กาดขาว, ผกั ชี

(3), ถวั่ พ,ู โหระพา, มะเขือเทศ,กุง้ แหง้ ,

ผกั ชีฝรั่ง

บอแรกซ์ 765 765 100

สารกนั รา 563 563 100

สารฟอกขาว 588 588 100

ฟอร์มาลีน 238 237 99.85 ปลาหมึกกรอบ

สารเร่งเน้ือแดง 60 60 100

รวม 3,643 3,601 98.85

โครงการตรวจฉลากผลติ ภณั ฑ์สุขภาพ

ดาเนินการฉลากผลิตภณั ฑส์ ุขภาพไดแ้ ก่ อาหาร ยา เคร่ืองสาอาง เคร่ืองมือแพทย์ สารระเหย วตั ถุ

อนั ตรายและผลิตภณั ฑอ์ นื่ ๆ ในเขตพน้ื ทีจ่ งั หวดั สุพรรณบุรีจานวนท้งั ส้ิน 63,440 ตวั อยา่ ง พบฉลากผลิตภณั ฑ์

สุขภาพทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด 1,132 ตวั อยา่ ง คดิ เป็ นร้อยละ 1.78 รายละเอียดดงั ตาราง

ผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ ตรวจ ไม่ผา่ น รอ้ ยละ

อาหาร 47552 1081 2.27

ยา 2160 0 -

เครื่องสาอาง 10968 51 0.47

เครื่องมือแพทย์ 12 0 -

สารระเหย 120 0 -

วตั ถุอนั ตราย 1769 0 -

อื่น ๆ 859 0 -

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


236

โครงการ อย.น้อย

ปี 2551 กลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดจ้ ดั ดาเนินงานโครงการอย.
น้อย จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2551 โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ให้เกิดความตอ่ เนื่องในการดาเนินงานโครงการอย.นอ้ ย
ส่งเสริมและพฒั นาใหบ้ างสถานศึกษาใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรียนรู้สาหรบั สถานศึกษาอ่ืน ๆ ในการดาเนินการโครงการ
อย. นอ้ ย ในโรงเรียน ส่งเสริมและพฒั นาพฤตกิ รรมการบริโภคของเดก็ และเยาวชน ตลอดจนประชาชน ใหเ้ ป็น
ผบู้ ริโภคท่สี ามารถเลือกซ้ือเลือก บริโภคผลิตภณั ฑส์ ุขภาพได้ อยา่ งเหมาะสม ถูกตอ้ ง และปลอดภยั โดยมีกิจกรรม
และผลการดาเนินงานดงั น้ีคอื

กิจกรรม ผลการดาเนินงาน
1. การอบรมและถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกบั การ ความรูเ้ รื่องการคุม้ ครองผบู้ ริโภค จานวน 1050 คน
จานวน 100 โรงเรียน
ดา้ นผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ จานวน 6 โรงเรียน

2. สนบั สนุนชุดทดสอบวเิ คราะหส์ ารปนเป้ื อนในอาหาร จานวน 1 คร้ัง
3. สนบั สนุนโรงเรียนสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ทาโครงการดา้ นสุขภาพ

4. จดั ประกวดโรงเรียนอย.นอ้ ยดีเด่น จ.สุพรรณบรุ ี

ผลการประกวดโรงเรียน อย.น้อยดเี ด่น จ.สุพรรณบุรี ปี 2551

ลาดบั ท่ี ชื่อโรงเรียน ชื่อโครงงาน

1 อู่ทองศกึ ษาลยั สวยเก๋วยั ใสไม่ดื่มน้าอดั ลม

2 สามชุกรตั นโภคาราม ฉลาดคดิ ฉลาดบริโภค

3 ธรรมโชติศกึ ษาลยั ชมรม อย.นอ้ ย ธรรมโชติ

ชมเชย บางปลามา้ สูงสุมารผดุงวทิ ย์ อาหารปลอดภยั ในโรงเรียน

ชมเชย กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สุพรรณบรุ ี อาหารปลอดภยั ในโรงเรียน

ชมเชย อู่ทอง สร้างเครือขา่ ยคุม้ ครองผบู้ ริโภค

อย.นอ้ ยเพชรอู่ทอง

โครงการศูนย์บริการผลติ ภณั ฑ์สุขภาพเบ็ดเสร็จ จ.สุพรรณบุรี (One Stop Service Center)

กิจกรรม
- ใหบ้ ริการคาแนะนาเร่ืองการขออนุญาตรา้ นขายยา, สถานที่ผลิตอาหาร, สถานพยาบาล
- รบั คาขอและออกใบอนุญาตรา้ นขายยา, สถานท่ผี ลิตอาหาร, สถานพยาบาล
- จดั เกบ็ ขอ้ มูลจานวนผมู้ ารับบริการ ในแต่ละเดือน
- รบั เรื่องตอ่ อายใุ บอนุญาตรา้ นขายยา, สถานท่ผี ลิตอาหาร, สถานพยาบาลประจาปี

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


237

กิจกรรมเสริม
- จดั ทาโครงการพฒั นาศูนยบ์ ริการผลิตภณั ฑส์ ุขภาพเบด็ เสร็จ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2551

สรุปผลการดาเนินงานศูนย์ผลิตภัณฑ์สุขภาพเบด็ เสร็จจังหวดั สุพรรณบรุ ี

เดือน ลกั ษณะงานท่ใี หบ้ ริการ รับเรื่อง ช่องทางการรับบริการ รวม
อธิบายงานใบอนุญาต รับ ขออนุญาต ติดต่อดว้ ยตวั เอง โทรศพั ท์ 571
1 ต.ค.50 - สอบถามขอ้ มลู ทวั่ ไป ใบอนุญาต
30 ก.ย.51 146 388 183
225 200

โครงการอ่ืนๆ
โครงการอบรมผปู้ ระกอบการร้านยาและสถานทผี่ ลิตยาแผนโบราณ
โครงการส่งเสริมธุรกิจบริการดา้ นสุขภาพ
โครงการอบรมมาตรฐานสถานท่วี สิ าหกิจผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชน
โครงการพฒั นามาตรฐานสถานท่ผี ลิตอาหาร
โครงการตรวจสอบเฝ้ าระวงั สถานประกอบการ
โครงการศกึ ษาดูงานสถานทผ่ี ลิตอาหารที่ผา่ นมาตรฐาน GMP

ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดประจาปี 2551

1. ตัวชี้วัด 0902 : ร้อยละ 100 ของสถานที่ผลติ อาหาร 54 ประเภทได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กาหนด

สถานการณ์
การดาเนินงานตามโครงการอาหารปลอดภยั ตวั ช้ีวดั ท่ี 0902 : ร้อยละ 100 ของสถานที่ผลิตอาหาร 54

ประเภทได้มาตรฐานตามเกณฑท์ ี่กาหนด ผลการดาเนินงานพบว่าสถานท่ีผลิตอาหาร 54 ประเภท ในจงั หวดั
สุพรรณบุรี มีท้งั หมด จานวน 165 แห่ง และทุกแห่งไดร้ ับการตรวจประเมินมาตรฐานผา่ นเกณฑ์ GMP (ไม่ต่า
กวา่ รอ้ ยละ 50) คิดเป็นผลการดาเนินการ รอ้ ยละ 100 ซ่ึงผา่ นเกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั แต่ต้งั แต่วนั ท่ี 28 ตุลาคม 2550 ใน
ปี งบประมาณ 2551 สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ไดป้ รับเปล่ียนเกณฑก์ ารตรวจประเมิน GMP จากร้อย
ละ 50 เป็ นร้อยละ 60 ของแต่ละหมวด และนมพร้อมดื่มเป็ นร้อยละ 70 ซ่ึงในปี งบประมาณ 2551 สานักงาน
สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยกลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค สามารถดาเนินการตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร
ไดท้ ้งั หมด 68 แห่งผา่ นเกณฑม์ าตรฐานท่กี าหนด (GMP) เพียง 46 แห่ง จากจานวนสถานที่ผลิตอาหารท้งั หมด 165
แห่ง คิดเป็ นร้อยละ 27.9

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


238

แผนงาน / โครงการ
1. โครงการพฒั นามาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2551

1) ตวั ช้ีวดั ตามประเด็นการตรวจราชการ
รอ้ ยละ 100 ของสถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภทไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ก่ี าหนด

2) เป้ าหมาย ร้อยละ 100
3) กลยทุ ธ์
3.1 พฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจของผปู้ ระกอบการในหลกั เกณฑ์ GMP ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และสามารถนาไปใชใ้ น
สถานประกอบการของตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3.2 ช้ีแจงและทาความเขา้ ใจกบั ผปู้ ระกอบการในเรื่องการปรบั เปล่ียนเกณฑก์ ารตรวจจาก รอ้ ยละ 50 เป็น
รอ้ ยละ 60 และนมพร้อมด่ืมเป็น ร้อยละ 70 ของแตล่ ะหมวด
3.3 เร่งรดั ใหผ้ ปู้ ระกอบการพฒั นา และปรบั ปรุงสถานทีผ่ ลิตอาหารใหผ้ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน
3.4 ดาเนินการตรวจประเมินสถานทผี่ ลิตอาหารทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ GMP
4) กิจกรรมท่ดี าเนินการ
วนั ที่ 2 สิงหาคม 2550 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ีไดป้ ระชุมช้ีแจงผปู้ ระกอบการในเรื่องการ
ปรับเปล่ียนเกณฑก์ ารตรวจจากรอ้ ยละ 50 เป็นรอ้ ยละ 60, นมพรอ้ มดื่ม รอ้ ยละ 70 ของแต่ละหมวด เพอ่ื ให้
ผปู้ ระกอบการไดม้ ีเวลาในการปรับปรุงสถานท่ีผลิตอาหารใหผ้ า่ นเกณฑ์ ก่อนทค่ี าสงั่ สานกั งานคณะกรรมการอาหาร
และยา จะมีผลบงั คบั ใช้ (28 ตลุ าคม 2550) ปัจจุบนั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดเ้ ร่งดาเนินการตรวจ
สถานทผี่ ลิตอาหารท้งั 54 ประเภท เพอื่ ใหผ้ า่ นเกณฑ์ GMP รอ้ ยละ 100 ตามเกณฑต์ วั ช้ีวดั
ผลการดาเนินงานในเชิงปริมาณ

อาเภอ เป้ าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ร้อยละ
41 36.6
เมอื งสุพรรณบุรี 8 ผลงาน 75
เดิมบางนางบวช 6 15 33.3
ด่านชา้ ง 15 6 13.3
บางปลามา้ 17 2 23.5
ศรีประจนั ต์ 6 2 0
ดอนเจดีย์ 23 4 21.7
สองพีน่ อ้ ง 17 0 29.4
สามชุก 28 5 17.9
อ่ทู อง 4 5 50
หนองหญา้ ไซ 165 5 27.9
2
รวม 46

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


239

ผลการดาเนินงานทผ่ี า่ นมา สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยกลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค
ดาเนินการตรวจสถานท่ี จานวน 68 แห่ง ผา่ นเกณฑ์ 46 แห่ง ไม่ผา่ น 18 แห่ง ไม่สามารถดาเนินการตรวจสถานท่ี
ผลิตอาหารไดเ้ นื่องจากสถานทผ่ี ลิตหยดุ กิจการชวั่ คราวและผูป้ ระกอบการไม่อยู่ จานวน 4 แห่ง ในกรณีสถานทผ่ี ลิต
อาหารไม่ผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดด้ าเนินคดีตามกฎหมายกบั ผปู้ ระกอบการ
ทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ GMP และใหเ้ วลาในการแกไ้ ข 30 วนั หลงั จากน้นั จะดาเนินการตรวจสถานทีอ่ ีกคร้ัง แต่จากการ
ดาเนินงานในช่วงที่ผา่ นมา สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี พบวา่ ผปู้ ระกอบการมิไดใ้ ส่ใจในการพฒั นา
สถานท่ผี ลิตอาหารใหผ้ า่ นเกณฑ์ GMP เท่าท่ีควร จึงส่งผลใหใ้ นปี งบประมาณ 2551 ไม่สามารถดาเนินการใหผ้ า่ น
เกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั รอ้ ยละ 100 ดงั น้นั เพอื่ ใหก้ ารดาเนินการตามตวั ช้ีวดั ผา่ นเกณฑใ์ นปี งบประมาณ 2552 สานกั งาน
สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี จึงไดจ้ ดั ประชุมผูป้ ระกอบการผลิตอาหารอีกคร้งั ในวนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2551 เพอ่ื
กระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ระกอบการตระหนกั และเห็นถึงความสาคญั ในการพฒั นาสถานทีผ่ ลิตอาหารใหผ้ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน
ซ่ึงในกระบวนการในการดาเนินการ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดม้ อบหมายใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่
ในระดบั อาเภอดาเนินการตรวจใหค้ าแนะนาผปู้ ระกอบการและดาเนินการตรวจประเมิน GMP ตามแบบตรวจ
ประเมิน และส่งผลใหส้ านกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ภายในสิ้นเดือนพฤศจกิ ายน 2551 โดยหากผลการ
ตรวจประเมิน GMP ไม่ผา่ นเกณฑ์ ผปู้ ระกอบการจะถูกดาเนินคดีตามกฎหมาย

อน่ึง การดาเนินงานในปี งบประมาณ 2551 ถึงแมจ้ ะไม่สามารถดาเนินการใหผ้ า่ นเกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั
แตก่ ารดาเนินการดงั กล่าว สามารถทาใหผ้ ปู้ ระกอบการไดต้ ระหนกั และเห็นถึงความสาคญั ในการพฒั นาสถานท่ผี ลิต
อาหารใหผ้ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน ซ่ึงจะส่งผลทาใหก้ ารดาเนินงานในปี งบประมาณ 2552 สามารถดาเนินการผา่ นตามเกณฑ์
รอ้ ยละ 100 ของสถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภทไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ่ีกาหนด

2. ตัวชี้วดั 0907 : ร้อยละของผลิตภณั ฑ์สุขภาพชุมชนและท้องถ่นิ ทมี่ คี ณุ ภาพได้มาตรฐาน
การดาเนินการตาม ตวั ช้ีวดั ที่ 0907 : ร้อยละของผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชนและทอ้ งถิ่นมีคุณภาพได้

มาตรฐาน เป็นตวั ช้ีวดั ทีม่ ุ่งส่งเสริมใหผ้ ลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชน ซ่ึงไดแ้ ก่ ยาสมุนไพร, อาหาร, เครื่องสาอาง และวตั ถุ
อนั ตรายทีใ่ ชใ้ นบา้ นเรือน มีคุณภาพมาตรฐานถกู ตอ้ งตามขอ้ กาหนดของกฎหมายทค่ี วบคุมผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชน
ประเภทน้นั ๆ ซ่ึงสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยกลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค ไดจ้ ดั ทาแผนการเก็บ
ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชนตรวจวเิ คราะห์จานวน 37 ผลิตภณั ฑ์ ประกอบดว้ ย ยาสมุนไพร 3 รายการ ผา่ น
มาตรฐานท้งั 3 รายการ, เครื่องสาอาง 5 รายการ ผา่ นมาตรฐานท้งั 5 รายการ, วตั ถุอนั ตราย 2 รายการ ผา่ นมาตรฐาน
ท้งั 2 รายการ และอาหาร 27 รายการ ผา่ นมาตรฐาน 20 รายการ
แผนงาน / โครงการ
1. โครงการกิจกรรมเพอื่ วสิ าหกิจผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชนสมบูรณ์แบบ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2551

1) ตวั ช้ีวดั ตามประเดน็ การตรวจราชการ
ร้อยละของผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชนและทอ้ งถิน่ มีคุณภาพไดม้ าตรฐาน

2) เป้ าหมาย
ยาสมุนไพร ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 95

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


240

อาหาร ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 80
เครื่องสาอาง ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 85
วตั ถุอนั ตรายทใ่ี ชใ้ นบา้ นเรือน ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80
3) กลยทุ ธ์
3.1 ดาเนินการเกบ็ ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชน ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพความปลอดภยั ตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข
3.2 นาผลการตรวจวเิ คราะห์มาวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาในการผลิตเพอ่ื แนะนากลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนในการ
ปรบั ปรุงคุณภาพผลิตภณั ฑ์
4) กิจกรรมทด่ี าเนินการ
สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ไดแ้ จง้ ใหก้ ลุ่มวสิ าหกิจชุมชน ดาเนินการส่งตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์
สุขภาพ ใหส้ านกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี เมื่อวนั ที่ 18 มิถุนายน และ 25 มิถุนายน 2551 เพอ่ื ส่งตวั อยา่ ง
ตรวจวเิ คราะห์ตามขอ้ กาหนดของกฎหมายท่ีควบคุมผลิตภณั ฑส์ ุขภาพชุมชนประเภทน้นั ๆ ท่ีศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์
สมุทรสงคราม เพอื่ นาผลการวเิ คราะห์มาวเิ คราะห์สภาพปัญหาในการผลิตและปรับปรุงคุณภาพผลิตภณั ฑ์

ผลการดาเนินงาน

เกณฑ์ ผลการดาเนินงาน

ยาสมนุ ไพร ร้อยละ 95 เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ
อาหาร ร้อยละ 80 3 3 100
เคร่ืองสาอาง ร้อยละ 85 74.1
วัตถอุ ันตรายทใ่ี ช้ในบ้านเรือน ร้อยละ 80 27 20 100
55
100
22

รวม 37 30 81.08

สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยกลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ ริโภค ไดด้ าเนินการเกบ็ ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์

สุขภาพชุมชนส่งตรวจวเิ คราะห์ ทีศ่ ูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยส์ มุทรสงคราม ผลการตรวจวิเคราะหพ์ บวา่ ผลิตภณั ฑ์

สุขภาพชุมชนและทอ้ งถ่ิน ประเภท ยาสมุนไพร เคร่ืองสาอางและวตั ถุอนั ตราย ผา่ นเกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั ร้อยละ 100
มีเพยี งผลิตภณั ฑอ์ าหาร ผา่ นเกณฑเ์ พยี งร้อยละ 74.1 ดงั น้นั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยกลุ่มงาน
คุม้ ครองผบู้ ริโภค ไดด้ าเนินการตรวจประเมินใหค้ าแนะนากลุ่มวสิ าหกิจชุมชน รวมท้งั แนะนากระบวนการผลิต
เพอื่ พฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หไ้ ดม้ าตรฐาน ซ่ึงจากสภาพปัญหาท่ีพบ คือ น้าทใ่ี ชใ้ นกระบวนการผลิตเป็ นน้าประปา
หมู่บา้ น ซ่ึงยงั มิไดผ้ า่ นกระบวนการปรับคุณภาพ จึงส่งผลใหผ้ ลิตภณั ฑอ์ าหารตกมาตรฐาน ดงั น้นั สานกั งาน
สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี จึงแนะนาใหผ้ ูป้ ระกอบการใชน้ ้าท่ผี า่ นการปรบั คุณภาพไดม้ าตรฐานตามประกาศ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี


241

กระทรวงสาธารณสุข โดยการตดิ ต้งั เครื่องปรบั คุณภาพน้าหรือใชน้ ้าทผี่ า่ นการรับรองมาตรฐาน (มีเลข อย.) เฉพาะ
ในกรณีท่มี ีการสมั ผสั กบั ผลิตภณั ฑอ์ าหาร เพอื่ พฒั นามาตรฐานผลิตภณั ฑใ์ หผ้ า่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด ตอ่ ไป

3. ตัวชี้วัด 0903 : ร้อยละ 85 ของร้านจาหน่ายอาหารสดท่ผี ่านการรับรองอาหารปลอดภยั จากสารปนเปื้ อน 6 ชนิด

(ได้รับป้ ายทอง)

สถานการณ์

สถานการณ์งานอาหารปลอดภยั จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2551 โดยร้านจาหน่ายอาหารสดท่ีตรวจไม่พบสาร

ปนเป้ื อน 3 คร้ังตดิ ตอ่ กนั และแตล่ ะคร้ังมีระยะเวลาห่างกนั ไม่นอ้ ยกวา่ 1 เดือน จะไดร้ ับป้ ายอาหารปลอดภยั (ป้ าย

ทอง) ซ่ึงในปี 2551 มีร้านจาหน่ายอาหารทผี่ า่ นการตรวจสอบและผา่ นเกณฑไ์ ดร้ ับป้ ายอาหารปลอดภยั (ป้ ายทอง)

จานวนท้งั ส้ิน 1,520 รา้ น จากจานวนร้านจาหน่ายอาหารสดท้งั หมด 1,600 ร้าน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95 ของรา้ นท่ผี า่ น

เกณฑ์ ส่วนการตรวจพบสารปนเป้ื อนท้งั 6 ชนิดในอาหารสด ไดแ้ ก่สารเร่งเน้ือแดง สารฟอกขาว สารกนั รา บอ

แรกซ์ ฟอร์มาลิน และตรวจพบยาฆ่าแมลง ท้งั ส้ิน 42 ตวั อยา่ ง จากการสุ่มตรวจอาหารสดท้งั ส้ิน 3,643 ตวั อยา่ งคิด

เป็นร้อยละ 1.15 ของตวั อยา่ งอาหารท่ีตรวจพบสารปนเป้ื อนดงั แสดงในตารางท่ี 1 โดยสามมารถแยกประเภทสาร

ปนเป้ื อนทพี่ บไดด้ งั น้ี พบยาฆ่าแมลง 41 ตวั อยา่ งโดยอาหารสดทพ่ี บยาฆ่าแมลง 3 ลาดบั แรกคอื คะนา้ ถว่ั ฝักยาว

พริก ตามลาดบั และฟอร์มาลิน 1 ตวั อยา่ ง ซ่ึงพบในน้าแช่ปลาหมึก เม่ือนาผลการดาเนินงานดงั กล่าวมาเปรียบเทยี บ

กบั ผลการดาเนินงานของปี ท่ีผา่ นมาพบวา่ อตั ราส่วนของการตรวจพบสารปนเป้ื อนในอาหารสดลดลงจากร้อยละ

1.66 ในปี 2550 เหลือร้อยละ 1.15 ในปี 2551 ดงั แสดงในตารางท่ี 2 จะเห็นไดว้ า่ การตรวจพบสารปนเป้ื อนมี

แนวโนม้ ลดลง

ตารางที่ 1 แสดงการตรวจสารปนเป้ื อนแยกตามชนิดของสารปนเป้ื อน

สารปนเป้ื อน ตรวจ (ตวั อยา่ ง) พบ (ตวั อยา่ ง) คิดเป็นร้อยละ

ยาฆ่าแมลง 1,429 41 2.87

ฟอร์มาลีน 238 1 0.42

บอแรกซ์ 765 0 0

สารฟอกขาว 588 0 0

สารกนั รา 563 0 0

สารเร่งเน้ือแดง 60 0 0

รวม 3,643 42 1.15

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี


242 ร้อยละ ทพ่ี บสารปนเป้ื อน
1.83
ตารางที่ 2 แสดงการตรวจในปี ทีผ่ า่ นมา 0.90
ปี จานวนตวั อยา่ งทส่ี ุ่มตรวจ 1.66
1.15
2548 7,645
2549 8,935
2550 3,200
2551 3,643

จากผลการดาเนินงานดา้ นอาหารปลอดภยั ของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี พบวา่ สารปนเป้ื อนทีต่ รวจพบส่วนใหญ่
จะเป็นพวกยาฆ่าแมลง โดยจะพบกระจายอยใู่ นตลาดสดของทุกอาเภอทีท่ าการสุ่มตรวจ และพบวา่ แหล่งท่มี าของ
วตั ถุดิบส่วนใหญ่จะรบั มาจากตลาดไท

ปัจจัยเส่ียงท่ีมีผลต่อการทางาน
จานวนรา้ นคา้ ในตลาดท้งั หมดน้นั ตรวจสอบไดย้ ากเน่ืองจากในปัจจุบนั พบวา่ มีร้านคา้ แบบยา้ ยท่ีต้งั มีหลกั

แหล่งไม่แน่นอนเป็นจานวนมาก บางวนั มาขาย บางวนั ไม่มา ทาใหก้ ารดาเนินการตรวจรา้ นจาหน่ายอาหารสด
เป็ นไปโดยไม่ทว่ั ถึงและไม่เป็นไปตามจริง

ลกั ษณะของการดาเนินงานอาหารปลอดภยั ในการสุ่มตวั อยา่ งอาหารมาทาการตรวจเป็ นการตรวจแบบเฝ้ า
ระวงั ซ่ึงอาจทาใหอ้ ตั ราส่วนร้อยละของการพบสารปนเป้ื อนในอาหารเพม่ิ มากข้ึนไดเ้ น่ืองจาก ในการสุ่มเก็บ
ตวั อยา่ งอาหารน้นั จะใชข้ อ้ มูลของปี ทผ่ี า่ นมาเป็นเกณฑว์ า่ พบสารปนเป้ื อนในอาหารชนิดใด ในปี ถดั มาก็จะทาการ
เฝ้ าระวงั และเกบ็ ผลิตภณั ฑช์ นิดน้นั มาตรวจเป็นพเิ ศษ ส่งผลใหอ้ าจพบสารปนเป้ื อนในอตั ราที่สูงไม่เป็ นไปตามจริง
ซ่ึงจะมีผลต่อการตอ่ อายปุ ้ ายทองของรา้ นจาหน่ายอาหารสด

แผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา

โครงการอาหารปลอดภยั จงั หวดั สุพรรณบุรี
1) ตวั ช้ีวดั ตามประเด็นการตรวจราชการ
ร้อยละของร้านจาหน่ายอาหารสดท่ผี า่ นการรบั รองอาหารปลอดภยั จากสารปนเป้ื อน 6 ชนิด (ไดร้ ับป้ ายทอง)
2) รอ้ ยละ 85
3) กลยทุ ธ์
3.1 บูรณาการจดั ทาแผนดา้ นอาหารปลอดภยั กบั ภาคีทุกระดบั
3.2 พฒั นาทกั ษะการถ่ายทอดความรูแ้ ก่เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุขและอาสาสมคั ร
3.3 บูรณาการการดาเนินงานเขา้ กบั โครงการ อย. นอ้ ยเพอ่ื พฒั นาเยาวชนในการดูแลสุขภาพตนเอง
3.4 เร่งรดั ใหร้ า้ นคา้ ภายในตลาดดาเนินการผา่ นเกณฑท์ กี่ าหนด
4) กิจกรรมท่ดี าเนินการไปแลว้
ร้านจาหน่ายอาหารสดท่ีตรวจไม่พบสารปนเป้ื อน 3 คร้ังตดิ ต่อกนั และแต่ละคร้ังมีระยะเวลาห่างกนั ไมน่ อ้ ย

กวา่ 1 เดือน จะไดร้ ับป้ ายอาหารปลอดภยั (ป้ ายทอง) โดยในการตรวจจะดาเนินการโดยเจา้ หนา้ ที่จากหน่วย

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


243

ตรวจสอบเคลื่อนทคี่ วามปลอดภยั ดา้ นอาหาร ( Mobile Unit for Food Safety )ประจาเขต 4,5 และเจา้ หนา้ ที่
สาธารณสุขในเขตรบั ผดิ ชอบตรวจสอบเฝ้ าระวงั สารปนเป้ื อนในอาหาร รวมท้งั การรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธก์ ารอบรม
ใหค้ วามรูแ้ ก่เจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุขและนกั เรียน โดยเจา้ หนา้ ทจ่ี ากสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ีร่วมกบั
ทมี หน่วยตรวจสอบเคล่ือนทค่ี วามปลอดภยั ดา้ นอาหาร ( Mobile Unit for Food Safety )

ผลการดาเนินงาน

ร้านจาหน่ายอาหารสดทีต่ รวจไม่พบสารปนเป้ื อน 3 คร้ังติดตอ่ กนั และแตล่ ะคร้งั มีระยะเวลาห่างกนั ไมน่ อ้ ย

กวา่ 1 เดือน จะไดร้ บั ป้ ายอาหารปลอดภยั (ป้ ายทอง) ซ่ึงในปี 2551 มีรา้ นจาหน่ายอาหารที่ผา่ นการตรวจสอบและ

ผา่ นเกณฑไ์ ดร้ ับป้ ายอาหารปลอดภยั (ป้ ายทอง) จานวนท้งั สิ้น 1,520 รา้ น จากจานวนรา้ นจาหน่ายอาหารสด

ท้งั หมด 1,600 รา้ น คิดเป็นร้อยละ 95

4. ตวั ชี้วดั 1103:ร้อยละ90การกระจายวัตถุออกฤทธ์ิถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุท่อี อกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท

สถานการณ์

จากการดาเนินงานเฝ้ าระวงั ทางการรายงานการกระจายของวตั ถุเสพตดิ ท่ีสานกั งานคณะกรรมการ

อาหารและยา จดั ส่งใหส้ านกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี จึงไดด้ าเนินการตรวจสอบการจดั ซ้ือพบวา่ ขอ้ มูล

การจดั ซ้ือวตั ถุออกฤทธ์ิ ของสถานประกอบการตรงกบั ขอ้ มูลที่สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยาแจง้ มาและ

เม่ือตรวจสอบการจดั ทารายงานฯพบสถานพยาบาลบางแห่งท่ีมีการสง่ั ซ้ือวตั ถุออกฤทธ์ิ ไม่จดั ทารายงานรับจ่าย ฯ

(บจ.8) รายงานประจาเดือน (บจ.9) และรายงานประจาปี (บจ.10) ซ่ึงเป็นการกระทาผดิ พรบ.วตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและ

ประสาท พ.ศ.2518 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรีจึงไดท้ าบนั ทึกตกั เตือนผรู้ ับอนุญาตประกอบการ

สถานพยาบาลให้จดั ทาบญั ชี ใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ นและเป็ นจริง หากตรวจพบไม่จดั ทาบญั ชี ดงั กล่าว หรือจดั ทาบญั ชี

เป็นเทจ็ ในคราวตอ่ ไป จะดาเนินการตามกฏหมายอยา่ งเคร่งครดั

ผลงานเชิงปริมาณ ในการตรวจสอบการรายงานการกระจายของวตั ถุเสพติด คิดเป็น 100 %

ผลงานในเชิงคุณภาพ คดิ เป็น 100 %

ตารางที่ 3 ผลงานตามตวั ตวั ช้ีวดั ร้อยละ 90 ของการกระจายวตั ถุออกฤทธ์ิถูกตอ้ งตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยวตั ถุท่ีออกฤทธ์ิตอ่ จติ และประสาท

ประเภทวตั ถอุ อกฤทธ์ิ ผลการดาเนินงาน

Pseudoephedrine เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ
Alprazolam 118 118 100
Diazepam 346 346 100
Lorazepam 479 479 100
233 233 100
รวม
1,176 1,176 100

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


244

ปัญหาและข้อเสนอแนะ

ปัญหาอุปสรรคในเชิงนโยบาย ตามท่ี สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ไดม้ ีนโยบายใหค้ วบคุม
ตรวจสอบเฝ้ าระวงั การกระจ่ายของวตั ถุเสพตดิ ในสถานพยาบาล แต่เนื่องจากชอ้ มูลทไี่ ดร้ ับรายงานจะเป็ นขอ้ มูล
ยอ้ นหลงั ซ่ึงบางคร้งั สถานประกอบการมิไดจ้ ดั เก็บเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสงั่ ซ้ือไว้ ทาใหก้ ารตรวจสอบบางคร้งั ได้
ขอ้ มูลไม่ครบถว้ น

5. ตัวชี้วดั 1201 : มีการจดั ซื้อยาร่วมระดบั เขต

วเิ คราะห์สถานการณ์ ความสาคญั สภาพปัญหาของพนื้ ท่ี นโยบายท่เี กยี่ วข้องกับตวั ชี้วัด
ตามทีค่ ณะรัฐมนตรีไดล้ งมติรับทราบและเห็นชอบใหก้ ระทรวงสาธารณสุขดาเนินการตามมาตรการ

เพม่ิ ประสิทธิภาพในการจดั ซ้ือยาตามขอ้ เสนอของคณะกรรมการป้ องกนั และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ โดยให้
มีการมีการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขตครอบคลุมทุกเขตทวั่ ประเทศแต่เน่ืองจากการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขตยงั ขดั ต่อ
ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 ดงั น้นั จึงยงั ไม่มีการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขต
ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ทรัพยากรดาเนนิ การ

จากปัญหาข้างตน้ ทาให้กระทรวงสาธารณสุขมีการขออนุมัติยกเวน้ การปฏิบัติระเบียบสานัก
นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 จากกระทรวงการคลงั โดยคณะกรรมการว่าดว้ ยการพสั ดุ (กวพ) ซ่ึงมี
มติเห็นชอบตามข้อเสนอดังกล่าว ท้งั น้ีกระทรวงสาธารณสุขจึงได้แจง้ ให้ดาเนินการจดั ซ้ือยาร่วมระดับเขต
ครอบคลุมทกุ เขตในปี งบประมาณ 2551 ต่อไป

แผนงาน/ กจิ กรรมหลกั กล่มุ เป้ าหมาย เวลา งบประมาณและ
โครงการ ดาเนินการ แหล่งงบประมาณ

การจดั ซ้ือยาร่วม -ดาเนินการจดั ซ้ือยา ทุกจงั หวดั ในเขต ปี งบประมาณ -

ระดบั เขต ร่วมระดบั เขต ตรวจราชการที่ 4 2551

ผลการดาเนินงานในเชิงปริมาณ เปรียบเทียบอาเภอในจงั หวัด หรือภาพรวมของประเทศ

สาหรับเขตตรวจราชการท่ี 4 ไดม้ ีการเชิญประชุมตวั แทนแตล่ ะจงั หวดั เพอื่ หารือแนวทางในการดาเนินการ
จดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขต เม่ือวนั ที่ 25 เมษายน 2551 ณ โรงพยาบาลราชบุรี สรุปวา่ มอบใหโ้ รงพยาบาลราชบรุ ี เป็น
ตวั แทนแม่ข่ายในการประสานงาน และไดด้ าเนินการคดั เลือกรายการยาทม่ี ีแนวโนม้ วา่ จะจดั ซ้ือร่วมระดบั เขต ประมาณ
35 รายการ ซ่ึงใหแ้ ตล่ ะจงั หวดั ประมาณการใชย้ าแต่รายการและส่งไปยงั แม่ขา่ ยเพอ่ื จะไดด้ าเนินการข้นั ตอ่ ไป เช่น
การแต่งต้งั คณะกรรมการต่าง ๆ การกาหนดหนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ของคณะกรรมการแต่ละชุด การกาหนดกรอบ
รายการยาที่จะจดั ซ้ือร่วม เป็นตน้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี


ปัญหาและข้อเสนอแนะ 245
ประเดน็ สาคญั ของปญั หา
ข้อเสนอแนะให้กระทรวง/กรม
-ปัญหาท่ีเกิดจากการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขต - ศกึ ษาขอ้ ดีและขอ้ เสียใหช้ ดั เจนเพอื่ ลดปัญหา
ระหวา่ งการดาเนินการ
-ควรมีการระดมความคิดเห็นในทกุ แง่มุมจาก
ประสบการณ์ของเขตนาร่องที่ไดด้ าเนินการ
จดั ซ้ือยาร่วมระดบั เขต

6. ตวั ชี้วดั 1202 : ร้อยละของมูลค่าการจดั ซื้อยาร่วมระดบั จงั หวัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาท้ัง
จงั หวดั

ความสาคญั
เพอ่ื เป็นการดาเนินการตามมาตรการเพมิ่ ประสิทธิภาพในการจดั ซ้ือยา จงั หวดั สุพรรณบุรี จึงไดม้ ีการ

จัดซ้ือยาร่วมระดับจังหวดั ข้ึนทุกปี แต่ละปี ช่วยลดงบประมาณในการจดั ซ้ือยาไปได้มาก และทาให้ทุก
โรงพยาบาลในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไดใ้ ชย้ าดีมีคุณภาพและราคาถูก

แผนงาน/โครงการ

ในปี งบประมาณ 2551 มีการดาเนินการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั จงั หวดั 81 รายการ มีมูลคา่ การจดั ซ้ือ

ประมาณ 60,000,000 บาท ท้งั น้ีหากทกุ โรงพยาบาลซ้ือตามแผนทไ่ี ดป้ ระมาณการไวจ้ ะสามารถประหยดั ไดจ้ าก

ราคาในปี ทผี่ า่ นมาประมาณ 5,000,000 บาท

แผนงาน/ กจิ กรรมหลกั กล่มุ เป้ าหมาย เวลา งบประมาณและ
โครงการ ดาเนินการ แหล่งงบประมาณ

การจดั ซ้ือยาร่วม -ดาเนินการจดั ซ้ือยา ทุกโรงพยาบาล ปี งบประมาณ -

ระดบั จงั หวดั ร่วมระดบั จงั หวดั 2551

ผลการดาเนินงาน

จากผลการดาเนินการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั จงั หวดั มีมูลคา่ 66,728,346.76 บาท จากมูลค่า การจดั ซ้ือยา
ท้งั หมด 559,305,310.13 บาท คดิ เป็นร้อยละ 11.93 ยงั ไม่ผา่ นเกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั แต่มีโรงพยาบาล 4 แห่ง
สามารถจดั ซ้ือไดต้ ามเกณฑ์

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


246

ผลงานตามตวั ช้ีวดั ท่ี 1202 : รอ้ ยละของมูลค่าการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั จงั หวดั ไม่นอ้ ยกวา่
ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจดั ซ้ือยาท้งั จงั หวดั

โรงพยาบาล ผลการดาเนินงาน

เป้ าหมาย ผลงาน ร้อยละ
7.32
เจา้ พระยายมราช 325,121,433.64 23,798,981.20 22.23
25.30
เดิมบางนางบวช 22,331,200.13 4,964,382.40 19.40
17.21
ด่านชา้ ง 16,842,092.72 4,260,755.00 28.12
16.74
บางปลามา้ 23,802,736.02 4,618,334.09 18.22
11.43
ศรีประจนั ต์ 19,580,289.95 3,370,137.35 36.53
11.93
ดอนเจดีย์ 11,901,392.12 3,346,606.60

สมเด็จพระสงั ฆราช 65,510,637.29 10,964,072.32

สามชุก 12,542,339.09 2,284,921.05

อู่ทอง 53,420,004.98 6,105,666.72

หนองหญา้ ไซ 8,253,184.19 3,014,490.06

รวมท้งั จังหวดั 559,305,310.13 66,728,346.79

โรงพยาบาล ที่ผ่านเกณฑต์ ามตวั ช้ีวดั 4 แห่ง คือ โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ มีมูลค่าการจดั ซ้ือยาร่วม
ระดบั จงั หวดั มากทส่ี ุด คดิ เป็นร้อยละ 36.53 โรงพยาบาลดอนเจดีย์ รอ้ ยละ 28.12 โรงพยาบาลด่านชา้ ง ร้อยละ
25.30 และโรงพยาบาลเดิมบางนางบวช ร้อยละ 22.23 โดยสาเหตุที่โรงพยาบาลอีก 6 แห่งยงั ไม่ผ่านเกณฑ์
อาจเน่ืองจากเกณฑก์ ารคดั เลือกยาในการจดั ซ้ือยาร่วมระดบั จงั หวดั คดั เลือกจากยาที่มีการใชร้ ่วมกนั 5 โรงพยาบาล
ข้ึนไป ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นยาทม่ี ีราคาถูก แต่ยา ORIGINAL และยา MONOPOLY ท่ีมีปริมาณการใชใ้ นโรงพยาบาล
ไม่ถึง 5 แห่งแตเ่ ป็นยาราคาแพงไม่ไดน้ ามาจดั ซ้ือร่วมดว้ ย ทาใหม้ ูลคา่ การจดั ซ้ือโดยรวมไม่ผา่ นเกณฑ์

7. ตัวชี้วัด 1203 : ร้อยละของมูลค่าการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรมของ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 ของมูลค่าการจดั ซื้อยาท้งั หมด

8. ตวั ชี้วัด 1204 : ร้อยละของมูลค่าการจดั ซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรมของ โรงพยาบาลชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35
ของมูลค่าการจัดซื้อยาท้งั หมด

ความสาคญั
เพอ่ื เป็ นการดาเนินการตามมาตรการเพ่มิ ประสิทธิภาพในการจดั ซ้ือยาและปฏิบตั ิตามระเบียบสานัก

นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 โดยใหท้ กุ โรงพยาบาลมีการจดั ซ้ือยาจากองคก์ ารเภสัชกรรมในรายการ
ทอี่ งคก์ ารผลิตและจาหน่าย

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี


247

แผนงาน/โครงการ

โรงพยาบาลทกุ แห่งมีการปฏิบตั ติ ามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ.2535

แผนงาน/ กจิ กรรมหลัก กล่มุ เป้ าหมาย เวลา งบประมาณและ
โครงการ ดาเนินการ แหล่งงบประมาณ

การจดั ซ้ือยาจาก ดาเนินการการ ทกุ โรงพยาบาล ปี งบประมาณ -

องคก์ ารเภสชั จดั ซ้ือยาจาก 2551

กรรม องคก์ ารเภสชั กรรม

ผลการดาเนินงาน

ตวั ช้ีวดั ที่ 1203 : รอ้ ยละของมูลคา่ การจดั ซ้ือยาจากองคก์ ารเภสชั กรรมของ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล-
ทวั่ ไป ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 8 ของมูลคา่ การจดั ซ้ือยาท้งั หมด

โรงพยาบาล เป้ าหมาย ผลการดาเนินงาน ร้อยละ
325,121,433.64 3.89
เจา้ พระยายมราช 65,510,637.29 ผลงาน 5.29
สมเด็จพระสงั ฆราช 390,632,070.93 12,654,083.00 4.13
3,462,352.42
รวมท้งั หมด 16,116,435.42

ผลงานตามตวั ช้ีวดั ท่ี : รอ้ ยละของมูลคา่ การจดั ซ้ือยาจากองคก์ ารเภสชั กรรมของ โรงพยาบาลชุมชน
ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 35 ของมูลคา่ การจดั ซ้ือยาท้งั หมด

โรงพยาบาล เป้ าหมาย ผลการดาเนนิ งาน ร้อยละ
22,331,200.13 11.88
เดิมบางนางบวช 16,842,092.72 ผลงาน 18.05
ด่านชา้ ง 23,802,736.02 2,653,251.68 12.10
บางปลามา้ 19,580,289.95 3,040,083.72 14.12
ศรีประจนั ต์ 11,901,392.12 2,879,691.40 14.66
ดอนเจดีย์ 12,542,339.09 2,764,256.63 13.38
สามชุก 53,420,004.98 1,744,753.90 9.72
อ่ทู อง 8,253,184.19 1,678,387.85 19.26
หนองหญา้ ไซ 5,191,463.63
168,673,239.20 1,589,605.58 12.77
รวมท้งั หมด 21,541,494.39

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


248

จากตาราง จะเห็นวา่ มูลค่าการจดั ซ้ือยาองค์การเภสัชกรรม ของโรงพยาบาลศูนยแ์ ละโรงพยาบาล
ทวั่ ไป คิดเป็ นร้อยละ 4.13 พบวา่ ยงั ไม่ผ่านเกณฑช์ ้ีวดั (เกณฑช์ ้ีวดั ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 ของมูลค่าการจดั ซ้ือยา
ท้งั หมด) ในส่วนของโรงพยาบาลชุมชน จานวน 8 แห่ง มีมูลค่าการจดั ซ้ือยาองคก์ ารเภสัชกรรม คิดเป็ นร้อยละ
12.77 พบวา่ ยงั ไม่ผา่ นเกณฑช์ ้ีวดั (เกณฑช์ ้ีวดั ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 35 ของมูลค่าการจดั ซ้ือยาท้งั หมด ) เน่ืองจากในปี
2551 น้ี องคก์ ารเภสชั กรรมงดผลิตยาในกลุ่ม Penicillin ชว่ั คราว จานวน 7 รายการ โดยยาในกลุ่ม Penicillin เป็ น
ยาทม่ี ีมูลคา่ การใชใ้ นโรงพยาบาลสูง และยาขององคก์ ารเภสชั กรรมผลิตไม่ทนั มีการงดการจาหน่ายชว่ั คราวบ่อย
ราคายาของ GPO สูงกวา่ บริษทั เอกชน เป็นผลทาใหม้ ูลคา่ การจดั ซ้ือยาจากองคก์ ารเภสชั กรรมไม่ผา่ นเกณฑช์ ้ีวดั

ปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะให้กระทรวง/กรม

ประเด็นสาคญั ของปัญหา -ใหอ้ งคก์ ารเภสชั กรรมผลิตยาใหเ้ พยี งพอ
- องคก์ ารเภสชั กรรมผลิตยาไม่เพยี งพอ -ใหอ้ งคก์ ารเภสชั กรรมจาหน่ายยาราคาถูกกวา่
- องคก์ ารเภสชั กรรมจาหน่ายยาราคาแพงกวา่ บริษทั เอกชน
บริษทั เอกชน

@@@@@@@@@@@@@

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี


249

งานอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม
และอาชวี อนามยั

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


250

งานอนามัยส่งิ แวดล้อมและอาชวี อนามยั

การดาเนนิ งานสนับสนุนและพฒั นาความเข็มแขง็ และการมีส่วนร่วมของ
ขบวนการสุขภาพภาคประชาชน

1. งานเมอื งน่าอย่แู ละการพัฒนาส้วมสาธารณะ

สถานการณ์
จงั หวัดสพุ รรณบุรี มีเทศบาล จานวน 26 แหง่ แบ่งออกเป็ นเทศบาลเมือง 2 แห่ง

เทศบาลตาบล 24 แหง่ องค์การบริหารสว่ นตาบล 100 แหง่ แบง่ ออกเป็ น องค์การบริหารสว่ น
ตาบลขนาดกลาง 4 แหง่ ขนาดเลก็ 96 แหง่ ในการดาเนินงานกระบวนการเมืองนา่ อยู่ด้าน
สขุ ภาพ ทงั้ ในเทศบาลและองค์การบริหารสว่ นตาบล ยงั มีการดาเนินงานไปแล้วบ้างซ่ึงต้องขนึ ้ อยู่
กบั ความพร้อมของผ้บู ริหารและองค์กรทต่ี ้องมีผ้รู ับผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน อีกทงั้ ยงั ต้องทาความเข้าใจ
ให้กบั ผ้บู ริหารขององค์กรนนั้ ๆให้เข้าใจในกระบวนเมืองนา่ อยใู่ ห้เข้าใจอย่างชดั เจน จึงจะสามารถที่
จะดาเนินการได้ตามกระบวนการนนั้ ดงั นนั้ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรีโดยกลมุ่ งาน
อนามยั สง่ิ แวดล้อมได้มี ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน โครงการ และมีกิจกรรม/ทรัพยากรดาเนินการ โดย
จดั ทาโครงการพฒั นาเครือขา่ ยเมืองนา่ อยู่ โดยมีกิจกรรมในการสมั มนาแลกเปลย่ี นเรียนรู้ระหวา่ ง
เครื่อขา่ ย เทศบาลและองค์การบริหารสว่ นตาบลที่มีการดาเนินงานเมืองนา่ อยู่ 1 ครัง้ จานวน 50
คน มีกลุ่มเป้ าหมายคือ กลุ่มแกนนาของเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบลและเจ้ าหน้าที่
สาธารณสขุ ระดบั อาเภอและตาบลที่รับผิดชอบ ร่วมกนั มานาเสนอผลการดาเนินงานของแต่ละกลมุ่
อยา่ งตอ่ เนื่อง ซง่ึ เม่ือวเิ คราะห์ผลงานในเชิงคณุ ภาพ และเชิงปริมาณ เปรียบเทยี บอาเภอในจงั หวดั
หรือภาพรวมของประเทศ รวมทัง้ จังหวัด เทศบาลทัง้ หมด 26 แห่งผลการดาเนินงานตาม
กระบวนการเมืองนา่ อยู่ 5 กระบวนการของกรมอนามัยพบว่าผา่ นเกณฑ์ทงั้ 5 กระบวนการจานวน
20 แห่งคิดเป็ นร้อยละ 77(เป้ าหมายร้อยละ 76 ) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกบั ปี ที่ผา่ นมาพบวา่ ผลการ
ดาเนินงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 85 สาเหตทุ ี่ทาให้ผลการดาเนินงานลดลงเน่ืองจากวา่ มีองค์การ
บริหารสว่ นตาบลได้ปรับเปลย่ี นขนึ ้ มาเป็ นเทศบาลเพิ่มขนึ ้ จากเดิม 21 แหง่ เป็ น 26 แห่ง และผลการ
ดาเนินงานจากเดิมจาก 18 แห่งเพ่ิมขนึ ้ เป็ น 20 แห่ง จึงทาให้ร้อยละของผลการดาเนินงานลดลง
สว่ นองค์การบริหารสว่ นตาบลท่ีผ่านเกณฑ์ 5 ขนั้ ตอน จานวน 36แหง่ คิดเป็ นร้อยละ44 ของ
องค์การบริหารสว่ นตาบลทงั้ หมด(เป้ าหมายร้อยละ 5)เพมิ่ ขนึ ้ จากเดิมปี ท่ผี า่ นมาร้อยละ10 ซึง่ การ
ดาเนินงานเมืองน่าอยู่ขนึ ้ อยูก่ ับความพร้อมและความเข้าใจขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินแต่ละ
แห่ง หากท้องถิ่นใดมีความต้องการก็จะดาเนินการได้ และได้ รับความร่วมมือเป็ นอย่างดี ซ่ึงการ

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี


251

ดาเนินงานจึงต้องเป็ นแบบค่อยเป็ นไปซ่ึงจะเร่งรัดนนั้ จะเป็ นได้ค่อนข้างลาบากเพราะเป็ นการ
ประสานความร่วมมือในแตล่ ะองค์กรท่ีเก่ียวข้อง

ภาพกจิ กรรมการประชุมการพฒั นาเมอื งน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ ปี 2551

การดาเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะ ของจังหวัดสุพรรณบุรี มีการประเมินและ
พฒั นาส้วมสาธารณะจานวน 12 setting ได้แก่ โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีบริการนา้ มัน
ร้านอาหาร สถานท่ีท่องเท่ียว ศาสนสถาน ห้างสรรพสินค้า ตลาด สถานขนสง่ สถานที่ราชการ
สวนสาธารณะ สถานศึกษาของคณะกรรมการอาชีวศึกษา โดยการแต่งตงั้ คณะกรรมการระดบั
จงั หวดั และระดบั อาเภอประเมินและดาเนินการพฒั นาส้วมสาธารณะให้ได้มาตรฐาน HAS ของกรม
อนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ดาเนินการพฒั นาและประเมินในแต่ละอาเภอทงั้ หมด 653 แหง่
ซ่งึ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ได้ร้อยละ 74 (เป้ าหมายร้อยละ 60) ในสว่ นการพฒั นาพฤติกรรมการใช้
ส้วมพบวา่ จากการสมุ่ ตวั อย่างประชาชน 1,458 ราย มีการใช้ส้วมถกู ต้อง 1,029 ราย หรือร้อยละ
70 (เป้ าหมายร้อยละ 60 ) และสง่ เข้าประกวดในระดบั จงั หวดั เขต ภาค และระดบั ประเทศ ซง่ึ มี
รายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี ้

ในแตล่ ะ Setting ของส้วมสาธารณะทไี่ ด้รับรางวลั ชนะเลศิ ในระดบั จงั หวดั จะได้รับการ
คดั เลอื กสง่ เข้าประกวดในระดบั เขต และได้รับรางวลั ชนะเลศิ ในระดบั เขตจานวน 9 รางวลั ได้แก่

1.ประเภทส้วมโรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ท่ี 17 อ.สองพ่ีน้อง
2.ประเภทส้วมศาสนสถาน ได้แก่ วดั บ้านกร่าง อ.ศรีประจนั ต์
3.ประเภทส้วมโรงเรียนของรัฐ ระดบั มธั ยม ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 2 วดั ประสาท อาเภอ
เมือง
4.ประเภทส้วมโรงเรียนของรัฐ ระดบั ประถม ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 4 วดั ศรีบวั บาน
อาเภอเมือง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี


252

5.ประเภทส้วมสถานทรี่ าชการ ประเภท สถานีอนามยั ได้แก่ สถานอี นามยั บ้านหนองข้าว
งาย อ.อทู่ อง

6.ประเภทส้วมสถานบี ริการนา้ มนั ได้แก่ ปตท.หลกั เมืองถาวรพาณชิ ย์ อ.เมือง
7.ประเภทส้วมตลาด ได้แก่ ตลาดสดเทศบาลเมืองสองพน่ี ้อง อ.สองพ่ีน้อง
8.ประเภทส้วมร้านอาหาร ได้แก่ ร้านอาหารริมคลองเฮาส์ อ.บางปลาม้า
9. ประเภทส้วมสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ได้แก่ วิทยาลยั สารพดั ช่างบรรหารแจม่ ใส
สพุ รรณบรุ ี อ.เมอื ง

และทงั้ 9 แหง่ นี ้ก็ได้รับ
การคดั เลอื กจากศนู ย์
อนามยั ท่ี 4 ราชบรุ ี สง่
เข้าประกวดใน
ระดบั ประเทศซง่ึ อยู่
ระหวา่ งการประกวด
ตอ่ ไป

สุดยอดส้วมระดับเขต
ปี 2550 - 2551

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี


253

2. การดาเนินงานอาหารปลอดภยั ในส่วนของงานสขุ าภบิ าลอาหาร

ในปี พ.ศ.2551 จังหวดั สพุ รรณบุรี มี
ร้านอาหารจานวน 314 แห่ง แผงลอยจาหนา่ ย
อาหารจานวน 989 แหง่ รวม 1,303 แห่ง การ
ดาเนินงานตามโครงการอาหารสะอาด รสชาติ
อร่อย นัน้ ส่วนใหญ่ได้ รับความร่วมมือจาก
หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนเป็ นอย่างดี
ร้ านอาหารและแผงลอยจาหน่ายอาหารเร่ิ มเห็น
ความสาคญั ของการมีป้ ายอาหารสะอาด รสชาติ
อร่อย และรักษามาตรฐานไว้ได้ มีการจัดตัง้
ชมรมผ้ปู ระกอบการจาหนา่ ยอาหารในทุกอาเภอ
มีการจดั ประชมุ สญั จรเพ่ือติดตามความก้าวหน้า
และนาเสนอกิจกรรมต่างๆของชมรมฯ รวมทงั้ การช่วยเหลอื ให้ข้อคิดเห็นในกรณีมีปัญหาตา่ งๆ มี
การจดั มหกรรมอาหารในแตล่ ะอาเภอ ซง่ึ ได้รับการสนบั สนุนงบประมาณจากกระทรวงสาธารณสขุ
ท้องถิ่นและภาคเอกชน
โครงการสง่ เสริมความปลอดภยั ด้านอาหาร จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี งบประมาณ 2551 เป็ น
โครงการที่กลมุ่ งานอนามยั สงิ่ แวดล้อมและอาชีวอนามยั จดั ทาขนึ ้ เพ่ือสนบั สนนุ โครงการอาหาร
สะอาด รสชาตอิ ร่อย มีกิจกรรมหลกั คอื การจดั ประชมุ เครือขา่ ยชมรมผ้ปู ระกอบการจาหนา่ ยอาหาร
การพฒั นายกระดบั ร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารให้ได้มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาตอิ ร่อย การ
สนบั สนนุ การจดั มหกรรมอาหารระดบั อาเภอ การสมุ่ ตรวจอาหารถงุ และการประชาสมั พนั ธ์
ร้านอาหาร/แผงลอยทีไ่ ด้รับมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย โดยพฒั นาร้านอาหารให้ผา่ น
เกณฑ์อาหารสะอาด รสชาตอิ ร่อย ได้จานวน 258 แหง่ คดิ เป็ นร้อยละ 82.17 และพฒั นามีแผงลอย
จาหนา่ ยอาหารให้ผา่ นเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ได้จานวน 851 แหง่ คิดเป็ นร้อยละ 86.05
รวมพฒั นาร้านอาหารและแผงลอยจาหนา่ ยอาหารผา่ นเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาตอิ ร่อย จานวน
1,109 แหง่ คดิ เป็ นร้อยละ 85.11 ผา่ นเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของกรมอนามยั ซงึ่ ตงั้ ไว้ร้อยละ 70 ของ
ร้านอาหารและแผงลอยจาหนา่ ยอาหารทงั้ หมด ร้านอาหารที่ได้รับการรับรองเมนชู ูสขุ ภาพ จานวน
64 ร้าน ร้านอาหาร 5 ดาว จานวน 8 ร้าน ผลการสมุ่ ตรวจอาหารถงุ จานวน 613 ตวั อยา่ งด้วยนา้ ยา
SI -2 ตรวจไม่พบเชอื ้ 513 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ 83.69 ซงึ่ กรมอนามยั กาหนดผา่ นเกณฑ์ไมต่ ่า
กวา่ ร้อยละ 70 และได้จดั ทาคมู่ ือ “เทย่ี วไป กินไป ในสพุ รรณบุรี” เพอื่ ประชาสมั พนั ธ์ร้านอาหาร/แผง

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี


254

ลอยจาหนา่ ยอาหารที่ได้มาตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอร่อย รวมทงั้ ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นเวปไซด์
การทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย

ข้อเสนอแนะคอื ควรมีการประสานงานกบั ท้องถน่ิ ในการมอบหมายให้มีผ้รู ับผดิ ชอบเข้าร่วม
ประชุม และควรมีการประชาสมั พนั ธ์โครงการอาหารสะอาด รสชาตอิ ร่อย อยา่ งตอ่ เนื่องเพอ่ื ให้
ผ้ปู ระกอบการและผ้บู ริโภคได้เหน็ ประโยชน์ของป้ าย CLEN FOOD GOOD TASTE (CFGT)

3. การดาเนินงานตลาดสดน่าซือ้ ปี งบประมาณ 2551

สถานการณ์

สถานการณ์งานตลาดสดน่าซือ้ จังหวัด การจดั ตลาดสดให้เป็ นระเบียบน่าซือ้
สพุ รรณบุรี ปี งบประมาณ 2551 ได้ดาเนินการ
พฒั นาตลาดสดนา่ ซอื ้ ประเภทที่ 1 จานวน 12 ปัญหาและข้อเสนอแนะ
แห่ง ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวง 1. ปัญหาการพฒั นาตลาดสดจะขนึ ้ กบั นโยบายของ
สาธารณสุข สามารถพัฒนาได้มาตรฐานระดบั ท้องถ่ิน (เทศบาล) และศกั ยภาพของเจ้าหน้าที่และ
“ดมี าก” จานวน 1 แห่ง และระดบั “ดี” จานวน ผ้เู ก่ียวข้องในพนื ้ ท่ี
9 แหง่ รวมเป็ น 10 แหง่ คิดเป็ นร้อยละ 83.33 2. ตลาดสดขนาดใหญ่ ท่เี ป็ นของท้องถ่ินต้องใช้
เกินเป้ าหมายของกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีกาหนด เวลาในการพฒั นาคอ่ นข้างยาวนาน เนอ่ื งจากมี
ไว้ร้อยละ 75.00 ในปี งบประมาณ 2551 เป็ น ปัจจยั ด้านสงิ่ แวดล้อมอ่ืน ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมาก
การยกระดบั มาตรฐานตลาดสดใหม่ 1 แห่ง คือ
ตลาดสดเทศบาลตาบลอู่ทอง สว่ นอีก 9 แห่ง
ยงั คงรักษามาตรฐานเดิมไว้ได้ คงเหลอื อีกเพียง
2 แห่ง ท่ีจะต้องพัฒนาให้ได้มาตรฐาน คือ
ตลาดสดเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี และตลาดสด
เทศบาลตาบลหนองหญ้าไซ ดงั สรุปตามตาราง
ที่ 1

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี


255

ตารางที่ 1 ตลาดสดที่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน จ.สพุ รรณบุรี ปี งบประมาณ 2551

ประเภทตลาดสด จานวน ผลงาน ร้อยละ ร้อยละ
(แห่ง) (แห่ง) (ผลงาน) (เป้ าหมาย)

ตลาดสดประเภทที่ 1 (ผา่ น 12 10 83.33 75.00

เกณฑ์ระดบั “ด”ี และ “ดมี าก”

ตลาดสดประเภทที่ 2 (ผา่ น 12 12 100.00 100.00

เกณฑ์ระดบั “พนื ้ ฐาน”)

4. งานกฎหมายสาธารณสุข (พระราชบัญญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ. 2535)

ในปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีได้ดาเนินงานด้านกฏหมายสาธารณสขุ ในสว่ นที่
เก่ียวข้องตา่ ง ๆ มีรายละเอียด ดงั นี ้

1. การอบรมพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทท่ี ี่เกี่ยวข้อง (เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ของ สอ., สสอ.,
รพ., องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น จานวน 2 เรื่อง ดงั นคี ้ อื

1.1 กฎหมายสาธารณสขุ ตาม พรบ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 (21-22 ก.ค. 2551)
จานวน 70 คน

1.2 การจดั การเหตรุ าคาญ (20 มิ.ย. 2551) จานวน 150 คน
การดาเนินการแก้ไขเหตรุ ้องเรียน-เหตรุ าคาญ ได้รับเร่ืองร้องเรียน จานวน 9 เรื่อง

- แก้ไขสาเร็จ (ในระดบั หนงึ่ ) จานวน 7 เรื่อง (ร้อยละ 77.8)
- อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การแก้ไข จานวน 2 เรื่อง (ร้อยละ 22.2)
2. การสารวจข้อมลู การออกเทศบญั ญัติ – ข้อบญั ญัติ
พบวา่ เทศบาล และอบต. สว่ นใหญ่ยงั มีการออกเทศบญั ญัติ/ ข้อบญั ญตั ไิ ม่ครอบคลมุ
อาทเิ ชน่ เร่ือง การจดั การสงิ่ ปฏกิ ลู , การจดั การมลู ฝอย, และการจดั การมลู ฝอยตดิ เชือ้ เป็ นต้น

ปัญหาอปุ สรรค
จากการวเิ คราะห์สถานการณ์ข้างต้น จะพบวา่ มีปัญหาในการดาเนินงาน ดงั นี ้
1. เทศบาล/อบต. ยงั ออกเทศบญั ญตั -ิ ข้อบญั ญัติ ไมค่ รอบคลมุ
2. การแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียน บางเร่ืองปัญหาทพ่ี บ สามารถแก้ไขได้สาเร็จระดบั หนง่ึ
เทา่ นนั้ แตไ่ มห่ ายขาด พอเวลาผา่ นไปสกั ระยะ ก็จะมีปัญหาร้องเรียนเรื่องเดิมอีก

ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
1. จดั อบรมให้ความรู้ และสนบั สนนุ ให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ออกเทศบญั ญัติ หรือ

ข้อบญั ญัติให้ครอบคลมุ และนามาบงั คบั ใช้อยา่ งเป็ นรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขนึ ้

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี


256

2. การแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียนตา่ ง ๆ จาเป็ นต้องใช้มาตรการทางกฎหมาย รวมถึง
เทคนิคตา่ ง ๆ เข้ามาแก้ไขสถานการณ์ ดงั นนั้ ผ้ปู ฏิบตั ิงาน หรือผ้เู กี่ยวข้อง จาเป็ นต้องมีความรู้
ความเข้าใจ มีศาสตร์และศลิ ป์ ในการดาเนินงาน ซงึ่ ต้องอาศยั ประสบการณ์ และความรู้ท่ไี ด้รับจาก
การอบรม หรือจากการศกึ ษาหาความรู้เพมิ่ เตมิ เป็ นต้น

ภาพตวั อย่างการตรวจสอบ และแก้ไขเหตุร้องเรียน ร่วมกับ หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง

การตรวจสอบเหตรุ ้องเรียนกลนิ่ เหม็นจาก การตรวจสอบเหตรุ ้องเรียนกลนิ่ เหม็น
ล้างถงุ ขยะรีไซเคลิ จากฟาร์มเลยี ้ งไก่

5. งานการจัดการขยะมูลฝอย

ในปี งบประมาณ 2551 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้ดาเนินการจดั การมลู ฝอยตดิ เชือ้ ในสว่ นที่
เกี่ยวข้อง มีรายละเอียดดงั นี ้

1. การอบรมพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทท่ี ่เี กี่ยวข้อง จานวน 1 เรื่อง (เจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ ของสถานอี นามยั , สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ, โรงพยาบาล)

- เรื่องการจดั การมลู ฝอยตดิ เชือ้ ในสถานบริการสาธารณสขุ จานวน 126 คน
2. ประเมินการจดั การขยะตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล 10 แหง่ พบวา่ สว่ นใหญ่มีการกาจดั
ขยะตดิ เชือ้ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน แตใ่ นระดบั สอ.บางแหง่ มีการกาจดั ขยะติดเชือ้ ไมถ่ กู ต้อง และ
ไม่ได้มาตรฐาน (มีการเผารวมกบั ขยะทว่ั ไป, และเผากลางแจ้ง ซงึ่ สง่ ผลเสยี ถือเป็ นการแพร่กระจาย
เชือ้ ได้)

ปัญหาอุปสรรค จากการวเิ คราะห์สถานการณ์ข้างต้น พบวา่ มปี ัญหาในการดาเนนิ งาน ดงั นี ้
1. ในระดบั โรงพยาบาล พบวา่ บางแหง่ ไมไ่ ด้แตง่ ตงั้ ผ้คู วบคมุ กากบั ดแู ล เคลอ่ื นย้าย

และกาจดั ตามมาตรฐานทก่ี ระทรวงกาหนด

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


257

2. ผ้ปู ฏิบตั งิ านบางราย (ผ้คู วบคมุ , กากบั , เคลอื่ นย้าย, กาจดั ) ขาดความรู้ ทกั ษะ และ
ไม่ได้รับการอบรมฯ

3. รูปแบบ – แนวทางการจดั การขยะตดิ เชือ้ ยงั ไมช่ ดั เจนยงั ไมช่ ดั เจน
ข้อเสนอแนะนางทางการแก้ไข

1. ควรจดั อบรมให้ความรู้ และสนบั สนนุ การดาเนินการจดั การขยะติดเชือ้ ของสถานอี นามยั
2. ควรมีแนวทางการจดั การขยะมลู ฝอยติดเชือ้ ทช่ี ดั เจนและ ถกู ต้องในระดบั อาเภอ
ตามหลกั การกาจดั ขยะติดเชือ้ ทีก่ ระทรวงกาหนดไว้

6. การดาเนินงานงานโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม

สถานการณ์ปั ญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม
ปี งบประมาณ 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนินการเฝ้ าระวงั ควบคุม
ป้ องกนั โรค จากภาคอตุ สาหกรรม ภาคเกษตร ภาคบริการ โดยมีกิจกรรมดงั นี ้

1. ภาคอุตสาหกรรม โครงการป้ องกนั ควบคมุ โรคซิลโิ คซสิ ในสถานประกอบการโรงโม่
หิน อาเภออู่ทอง จานวน 10 แหง่ ดาเนินการติดตามตรวจสขุ ภาพทวั่ ไปให้กบั คนงาน จานวน
279 คน ตรวจสมรรถภาพการทางานของปอด 263 คน ผิดปกติ 62 คน คิดเป็ นร้อยละ23.57
ตรวจ X-Ray ปอด 16 คน ไม่พบคนงานมีผล X – Ray ผิดปกติ และตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
69 คน ผดิ ปกติ 39 คน คิดเป็ นร้อยละ 56.52

2. ภาคเกษตรกรรม ดาเนนิ การอบรมกลมุ่ เกษตรกร โดยใช้โครงการปรับปรุงสภาพความ
เป็ นอยแู่ ละการทางานของเกษตรกร (WIND) ดาเนินการในพืน้ ท่ี 10 อาเภอ จานวน 20 หม่บู ้าน
มีจานวนเกษตรกรเข้าร่วมอบรม 360 คน และอบรมกลมุ่ แรงงานนอกระบบ โดยใช้โครงการความ
ปลอดภยั สาหรับผู้ทางานที่บ้าน (WISH) ดาเนินการในพืน้ ที่ 10 อาเภอ จานวน 20 หม่บู ้าน มี
แรงงานนอกระบบเข้าร่วมโครงการ 320 คน พร้อมทงั้ อบรมเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทใี่ นระดบั
อาเภอและตาบล เพ่ือเป็ นพ่ีเลยี ้ งดูแลผ้ปู ระกอบอาชีพทงั้ ภาคเกษตรกรรมและแรงงานนอกระบบ
จานวน 47 คน

3. ภาคบริการ โครงการประเมินความเสยี่ งของบุคลากรในโรงพยาบาล จังหวดั สพุ รรณบุรี
มีโรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการ จานวน 10 แหง่ มีโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 5
แล้ว 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 4
จานวน 2 แหง่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลอู่ทองและโรงพยาบาลหนองหญ้าไซ ผา่ นเกณฑ์การ
ประเมินในระดบั 2 จานวน 5 แห่ง ประกอบด้วย โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ที่ 17
โรงพยาบาลศรีประจันต์ โรงพยาบาลสามชุก โรงพยาบาลด่านช้างและโรงพยาบาลดอนเจดีย์

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


258

ผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดบั 1 จานวน 2 แหง่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช
และโรงพยาบาลบางปลาม้า
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะนางทางการแก้ไข

1.หน่วยงานที่มี อานาจทางกฎหมายควรตรวจสอบอย่างจริ งจังและต่อเนื่องให้ สถาน
ประกอบการมีความตระหนกั ในการป้ องกนั ควบคมุ โรค

2.การดาเนินงานตามกระบวนการประเมินความเสี่ยงในการทางานของบุคลากรใน
โรงพยาบาล ควรเน้นให้ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในแตล่ ะแผนก/กลมุ่ งานมีสว่ นร่วมในการดาเนินงาน พร้อมทา
การควบคมุ แก้ไขความเสย่ี งท่ตี รวจพบ

7. การดาเนินงานป้ องกันและแก้ไขปัญหาสารหนูในพนื้ ท่เี ส่ียง อ.ด่านช้าง จ.สพุ รรณบรุ ี

สภาพปัญหา
สารหนู เป็ นธาตกุ ึง่ โลหะทม่ี ีลกั ษณะเป็ นผงโลหะสเี ทา พบอยใู่ นธรรมชาติทงั้ ในพืน้ ดิน

ทะเล และแหลง่ นา้ ตา่ ง ๆ สารหนใู นธรรมชาตทิ เ่ี ป็ นปัญหามกั เกิดจากการทาเหมืองแร่ ถลงุ แร่ การ
เผาถา่ นหิน และการใช้สารเคมีกาจัดศตั รูพืช สารหนูมี 2 รูปแบบ คือ สารหนอู ินทรีย์ (Organic)
และสารหนอู นินทรีย์ (Inorganic) สารหนทู ีเ่ ป็ นอนั ตรายและมีความเป็ นพิษสงู คือ สารหนูอนินทรีย์
(Inorganic)มกั เข้าสรู่ ่างกายโดยการสมั ผสั ทางผิวหนงั การหายใจ การปนเปื อ้ นในอาหารหรือนา้ ท่ี
อยตู่ ามธรรมชาติ พิษของสารหนเู ข้าสรู่ ่างกายทีละน้อยคล้ายกบั การตายผอ่ นสง่ และมีอาการต่อ
ระบบตา่ ง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ ระบบทางเดินหายใจ ระบบสมอง ตบั ไต ผิวหนงั เยื่อเมือกตา
เป็ นต้น

จงั หวดั สพุ รรณบุรี เป็ นจงั หวดั ท่ีพบปริมาณสารหนปู นเปื อ้ นในนา้ ดืม่ เกินเกณฑ์มาตรฐาน
ขององค์การอนามยั โลก ซง่ึ พบในพนื ้ ทต่ี าบลองค์พระ และตาบลวงั คนั อาเภอดา่ นช้าง และพบวา่ ผล
การตรวจปัสสาวะของประชาชนในพนื ้ ท่เี สยี่ งมีสารหนใู นปัสสาวะเกินเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 52.40

ผลการดาเนินงานในเชงิ ปริมาณ
1. ด้านการตรวจวเิ คราะห์คณุ ภาพนา้ ดิน และพืช
1.1 การเก็บตวั อยา่ งนา้ เจ้าหน้าท่ีกลมุ่ งานอนามยั สงิ่ แวดล้อมฯ สานกั งานสาธารณสขุ

จงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้ดาเนนิ การเก็บตวั อยา่ งนา้ ในพนื ้ ท่ีเสย่ี งฯ สง่ ตรวจวิเคราะห์เพอ่ื หาปริมาณสารหนู
ทศี่ นู ย์ห้อง ปฏบิ ตั ิการกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ จานวน 5 ครัง้ รวม 86 ตวั อยา่ ง ผลการตรวจ
วิเคราะห์ มีดงั นี ้

-พนื ้ ท่ี ม.2 บ้านหนองยายเงนิ ต.วงั คนั พบวา่ นา้ ประปาผวิ ดนิ , นา้ ประปาบาดาล
(เดิม) ,และนา้ ประปาบาดาล (เจาะใหม่) มีปริมาณสารหนเู กินเกณฑ์มาตรฐาน 7-10 เทา่

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี


259

-พนื ้ ที่ ม.4 บ้านทรัพย์พมิ พา ต.วงั คนั พบวา่ นา้ สระ มีปริมาณสารหนเู กินเกณฑ์
มาตรฐาน 50 เทา่

-พนื ้ ที่ ม. 5 บ้านหนองมะเขือขื่น ต.องค์พระ พบวา่ นา้ ดบิ ประปาผวิ ดิน และ
นา้ ประปาผวิ ดนิ (ปรับปรุงแล้ว) มีปริมาณสารหนเู กินเกณฑ์มาตรฐาน 44-64 เทา่
(ค่ามาตรฐานคณุ ภาพนา้ ด่ืมของกรมอนามยั มสี ารหนูปริมาณไม่เกิน 0.01 มลิ ลิกรัม/ลิตร)

-นา้ ประปา ม.6 บ้านบุง่ ยาง (บอ่ นา้ ตนื ้ ) ต.วงั คนั ,นา้ บาดาล สอ.บ้านดงรัง ม.4 ต.
วงั คนั ,นา้ ประปาบาดาล ม.9 บ้านเขาธง ต.องค์พระ ,นา้ ประปาบาดาลวดั คอกช้าง ต.องค์พระ,
นา้ ประปาบาดาล ม.7 บ้านนา้ ตกไทรทอง ต.องค์พระ ,นา้ ประปาภเู ขา ม.1 บ้านทงุ่ มะกอก ต.องค์
พระ ,นา้ ประปาบาดาล (เจาะใหม่) ม.5 บ้านหนองมะเขือขืน่ ต.องค์พระและตวั อยา่ งนา้ ฝนทเ่ี ก็บสง่
ตรวจ พบวา่ มีปริมาณสารหนู ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน

1.2 การเก็บตวั อยา่ งดินและพชื ผกั กลมุ่ งานอนามยั สงิ่ แวดล้อมฯ สานกั งานสาธารณสขุ
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ร่วมกบั สานกั ทรัพยากรแร่ และสานกั โรคจากการประกอบอาชีพฯ ได้จดั ประชมุ
ชีแ้ จงแนวทางการเก็บตวั อยา่ งดินและพืชผกั ในพนื ้ ท่ีเสยี่ งฯ เพอื่ ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารหนู เม่ือ
วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2551 และเก็บตวั อยา่ งดนิ จานวน 36 ตวั อยา่ ง สง่ ตรวจทส่ี านกั วทิ ยาศาสตร์
เพือ่ การพฒั นาทด่ี นิ เก็บตวั อยา่ งพืช จานวน 40 ตวั อยา่ ง สง่ ตรวจท่กี รมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผล
การตรวจวเิ คราะห์พบวา่ ดนิ มีปริมาณสารหนเู กินเกณฑ์มาตรฐาน(ระหวา่ ง 31-92 ppm คา่ ปกติไม่
เกิน 30 ppm) จานวน 14 ตวั อยา่ ง คดิ เป็ นร้อยละ 38.00 สว่ นพชื ทกุ ตวั อยา่ งมีปริมาณสารหนไู ม่
เกินเกณฑ์มาตรฐานคือไมเ่ กิน 2ppm

2.ด้านสขุ ภาพและสงิ่ แวดล้อม
กลมุ่ งานอนามยั สง่ิ แวดล้อมฯ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ร่วมกบั โรงพยาบาล

ดา่ นช้าง ได้ดาเนนิ การเก็บตวั อยา่ งปัสสาวะของประชาชนในพนื ้ ท่เี สย่ี งฯเพ่อื ตรวจวเิ คราะห์หาปริมาณ
สารหนแู ละสง่ ตรวจที่ศนู ย์ห้องปฏบิ ตั ิการกรมอนามยั จานวน 187 ตวั อยา่ ง เมื่อวนั ท่ี 28 พฤษภาคม
2551 ผลการตรวจวิเคราะห์พบวา่ มีปริมาณสารหนเู กินเกณฑ์มาตรฐาน(ระหวา่ ง 51-632 ไมโครกรัม
คา่ ปกตไิ ม่เกิน 50 ไมโครกรัม) จานวน 98 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ 52.40

3.ด้านการสอ่ื สาร ประชาสมั พนั ธ์ และทาความเข้าใจกบั ประชาชน กลมุ่ งานอนามัย
สิ่งแวดล้อมฯ สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี ร่วมกับสานกั งานประชาสมั พนั ธ์จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี และโรงพยาบาลดา่ นช้าง ได้จดั อบรมให้ความรู้เก่ียวกบั สารหนูและชีแ้ จงแนวทางในการ
สื่อสาร ประชาสมั พันธ์และทาความเข้าใจกับประชาชนเก่ียวกับโรคพิษสารหนูให้แก่เจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ เจ้าหน้าที่ องค์การบริหารสว่ นตาบล ผ้นู าชุมชน อาสาสมัครสาธารณสขุ และครูใน
พนื ้ ทเี่ สย่ี ง เม่ือวนั ที่ 6 สงิ หาคม 2551

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี


260

ปัญหาจากการดาเนินงาน
1. ปัจจบุ นั ผลการตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารหนใู นปัสสาวะจากกรมวทิ ยาศาสตร์

การแพทย์ ยงั ไมส่ ามารถแยกชนดิ ของสารหนไู ด้วา่ เป็ นสารหนอู ินทรีย์ หรือสารหนอู นินทรีย์ ซงึ่
สารหนอู นินทรีย์มีอนั ตรายและมีความเป็ นพษิ สงู ตอ่ ร่างกาย

2. การจดั หาแหลง่ นา้ ใหม่ เพอื่ ทดแทนแหลง่ นา้ เดิมให้กบั ประชาชนในพนื ้ ทเ่ี สยี่ งฯ ม.
5 บ้านหนองมะเขอื ขน่ื ต.องค์พระ ปัจจบุ นั ได้แหลง่ นา้ ประปาบาดาลใหมแ่ ล้ว แตย่ งั ขาด
งบประมาณสาหรับก่อสร้างขยายทอ่ เมนประปาจากแหลง่ นา้ ทเ่ี จาะใหมไ่ ปยงั ระบบประปาเดิม
เนอ่ื งจาก องค์การบริหารสว่ นตาบลองค์พระ ไมไ่ ด้จดั ทาแผนการใช้เงินงบประมาณไว้และได้เสนอ
ของบประมาณจากองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี แล้ว แตย่ งั ไมไ่ ด้รับการสนบั สนนุ

3. การจดั หาแหลง่ นา้ ใหม่ เพือ่ ทดแทนแหลง่ นา้ เดิมให้กบั ประชาชนในพนื ้ ทเี่ สยี่ งฯ ใน
ตาบลวงั คนั ปัจจบุ นั ได้ดาเนนิ การจดุ เจาะหาแหลง่ นา้ แล้วหลายแหง่ แล้ว แตย่ งั ไม่ได้แหลง่ นา้
ทดแทน

4. องค์การบริหารสว่ นตาบลวงั คนั ยงั ขาดงบประมาณปี 2551 ในการก่อสร้างถงั อดั
แรงดนั เพ่ือดงึ นา้ จากระบบประปา (บอ่ นา้ ตนื ้ ) จากระบบประปาบ้านบุง่ ยาง ม. 6 จ่ายให้กบั
ประชาชนในพนื ้ ทีเ่ สยี่ ง ซง่ึ องค์การบริหารสว่ นตาบลวงั คนั ได้จดั ตงั้ งบประมาณของตนเอง เพอ่ื
ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาในปี 2552 ตอ่ ไป

ข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าท่ีกลุ่มงานฯ ดาเนินการเกบ็ ตวั อย่าง
1. กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ควร นา้ ในพนื้ ท่เี ส่ียง ฯเพ่อื ส่งตรวจวเิ คราะห์
หาปริมาณสารหนูในนา้ อุปโภค/บริโภค
ดาเนินการจดั ซอื ้ เครื่องมือท่สี ามารถตรวจ
วิเคราะห์แยกชนิดของสารหนใู นปัสสาวะได้

2. องค์การบริหารสว่ นตาบลวงั คนั ควร
จดั หาภาชนะเก็บกกั นา้ ฝนให้กบั ประชาชนใน
พนื ้ ทเ่ี สยี่ งให้เพียงพอ หากยงั ไม่สามารถ
ดาเนนิ การแก้ไขปัญหา ตามข้อ 4 ได้

3. ควรติดตามผลจากการจดั สรร
งบประมาณจาก องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั
สพุ รรณบุรี ตอ่ ไป

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


261

8. การดาเนินงานสถานบริการแต่งผม-เสริมสวย ปี 2551

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้มีการดาเนินงานพฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย ให้ถกู

สขุ ลกั ษณะตามหลกั เกณฑ์การจดั กิจการทเ่ี ป็ นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ ตามพระราชบญั ญัติการสาธารณสขุ

พ.ศ. 2535 โดยมีการจดั ตงั้ สมาคมเสริมสวยจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ทาหน้าทด่ี แู ลและอานวยความสะดวก

ในการให้บริการแก่สมาชิกของสมาคมพร้อมทงั้ ประสานงานให้ความร่วมมือกบั เจ้าหน้าทเ่ี ทศบาลและ

สาธารณสขุ ในการควบคมุ คณุ ภาพการบริการแตง่ ผม-เสริมสวย ให้เป็ นไปตามหลกั เกณฑ์มาตรฐาน

และเฝ้ าระวงั ปัญหาด้านสขุ ภาพอนามยั ของผ้ใู ช้บริการ ดงั นนั้ เพอื่ ให้มีการดาเนนิ งานขยายผล

ครอบคลมุ ทงั้ จงั หวดั สพุ รรณบุรี กลมุ่ งานอนามยั สง่ิ แวดล้อมฯ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

จึงได้เร่งรัดดาเนนิ การพฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวยให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของกรมอนามยั

ตอ่ ไป

ผลการดาเนินงาน

ในปี 2551 กลมุ่ งานอนามยั สง่ิ แวดล้อมฯ สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ได้เสนอรายชื่อข้าราชการและพนกั งานจากองคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถ่ินให้กบั ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั

สพุ รรณบุรี เพอ่ื แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมินสถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ประจาปี 2551 โดยกาหนดบทบาทหน้าทีข่ อง

คณะกรรมการออกเป็ น 3 คณะ ได้แก่ 1)

คณะกรรมการท่ปี รึกษา 2) คณะกรรมการ

ประเมินการพฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-ร้าน

เสริมสวย ระดบั จงั หวดั และ 3) คณะกรรมการ

ประเมินการพฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-ร้าน

เสริมสวย ระดบั อาเภอ ซงึ่ เจ้าหน้าที่ทกุ คนของ

กลมุ่ งานอนามยั สง่ิ แวดล้อมฯ สานกั งาน

สาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ได้รับการ การประชมุ วชิ าการและมอบใบประกาศเกียรติคณุ ให้กบั ผ้ปู ระกอบการ

แตง่ ตงั้ ให้เป็ นคณะกรรมการประเมินการ ร้านแต่งผม-เสริมสวย ทผี่ า่ นการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
พฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-ร้านเสริมสวย สถานบริการแต่งผม-เสริมสวย

ระดบั จงั หวดั ผลการพฒั นาสถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย ในรอบปี ท่ผี า่ นมามีดงั นคี ้ ือ

- สถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย สะอาด ปลอดภยั นา่ ใช้บริการ ระดับดีมาก มีจานวน 20 แหง่

- สถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย สะอาด ปลอดภยั นา่ ใช้บริการ ระดับดี มีจานวน33 แหง่

- สถานบริการแตง่ ผม-เสริมสวย สะอาด ปลอดภยั นา่ ใช้บริการ ระดับพ้นื ฐาน มีจานวน 54 แหง่

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


245

งานสขุ ศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี


246

งานสุขศกึ ษาและประชาสัมพันธ์

ผลการดาเนินงานสขุ ศึกษาและพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ ปี 2551

การดาเนินงานด้านสขุ ศกึ ษาและประชาสมั พนั ธ์ในปี 2251 ได้เน้นในเร่ืองการสง่ เสริม
สนบั สนนุ การพฒั นางานสขุ ศกึ ษาของสถานบริการสาธารณสขุ การประสานความร่วมมือจาก
องค์กรภาคเี ครือขา่ ยด้านสขุ ภาพทกุ ระดบั และพฒั นาศกั ยภาพด้านการสอื่ สารสขุ ภาพ เพื่อให้
เกิดกระบวนการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ที่สง่ ผลให้ประชาชนมีความรู้และพฤตกิ รรมสขุ ภาพทีถ่ กู ต้อง
ภายใต้แนวคิดการสร้างเสริมสขุ ภาพชมุ ชนให้เข้มแข็ง และการประสานทรัพยากรในพนื ้ ที่แบบ
บรู ณาการบนพนื ้ ฐานเศรษฐกิจพอเพยี งด้านสขุ ภาพ กิจกรรมการดาเนินงานท่ีผา่ นมาประกอบด้วย

1. การพฒั นาคณุ ภาพงานสุขศกึ ษาในสถานบริการต่าง ๆ
1.1 การอบรมเจ้าหน้าทเ่ี กี่ยวกบั มาตรฐานงานสขุ ศกึ ษา และการถา่ ยทอดความรู้เพ่ือการ

ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ โดยการจดั อบรมเจ้าหน้าท่เี พ่อื พฒั นามาตรฐานงานสขุ ศกึ ษา
จานวน 135 คน

1.2 พฒั นามาตรฐานงานสขุ ศกึ ษาของสถานบริการตา่ ง ๆ จานวน 184 แหง่ สรู่ ะดบั การ
พฒั นาดงั นี ้

1) ยงั คงอยใู่ นระดบั พฒั นา จานวน 69 แหง่
2) มีคณุ ภาพในระดบั ท่ี 1 จานวน 74 แหง่
3) มีคณุ ภาพในระดบั ที่ 2 จานวน 22 แหง่
4) มีคณุ ภาพในระดบั ท่ี 3 จานวน 19 แหง่
5) มีสถานบริการสาธารณสขุ 2 แหง่ ได้แก่ โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์
ที่ 17 และ โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช ทีไ่ ด้รับการรับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสขุ
แล้ว และมีสถานบริการสาธารณสขุ 1 แหง่ คอื โรงพยาบาลศนู ย์เจ้าพระยายมราช ท่ีจะขอรับการ
ประเมินมาตรฐานงานสขุ ศกึ ษาจากองค์กรภายนอกใน ปี 2552
1.3 จดั อบรมพฒั นาศกั ยภาพด้านการสร้างพฤติกรรมด้วยขบวนการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม
ของประชาชน ( PLA ) แก่เจ้าหน้าท่ี 55 คน

2. การพัฒนาศกั ยภาพภาคีเครือข่ายสุขภาพ
2.1 จดั ทาโครงการสมั มนาถ่ายทอดและสง่ เสริมประสานการดาเนินงานสร้างสขุ ภาพของ

ภาคเี ครือขา่ ย ดงั นี ้
1 ) จดั ในชุมชนยอ่ ยวดั สวุ รรณภมู ิ ตาบลทา่ พ่ีเลยี ้ ง อาเภอเมืองสพุ รรณบุรี

มีผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม รับความรู้ เฝ้ าระวงั พฤติกรรมและออกกาลงั กายจนจบโครงการ จานวน 50 คน

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี


247

2 ) จดั ในตาบลสนามชยั อาเภอเมืองสพุ รรณบุรี มีภาคีเครือขา่ ยเข้าร่วมดาเนนิ การ
6 ภาคสว่ นได้แก่ เจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ องค์การบริหารสว่ นตาบล แกนนาชมุ ชน กลมุ่ อสม.
ชมรมผ้สู งู อายุ และวทิ ยชุ มุ ชน โดยมีประชาชนเข้าร่วมโครงการ 2,694 คน และในจานวนนขี ้ อ
เข้าร่วมกิจกรรมปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมจนจบโครงการทงั้ สนิ ้ 18 คน

3. การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสขุ ภาพในประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย
3.1 ร่วมกบั สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย จดั ทาโครงการประชาสมั พนั ธ์ป้ องกนั

และแก้ไขปัญหาโรคเอดส์ ปี 2551 ของกรมประชาสมั พนั ธ์ โดยจดั รายการ “รักได้ไม่มีโรค” ทาง
สถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จานวน 30 ตอน ๆละ 1 ชวั่ โมง

3.2 ร่วมกบั สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จดั ทา
รายการวิทยุ “ มมุ มองสองวยั ” ออกอากาศทางสถานวี ิทยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย

3.2 วางแผนร่วมกบั ภาคแี ละเครือขา่ ยทท่ี างานเร่ืองเพศและอนามยั เจริญพนั ธ์ุ เพอ่ื
ปรับเปลยี่ นพฤติกรรมด้านเพศของวยั รุ่น

3.4 ร่วมดาเนนิ งานป้ องกนั และแก้ไขปัญหาสารหนใู นพืน้ ท่ีเสยี่ งของจงั หวดั สพุ รรณบุรี
3.5 ร่วมเป็ นทีมสอบสวนควบคมุ โรค ( SRRT ) และให้สขุ ศกึ ษาประชาสมั พนั ธ์แก่
ประชาชนในพืน้ ท่ีท่ีมีการเกิดโรค

4. การรณรงค์ให้สุขศกึ ษาและประชาสัมพนั ธ์
4.1 ออกร้านจดั แสดงนิทรรศการด้านสขุ ภาพและบริการนวดแผนไทย ในงานอนสุ รณ์

ดอนเจดีย์และงานกาชาดประจาปี 2551 จานวน 15 วนั 15 คืน มีผ้เู ข้าชมนทิ รรศการ 10,000 คน
4.2 จดั รายการให้ความรู้ด้านสขุ ภาพทางสถานวี ิทยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย ใน

รายการ “ รวมพลคนรักสขุ ภาพ ” จานวน 42 ครัง้
4.3 ร่วมเป็ นผ้ดู าเนนิ รายการ “ สญั จรปลอดภยั ปี ใหม่ 2551 ” ในช่วง 7 วนั อนั ตรายที่

สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี โดยการเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร
รายงานสภาพการจราจร เป็ นการอานวยความสะดวก สร้างความปลอดภยั แกผ่ ้ใู ช้รถใช้ถนนใน
การเดินทางช่วงเทศกาลปี ใหม่

5. การให้บริการศนู ย์ข้อมลู ข่าวสาร
5.1 ปรับปรุงศนู ย์ข้อมลู ขา่ วสาร ประชมุ เจ้าที่ที่เก่ียวข้อง และประชาสมั พนั ธ์ให้ประชาชน

มารับริการ
5.2 ให้บริการข้อมูลขา่ สารแก่ประชาชนทมี่ ารับบริการ ณ ศนู ย์ข้อมลู ขา่ วสาร จานวน 111 คน
5.3 เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยมีการเผยแพร่ประกาศจดั ซอื ้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี


248

จดั จ้างผา่ น Web Site ของหนว่ ยงานทงั้ สนิ ้ 82 เร่ือง ผ้เู ยยี่ มชมข้อมลู ดงั กลา่ วจานวน 138 คน

6. การให้บริการเคร่ืองมือโสตทัศนูปกรณ์
6.1 จดั เตรียมห้องประชมุ พร้อมอปุ กรณ์การประชมุ /อบรม และสนบั สนนุ กิจกรรมการ

ประชุม/อบรม รวมทงั้ สนิ ้ 50 ครัง้

7. กิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย
7.1 การปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพกลมุ่ เสย่ี ง
ดาเนินการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมสขุ ภาพกลมุ่ เสยี่ ง ในกลมุ่ สทิ ธ์ิข้าราชการ ประกนั สงั คม

และสทิ ธิ์หลกั ประกนั สขุ ภาพ ทีม่ ีรอบเอวมากกวา่ 80 เซนตเิ มตรในเพศหญิง และมากกวา่ 90
เซนตเิ มตรในเพศชายจากทกุ อาเภอมาเข้าคา่ ยปรับเปลยี่ น 2 วนั 1 คืน รวม 10 รุ่น มีจานวนผู้
เข้าคา่ ยปรับเปลยี่ นรวมทงั้ สนิ ้ 1000 คน รายละเอียดดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 จานวนผ้เู ข้าคา่ ยปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ จาแนกตามสทิ ธิ์ เพศ และ รายอาเภอ

ปี 2551 จ.สพุ รรณบรุ ี

อาเภอ ข้าราชการ ประกันสังคม หลักประกันสุขภาพ รวม

เมอื ง ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง 144
สองพี่น้อง 6 28 09 109 94 127
อ่ทู อง 6 22 1 12 13 73 125
เดมิ บางนางบวช 15 36 01 10 63 101
บางปลาม้า 4 12 3 19 9 54 102
ศรีประจนั ต์ 3 21 03 9 66 100
สามชกุ 00 00 6 94 99
ดอนเจดีย์ 06 12 9 81 71
ดา่ นช้าง 39 02 11 46 80
หนองหญ้าไซ 55 13 11 55 51
30 10 7 40

รวม 45 139 7 51 92 681 1,000

7.2 การพฒั นาศกั ยภาพเครือขา่ ยผ้ดู าเนินการหลกั ประกนั สขุ ภาพ
ประชุมพฒั นาศกั ยภาพเครือขา่ ยในระดบั อาเภอๆละ 1 วนั รวม 10 อาเภอ ผ้เู ข้าร่วม

จานวน 1,437 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ 225 คน อสม. 1,101 คน และ
ผ้ดู าเนินการหอกระจายขา่ ว จานวน 111 คน ตามตารางท่ี 2

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี


249

ตารางท่ี 2 จานวนผ้เู ข้าร่วมโครงการพฒั นาศกั ยภาพเครือขา่ ยประชาสมั พนั ธ์งานหลกั ประกนั

สขุ ภาพจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551 จาแนกตามอาเภอและกลมุ่ ประชากร

อาเภอ เจ้าหน้าท่ี อสม. ผู้ดาเนินการหอ รวม
เมอื ง สาธารณสุข กระจายข่าว

35 144 18 197

สองพี่น้อง 24 171 12 207

อทู่ อง 26 154 12 192

บางปลาม้า 17 151 8 176

ศรีประจนั ต์ 36 64 10 110

สามชกุ 20 77 11 108

ดอนเจดยี ์ 11 58 7 76

ดา่ นช้าง 20 91 13 124

เดมิ บางนางบวช 24 121 14 159

หนองหญ้าไซ 12 70 6 88

รวม 225 1,101 111 1,437

7.3 การจดั งาน เดิน – วงิ่ มินิมาราธอนเขาเทวดา อนรุ ักษ์ป่ า รักษาวฒั นธรรม
สพุ รรณบรุ ี ประจาปี 2551 การจดั งานในครัง้ นีป้ ระกอบด้วยการจดั วง่ิ มินมิ าราธอนในเส้นทางท่ี
สวยงามของเขาเทวดา การจดั กิจกรรมต้านภยั ยาเสพติด และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สงิ่ แวดล้อม โดยการร่วมกนั ปลกู ป่ า กอ่ สร้างและซอ่ มแซมฝายชะลอการไหลของนา้ (Check
Dam) สร้างแนวป้ องกนั ไฟป่ า นอกจากนนั้ ยงั มีการแสดงเกี่ยวกบั วฒั นธรรม ประเพณีท้องถิ่นที่
แสดงความเอกลกั ษณ์ของชาวไทยเชอื ้ สายกะเหรี่ยง ณ อุทยานแหง่ ชาติพเุ ตย อาเภอดา่ นช้าง
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จานวน 2 วนั มีผ้เู ข้าร่วมโครงการรวมทงั้ สนิ ้ จานวน 2,310 คน
ประกอบด้วยผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทาฝายชะลอนา้ จานวน 550 คน ผ้เู ข้าร่วมแสดงศิลปวฒั นธรรม
ท้องถิ่น จานวน 210 คน และร่วมเดนิ – วง่ิ มินมิ าราธอน จานวน 1,550 คน ซง่ึ ในสว่ นของ
นกั วง่ิ จากข้อมลู พบวา่ มาจากทกุ ภมู ิภาคของประเทศ และมชี าวตา่ งชาติ คอื ชาวญี่ป่ นุ เข้าร่วม
วิ่ง จานวน 2 คน จากการประเมินผลความพงึ พอใจ พบวา่ ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมสว่ นใหญ่มีความ
พงึ พอใจในระดบั ทดี่ ีมาก

7.4 ร่วมถา่ ยทาวดี ที ศั น์กิจกรรมดาเนนิ งานสขุ ศกึ ษาของจงั หวดั สพุ รรณบุรีกบั กองสขุ ศกึ ษา
เพ่ือนาเสนอเผยแพร่ผลงานด้านสขุ ศกึ ษาของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในการประชมุ สมั มนาเครือขา่ ย
ด้านสขุ ภาพของกองสขุ ศกึ ษา ณ โรงแรมรามาการ์เด้น กรุงเทพ

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี


267

งานพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย
และการแพทยท์ างเลอื ก

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี


268
งานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

งานพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั

สพุ รรณบุรีได้ดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสขุ และรัฐบาล ในการสง่ เสริมและสนบั สนนุ

การดแู ลสขุ ภาพของประชาชน เป็ นการแพทย์พหลุ กั ษณ์หรือหลากหลายระบบโดยใช้ภมู ิปัญญา

แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กมาบรู ณาการกบั การแพทย์แผนปัจจบุ นั และขยายความ

ค้มุ ครองถงึ ผ้รู ับบริการในโครงการหลกั ประกนั สขุ ภาพพร้อมพฒั นาการให้บริการด้านแพทย์แผนไทย

และการแพทย์ทางเลอื กให้ได้มาตรฐาน

ในปี งบประมาณ 2551 สถานบริการสาธารณสขุ ทกุ แหง่ ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี ได้แก่

โรงพยาบาล จานวน 10 แหง่ สถานอี นามยั จานวน 174 แหง่ มีการให้บริการด้านการแพทย์แผน

ไทย และมีสถานบริการบางแหง่ ให้บริการด้านการแพทย์ทางเลอื ก และมีผลงานตอบสนองตวั ชีว้ ดั ท่ี

กาหนด ขณะนอี ้ ยรู่ ะหวา่ งการพฒั นาคณุ ภาพการให้บริการให้ได้ตามมาตรฐาน โดยเร่งดาเนินการ

พฒั นาบุคลากรและสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์และมีประสทิ ธิภาพย่งิ ขนึ ้ พร้อมนจี ้ งั หวดั

สพุ รรณบรุ ีได้ให้ความสาคญั กบั การสร้างเครือขา่ ยด้านการแพทย์แผนไทยให้กว้างขวางและเหนียว

แนน่ มากขนึ ้ ขณะนมี ้ ีศนู ย์การเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ครบทกุ อาเภอ จานวน 10 ศนู ย์ ใน

ศนู ย์การเรียนรู้มีสมาชิกร่วมกนั แลกเปลย่ี นเรียนรู้เก่ียวกบั ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ

ถา่ ยทอดองค์ความรู้ซงึ่ กนั และกนั เพ่ือสามารถพง่ึ ตนเองโดยใช้ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการ

ดแู ลสขุ ภาพตอ่ ไป

ผลงานการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพฒั นาภมู ปิ ัญญาไท สุขภาพวิถไี ทย
ทงั้ หมด 5 ยทุ ธศาสตร์

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : การสร้างและจัดการองค์ความรู้ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก

1.ได้ดาเนินการตามโครงการสง่ เสริมพฒั นาภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์
พนื ้ บ้าน สมนุ ไพรและการแพทย์ทางเลอื ก จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2551 กิจกรรมในโครงการมีการ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พนื ้ บ้าน สมนุ ไพรและการแพทย์ทางเลอื ก
แกบ่ คุ ลากรสาธารณสขุ และประชาชนทวั่ ไป ในหวั ข้อเรื่อง “การใช้ยาสมนุ ไพรในสถานบริการ
สาธารณสขุ ” และ “การชะลอความชรา ด้วยหลกั สขุ ภาพองค์รวม” และมีการจดั กิจกรรมแสดงผล
งานและองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยของเครือขา่ ยในแตล่ ะอาเภอและได้ทาการประเมินผล
จากผ้เู ข้าฟังและชมงานผลการประเมินดงั นี ้

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี


269

ผลการประเมนิ การให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย

1. จากการประเมินความคิดเห็นของประชาชนทเ่ี ข้าฟังบรรยายวชิ าการพบวา่ เร่ืองทบี่ รรยาย

มีความสาคญั โดยคดิ เป็ นร้อยละ ดงั นี ้ มีความสาคญั น้อย ร้อยละ 1.2 มีความสาคญั ปาน

กลาง ร้อยละ14.4 มีความสาคญั มาก ร้อยละ 50.0 มีความสาคญั มากทีส่ ดุ ร้อยละ 32.8

2. ผ้เู ข้าฟังการบรรยายได้รับความรู้และประโยชน์จากการ บรรยายวิชาการ คิดเป็ น ร้อยละ

ดงั นี ้ อยใู่ นเกณฑ์น้อย ร้อยละ1.3 อยใู่ นเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 7.8 อยใู่ นเกณฑ์มาก ร้อยละ

52.6 อยใู่ นเกณฑ์มากท่สี ดุ ร้อยละ 38.1

3. การประเมินวทิ ยากร วทิ ยากร ทงั้ 2 ทา่ น ท่ีบรรยาย จาก ประชาชน และเจ้าหน้าที่ ๆเข้า

ฟังการบรรยาย โดย ผ้เู ข้าฟังให้ความเหน็ วา่ ผ้บู รรยายมีวธิ ีนาเสนอทนี่ า่ สนใจ และใช้เวลาในการ

บรรยายอยา่ งเหมาะสม และสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ โดยคิดเป็ น

เปอร์เซน็ ต์ ดงั นี ้ อยใู่ นเกณฑ์น้อย ร้อยละ 2.6 อยใู่ นเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 2.6 อยใู่ นเกณฑ์มาก

ร้อยละ 47.3 อยใู่ นเกณฑ์มากท่ีสดุ ร้อยละ47.3

4. ประชาชนมีความพงึ พอใจ ในการจดั ประชุมให้ความรู้โดยคดิ เป็ นเปอร์เซน็ ต์ ดงั นี ้ มี

ความพงึ พอใจน้อย ร้อยละ 3.1 มีความพงึ พอใจปานกลางร้อยละ 13.6 มีความพงึ พอใจมาก ร้อย

ละ 48.6 มีความพงึ พอใจมากท่ีสดุ ร้อยละ 34.5

ผลการประเมนิ การจัดกจิ กรรมแสดงผลงานและองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย

ประชาชนทเี่ ข้าชมงานสว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจ ในการออกร้านแสดงผลติ ภณั ฑ์

สมนุ ไพรภายในงานและการออกร้านของแตล่ ะอาเภอมีความนา่ สนใจมากเพราะได้นาสนิ ค้า

สมนุ ไพร ที่มีชื่อของแตล่ ะอาเภอนามาจดั แสดงพร้อมจาหนา่ ย ซง่ึ ได้รับความสนใจจากผ้เู ข้าชมงาน

เป็ นจานวนมาก อาทิเชน่ นา้ ผลไม้และนา้ สมนุ ไพร หมอนสมนุ ไพร และพืชสมนุ ไพรตา่ งๆ ภายใน

งานยงั มีการแสดงฤๅษีดดั ตนและการนวดเพอ่ื รักษาโดยหมอนวดทผี่ า่ นการอบรม หลกั สตู ร ผ้ชู ่วย

แพทย์แผนไทย 372 ชว่ั โมงซง่ึ ได้รับความสนใจจากประชาชนอยา่ งมาก

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การพฒั นาระบบสุขภาพการแพทย์พนื้ บ้านการแพทย์แผนไทย และ
การแพทย์ทางเลือก

1.สร้างเครือขา่ ยด้านการแพทย์แผนไทยโดยการจดั ตงั้ ศนู ย์การเรียน ด้านการแพทย์แผน
ไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ทกุ อาเภอ จานวน 10 ศนู ย์ และมีการดาเนนิ กิจกรรมแลกเปลยี่ น
เรียนรู้ภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทยชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกันเชน่ การขยายพนั ธ์ุพืชสมนุ ไพรแจกจ่าย
กนั

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี


270

2. การประเมินและพฒั นาสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้จดั ตงั้ คณะกรรมการ
และทาการประเมินสถานบริการสาธารณสขุ ทกุ แหง่ ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ตามเกณฑ์ของกรมพฒั นา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ผลการประเมินดงั แสดงตามตารางตอ่ ไปนี ้

ตารางท่ี1 แสดงการจดั บริการการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551

สถานบริการ ระดับการบริการ
ระดบั 1 ระดบั 2 ระดับ 3 ระดบั 4

โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช --- /

โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองศ์ท่ี 17 -/- -

โรงพยาบาลอทู่ อง --- /

โรงพยาบาลบางปลาม้า --/ -

โรงพยาบาลศรีประจนั ต์ --/ -

โรงพยาบาลสามชกุ --/ -

โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช --/ -

โรงพยาบาลดอนเจดีย์ -/- -

โรงพยาบาลหนองหญ้าไซ -/- -

โรงพยาบาลดา่ นช้าง -// -

รวม - 3 5 2

ตารางท่ี 2 แสดงระดบั การบริการการแพทย์แผนไทยในสถานีอนามยั จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2551

สถานบริการ ระดับการบริการ
สานักงานสาธารณสุขอาเภอ จานวน สอ. ระดบั 1 ระดบั 2 ระดับ 3 ระดบั 4

เมือง 29 21 8 - -

สองพีน่ ้อง 25 23 2 - -

อทู่ อง 22 14 8 - -

บางปลาม้า 17 13 4 - -

ศรีประจนั ต์ 14 13 1 - -

สามชกุ 13 7 6 - -

เดมิ บางนางบวช 20 15 5 - -

ดอนเจดีย์ 9 54- -

หนองหญ้าไซ 9 45- -

ดา่ นช้าง 16 16 - - -

รวม 174 131 43 - -

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี


271

ยุทธศาสตร์ ท่ี 3 : การพฒั นากาลังคน ด้านการแพทย์พนื้ บ้าน การแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก

1.การอบรมและพฒั นาบคุ ลากร
1.1 จดั อบรมหมอนวดไทย 372 ชวั่ โมง โดยใช้หลกั สตู รผ้ชู ่วยแพทย์แผนไทย 372 ชว่ั โมง
ของกรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก จานวน 40 คน เพอื่ ปฏิบตั ิงานในสถาน
บริการสาธารณสขุ ของจงั หวดั สพุ รรณบุรี
1.2 การจดั อบรมหลกั สตู รการรักษาพยาบาลทางการแพทย์แผนไทยสาหรับเจ้าหน้าท่ี
สถานอี นามยั จานวน 50 คน

2. การสารวจและจัดทาทะเบยี นบคุ ลากรด้านการแพทย์แผนไทย

ผลการสารวจและจดั ทาทะเบียนบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยในจงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2551

กลมุ่ บคุ ลากรด้านการแพทย์แผนไทย

หมอ ผ้มู ีใบ ผ้แู ทน ผ้ปู ลกู หรือ ผ้ผู ลติ หรือ กลมุ่

อาเภอ พนื ้ บ้าน ประกอบโรค องคก์ าร ผ้แู ปรรูป ผ้จู าหนา่ ย นกั วชิ าการ

(คน) ศลิ ปะ (คน) เอกชนพฒั นา สมนุ ไพร สมนุ ไพร (คน)

(คน) (คน) (คน)

เมอื ง 93 14 0 3 13 1

เดมิ บางนางบวช 25 4 0 1 5 0

ดา่ นช้าง 32 1 0 1 0 0

บางปลาม้า 41 6 0 0 3 0

ศรีประจนั ต์ 42 5 0 2 4 0

ดอนเจดีย์ 61 2 0 8 3 0

สองพ่นี ้อง 5 0 0 0 00

สามชกุ 9 0 0 1 01

อ่ทู อง 33 14 1 5 53

หนองหญ้ าไซ 44 1 0 0 1 0

รวม 385 47 1 21 34 5

รายงานประจาปี 2551 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี


272

3. มีการรับมอบตัวศษิ ย์เพ่อื สมัครสอบเป็ นผ้มู ใี บประกอบโรคศิลปะสาขา
การแพทย์แผนไทย 4 สาขา

ผลงานการรับมอบตวั ศิษย์เพอ่ื สมคั ร สาขา จานวน (คน)
สอบเป็ นผ้มู ีใบประกอบโรคศิลปะ เวชกรรมไทย 17
สาขาการแพทย์แผนไทย 4 สาขา ปี เภสชั กรรมไทย 36
2551 ผดงุ ครรภไ์ ทย 10
นวดแผนไทย 44
107
รวม

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การพฒั นายาไทยและยาสมนุ ไพร
1. โรงพยาบาลอทู่ องมีการผลติ ยาสมนุ ไพร กระจายให้สถานบริการสาธารณสขุ ภายใน

จงั หวดั สพุ รรณบุรีและตา่ งจงั หวดั ในขณะนอี ้ ยรู่ ะหวา่ งพฒั นาเพื่อให้ได้มาตรฐาน GMP
2. มีการสง่ เสริมการใช้ยาสมนุ ไพรในสถานบริการทกุ แหง่ ให้ได้ตามเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ของ

กระทรวงสาธารณสขุ
3. สง่ เสริมให้เครือขา่ ยมีการปลกู สมนุ ไพรไว้ใช้เองและมีกลมุ่ ผ้ผู ลติ สมนุ ไพรทอ่ี าเภออู่ทอง

1 แหง่ ผลติ วตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทม่ี ีคณุ ภาพสนบั สนุนการผลติ ของโรงพยาบาลอ่ทู อง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : การคมุ ครองภมู ิปัญญาไทยด้านการแพทย์พนื้ บ้าน การแพทย์แผนไทย
มีการสารวจตารับ ตาราและจดั ทาทะเบยี นตารับ ตารา การแพทย์แผนไทย พบวา่ มีตารับ

ยาแผนไทย1,452 ตารับ และมีตาราการแพทย์แผนไทย 23 ตารา ซงึ่ ในจงั หวดั สพุ รรณบุรียงั มีตารับ
ตารา อยอู่ ีกมากซงึ่ จาได้ทาการสารวจเพอื่ เก็บข้อมลู ตอ่ ไป

ผลงานตามตัวชีว้ ดั งานพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข

ตวั ชีว้ ัดท่ี 1. ร้อยละของประชากรทม่ี ีหลกั ประกนั สขุ ภาพท่ีได้รับบริการรักษาพยาบาลและ
ฟืน้ ฟสู ภาพด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ในสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐ

ปัจจบุ นั สถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐทกุ แหง่ ในจงั หวดั สพุ รรณบุรีมีการให้บริการด้าน
การแพทย์แผนไทยครบทกุ แหง่ ผลงานตามตวั ชีว้ ดั สถานบริการบางแหง่ ยงั มีผลงานตา่ กวา่
เป้ าหมาย ปัญหาทม่ี ีผลกระทบกบั ตวั ชีว้ ดั ได้แก่

รายงานประจาปี 2551 สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี


Click to View FlipBook Version