The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-25 22:30:46

รายงานประจำปี2561

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

คำนำ

รายงานประจาปี 2561 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็น
ขอ้ มูลอา้ งอิงในการติดตาม กากบั และประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของกลุม่ งาน/งาน ภายใตก้ ากับของ
สานักงานสารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูล
ทรัพยากรสาธารณสุข ข้อมูลสถานะสุขภาพ และผลการปฏิบัติงานสาธารณสุข ทั้งนี้รายละเอียดของ
เนือ้ หาเปน็ การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน การวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบสถิติข้อมูลตา่ งๆ พร้อมทั้งได้สรุป
ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการนาไปใช้เพื่อการพัฒนางาน
สาธารณสขุ ใหด้ ียง่ิ ข้ึนต่อไป

การจัดทารายงานประจาปี 2561 คร้ังน้ี ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ ท่ปี ฏบิ ัตงิ านในกลมุ่ งาน/งาน ตา่ งๆ จึงขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานประจาปี 2561 นี้จะ
เป็นประโยชน์แก่ผสู้ นใจ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในการประสานและสนับสนุนการดาเนินงานพัฒนา
สาธารณสุขให้เกิดผลดตี ่อสขุ ภาพอนามัย และคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน

กล่มุ งำนพัฒนำยุทธศำสตร์สำธำรณสุข
สำนักงำนสำธำรณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี

สารบญั

คานา ขอ้ มูลทวั่ ไป หนา้
สารบัญ
บทที่ 1 วิสัยทัศน์ ก
ยุทธศาสตรส์ านักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ข
โครงสรา้ งการบริหารงานของสานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี 1
แผนท่ีจงั หวดั สุพรรณบุรี
เขตการปกครอง 1
ประชากรจังหวดั สุพรรณบุรี
ขอ้ มูลทรัพยากรจังหวดั สุพรรณบุรี 2
การบริการสุขภาพ 6
สถานะสขุ ภาพ 7
8
บทท่ี 2 PP&P Excellence 9
11
พัฒนาคุณภาพชีวติ คนไทยทุกกล่มุ วยั 14
กลมุ่ สตรแี ละเดก็ 20
กลุ่มเด็กปฐมวยั
กลุม่ เดก็ วยั เรียนและเยาวชน 45
กลมุ่ “วัยร่นุ ” 45
กล่มุ วยั ทางาน 45
กลมุ่ วยั สงู อายุ
ผลการดาเนนิ งานทนั ตสาธารณสุข 56
สถานการณ์สขุ ภาพชอ่ งปาก 70
กลมุ่ สตรีและเด็กปฐมวัย 75
85
88
94

94
98

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 2 กลุ่มวัยเรยี นและวยั ร่นุ หน้า
กลุ่มผู้สูงอายุ
การป้องกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพ 102
การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ 104
การควบคุมและป้องกันวัณโรค 105
โครงการสตั ว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบา้ 105
งานไขเ้ ลือดออก
งานสรา้ งเสริมภมู ิคุ้มกันโรค 117
งานควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
งานสขุ ภาพจิต 121
งานโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู
งานมะเร็งปากมดลูก มะเรง็ เต้านม มะเร็งลาไส้ 122
งานป้องกนั การจมนาเสยี ชวี ติ ในเด็กอายุตา่ กว่า 15 ปี 124
งานป้องกนั การลดการเสยี ชีวิตจากอบุ ตั ิเหตทุ างถนน 131
งานการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลแ์ ละยาสูบ 131
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 140
งานพัฒนาระบบปฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉิน (EOC) 144
การดาเนนิ งานคุ้มครองผ้บู รโิ ภคด้านสาธารณสุข 150
โครงการคุ้มครองผบู้ รโิ ภคดา้ นผลติ ภัณฑส์ ุขภาพและบริการสขุ ภาพ 154
ผลการดาเนินงานดา้ นบริหารเวชภัณฑ์ 156
การดาเนนิ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 161
งานด้านกฎหมายสาธารณสขุ (สนับสนุน อปท.ในการมีและบงั คบั ใช้ พรบ. 168
การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535) 177
การดาเนินงานดา้ นสุขาภิบาลอาหาร 178
การดาเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดล้อม 182
185
190

192
197

สารบญั (ต่อ)

บทที่ 3 Service Excellence หนา้

การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภมู ิ (PCC) 200
งานระบบบริการปฐมภูมิ
การพฒั นาคุณภาพระบบบรกิ าร 200
การดาเนนิ งานตามนโยบาย Smart Hospital 200
การดาเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 221
งานพัฒนาคุณภาพการบริการภาครัฐ (PMQA) 235
งานพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ทางเลือก 238
พัฒนาการให้บรกิ ารแพทยแ์ ผนไทยในสถานบริการของรัฐ 241
พฒั นาการผลิตยาสมนุ ไพร 244
งานพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก 247
การพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล 247
248
บทที่ 4 People Excellence 250

การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการกาลงั คนดา้ นสุขภาพ 254
อัตรากาลงั บุคลากรในระดับปฐมภมู ิ
การดาเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม MOPH 254
ในบคุ ลากรสาธารณสขุ 263
โครงการปฐมนเิ ทศบุคลากรสาธารณสุขบรรจุใหม่ 270
โครงการอบรมปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ สายนกั เรียนทุนรฐั บาล (แพทย์
ทันตแพทย์ เภสัชกร) 275
โครงการอบรมหลกั สูตรผบู้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง รุน่ ที่ 32 278
ระดับตน้ ร่นุ ที่ 28
การปฏิบัตงิ านสขุ ภาพภาคประชาชน 278

280

สารบญั (ตอ่ )

บทที่ 5 Governance Excellence หนา้

ด้านการเงนิ การคลัง งานประกนั สขุ ภาพ 285
ความครอบคลมุ การมีหลักประกนั สุขภาพของประชาชน
กองทุนหลักประกนั สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพนื ท่ี 285
การบริหารการเงนิ การคลัง งานบรหิ ารทั่วไป 289
งานให้คาปรึกษาและความเหน็ ทางกฎหมาย 292
งานนติ กิ รรมและสัญญา 294
งานการดาเนนิ การทางวินัย 300
งานเผยแพรค่ วามร้ดู า้ นกฎหมาย 301
งานบังคบั คดตี ามคาพิพากษาหรือคาส่งั 302
งานดาเนินมาตรการทางปกครอง 305
งานดาเนินเปรยี บเทยี บคดี 306
งานไกลเ่ กล่ียข้อพพิ าท 306
งานความรบั ผดิ ทางละเมดิ 307
งานดา้ นกฎหมายทั่วไป 307
308
308

ข้อมลู ท่ัวไป บท1ที่

วิสยั ทัศน์ สำนกั งำนสำธำรณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี เปน็ องค์กรบรหิ ำรจดั กำรสุขภำพทดี่ ี
ภำคีเป็นเลิศ ระบบข้อมูลทนั สมยั ใสใ่ จเจำ้ หนำ้ ที่ คนสุพรรณบุรมี สี ขุ ภำวะ

พนั ธกิจ 1. บรหิ ำรจดั กำร ระบบบรหิ ำร บริกำร ดำ้ นสขุ ภำพ
ประเดน็ 2. บูรณำกำรภำคีเครือขำ่ ยและสรำ้ งควำมเขม้ แข็งสู่ควำมเปน็ เลศิ
ยุทธศำสตร์ 3. พฒั นำระบบข้อมลู สุขภำพให้มคี วำมทันสมัย เออื้ ต่อกำรปฏิบตั ิงำน
เปำ้ ประสงค์ และกำรเข้ำถงึ ของประชำชน
4. สร้ำงเสริมควำมสขุ ใหแ้ กบ่ ุคลำกรอยำ่ งยง่ั ยนื
คำ่ นยิ ม
1. ยกระดบั กำรบรหิ ำรจัดกำร ระบบบรหิ ำร และบรกิ ำรดำ้ นสขุ ภำพสคู่ วำมเปน็ เลิศ
2. เสริมสรำ้ งควำมเขม้ แข็งและควำมเปน็ เลิศของภำคีเครอื ขำ่ ยด้ำนสขุ ภำพ
3. พฒั นำบคุ ลำกรและระบบข้อมูลให้เอ้ือตอ่ กำรปฏบิ ตั งิ ำน

1.บรหิ ำรจดั กำร ระบบบรหิ ำร และบริกำรดำ้ นสขุ ภำพ
1.1 ระบบบริหารจดั การมีธรรมาภิบาล และเออ้ื ต่อการปฏิบัติงานทม่ี ี
ประสทิ ธิภาพ
1.2 ระบบริการมคี ุณภาพ ครอบคลมุ และเขา้ ถงึ ได้
1.3 ประชาชนมีสุขภาพดเี หมาะสมตามวัย
2.บูรณำกำรภำคเี ครอื ข่ำยและสร้ำงควำมเข้มแข็งสคู่ วำมเปน็ เลศิ
2.1 ภาคเี ครือขา่ ยมีประสิทธิภาพและผลงานสูง
3.พัฒนำระบบข้อมูลสุขภำพให้มีควำมทันสมัย เอ้ือต่อกำรปฏิบัติงำนและ
กำรเข้ำถงึ ของประชำชน
3.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นสขุ ภาพมปี ระสทิ ธภิ าพ (ครบถ้วน
ถกู ต้อง ทันสมัย ทนั เวลา เช่อื มโยง เขา้ ถึงงา่ ย)
4.สร้ำงเสรมิ ควำมสขุ ใหแ้ ก่บคุ ลำกรอย่ำงย่ังยนื
4.1 บุคลากรมคี วามรู้ มีคณุ ค่า มคี วามกา้ วหนา้ และมคี วามสุข

Mastery เปน็ นำยตนเอง Service mind มีจิตบริกำร
Unity สำมคั คีเป็นหนึง่ เดียว
Originality เรง่ สร้ำงสิ่งใหม่ People center ประชำชนเปน็ ศูนย์กลำง
People centered ใสใ่ จประชำชน Honesty ซือ่ สตั ย์ สุจริต

Humility ถ่อมตนออ่ นนอ้ ม Appreciation ช่นื ชมในควำมสำเร็จ
Network ทำงำนเป็นเครือข่ำย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 1

ข้อมูลทั่วไป บท1ท่ี

พนั ธกิจ ประเด็นยุทธศำสตร์ เปำ้ ประสงค์ ตวั ชี้วัด

1. บริหาร ยกระดับการบริหาร 1.1 ระบบบริหาร 1) ร้อยละของหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวง
จดั การระบบ จัดการ ระบบบริหาร จัดการมี สาธารณสุขผา่ นการประเมนิ ITA
บรหิ าร บริการ บริการดา้ นสุขภาพสู่ ธรรมาภิบาล 2) ร้อยละของการจดั ซื้อร่วมของยาเวชภัณฑท์ ี่
ดา้ นสุขภาพ ความเป็นเลิศ และเอ้ือต่อการ ไม่ใช่ยา วสั ดุวิทยาศาสตร์ และวสั ดทุ นั ตกรรม
ปฏบิ ตั งิ านที่มี 3) ร้อยละของหน่วยงานผา่ นเกณฑ์
ประสิทธิภาพ ประเมินควบคมุ ภายใน

1.2 ระบบริการ 1) ร้อยละหน่วยบริการผ่านเกณฑ์คุณภาพ
มคี ุณภาพ
ครอบคลุม ตามมาตรฐาน
และเข้าถึงได้ 2) อตั ราการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทย

3) ความครอบคลุมของแพทย์และเตียงรพ.

สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

4) อัตราการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

5) อตั ราการเข้าถึงบริการ PP&P

6)ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมิน
ภาวะโภชนาการ
7) ร้อยละความพึงพอใจต่อการให้บริการของ
ประชาชน

1.3 ประชาชนมี 1) อัตราปว่ ยและตายด้วยโรคสาคัญตามกลุ่ม
สขุ ภาพดีเหมาะสม วัยลดลง
ตามวยั

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 2

ข้อมูลท่วั ไป บท1ที่

ตอ่

พันธกิจ ประเด็นยุทธศำสตร์ เป้ำประสงค์ ตัวช้ีวดั

2. บูรณาการภาคี เสริมสร้างความ 2.1 ภาคีเครือข่าย 1) ระดับความสาเรจ็ ในการดาเนินงานของ
เครือข่ายและ เข้มแข็งและความ มปี ระสิทธภิ าพ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับ
สรา้ งความ เป็นเลิศของภาคี และผลงานสงู อาเภอมีคุณภาพ
เข้มแข็งสคู่ วาม เครือข่ายด้านสุขภาพ 2) อัตราป่วยและตายของโรคที่ต้องอาศัย
เป็นเลศิ 3.1 ระบบ ความร่วมมือของภาคเี ครือขา่ ยในการแก้ไข
พัฒนาบุคลากรและ เทคโนโลยี ปญั หา
3. พฒั นาระบบ ระบบข้อมูลใหเ้ อื้อต่อ สารสนเทศ 3) จานวนนวัตกรรม/ผลงานทางวชิ าการท่ีได้รับ
ข้อมูลสุขภาพใหม้ ี การปฏิบัติงาน ดา้ นสุขภาพมี รางวัล (ระดบั ภาคข้ึนไป)
ความทนั สมัย เอื้อ ประสิทธภิ าพ 1) ร้อยละของหนว่ ยบริการสามารถเชื่อมโยง
ต่อการปฏบิ ัติงาน (ครบถว้ น ถูกต้อง แลกเปลี่ยนข้อมูลได้
และ การเข้าถงึ ทันสมัยทันเวลา 2) ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมลู สุขภาพ
ของประชาชน เช่อื มโยงเข้า ของตนเองได้
ถงึ ง่าย
4. สร้างเสรมิ 4.1 บุคลากรมี 1) ดชั นีความสขุ ของคนทางาน
ความสขุ ให้แก่ ความรู้ มีคณุ ค่า (Happinometer)
บคุ ลากรอย่าง มคี วามก้าวหนา้ 2) ดชั นสี ุขภาวะองค์กร (Happy Public
ยงั่ ยนื และมีความสุข Organization Index)
3) อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข
4) ร้อยละของหน่วยบริการทม่ี ีบุคลากร
สาธารณสุขเพยี งพอ

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 3

ขอ้ มูลท่ัวไป บท1ท่ี

1. จัดทำแผนยุทธศำสตร์ที่มุ่งเน้นกำรปฏิรูประบบสุขภำพให้ครอบคลุมทุกด้ำน

กลยุทธ์ และให้ควำมสำคญั กับมำตรกำรสร้ำงแรงจูงใจสคู่ วำมเปน็ เลศิ
2. เพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้ระบบติดตำมประเมินผลเพื่อพัฒนำระบบสุขภำพ

จังหวัด

3. พัฒนำระบบบริกำร และ ระบบกำรส่งเสริมป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค

(PP&P) สู่ควำมเปน็ เลศิ

4. เพ่ิมศักยภำพของภำคีเครือข่ำยในกำรดูแลสุขภำพประชำชน (*) และมุ่งสู่

ควำมเป็นเลิศ

5. สร้ำงช่องทำงกำรตรวจสอบและกลั่นกรองข้อมูลด้ำนสุขภำพและเพิ่มกำร

เข้ำถึงข้อมูลสุขภำพทจ่ี ำเปน็ สำหรบั ประชำชน
6. ประสำนงำนภำคเี ครือขำ่ ยในกำรบรู ณำกำรแผนและกำรกำกับติดตำม

7. พัฒนำระบบบริกำรสุขภำพให้ครอบคลุมกลุ่มเป้ำหมำยและเพิ่มมำตรกำรเชิงรุกให้กับกลุ่มที่เข้ำไม่ถึง

บรกิ ำร

8. พัฒนำระบบข้อมูลเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรใช้ข้อมูลของผู้ให้บริกำรและผู้รับบริกำรผ่ำน

ช่องทำงทีท่ นั สมัยและหลำกหลำย (**)

9. ปรับปรงุ กลไกกำรขบั เคลอื่ นแผนพฒั นำคนสู่กำรปฏิบตั ิ (***)

10. บูรณำกำรและปรับปรุงระบบสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนให้เอื้อต่อกำรดำเนินงำนและสอดคล้อง

กับปญั หำของพน้ื ท่ี (****)

11. เพ่ิมมำตรกำร สร้ำงแรงจูงใจและควำมก้ำวหน้ำของบุคลำกรให้สอดคล้องกับยุทธศำสตร์

(*****)
* เน้นกระจายความรู้, ดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุ

** เน้นการพฒั นาชดุ ข้อมูลที่จาเป็น, เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงข้อมลู , ลดความซา้ ซ้อนของรายงาน/โปรแกรม

*** เพ่ิมช่องทาง, เพิ่มการเข้าถึงข้อมูลบุคลากร

**** ระบบสนับสนุนด้าน คน เงนิ ของ

***** การสร้างและสืบทายาทการทางาน

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 4

ข้อมลู ทั่วไป บท1ที่

ปัญหำสำธำรณสุข PP&P Excellence
ทสี่ ำคัญ
1. โรคจำกควำมเสื่อมและปญั หำกำรดแู ลในผู้สูงอำยุ
2. โรคเรือ้ รังทเี่ กดิ จำกพฤตกิ รรมสขุ ภำพไมถ่ ูกต้องเหมำะสม
3. โรคปอดบวม
4. ปญั หำวัยรุ่น (ทอ้ งก่อนวยั ,ยำเสพตดิ ,บหุ รี,่ สุรำ,โรคตดิ ต่อทำง

เพศสมั พันธ์)
5. ANC คณุ ภำพยังไมค่ รอบคลมุ
6. โรคไขเ้ ลอื ดออก
7. สงู ดสี มสว่ น ฟนั ไม่ผุ พฒั นำกำรสมวยั ในเดก็ ปฐมวยั
8. ปญั หำสุขภำพจิต (ซมึ เศรำ้ /จิตเวช/ฆำ่ ตวั ตำย)

Service Excellence

1. กำรเข้ำถึงบรกิ ำรในกลมุ่ วกิ ฤตฉิ ุกเฉนิ นอ้ ยและล่ำช้ำ
(Stroke Stemi อบุ ตั เิ หตุ Septic Shock ฯลฯ)

2. ระบบกำรส่งตอ่ นอกเขตใน 4 สำขำหลกั สูง
3. ปัญหำอบุ ัตเิ หตจุ รำจร อัตรำกำรตำยสงู

People Excellence

1. ควำมเพียงพอของบุคลำกร
2. ควำมสขุ ของบุคลำกร เช่น ควำมกำ้ วหนำ้ Career Path

ควำมเหลอื่ มล้ำในกำรทำงำนระหว่ำงวิชำชพี , กำรคงอย่ขู อง
บุคลำกร/ ควำมผกู พนั

Governance Excellence

1. กำรพัฒนำคณุ ภำพระบบขอ้ มลู
2. ระบบธรรมำภิบำลของหนว่ ยงำน

คุณธรรมและควำมโปร่งใส

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 5

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 ขอ้ มูลทั่วไป โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนสำนกั ง
8
นำยแพทย

นำยแพทยเ์ ช่ยี วชำญ นักวชิ ำกำรสำธำรณสขุ เช่ียวชำญ
(ดำ้ นส่งเสริมพัฒนำ)
(ดำ้ นเวชกรรมป้องกนั ) (นำงสวุ ิมล ปำนะชำ)

(นพ.รฐั พล เวทสรณสุธี) 1.กลุ่มงำนประกนั สุขภำพ
2..กลุ่มงำนคุ้มครองผู้บริโภค
1.กลุม่ งำนพฒั นำยุทธศำสตร์ 3.กลมุ่ งำนพฒั นำคุณภำพและ
สำธำรณสขุ รูปแบบบริกำร
2.กลมุ่ งำนควบคมุ โรคไม่ 4.กลุม่ งำนพฒั นำกำรแพทย์แผน
ตดิ ตอ่ สขุ ภำพจิต และยำ ไทยและกำรแพทย์ทำงเลอื ก
เสพตดิ
3.กลุ่มงำนควบคุมโรคติดต่อ

6

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2561

งำนสำธำรณสุขบจทังหท1วดัี่ สุพรรณบุรี

ยส์ ำธำรณสุขจงั หวัด กลุม่ งำนนิติกำร

นักวชิ ำกำรสำธำรณสขุ เช่ียวชำญ นำยมนูญ ศนู ย์สิทธิ์
(ด้ำนบรกิ ำรทำงวชิ ำกำร) นักวิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญกำรพเิ ศษ
(นำงกรแก้ว ทัพมำลยั )
1.กลุ่มงำนบริหำรทัว่ ไป
1.กลมุ่ งำนส่งเสรมิ สขุ ภำพ 2.กลุ่มงำนทรพั ยำกรบุคคล
2.กลมุ่ งำนทนั ตสำธำรณสขุ 3.งำนพัฒนำบคุ ลำก
3.กลุ่มงำนอนำมัยส่ิงแวดลอ้ ม
และอำชีวอนำมัย 8
4.กลุ่มงำนสขุ ศกึ ษำ
ประชำสัมพนั ธแ์ ละสุขภำพภำค
ประชำชน

ขอ้ มูลท่ัวไป บท1ท่ี

แผนทจ่ี ังหวัดสุพรรณบรุ ี ตดิ จงั หวัดอทุ ัยธานี และจังหวดั ชยั นาท
ตดิ จังหวัดสงิ หบ์ ุรี จงั หวัดอา่ งทอง และจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
อำณำเขต ตดิ จังหวัดนครปฐม และจงั หวัดกาญจนบรุ ี
ทิศเหนอื ติดจงั หวัดกาญจนบุรี

ทศิ ตะวันออก

ทิศใต้

ทิศตะวันตก

แผนท่ีจังหวัดสุพรรณบรุ ี 7

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561

ขอ้ มลู ท่ัวไป บท1ท่ี

เขตกำรปกครอง

การบรหิ ารราชการส่วนภมู ภิ าคของจังหวดั สพุ รรณบุริ แบ่งเขตการปกครองออกเปน็

10 อาเภอ 110 ตาบล 258 ชมุ ชน และ 1,008 หมบู่ ้าน โดยมีอาเภอดงั น้ี

1. อาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี 2. อาเภอเดิมบางนางบวช

3. อาเภอดา่ นชา้ ง 4. อาเภอบางปลามา้

5. อาเภอศรีประจนั ต์ 6. อาเภอดอนเจดยี ์

7. อาเภอสองพี่น้อง 8. อาเภอสามชุก

9. อาเภออู่ทอง 10. อาเภอหนองหญา้ ไซ

การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง

2 แหง่ เทศบาลตาบล 43 แหง่ และองค์การบริหารส่วนตาบล 81 แห่ง (ตารางท่ี 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครองจังหวัดสพุ รรณบุรี จาแนกรายอาเภอ

เทศบาล จานวนชมุ ชน/หมู่บา้ นตาม

อาเภอ ตาบล เมอื ง ตาบล อบต. เขตการปกครอง(มหาดไทย)

เมืองสุพรรณบรุ ี ชุมชน หมู่บ้าน
เดมิ บางนางบวช
ดา่ นช้าง 20 18 14 72 124
บางปลาม้า
ศรปี ระจนั ต์ 14 -8 8 42 121
ดอนเจดีย์
สองพน่ี อ้ ง 7 -1 7 5 93
สามชุก
อ่ทู อง 14 -7 11 30 127
หนองหญา้ ไซ
9 -6 6 24 64
รวม
5 -2 5 8 50

15 11 14 25 140

7 -1 6 20 68

13 -9 6 30 155

6 -1 6 2 66

110 2 43 81 258 1,008

ที่มา: 1) สานักงานสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอ้ มูล 31 ธนั วาคม 2561)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 8

ข้อมลู ทัว่ ไป บท1ที่

ประชำกรจังหวัดสุพรรณบรุ ี

จานวนประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี จานวนประชากรในระบบทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย (ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2561) จาแนกตามเพศและรายอาเภอ มีจานวนท้ังสิ้น 848,720 คน เป็นชาย 410,241 คน
คิดเป็นร้อยละ 48.34 และหญิง 438,479 คน คิดเป็นร้อยละ 51.66 อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ
1:1.07 อาเภอทมี่ ีสดั ส่วนประชากรมากที่สุด 3 ลาดบั แรก คือ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี รองลงมาคืออาเภอสองพ่ี
น้องและอาเภออู่ทอง ความหนาแน่นของประชากรในภาพรวมท้ังจังหวัด เท่ากับ 158 คนต่อตารางกิโลเมตร
(พ้ืนที่จังหวัดสุพรรณบุรีมีท้ังหมด 5,358.01 ตารางกิโลเมตร)มีจานวนหลังคาเรือนรวมทั้งสิ้น 299,083 หลังคา
เรอื น (ตารางท่ี 2)

ตารางที่ 2 จานวนประชากรในทะเบยี นราษฎร์และหลงั คาเรือน กระทรวงมหาดไทย รายอาเภอจังหวัด
สุพรรณบรุ ี

อำเภอ ชำย หญงิ รวม รอ้ ยละ อัตรำสว่ น หลงั คำ
ชำย:หญิง เรือน
เมอื ง 79,803 88,460 168,263 19.83 1.11 63,404
เดมิ บางนางบวช 34,729 37,507 72,236 8.51
1.08 26,637

ด่านช้าง 33,775 34,577 68,352 8.05 1.02 26,356
บางปลามา้ 37,722 39,903 77,625 9.15 1.06 25,724
ศรีประจันต์ 29,589 32,402 61,991 7.30 1.10 22,440
ดอนเจดีย์ 22,424 23,813 46,237 5.45 1.06 16,110
สองพ่นี อ้ ง 62,695 65,452 128,147 15.10 1.04 41,199
สามชกุ 25,958 28,314 54,272 6.39 1.09 20,948
อู่ทอง 59,370 62,829 122,199 14.40 1.06 39,287
หนองหญา้ ไซ 24,176 25,222 49,398 5.82 1.04 16,978

รวม 410,241 438,479 848,720 100 1.07 299,083

ทีม่ า : 1. ฐานขอ้ มูลประชากรในทะเบยี นราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2561
2. ข้อมูลจานวนหลงั คาเรือนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (http://www.dopa.go.th/stat_m.htm)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 9





ข้อมลู ท่ัวไป บท1ท่ี

ขอ้ มูลทรพั ยำกรสำธำรณสุข

สถำนบริกำรสำธำรณสขุ ของรฐั

จังหวดั สุพรรณบรุ ี มีสถานบริการสาธารณสุขของรฐั บาล ดังน้ี จานวน 1 แหง่
โรงพยาบาล ระดบั A โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช จานวน 1 แห่ง
โรงพยาบาล ระดับ M1 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองค์ที่ 17 จานวน 1 แห่ง
โรงพยาบาล ระดับ M2 โรงพยาบาลอูท่ อง จานวน 1 แห่ง
โรงพยาบาล ระดบั F1 โรงพยาบาลด่านชา้ ง จานวน 6 แห่ง
โรงพยาบาล ระดบั F2 โรงพยาบาลสามชุก,เดิมบางนางบวช,
ศรีประจนั ต์,ดอนเจดีย์,บางปลามา้ ,หนองหญา้ ไซ จานวน 174 แห่ง
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล จานวน 8 แหง่
-โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลขนาดใหญ่ จานวน
-โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลขนาดท่วั ไป จานวน 166 แหง่
ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ ของเทศบาล จานวน 3 แห่ง
จานวน 5 แหง่
• ศนู ย์สุขภาพชุมชนเมือง 8 ทีม
คลนิ กิ หมอครอบครัว(Primary care cluster)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 11

ขอ้ มูลทั่วไป บท1ท่ี

ตารางที 3 จานวนสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐบาล จาแนกรายอาเภอ จังหวดั สุพรรณบุรี

โรงพยำบำล โรงพยำบำล ศนู ย์บริกำร คลนิ กิ หมอ
ส่งเสรมิ สขุ ภำพ สำธำรณสุข ครอบครัว
อำเภอ ประเภท/แหง่ จำนวน จำนวนเตยี ง
เมืองฯ ตำมกรอบ ตำบล (แห่ง) (ทมี )
เดิมบางฯ เตยี งจริง 2
ดา่ นช้าง 666 29 - 3
บางปลามา้ รพ. ระดับ A 1 แห่ง 680 120 20 -
ศรีประจนั ต์ รพ. ระดบั F2 1 แหง่ 120 90 16 - -
ดอนเจดยี ์ รพ. ระดบั F1 1 แห่ง 106 60 17 -
สองพี่นอ้ ง รพ. ระดับ F2 1 แหง่ 62 60 14 - -
สามชกุ รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 9 - -
อทู่ อง รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 68 210 25 1
หนองหญา้ ไซ รพ. ระดับ M1 1 แหง่ 262 60 13 - -
รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 150 22 1 1
รวม รพ. ระดบั M2 1 แห่ง 144 60 9 - -
รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 60 1,506 174
1,622 - 5
10
-

3

ท่ีมา : 1. ขอ้ มลู ทรพั ยากรสาธารณสุข กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตรส์ าธารณสุข สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

2. ข้อมลู พน้ื ฐานโรงพยาบาลในสงั กัดสานกั ปลดั กระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 กองบรหิ ารการสาธารณสขุ

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 12

ข้อมูลทว่ั ไป บท1ท่ี

สถำนบริกำรสำธำรณสุขของเอกชน

• สถำนพยำบำลประเภททรี่ ับผ้ปู ว่ ยไว้คำ้ งคนื จำนวน 4 แห่ง
o โรงพยาบาล
o สถานพยาบาล (มเี ตยี ง) จานวน 4 แหง่
จานวน - แห่ง
• สถำนพยำบำลประเภทท่ีไม่รับผ้ปู ่วยไว้ค้ำงคืน จำนวน 267 แห่ง
o คลินกิ เวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง
(คลินิกแพทย์) จานวน 108 แหง่

o คลินกิ ทนั ตกรรม จานวน 33 แห่ง

o คลนิ กิ การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ จานวน 97 แห่ง
o คลินกิ เทคนิคการแพทย์ จานวน 8 แหง่
o คลนิ กิ การแพทย์แผนไทย จานวน 6 แหง่
o สหคลนิ กิ จานวน 8 แหง่
o คลนิ ิกกายภาพบาบดั จานวน 4 แหง่
o คลินกิ การประกอบโรคศลิ ปะ จานวน 3 แหง่
จำนวน 261 แห่ง
• สถำนประกอบกำรรำ้ นขำยยำและผลติ ยำแผนโบรำณ
o ร้านขายยาแผนปัจจุบนั /แผนปัจจบุ นั บรรจุเสรจ็ จานวน 196 แห่ง
o ร้านขายยาแผนโบราณ จานวน 41 แห่ง
o สถานทผ่ี ลติ ยาแผนโบราณ จานวน 11 แห่ง

o รา้ นขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจุเสร็จสาหรับสัตว์ จานวน 13 แห่ง

ทม่ี า : กลุ่มงานคุม้ ครองผบู้ รโิ ภคสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ.2561

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 13

ข้อมูลทว่ั ไป บท1ที่

ตารางท่ี 4 จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข จาแนกรายอาเภอ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2562

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อตั ราสว่ น อสม./ อตั ราสว่ น อสม./
ประชากร หลงั คาเรือน
เมืองสุพรรณบุรี 2,467 1:68 1:26
เดมิ บางนางบวช 1,663 1:43 1:16
ด่านชา้ ง 1,144 1:60 1:23
บางปลาม้า 1,561 1:50 1:16
ศรีประจนั ต์ 1,320 1:47 1:17
ดอนเจดยี ์ 908 1:51 1:18
สองพี่น้อง 1,806 1:71 1:23
สามชกุ 1,236 1:44 1:17
อ่ทู อง 2,591 1:47 1:15
หนองหญา้ ไซ 1,309 1:38 1:13
16,005
รวม 1:53 1:19

ทีม่ า : ระบบสารสนเทศสุขภาพภาคประชาชน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562
http://www.thaiphc.net/thaiphcweb/index.php?r=staticContent/show&id=1 (วันที่ 8 กุมภาพนั ธ์

2562)

กำรบรกิ ำรสุขภำพ

กำรให้บริกำรสุขภำพในระดับโรงพยำบำล

1. ผูป้ ่วยนอก

การให้บริการผู้ป่วยนอกในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ใน
ภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกใน
สถานพยาบาลทุกระดับ เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของการมารับบริการ(ครั้งต่อคน) ตามประเภทสิทธิ จะเห็นว่า
กลุ่มสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เบิกต้นสังกัดมาใช้บริการเฉลี่ยจานวนครั้งต่อคนมากกว่ากลุ่มสิทธิอ่ืนๆ คือ
5.42ครั้ง/คน รองลงมาคือกลุ่มสิทธิ UC มีอัตราส่วนของการมารับบริการเท่ากับ 4.12 ครั้ง/คน กลุ่มสิทธิ
ประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการ คือ 2.74 ครั้ง/คน และ ในกลุ่มสิทธิแรงงานต่างด้าวมีอัตราส่วน
ของการมารับบริการต่าสุดคือ 1.63 ครั้ง/คน โดยค่าเฉลี่ยของการมารับบริการผู้ป่วยนอกในสถานพยาบาลทุก
ระดับในภาพรวมของประชากรท้ังจังหวัดในปี พ.ศ.2561 มคี ่าเฉลยี่ เท่ากับ 4.96 ครงั้ /คน/ปี (ตารางที่ 5)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 14

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บท1ที่

ตารางท่ี 5 จานวนคน/คร้ัง ของผู้รับบริการประเภทผู้ป่วยนอกในสถานพยาบาลทุกระดับ สังกัดภาครัฐใน
จงั หวัดสุพรรณบุรี จาแนกตามประเภทสิทธิ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560-2561

ประเภทสิทธิ ปี 2560 ครง้ั :คน คน ปี 2561 ครง้ั :คน
คน ครัง้ คร้ัง
(ผปู้ ว่ ยนอก)
1.ข้ำรำชกำร/รฐั วิสำหกจิ / เบิกต้น 111,694 546,262 4.89 101,485 549,546 5.42
สังกดั
2.ประกนั สังคม 131,928 365,755 2.77 142,399 390,173 2.74
3.UC บัตรทองไม่มี ท/มี ท 781,464 3,178,443
4.แรงงำนต่ำงด้ำว 91,027 153,774 4.07 753,716 3,106,351 4.12
หมำยเหต:ุ ไม่ระบุสทิ ธิ 9,594 40,552
รวมผูม้ ำรบั บรกิ ำร 1,054,852 4,284,766 1.69 110,261 179,928 1.63
ประมำณกำรอตั รำสว่ นกำรใช้บริกำร 1,915 4,058
ผปู้ ่วยนอก 1 ปีตอ่ ประชำกรท้ังหมด
4.06 1,037,698 4,230,036 4.08

5.05 ครง้ั /คน/ปี 4.96 คร้งั /คน/ปี

ที่มา : คลังขอ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 22 มกราคม 2562

เมื่อจาแนกจานวนผู้มารบั บริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจ้าพระยายมราช มีจานวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อเดือนมากที่สุด
รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ รพช.อู่ทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.สามชุก รพช.ด่านช้าง รพช.
บางปลาม้า รพช.ดอนเจดีย์ รพช.ศรีประจันต์ และรพช.หนองหญ้าไซ ตามลาดับ แต่อัตราส่วนของการมารับ
บริการผู้ป่วยนอกจานวนครั้งต่อคนต่อปีของรพช.สามชุกสงู กวา่ โรงพยาบาลอน่ื ๆ คือเฉล่ียเท่ากับ 5.59 ครั้ง/คน/
ปี โดยคา่ เฉลยี่ ทง้ั จังหวดั เทา่ กับ 4.51 ครง้ั /คน/ปี (ตารางที่ 6)

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 15

ขอ้ มูลท่ัวไป บท1ท่ี

ตารางท่ี 6 จานวนคนและคร้ังของผูร้ ับบริการประเภทผปู้ ่วยนอก จาแนกตามรายโรงพยาบาลสังกัดภาครัฐ
ในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2560-2561

โรงพยำบำล คน ปี 2560 ครั้ง:เดือน คน ปี 2561 ครัง้ :เดือน
164,758 ครัง้ คร้งั :คน 63,986 185,731 คร้งั ครง้ั :คน 67,552
รพศ.เจา้ พระยาฯ 93,256 767,833 4.66 31,960 72,855 810,620 4.36 28,023
รพท.สมเดจ็ ฯ 42,686 383,515 4.11 16,847 43,182 336,276 4.62 16,871
รพช.เดมิ บางฯ 42,352 202,167 4.74 14,660 42,863 202,455 4.69 14,744
รพช.ดา่ นชา้ ง 35,424 175,916 4.15 13,353 34,550 176,930 4.13 12,568
รพช.บางปลาม้า 30,515 160,239 4.52 11,407 31,193 150,812 4.37 11,789
รพช.ศรปี ระจันต์ 27,821 136,885 4.49 11,395 28,946 141,469 4.54 11,819
รพช.ดอนเจดีย์ 32,647 136,743 4.92 14,816 31,793 141,829 4.90 14,799
รพช.สามชกุ 61,541 177,786 5.45 20,875 61,305 177,584 5.59 21,074
รพช.อทู่ อง 21,006 250,502 4.07 8,903 20,802 252,885 4.13 8,646
รพช.หนองหญา้ ไซ 552,006 106,841 5.09 208,202 553,220 103,749 4.99 207,884

รวม 2,498,427 4.53 2,494,609 4.51

ทมี่ า : คลังขอ้ มลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ที่ 22 มกราคม 2562

2. ผู้ป่วยใน

การให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลของรัฐ จากคลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ใน
ภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2561 เมื่อพิจารณาตามจานวนวันนอนเฉล่ียต่อรายพบว่า
จานวนวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยใน 1 ราย มีวันนอนเฉล่ียเท่ากับ 4.62 วัน/ราย น้อยกว่าปีงบประมาณ 2560 ซึ่งมี
วันนอนเฉลี่ยประมาณ 4.64 วัน/ราย เม่ือแยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ป่วยสิทธิข้าราชการ มีวันนอนเฉลี่ย
สูงกว่าผู้ป่วยสิทธิอ่ืนๆ คือมีวันนอนเฉล่ีย 6.11 วันต่อผู้ป่วยใน 1 ราย ผู้ป่วยสิทธิประกันสังคม และผู้ป่วย
สิทธิ UC มีวันนอนเฉลย่ี 4.51 วัน/ราย และ 4.47 วนั /รายตามลาดบั ส่วนแรงงานตา่ งด้าว มวี นั นอนเฉลย่ี ต่อ
คนน้อยท่สี ดุ คอื 3.97 วนั /ราย รายละเอยี ดตามตารางท่ี 7

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 16

ข้อมูลท่วั ไป บท1ที่

ตารางที่ 7 จานวนผรู้ ับบริการ จานวนวนั นอน และจานวนวนั นอนเฉลี่ยของผู้ป่วยใน
จาแนกตามประเภทสทิ ธิ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560–2561

ประเภทสิทธิ ปงี บประมำณ 2560 ปีงบประมำณ 2561

จำนวน รวมวัน วนั นอน จำนวน รวมวัน วันนอน
(รำย) นอน เฉลีย่ /รำย (รำย) นอน เฉลี่ย/รำย

1.ข้าราชการ/ 10,710 69,449 6.48 11,136 68,064 6.11
รฐั วิสาหกจิ 4.51
2.ประกนั สังคม 10,146 45,795 4.51 10,437 47,069 4.47
3.UC บัตรทองม/ี ไม่มี 3.97
4.แรงงานตา่ งด้าว 74,907 334,456 4.46 77,692 347,618
หมายเหตุ:ไม่ระบุสิทธิ 4.62
6,034 22,693 3.76 5,860 23,258
รวมผู้มำรบั บริกำร
14 144 17 43

101,781 472,537 4.64 105,118 486,052

ท่ีมา : คลงั ข้อมลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 22 มกราคม 2562

เม่ือจาแนกวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในตามรายโรงพยาบาล พบว่ารพศ.เจ้าพระยายมราช มีวันนอนเฉลี่ย
ผู้ป่วยในสูงสุด 5.36 วัน/ราย รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ มีวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยใน คือ 4.83 วัน/
รายในระดับโรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลที่มีจานวนวันนอนเฉล่ียผู้ป่วยในสูงสุดคือ รพช.เดิมบางนางบวช
(4.42 วัน/ราย) รองลงมาได้แก่ รพช.อู่ทอง (4.29 วัน/ราย) รพช.ด่านช้าง (4.15 วัน/ราย) รพช.บางปลาม้า (3.90
วัน/ราย) รพช.หนองหญ้าไซ (3.82 วัน/ราย) รพช.ศรีประจันต์ (3.37 วัน/ราย) รพช.สามชุก (3.28 วัน/ราย)
รพช.ดอนเจดยี ์ (3.00 วัน/ราย) ตามลาดบั (ตารางท่ี 8)

เม่ือเปรียบเทียบวันนอนเฉลี่ยของผู้ป่วยในกับค่าเฉลี่ยของประเทศในช่วงเวลาเดียวกันคือในปี 2561
จาแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นวา่ วันนอนเฉล่ียของผปู้ ่วยในระดบั โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล
ท่วั ไปและโรงพยาบาลชมุ ชน มคี ่าเฉลยี่ สูงกว่าค่าเฉล่ียของประเทศ (ตารางที่ 8)

อัตราการครองเตียง (อัตราวันนอนผู้ป่วยใน 1 ปี) ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ
74.16 ซึ่งถือว่ามีการใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ป่วยในระดับดี แต่เม่ือพิจารณาตามประเภทโรงพยาบาล พบว่า
โรงพยาบาลศูนย์ สูงที่สุด มีอัตราการครองเตียง ร้อยละ 91.31 สูงกว่า โรงพยาบาลท่ัวไป มีอัตราครองเตียง ร้อย
ละ 84.81 และกลุ่มโรงพยาบาลชุมชน ร้อยละ 71.84 โดยทั้ง 3 กลุ่มมีอัตราครองเตียงสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ
ประเทศและอยู่ในเกณฑ์ทเี่ หมาะสม (ตารางที่ 8)

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 17

ขอ้ มลู ทว่ั ไป บท1ท่ี

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่าในระดับโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราการใช้เตียง 1 ปี
เท่ากับ 62.14 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ท่ัวประเทศในปีพ.ศ.2560 (ค่าเฉลี่ยของประเทศเท่ากับ
49.67) โรงพยาบาลท่ัวไปมีอัตราการใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 64.04 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกลุ่มโรงพยาบาลทั่วไป
ของประเทศในปีพ.ศ.2560 (ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 49.29) กลุ่มโรงพยาบาลชุมชนในภาพรวมมีอัตรา
การใชเ้ ตียง 1 ปีเท่ากับ 67.77 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกล่มุ โรงพยาบาลชุมชนทวั่ ประเทศในปี พ.ศ.2560 (คา่ เฉล่ีย
ของประเทศเท่ากับ 60.60) สรุป โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน มีอัตราการใช้
เตียงเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉล่ียระดับประเทศ นั่นหมายความว่า มีการใช้เตียงมากหรือมีการหมุนเวียนเตียงมาก
โรคมีความรุนแรงมากเป็นโรคเร้ือรังลดลงหรือมีคุณภาพในการให้การรักษามากส่งผลให้ใช้วันนอนน้อยกว่า
หรอื เทา่ กับเกณฑ์เฉลยี่ (ตารางท่ี 8)

ตารางที่ 8 จานวนผรู้ ับบรกิ ารผปู้ ว่ ยใน จานวนวนั นอน จานวนเตยี ง อตั ราการครองเตียง อตั ราการ
ใชเ้ ตยี ง 1 ปี ของผ้ปู ่วยใน จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2561

โรงพยำบำล ผปู้ ว่ ยในท่ี รวมวัน วันนอน จำนวน อัตรำกำรครอง อตั รำ
จำหนำ่ ย นอน เฉล่ยี เตยี ง เตียง (อัตรำวัน กำรใช้
ทง้ั หมด ผปู้ ่วยใน (ตำมจรงิ ) นอนผปู้ ว่ ยใน เตยี ง
1 ปี
รพศ.เจา้ พระยายมราช 42,253 226,640 5.36 680 1 ปี) 62.14
รพท.สมเด็จพระสงั ฆราช 91.31
ฯ 16,779 81,107 4.83 262 64.04
รพช.เดิมบางนางบวช 84.81
รพช.ด่านชา้ ง 6,801 30,053 4.42 120 56.68
รพช.บางปลามา้ 6,498 26,938 4.15 106 68.61 61.30
รพช.ศรปี ระจนั ต์ 4,839 18,864 3.9 62 69.63 78.05
รพช.ดอนเจดยี ์ 5,985 20,190 3.37 60 83.36 99.75
รพช.สามชกุ 4,839 14,517 3 68 92.19 71.16
รพช.อ่ทู อง 4,058 13,314 3.28 60 58.49 67.63
รพช.หนองหญา้ ไซ 9,509 40,840 4.29 144 60.79 66.03
3,557 13,589 3.82 60 77.70 59.28
รวม 105,118 486,052 4.62 1,622 62.05 64.81
82.10

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 18

ข้อมูลท่ัวไป บท1ท่ี

สรปุ ตำมประเภทโรงพยำบำลจังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2561

รพศ. (1 แหง่ ) 42,253 226,640 5.36 680 91.31 62.14
64.04
รพท. (1 แหง่ ) 16,779 81,107 4.83 262 84.81 67.77

รพช. (8 แหง่ ) 46,086 178,305 3.87 680 71.84 49.67
49.29
ค่ำเฉล่ยี ระดบั ประเทศ ปี 2560 60.60

รพศ. - - 5.10 - 70.54

รพท.น้อยกว่ำ 300 เตียง - - 4.48 - 52.07

รพช. มำกกวำ่ 30 เตยี ง - - 3.10 - 49.15

ทม่ี า : คลังข้อมูลสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันท่ี 22 มกราคม 2562

เมื่อเปรียบเทียบคา่ CMI ในโรงพยาบาลจังหวดั สุพรรณบุรีจาแนกตามระดับ Service Plan ทั้ง 10 แห่ง
มีคา่ มากกว่าเกณฑม์ าตรฐานทกุ แหง่ (ตารางที่ 9)

ตารางท่ี 9 สรุปค่า ผลรวม AdjRW และเปรียบเทยี บคา่ CMI ในโรงพยาบาลจงั หวัดสุพรรณบุรี จาแนก
ตามระดับ Service Plan กบั เกณฑ์เปา้ หมายระดับประเทศ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561

โรงพยำบำล ประเภท เตียง จำนวน SumLOS SumAdjRW CMI MinAdjRW MaxAdjRW เกณฑ์

รพ.เจ้าพระยายมราช A 680 42,248 218,775 67,529.00 1.6011 0.19 47.61 1.6

รพ.สมเด็จพระสงั ฆราช M1 262 16,778 82,209 18,299.30 1.0907 0.19 45.9 1
องคท์ ี่ ๑๗

รพ.อทู่ อง M2 144 9,509 41,898 9,069.13 0.9537 0.19 96.49 0.8

รพ.ด่านชา้ ง F1 106 6,506 27,388 5,203.49 0.7999 0.19 29.43 0.6

รพ.ดอนเจดยี ์ F2 68 4,842 14,723 3,153.51 0.6518 0.19 9.35 0.6

รพ.บางปลาม้า F2 62 4,850 18,885 3,233.44 0.6678 0.19 8.97 0.6

รพ.ศรปี ระจันต์ F2 60 5,985 20,644 4,048.57 0.6791 0.19 29.43 0.6

รพ.สามชกุ F2 60 4,054 13,685 3,122.64 0.7703 0.19 21.61 0.6

รพ.หนองหญา้ ไซ F2 60 3,557 13,893 2,505.68 0.7044 0.15 20.37 0.6

รพ.เดิมบางนางบวช F2 120 6,800 30,286 6,689.18 0.9837 0.19 37.71 0.6

ที่มา : CMI กองบริหารการสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข วนั ท่ี 22 มกราคม 2562

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 19

ขอ้ มลู ทว่ั ไป บท1ท่ี

สถานะสุขภาพ

สถิตชิ ีพ

จงั หวัดสพุ รรณบุรี พบว่าจากปี 2546-2561 แนวโน้มการเกิดลดลง ในขณะที่จำนวนการตายเพิ่มขึ้น
จึงพบว่าอัตราเพิ่มตามธรรมชาติลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 อัตราเท่ากับร้อยละ -0.04 เท่าน้ัน ดัชนี
ชีพ (จำนวนเด็กเกิดมีชีพต่อการตาย 100 คน) ลดลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน การตายของมารดายังพบว่ามีการ
ตายของมารดาเกือบทุกปี ในปี 2561 มีมารดา 2 ราย คิดเป็นอัตรา 28.53 ต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน
(เกินกว่าเกณฑ์เป้าหมายและสูงกว่าในระดับประเทศ) สำหรับอัตราทารกตายมีแนวโน้มลดลง จากปี 2546-
2559 และเริ่มมีแนวโน้มท่ีสูงขึ้นในปี 2560-2561 อย่างไรก็ตามอัตราทารกตายยังต่ำกว่าภาพรวมของ
ประเทศ (ตารางท่ี 10 และตารางท่ี 11)

ตารางที่ 10 จำนวนและอตั รา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนชี ีพ
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2546 – 2561

จำนวน อัตรา

ปี เกดิ มี ทารก มารดา เกดิ มี ทารก มารดา อตั ราเพ่มิ ตาม
ชีพ ตาย ตาย ชพี ตาย ตาย ธรรมชาติ
ตาย ตาย (รอ้ ยละ) ดัชนชี ีพ

2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 0.33 148.52

2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 .038 151.03

2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .027 133.07

2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 0.36 149.61

2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.32 139.86

2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.29 137.04

2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.33 143.01

2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22 126.62

2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29 137.00

2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28 135.86

2556 8,739 6,817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22 126.62

2557 8,586 6,862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20 125.12

2558 8,307 7,112 23 2 9.78 8.38 2.91 28.12 0.14 116.80

รายงานประจำปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 20

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บท1ท่ี

ตารางที่ 10 ต่อ

จำนวน อัตรา

ปี เกิดมี ทารก มารดา เกิดมี ทารก มารดา อัตราเพิม่ ตาม
ชพี ตาย ตาย ชีพ ตาย ตาย
ตาย ตาย ธรรมชาติ ดชั นชี ีพ
(ร้อยละ)

2559 7,596 7,345 19 1 8.94 8.64 2.50 13.61 0.03 103.42

2560 7,423 7,190 35 0 8.75 8.47 4.72 0.00 0.03 103.00

2561 7,398 7,092 41 2 8.68 8.32 0.05 28.53 0.04 104.31

ท่มี า : กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)

หมายเหตุ : 1. มารดาตายคอื การตายเนื่องจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภ์และระยะอยไู่ ฟ (ภายใน 6 สปั ดาห์
หลงั คลอด)

2. อตั ราเกิดมชี พี และตายตอ่ ประชากร 1,000 คน
3. อัตราทารกตายต่อเกิดมชี พี 1,000 คน และมารดาตายตอ่ เกดิ มีชพี 100,000 คน
4. อัตราเพม่ิ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) : จำนวนเกดิ ลบด้วย จำนวนตาย หารดว้ ยจำนวนประชากรกลางปี

คณู ดว้ ย 100
5. ดชั นีชีพหรือ อัตราสว่ นเกดิ ตาย เป็นจำนวนเกดิ มชี ีพตอ่ ตาย 100 คน

รายงานประจำปี สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี 2561 21

ข้อมูลทวั่ ไป บท1ที่

ตารางท่ี 11 สถติ ิชพี จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2561 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560

สถติ ชิ ีพ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2560
1. อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) 8.311
2. อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน) 8.691 10.102
3. อัตราเพ่มิ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) -0.041 7.02
4. อตั ราทารกตาย (ต่อการเกิดมีชพี พนั ราย) 0.051 0.302
5. อัตรามารดาตาย (ตอ่ การเกิดมชี ีพ 100,000 คน) 28.531 5.902
6. อายคุ าดเฉลี่ยเมอ่ื แรกเกิด ( จานวนปเี ฉล่ยี ทค่ี าดว่า 21.802
บุคคลที่เกิดมาแล้วจะมชี วี ิตอยตู่ อ่ ไปอกี ก่ีปี) 72.051
79.641 72.23
ชาย 78.03
หญงิ 20.551
7. อายคุ าดเฉลยี่ ท่ีอายุ 60 ปี (จานวนปีเฉลี่ยที่คาดวา่ 24.061 20.22
ผู้ที่มีอายุ 60 ปี จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอกี กป่ี ี) 23.62
ชาย
หญิง

ท่ีมา : 1กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตรฯ์ สสจ.สพุ รรณบุรี ปี 2561
2สถติ ิสาธารณสขุ พ.ศ.2560 กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

ข้อมลู เบอื้ งต้นของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
3สารประชาการสถาบนั วจิ ัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 22

ข้อมลู ท่ัวไป บท1ท่ี

อำยุคำดเฉล่ีย ตำรำงท่ี 12 อำยคุ ำดเฉลยี่ ของประชำกร จังหวดั สพุ รรณบรุ ปี ี พ.ศ.2561

อำยุคำดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด (ความยืนยาว กลมุ่ อำยุ อำยุคำดเฉล่ยี (Expectation of Life)
ของชีวิตตั้งแต่แรกเกิดตาย) ของประชากรจังหวัด หญิง ชำย รวม
สุพรรณบุรี ในปี 2561 (จากข้อมูลกรมการ <1 79.64 72.05 75.86
ปกครอง) อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดแยกตามเพศ 1-4 79.07 71.57 75.34
พบว่า เพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่าเพศชายกล่าวคือ 5-9 75.15 67.84 71.52
เพศหญิงมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด79.64 ปี 10 - 14 70.24 63.07 66.69
เพศชายมีอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดคือ 72.05 ปี 15 - 19 65.33 58.23 61.82
ในภาพรวมท้ัง 2 เพศมีอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด 20 - 24 60.58 53.81 57.24
เทา่ กบั 75.86 ปี 25 - 29 55.72 49.39 52.62
30 - 34 50.95 44.89 48.00
อำยุคำดเฉลี่ยเม่ืออำยุ 60 ปี (อายุที่คาด 35 - 39 46.28 40.42 43.44
ว่าจะยืนยาวต่อไปหลังจากอายุ 60 ปี) พบว่า 40 - 44 41.67 36.08 38.98
เพ ศ ห ญิ งจ ะ มี อ า ยุ ยื น ย า ว ต่ อ ไป อี ก ป ร ะ ม า ณ 45 - 49 37.13 31.96 34.67
24.06 ปี ขณะที่ผู้ชายจะมีอายุยืนยาวหลังอายุ 50 - 54 32.58 27.99 30.42
60 ปี ต่อไปอีก 20.55 ปี (ตารางที่ 12) 55 - 59 28.23 24.21 26.37
60 - 64 24.06 20.55 22.45
เม่ือพิจารณาอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด 65 - 69 20.07 17.22 18.80
ของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรีเม่ือเทียบกับ 70 - 74 16.30 14.05 15.33
ระดับประเทศในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกันพบว่า 75 - 79 12.92 11.15 12.18
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรจังหวัด 80 - 84 9.81 8.60 9.33
สุพรรณบุรีเพศหญิงสูงกว่าอายุคาดเฉลี่ยของ 85 - 89 7.39 6.67 7.13
ระดับประเทศแต่เพศชายต่ากว่าอายุคาดเฉล่ีย 90 - 94 5.30 5.48 5.37
ของระดบั ประเทศ ดงั รปู ท่ี 4 และ 5 95 - 99 4.29 4.89 4.50
100+ 2.50 2.50 2.50

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 23

ขอ้ มูลทว่ั ไป บท1ท่ี

100.00 72.05 72.2 79.64 78.9 40.00

20.55 20.2 24.06 23.6

50.00 20.00

0.00 0.00

ชำย หญิง ชำย หญงิ
สุพรรณบุรี ประเทศไทย สุพรรณบุรี ประเทศไทย

รปู ท่ี 4 อำยุคำดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ของประชำกรแยกเพศ รูปท่ี 5 อำยุคำดเฉล่ยี เมื่ออำยุ 60 ปี ของประชำกรแยกเพศ
จงั หวัดสุพรรณบุรี พ.ศ.2561 และประเทศไทย พ.ศ.2560 จังหวัดสพุ รรณบุรี พ.ศ.2561 และประเทศไทย พ.ศ.2560

ท่มี า : 1กลุม่ งานพฒั นายทุ ธศาสตร์ฯ สสจ.สุพรรณบรุ ีปี 2561
สถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ.2560 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
ข้อมลู เบื้องต้นของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 24

ขอ้ มลู ทั่วไป บท1ท่ี

สำเหตุกำรปว่ ย

จากการเก็บข้อมลู กลุ่มผู้ป่วยนอก ประมวลผลจากคลังข้อมลู สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี
ในรอบ 5 ปที ี่ผ่านมา พบว่า 10 ลาดบั แรกของกลมุ่ โรคท่ีเปน็ สาเหตุการเจบ็ ปว่ ยท่ีสาคญั ของประชาชนจงั หวัด
สุพรรณบุรี คือ 1. ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนา 2. เบาหวาน 3. เน้ือเย่ือผิดปกติ 4. ความผิดปกติอื่น ๆ
ของฟันและโครงสร้าง 5. การตดิ เช้ือของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 6. พยาธิสภาพของหลัง
ส่วนอ่ืนๆ 7. โรคอ่ืน ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 8. ฟันผุ 9. โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและ
เน้ือเยื่อใต้ผวิ หนัง 10. คออกั เสบเฉียบพลันและต่อมทอนซลิ อักเสบเฉียบพลัน (รูปท่ี 6 ตารางท่ี 13)

10 อนั ดับโรคผปู้ ่วยนอก ประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2561

165 คออักเสบเฉยี บพลันและตอ่ มทอนซิล… 6,563
199 โรคอ่นื ๆ ของผวิ หนังและเน้อื เยื่อใต้… 7,081
8,114
180 ฟันผุ 8,635
185 โรคอืน่ ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะ…
15,053
206 พยาธสิ ภาพของหลงั ส่วนอนื่ ๆ 19,031
167 การตดิ เชอ้ื ของทางเดนิ หายใจส่วนบน… 21,801
23,822
181 ความผดิ ปกตอิ ืน่ ๆ ของฟันและ… 31,438
207 เน้ือเยื่อผิดปกติ
104 เบาหวาน 43,400

145 ความดันโลหติ สงู ท่ไี มม่ สี าเหตนุ า 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000

0

รูปที่ 6 อัตราผู้ป่วยนอกต่อประชากร 100,000 คน 10 ลาดับแรก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค
(สาเหตุโรคหลัก) จังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2561

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 25

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2561 ข้อมูลท่ัวไปตารางท่ี 13 จานวนและอัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ว่ ยนอกจาแนกต
8 2556 2557
ชอ่ื กลมุ่ (298โรค) จำนวน อตั รำ จำนวน อัตรำ

145 ความดนั โลหิตสงู ท่ีไม่มสี าเหตุนา 312,861 36,877 393,143 45,288

104 เบาหวาน 228,273 26,906 302,410 34,836
207 เนื้อเยอื่ ผดิ ปกติ 233,063 27,471 247,341 28,492
181 ความผิดปกตอิ ่นื ๆ ของฟันและโครงสรา้ ง 94,795 11,173 115,830 13,343
167 การตดิ เชอ้ื ของทางเดินหายใจสว่ นบนแบบเฉียบพลนั อน่ื ๆ 192,425 22,681 189,823 21,867
206 พยาธิสภาพของหลังส่วนอนื่ ๆ 136,611 16,102 164,027 18,895

185 โรคอ่ืน ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดโู อเดนมั 90,293 10,643 96,337 11,097
180 ฟันผุ 30,852 3,637 38,640 4,451
199 โรคอื่น ๆ ของผวิ หนังและเน้ือเยอ่ื ใต้ผิวหนงั 89,758 10,580 89,099 10,264

165 คออกั เสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอกั เสบเฉียบพลัน 119,325 14,065 143,690 16,552

ท่ีมา : คลังขอ้ มลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 22 มกรา

26

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561

บท1ที่ตามกล่มุ สาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2556-2561
2558 2559 2560 2561
จำนวน อัตรำ จำนวน อตั รำ จำนวน อตั รำ จำนวน อัตรำ
412,504 48,584 413,185 48,627(1) 413,783 48,907(1) 369,772 43,400(1)

323,207 38,067 312,879 36,822(2) 321,426 37,991(2) 267,856 31,438(2)
239,181 28,170 233,397 27,468(3) 237,593 28,082(3) 202,968 23,822(3)
133,826 15,762 140,157 16,495(6) 174,513 20,627(5) 185,746 21,801(4)
170,330 20,061 172,952 20,355(4) 181,120 21,408(4) 162,143 19,031(5)
163,709 19,281 156,053 18,366(5) 155,807 18,416(6) 128,250 15,053(6)

89,816 10,578 85,367 10,047(9) 85,546 10,111(9) 73,570 8,635(7)
77,517 9,130 92,155 10,846(8) 93,659 11,070(8) 69,134 8,114(8)
83,051 9,782 82,105 9,663(10) 78,262 9,250(10) 60,331 7,081(9)

131,324 15,467 135,284 15,921(7) 117,921 13,938(7) 55,921 6,563(10)

าคม 2562

8

ขอ้ มูลทว่ั ไป บท1ท่ี

สาหรับผู้ป่วยใน สาเหตุการเจ็บป่วยท่ีสาคัญ จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุ
โรคหลัก) 10 ลาดบั แรกในปี พ.ศ.2561 ได้แก่ 1. ปอดบวม ไม่ระบรุ ายละเอียด 2. การดูแลมารดาท่ีมแี ผลเป็นท่ี
มดลูกเน่ืองจากการผ่าตัด 3. ต้อกระจกวัยชรา ไม่ระบุรายละเอียด 4. การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อยาวและเอน็ ท่ีใช้
เหยียดน้ิวมืออ่ืนท่ีระดับข้อมือและมือ 5. หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ไม่ระบุรายละเอียด 6. การติดเชื้อใน
ทางเดินปัสสาวะ ไม่ระบุตาแหน่ง 7. ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิดจากสารห้ามการหล่ังน้านมมารดา 8.
หัวใจล้มเหลวแบบมีน้าค่ัง 9. โรคปอดอุดกั้นเร้ือรังร่วมกับการกาเริบเฉียบพลันไม่ระบุรายละเอียด 10.
เบาหวานชนดิ ทไ่ี มต่ ้องพึ่งอินซลู นิ ร่วมกบั โคมา่ (รูปท่ี 7 ตารางท่ี 14)

10 อันดับโรคผ้ปู ่วยใน ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2561

104 เบาหวานชนดิ ทีไ่ ม่ต้องพึ่งอนิ ซลู ิน ร่วมกบั โคม่า 126.76
175 โรคปอดอดุ ก้นั เรือ้ รงั รว่ มกบั การกาเริบเฉียบพลนั ไม่ระบรุ ายละเอยี ด 243.9
268.54
151 หัวใจลม้ เหลวแบบมีนา้ ค่งั 251.99
253 ภาวะตัวเหลอื งในทารกแรกเกิดจากสารหา้ มการหล่งั นา้ นมมารดา 255.28
323.94
217 การติดเชอื้ ในทางเดนิ ปสั สาวะ ไม่ระบุตาแหนง่ 312.67
170 หลอดลมอักเสบเฉียบพลนั ไมร่ ะบรุ ายละเอียด 419.48
281 การบาดเจบ็ ทีก่ ล้ามเนื้อยาวและเอน็ ที่ใช้เหยียดนิว้ มอื อนื่ ทร่ี ะดับ… 435.21

133 ตอ้ กระจกวยั ชรา ไม่ระบรุ ายละเอียด 752.23
239 การดแู ลมารดาทมี่ ีแผลเป็นที่มดลูกเนื่องจากการผา่ ตัด

169 ปอดบวม ไม่ระบุรายละเอียด

0 100 200 300 400 500 600 700 800

รูปที่ 7 อัตราผ้ปู ว่ ยในตอ่ ประชากร 100,000 คน 10 ลาดบั แรก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค
(สาเหตุโรคหลัก) จงั หวัดจังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2561

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 27

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2561 ขอ้ มลู ทั่วไปตารางท่ี 14 จานวนและอตั ราป่วยต่อประชากรแสนคน ของผปู้ ว่ ยใน จาแนกตามก
8
ปงี บประมาณพ.ศ.2556-2561

ช่อื กลมุ่ (298 กลมุ่ โรค) 2556
จานวน อัตรา จานว

169 ปอดบวม ไม่ระบรุ ายละเอียด 4,044 481.60 4,64

239 การดแู ลมารดาทม่ี แี ผลเป็นทมี่ ดลกู เนือ่ งจากการผา่ ตัด 3,702 440.87 3,83

133 ต้อกระจกวัยชรา ไมร่ ะบรุ ายละเอยี ด 4,479 533.40 4,94

281 การบาดเจ็บทกี่ ล้ามเน้ือยาวและเอ็นทใ่ี ชเ้ หยียดนิว้ มืออนื่ ท่ี 2,771 330.00 2,66
ระดับขอ้ มอื และมือ

170 หลอดลมอักเสบเฉยี บพลนั ไม่ระบรุ ายละเอยี ด 2,365 281.65 2,48

217 การติดเช้อื ในทางเดนิ ปสั สาวะ ไมร่ ะบตุ าแหน่ง 1,555 185.18 1,82

253 ภาวะตัวเหลอื งในทารกแรกเกิดจากสารหา้ มการหลงั่ น้านม 2,825 336.43 2,66
มารดา

151 หวั ใจล้มเหลวแบบมนี า้ ค่งั 1,433 170.66 1,73

175 โรคปอดอดุ กัน้ เรื้อรังรว่ มกบั การกาเรบิ เฉยี บพลนั ไมร่ ะบุ 1,937 230.68 1,89
รายละเอียด

104 เบาหวานชนดิ ท่ีไม่ต้องพึ่งอินซูลนิ ร่วมกบั โคมา่ 1,900 226.27 2,04

ที่มา : คลังขอ้ มลู สขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันท่ี 22 มกราคม

28

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561

บท1ที่กลุ่มสาเหตกุ ารปว่ ย 298 กลุ่มโรค (สาเหตโุ รคหลกั ) 10 ลาดบั แรก จงั หวัดสุพรรณบุรี

2557 2558 2559 2560 2561

วน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อัตรา
47 547.95 4,588 540.37 5,205 612.57 5,774 680.44 6,409 752.23
32 451.85 3,848 453.21 3,797 446.86 3,826 450.88 3,708 435.21
42 582.74 4,536 534.24 4,101 482.64 3,235 381.23 3,574 419.48

62 313.89 3,022 355.93 3,162 372.13 3,128 368.62 2,664 312.67

89 293.49 2,409 283.73 2,734 321.76 2,804 330.44 2,760 323.94
21 214.72 1,892 222.84 1,984 233.49 2,255 265.74 2,175 255.28

63 314.01 2,604 306.69 2,249 264.68 2,248 264.92 2,147 251.99

33 204.35 1,642 193.39 1,951 229.61 2,226 262.32 2,288 268.54

94 223.33 1,688 198.81 1,890 222.43 2,080 245.12 2,078 243.90

45 241.14 2,127 250.51 2,200 258.92 2,049 241.47 1,080 126.76
2562

8

ขอ้ มลู ท่วั ไป บท1ท่ี

ภำวะกำรเจ็บป่วยจำกกลุ่มโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไตวาย
เรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด จังหวัดสุพรรณบุรีมีอัตราป่วยลดลงในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 แต่เนื้อสมองตาย

เพราะขาดเลือดและมะเร็งทกุ ชนิด มีอัตราปว่ ยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 -2561 (รปู ที่

8 ตารางท่ี 15)

อัตรำต่อประชำกรแสนคน ของผูป้ ่วยใน โรคเบำหวำน โรคควำมดนั โลหิตสูง โรคหวั ใจขำดเลือด โรคหลอด
เลอื ดสมองใหญ่ ไตวำยเรื้อรงั มะเรง็ ทุกชนดิ ปงี บประมำณ พ.ศ.2556-2561 (สำเหตโุ รคหลกั )

700.00

600.00

ัอตรำต่อแสนประชำกร 500.00

400.00

300.00

200.00

100.00

0.00 2557 2558 2559 2560 2561
2556 145 โรคความดนั โลหิตสงู ท่ีไมม่ ีสาเหตนุ า
154.เนือ้ สมองตายเพราะขาดเลอื ด ไมร่ ะบรุ ายละเอียด
104 โรคเบาหวาน มะเร็งทกุ ชนิด
148 โรคหวั ใจขาดเลือด
214 ไตวายเรือ้ รัง

รูปที่ 8 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปว่ ยใน กลมุ่ โรคไมต่ ิดตอ่ ที่สาคัญ จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการปว่ ย
298 กลุ่มโรค (สาเหตโุ รคหลกั ) จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2556–พ.ศ.2561

ที่มา : คลงั ขอ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วนั ที่ 22 มกราคม 2562

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 29

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2561 ข้อมลู ท่วั ไป
8
ตารางที่ 15 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ว่ ยใน กลุ่มโรคไม่ติดตอ่ ท
จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556–พ.ศ.2561

ชื่อกล่มุ (298โรค) 2556 จำน
จำนวน อตั รำ 2,0
104 โรคเบาหวาน 1,900 226.27 82
145 โรคความดนั โลหิตสูงท่ไี ม่มีสาเหตุนา 786 93.60 66
148 โรคหัวใจขาดเลอื ด 740 88.13 1,2
154.เนอื้ สมองตายเพราะขาดเลอื ด ไม่ระบุรายละเอยี ด 1,075 128.02 66
214 ไตวายเรือ้ รัง 579 68.95 3,9
มะเรง็ ทกุ ชนดิ 3,939 469.08

ที่มา : คลงั ขอ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ณ วันที่ 22 มกราคม

30

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561

บท1ที่

ท่ีสาคญั จาแนกตามกลุม่ สาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค (สาเหตุโรคหลัก)

2557 2558 2559 2560 2561
นวน อตั รำ จำนวน อัตรำ จำนวน อัตรำ จำนวน อัตรำ จำนวน อตั รำ
045 241.14 2,127 250.51 2,200 258.92 2,049 241.47 1,873 219.83
28 97.63 886 104.35 828 97.45 873 102.88 782 91.78
69 78.89 666 78.44 687 80.85 638 75.19 552 64.79
241 146.33 1,356 159.71 1,373 161.59 1,582 186.43 1,735 203.64
67 78.65 548 64.54 687 80.85 549 64.70 459 53.87
992 470.72 4,313 507.98 4,498 529.36 4,859 572.61 5,129 601.99

ม 2562

8

ข้อมูลท่วั ไป บท1ที่

เม่อื พิจารณาการป่วยของผู้ป่วยใน ด้วยกลุม่ โรคไม่ตดิ ต่อ ด้วยสาเหตุโรคมะเรง็ พบวา่ มะเรง็ ลาไส้ใหญ่
มีแนวโน้มคงท่ีอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2557-2560 และมีแนวโน้มลดงลงในปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 มะเร็งหูส่วนกลาง โพรงจมูก และโพรงอากาศ มีแนวโน้มลดลงในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 เมื่อ
เปรียบเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มะเร็งลาไส้ตรงมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ.2556-2560 มะเร็งที่เหลื่อมกันของหลอดลมและปอด มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2556-
2559 และลดลงในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มะเร็งท่อน้าดีในตับมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องใน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2556-2558 มีแนวโน้มคงที่ในปีงบประมาณ พ.ศ.2559 และเพิ่มข้ึนเล็กน้อยใน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มะเร็งท่อน้าเหลืองมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2556-
2560 มะเร็งเต้านม มแี นวโน้มเพมิ่ ข้ึนอยา่ งตอ่ เน่อื งในปงี บประมาณ พ.ศ.2557-2560 เน้อื งอกไม่รา้ ยของมดลูก
มีแนวโน้มคงที่และลดลงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มะเร็งตับและท่อน้าดีในตับ มีแนวโน้มคงที่ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2556-2560 แต่เพ่ิมขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ.2557 มะเร็งกระเพาะอาหาร มีแนวโน้ม
เพิม่ ขนึ้ อยา่ งต่อเนื่องตัง้ แตป่ ีงบประมาณ พ.ศ.2556 -2560 (รูปที่ 9)

อตั รำตอ่ ประชำกรแสนคน ของผ้ปู ว่ ยใน ดว้ ยสำเหตุโรคมะเร็ง
120.00 จังหวดั สุพรรณบุรี ปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2561 (สำเหตุโรคหลัก)

100.00

ัอตรำต่อแสนประชำกร 80.00

60.00

40.00

20.00

0.00 2558 2559 2560 2561
96.เนือ้ งอกไมร่ ้ายของหสู ว่ นกลาง โพรงจมกู และโพรงอากาศ
2556 2557 67.เนือ้ งอกร้ายบริเวณที่เหล่ือมกนั ของหลอดลมและปอด
61.เนือ้ งอกร้ายของลาไส้ใหญ่ ไมร่ ะบตุ าแหนง่ 86.มะเร็งต่อมนา้ เหลืองชนิดบี-เซลล์ ไมร่ ะบรุ ายละเอียด
62.เนือ้ งอกร้ายของของลาไส้ตรง 92.เนือ้ งอกไมร่ ้ายของกล้ามเนือ้ มดลกู ไมร่ ะบรุ ายละเอียด
63.มะเร็งทอ่ นา้ ดีในตบั 60.เนือ้ งอกร้ายของกระเพาะอาหาร ไมร่ ะบตุ าแหน่ง
73.เนือ้ งอกร้ายของเต้านม ไมร่ ะบตุ าแหนง่
84.เนือ้ งอกร้ายทตุ ิยภมู ขิ องตบั และทอ่ นา้ ดีในตบั

รูปที่ 9 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ่วยใน จาแนกตามกล่มุ สาเหตกุ ารป่วย 298 กลุ่มโรค 31
(สาเหตโุ รคหลกั ) ด้วยสาเหตุโรคมะเรง็ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2561

ท่ีมา : คลงั ข้อมลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วันท่ี 22 มกราคม 2562

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2561

ขอ้ มลู ท่ัวไป บท1ท่ี

สถำนกำรณ์กำรเจ็บป่วยดว้ ยกลมุ่ โรคตดิ ต่อทสี่ ำคญั

กลุ่มโรคติดตอ่ ที่สาคัญในผู้ปว่ ยในพบว่า กลุ่มโรคปอดอกั เสบมีแนวโน้มสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในขณะท่ีกลุ่ม

โรคระบบหายใจส่วนบนติดเชื้อเฉียบพลันและ โรคอ่ืน ๆ ของระบบหายใจส่วนบน และไข้หวัดใหญ่ มีอัตราป่วย
ผู้ป่วยในเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย โรคเร้ือรังของระบบหายใจส่วนล่างมีอัตราป่วยผู้ป่วยในลดลงในปีงบประมาณ พ.ศ.2559

เมอ่ื เปรียบเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ.2558 (รปู ที่ 10)

อัตรำปว่ ยต่อประชำกรแสนคน ของผู้ป่วยใน ดว้ ยโรคตดิ เชือ้ ทำงเดนิ หำยใจสว่ นบนเฉยี บพลนั
ไขห้ วดั ใหญ่ ปอดบวม หลอดลมอักเสบเฉยี บพลนั และโรคติดเชื้ออื่นของลำไส้ จงั หวดั สพุ รรณบุรี

ปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2561

ัอตรำต่อแสนประชำกร 800.00
700.00
600.00
500.00
400.00
300.00
200.00
100.00

0.00

2556 2557 2558 2559 2560 2561

169.ปอดบวม ไมร่ ะบรุ ายละเอียด
170.หลอดลมอกั เสบเฉียบพลนั ไม่ระบรุ ายละเอยี ด
6.โรคตดิ เชือ้ ท่ลี าไส้จากไวรสั ซึ่งไมร่ ะบุชนดิ
168.ไข้หวัดใหญร่ ว่ มกบั อาการแสดงอน่ื ทางระบบหายใจ ไมร่ ะบุชนดิ ไวรัส
167.การตดิ เชื้อทางเดินหายใจสว่ นบนเฉียบพลันหลายตาแหนง่ อื่น

รูปท่ี 10 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค
(สาเหตุโรคหลัก) ระบบหายใจส่วนบนติดเช้ือเฉียบพลัน, ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม, หลอดลมอักเสบ และ
โรคตดิ เชอื้ อ่นื ๆ ของลาไส้ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556-2561

ทมี่ า : คลงั ขอ้ มลู สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 22 มกราคม 2562

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี 2561 32

ขอ้ มูลทั่วไป บท1ท่ี

กลุ่มโรคติดตอ่ ทเ่ี ปน็ ปญั หำสำคญั ของพนื้ ท่ีัอตรำต่อแสนประชำกร

กลุ่มโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเด็งก่ี และวัณโรค มีการระบาดตามฤดูกาลซ่ึงมีอัตราป่วยสูงในปี พ.ศ.
2556 และ 2558 และมีแนวโน้มลดลงในปี พ.ศ.2561 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 ในขณะที่โรควัณโรคมีอัตรา
ปว่ ยในผปู้ ว่ ยในคอ่ นข้างคงทแ่ี ละลดลงในปี พ.ศ. 2560 (รปู ท่ี 11)

อัตรำปว่ ยต่อประชำกรแสนคน ผปู้ ว่ ยใน ไข้เลอื ดออก และวณั โรค จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
ปงี บประมำณพ.ศ.2556-2561 (สำเหตุโรคหลกั )

300.00
250.00
200.00
150.00
100.00
50.00

0.00

2556 2557 2558 2559 2560 2561

3.ไข้เลอื ดออกเด็งกี
7.วณั โรคปอด ยืนยนั ด้วยผลการตรวจเสมหะโดยใช้กล้องจลุ ทรรศน์ อาจมีหรือไมม่ กี ารเพาะเชือ้

รูปท่ี 11 อัตราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 298 กลุ่มโรค
(สาเหตโุ รคหลกั ) ดว้ ยวัณโรค และโรคไข้เลอื ดออก จงั หวดั สพุ รรณบรุ ปี ี พ.ศ. 2556-2561

ทม่ี า : คลงั ข้อมูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ (Health Data Center) ณ วนั ท่ี 22 มกราคม 2562

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 33

ข้อมูลทว่ั ไป บท1ที่

สถำนกำรณ์กำรเจบ็ ปว่ ยด้วยกลุ่มโรคทต่ี อ้ งเฝำ้ ระวังทำงระบำดวทิ ยำ

การเจ็บป่วยด้วยกลมุ่ โรคท่ีต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวดั สุพรรณบรุ ี 10 ลาดับแรก
ของในปี พ.ศ.2561 ได้แก่ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, D.H.F Total, Food Poisoning, Influenza,
Hand foot mouth disease ตามลาดับ จากการพิจารณา 10 ลาดับโรคทางระบาดวิทยา พบว่า โรคอุจจาระร่วง
มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุดอย่างต่อเน่ือง เป็นลาดับ 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 – 2561 และในปี พ.ศ.2562
influenza มกี ารระบาดเพิ่มขนึ้ โดยมี อัตราป่วย เท่ากับ 10.68 ตอ่ แสนประชากร (ตารางที่ 16)

ตารางที่ 16 จานวนและอัตราป่วย ด้วยโรคท่ีต้องเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยา 10 ลาดับแรกของปี พ.ศ. 2561–
2562 (ก.พ. 2562) จงั หวดั สุพรรณบุรี

ลำ พ.ศ. 2561 ลำ โรคเฝ้ำระวงั ทำงระบำดวทิ ยำ พ.ศ. 2562
ดบั โรคเฝำ้ ระวังทำงระบำดวทิ ยำ จำนวนปว่ ย อัตรำปว่ ย/ ดับ (1 มค - 12 กพ 2562)

จำนวน อตั รำ

(รำย) แสน ปว่ ย(รำย) ปว่ ย/แสน

1 Diarrhoea 4,133 663.91 1 Diarrhoea 1,102 129.34

2 Pyrexia 779 125.14 2 Pyrexia 333 39.08

3 Pneumonia 766 123.05 3 Pneumonia 217 25.47

4 Food Poisoning 270 43.37 4 D.H.F,Total(26,27,66) 100 11.74

5 Influenza 235 37.75 5 Influenza,total(15,91) 91 10.68

6 Chickenpox 188 30.2 6 Food Poisoning 73 8.57

7 D.H.F,Total 120 19.28 7 D.H.F. 59 6.92

8 Hand,foot and mouth 102 16.38 8 Chickenpox 40 4.69

9 H.conjunctivitis 5.8 9.32 9 Hand,foot and mouth 39 4.58
10 S.T.D.,total disease 39 4.58

40 6.43 10 Dengue fever

ท่มี า : รายงาน 506 กล่มุ งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ีปี พ.ศ. 2561-2562 (ก.พ.2562)

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 34

ข้อมูลทวั่ ไป บท1ท่ี

สำเหตกุ ำรตำย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2561 มีจานวนประมาณ 7,401 คนต่อปี เมื่อจาแนกตามเพศ

พบว่า จานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสัดส่วนเพศชายคิดเป็นร้อยละ 54.41 และ

เพศหญิงคดิ เป็นร้อยละ 45.59 ของจานวนการตายท้ังหมด (รปู ที่ 12 - 13)

คน ชาย หญงิ

5,000

4,000 3,508 3,747 3,711 3,752 3,724 3,759 3,839 3,932 3,890 4,027
2,988 3,275 3,054 3,092 3,102 3,273 3,413 3,299 3,374
2,986

3,000

2,000

1,000

-
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

รปู ท่ี 12 จานวนการตายของประชากร จาแนกตามเพศจงั หวัดสพุ รรณบุรปี ี พ.ศ. 2552-2561

ชำย หญงิ

ัอตรำต่อแสนประชำกร 1000 855.9 912.7 905.0 913.8 906.0 897.4 933.9 956.0 947.4 977.2
800 769.1 830.2 791.6 803.2 803.4 790.3 837.6 864.4 847.2 868.7
600 752.3
687.3 684.9 699.3 706.9 690.5 796.2 829.8 803.4 818.8

400

200

0

รูปที่ 13 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ของประชากร จาแนกตามเพศจังหวดั สุพรรณบรุ ีปี พ.ศ. 2552 - 2561

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 35

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2561 ข้อมูลทว่ั ไปตารางท่ี 17 จานวนและอัตราตายตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกตามกลมุ่ สาเหตุการตาย
8 ICD-10 สำเหตุกำรตำย 2557
จำนวน อ

V01-Y89 สาเหตภุ ายนอกของการเจบ็ ป่วยและการตาย 584 6

C00-D48 มะเร็ง 938 11

I00-I99 โรคของระบบไหลเวียนโลหิต 894 10

A00-B99 โรคตดิ เช้อื และโรคปรสิตบางโรค 601 7

J00-J98 โรคของระบบหายใจ 606 7

K00-K92 โรคของระบบย่อยอาหาร 216 2

N00-N98 โรคของระบบสบื พันธุ์และระบบปสั สาวะ 199 2

E00-E88 โรคของตอ่ มไรท้ ่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม 165 1

G00-G98 โรคของระบบประสาท 250 2

L00-L98 โรคของผิวหนังและเนื้อเย่อื ใต้ผวิ หนัง 30 3

P00-P96 ภาวะบางอยา่ งท่เี ริม่ ตน้ ในระยะปรกิ าเนดิ 22

Q00-Q99 รูปผดิ ปกติแตก่ าเนิด รูปพกิ าร และความผิดปกตขิ องโครโมโซม 20 0
M00-M99 โรคของระบบกล้ามเนือ้ โครงร่าง และเน้ือเยื่อเกย่ี วพัน 19 2

F01-F99 ความผดิ ปกติทางจติ และพฤติกรรม 60

D50-D89 โรคของเลือดและอวยั วะสรา้ งเลอื ดและความผดิ ปกติของภูมิคุ้มกนั 11 0
O00-O99 การต้ังครรภ์ การคลอด และระยะหลงั คลอด 2

R00-R99 อาการ อาการแสดง และความผดิ ปกตทิ พ่ี บจากกาตรวจทางคลินกิ 2,298 27
และทางห้องปฏิบัตกิ ารมไิ ดจ้ าแนกไว้
6,861 81

36 ที่มา: ข้อมลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2557- 2561

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561

บทที่ย ของประชากรจังหวดั สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2557- 2561 2561
12558 2559 2560
จำนวน อตั รำ
อตั รำ จำนวน อตั รำ จำนวน อตั รำ จำนวน อัตรำ 606 71.13(5)
69.04 639 75.26 553 65.17 522 61.52 1,063 124.76(1)
10.89 1,007 118.6 972 114.55 1,058 124.68 1,056 123.94(2)
05.69 1,124 132.38 981 115.61 995 117.26 590 69.25
71.05 608 71.61 619 72.95 585 68.94 762 89.44(3)
71.64 627 73.85 732 86.26 729 85.91 236 27.70
25.54 266 31.33 237 27.93 234 27.58 321 37.68
23.53 243 28.62 254 29.93 261 30.76 185 21.71
19.51 274 32.27 177 20.86 164 19.33 690 80.99(4)
29.56 194 22.85 214 25.22 517 60.93 62 7.28
3.55 35 4.12 47 214 36 4.24 25 2.93
2.6 23 2.71 19 2.24 13 1.53
11 1.29
0.24 18 2.12 12 1.41 11 1.3 19 2.23
2.25 34 4 23 2.71 22 2.59 13 1.53
0.71 17 2 12 1.41 12 1.41
14 1.64
1.3 10 1.18 23 2.71 6 0.71 2 0.23
0.24 2 0.24 1 0.12 0 0

71.68 1,991 234.5 2,467 290.73 2,022 238.28 1,746 204.93
11.14 7,112 840.81 7,345 868.12 7,187 849.68 7,401 828.75

36

ข้อมลู ทัว่ ไป บท1ที่

เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีพ.ศ. 2561 (ไม่รวมกลุ่มโรคท่ีเป็น
สาเหตุการตายที่สาคัญโดยไม่นับการตายท่ีระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ) ได้แก่ 1. กลุ่มโรคมะเร็ง
(Neoplasms) 2. กลุ่มโรคระบบไหลเวียนโลหิต (Diseases of the circulatory system) 3. โรคของระบบ
หายใจ (Diseases of the respiralory system) 4. โรคของระบบประสาท (Diseases of the Nervous
system) และ 5. กลุ่มการตายจากสาเหตุภายนอก (External causes of morbidity and mortality) (ตารางที่
18, รปู ที่ 14) ซ่ึงจะเสนอรายละเอยี ดของการตายแต่ละกลุม่ ตามลาดับ (รปู ท่ี 15- 19)

Diseases of the circulatory system Neoplasms

External causes of morbidity and mortality Diseases of the nervous system
Diseases of the respiratory system

140

120

ัอตรำต่อแสนประชำกร 100

80

60

40

20

0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 พ.ศ.

รปู ที่ 14 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ของประชากร กลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายท่ีสาคัญโดยไม่นับ
การตายที่ระบุว่าชราภาพหรอื ไม่ทราบสาเหตุ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2552– 2561

รายงานประจาปี สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2561 37

ขอ้ มลู ทวั่ ไป บท1ที่

1. กำรตำยดว้ ยกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็งัอตรำต่อแสนประชำกร
เมอ่ื จาแนกสาเหตุการตายตามกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็งพบว่ากลุ่มโรคเน้อื งอกร้ายที่ตับ และท่อน้าดี

ในตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts) แนวโน้มลดลงในปีพ.ศ.2560 เม่ือ
เปรยี บเทยี บกับปีพ.ศ.2559 กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายท่ีหลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm
of trachea, bronchus and lung) แนวโน้มเพมิ่ ข้ึนเม่ือเปรียบเทียบระหวา่ งพ.ศ.2557 ถึงพ.ศ.2560 กลมุ่ โรค
เน้ืองอกร้ายที่ลาไส้ ลาไส้ใหญ่และทวารหนัก (Malignant neoplasm of colon, rectum and anus)
แนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ระหว่างปีพ.ศ.2558 -2560 และกลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายท่ีตับอ่อนแนวโน้มเพิ่มข้ึน
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึงพ.ศ.2560 (รูปท่ี 16) กลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายท่ีเต้านม (Malignant
neoplasm of breast) และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายที่ปากมดลูก (Malignant neoplasm of cervix uteri)
แนวโน้มเพิ่มขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบ พ.ศ.2551 และกลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายเม็ดเลือดขาว (Leukemia) มี
แนวโนม้ ท่ีจะเพม่ิ ข้นึ (รูปท่ี 15-17)

Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
Malignant neoplasm of colon, rectum and anus
30 Malignant neoplasm of pancreas
20
10
0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

รูปท่ี 15 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ของประชากร ด้วยโรคกลุ่มเน้ืองอกร้ายท่ีตับ และท่อน้าดีในตับ
และกลุม่ โรคเน้อื งอกรา้ ยทห่ี ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด ปี พ.ศ. 2552 – 2561

รายงานประจาปี สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2561 38


Click to View FlipBook Version