The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:24:50

รายงานประจำปี2556

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

www.spo.moph.go.th

คาํ นาํ

รายงานประจาปี 2556 สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี จดั ทาขึน้ เพ่อื ใช้เปน็
ขอ้ มูลอา้ งองิ ในการตดิ ตาม กากบั และประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานตา่ งๆภายใต้กากับ
ของสานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี โดยเน้อื หาแบง่ เปน็ 3 ส่วน ดังนี้

สว่ นที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป
ส่วนท่ี 2 : ผลการดาเนินงานจาแนกตามกลุ่มงาน/งาน ในสานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ส่วนท่ี 3 : ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดสาคัญ ได้แก่ ตัวช้ีวัดตามแนวทางการตรวจ
ราชการ กระทรวงสาธารณสุข (E-inspection) และตัวช้ีวัดงานสํงเสริมสุขภาพปูองกันโรค (PP-
composites)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลในรายงานนี้จะ
เป็นประโยชนต์ อ่ บคุ ลากรท่ีเกี่ยวข้อง ต่อไป

งานพฒั นายุทธศาสตร์สาธารณสขุ
พฤษภคม 2557

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 2

สารบญั ก

คานา 5
สารบญั 6
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป 7
8
คาํ นิยมองค๑กร 5
ยทุ ธศาสตร๑สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี 6
โครงสร๎างการบริหารงานของสํานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี 7
แผนทจี่ งั หวัดสุพรรณบรุ ี 14
เขตการปกครอง 16
ประชากรจงั หวัดสพุ รรณบุรี 21
ข๎อมูลทรัพยากรสาธารณสุข 37
การบริการสุขภาพ 38
สถานะสขุ ภาพ 53
สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนินงาน 55
งานพัฒนาทรัพยากรบคุ คล 94
งานประกนั สุขภาพ 133
งานพัฒนาคุณภาพบริการ 108
งานสํงเสริมสุขภาพ 125
งานควบคุมโรคตดิ ตํอ 214
งานควบคุมโรคเอดส๑และกามโรค 229
งานควบคมุ โรคไมตํ ิดตํอและสุขภาพจิต 250
งานทันตสาธารณสขุ 272
งานอนามยั สิ่งแวดล๎อมและอาชวี อนามัย 287
งานคมุ๎ ครองผู๎บริโภค 295
งานพฒั นาการแพทยแ๑ ผนไทยและการแพทย๑ทางเลือก 298
งานสุขภาพภาคประชาชน
งานสุขศกึ ษาและประชาสมั พันธ๑ หน้า 3
งานนิติการ
งบประมาณ

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

สารบัญ (ตอํ ) หน้า
308
สว่ นท่ี 3 ผลการดาเนินงานตามตวั ชี้วดั สาคัญ 309
ผลการดาํ เนินงานตามตัวชี้วัดในการตรวจราชการและนิเทศงานกระทรวง
กระทรวงสาธารณสขุ (E-inspection) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ผลการดาํ เนินงานตามตัวช้ีวัดงานสงํ เสริมสุขภาพปูองกนั โรค (PP-composites)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 4

ขอ้ มลู ท่วั ไป

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 5

คา่ นยิ ม
องคก์ ร

1. ทางานเป็นทีม
2. บริการอย่างมคี ุณภาพ
3. เพยี บพร้อมคุณธรรม
4. ผู้รบั บริการเปน็ ศูนย์กลาง
5. ผลงานเกดิ จากเครือข่าย

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 6

วิสยั ท

สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีเป็ น

พนั ธ

1.พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรสาธารณสขุ ใหม้ คี ุณภาพ 2.พฒั นาองคก์ ร และระบบบรกิ าร วชิ าการดา้ นสุขภ

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ 1.ระดบั ความสาเร็จในการพฒั

1.พฒั นาบคุ ลากรใหม้ สี มรรถนะ และ 1.บคุ ลากรสาธารณสุขมปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นสุขภาพ
2.ระดบั ความสาเร็จขององคก์ ร
สรา้ งผลงานสูง และสรา้ งผลงานสูง 3.ระดบั ความสาเร็จในการจดั ก
2.มงุ่ สู่การเป็นองคก์ รคุณภาพ 2.องคก์ รมมี าตรฐาน และเป็นท่ี
3.เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ขององคก์ ร ระบบสุขภาพ
ยอมรบั ในระดบั ประเทศ 4.ระดบั ความสาเร็จของการแก
สุขภาพ เพอ่ื การพง่ึ พาตนเองดา้ นสุขภาพ 3.ประชาชนมคี วามพงึ พอใจ และมี 5.ระดบั ความสาเร็จของการดา
6.ระดบั ความสาเร็จของรอ้ ยละ
อย่างยงั่ ยนื ตามแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ ความเช่อื มนั่ ต่อคุณภาพ และการ
ระยะเวลาใหบ้ ริการ
พอเพยี ง หรอื สุขภาพดี วถิ ไี ทย บริการ 7.รอ้ ยละของหน่วยงานมผี ลกา
4.ระบบสุขภาพเป็นแบบองคร์ วม
จริยธรรม ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด
ตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 8.รอ้ ยละของระดบั ความพงึ พอ
5.ประชาชนมพี ฤตกิ รรมเหมาะสม มี 9.ระดบั ความสาเร็จในการมสี ่ว
10. ระดบั ความสาเร็จของการ
ภูมคิ มุ้ กนั ดา้ นสุขภาพและโรคทเ่ี ป็น
พฤติกรรมเสย่ี ง
ปญั หาลดลง

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ทศั น์

นองคก์ รชน้ั นาในการดูแลประชาชนใหม้ ีสขุ ภาวะท่ดี ี

ธกจิ

ภาพ 3.สรา้ งวถิ แี ห่งสุขภาวะ เพอ่ื การลดโรคและปญั หาสุขภาพอยา่ งยงั่ ยนื

ตวั ช้ีวดั กลยุทธ์

ฒนาใหม้ ลี กั ษณะเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ 1.สง่ เสรมิ กระบวนการพฒั นาใหม้ ลี กั ษณะเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้
2. สนบั สนุนการจดั การความรูด้ า้ นสุขภาพ
รมกี ารจดั การความรูด้ า้ นสุขภาพ 3. สนบั สนุนการจดั การสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการดาเนินงานดา้ น
การสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการพฒั นา
สขุ ภาพ 2
กป้ ญั หาดา้ นสุขภาพ 4. เสริมสรา้ งการแกไ้ ขปญั หาดา้ นสขุ ภาพแบบบูรณาการ
าเนินการพฒั นาสถานบริการสาธารณสุข
ะเฉลย่ี ถ่วงนา้ หนกั ในการรกั ษามาตรฐาน 5. พฒั นากระบวนการบริการเชงิ รุกทม่ี คี ุณภาพ

การดาเนินงานพฒั นาดา้ นคุณธรรม 6. เพ่มิ ศกั ยภาพสถานบริการสาธารณสุขในการดาเนนิ งานตามมาตรฐาน

อใจของผูร้ บั บรกิ ารและผูใ้ หบ้ ริการ 7. ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารบริหารจดั การ good governance ทกุ ระดบั
วนร่วมดูแลสุขภาพของภาคเี ครือข่าย
รดาเนินงานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา 8. เสรมิ สรา้ งกระบวนการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล

9. ส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพอาสาสมคั รและภาคเี ครือขา่ ยในการ

ดาเนินงานดา้ นสุขภาพ
10. สนบั สนุนและประสานความร่วมมอื ในการดูแลสุขภาพของ

ประชาชนและภาคีเครือขา่ ย

หน้า 73

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสานักงา

นายแพทย์สาธาร

นายแพทยเ์ ชยี่ วชาญ นักวชิ าการสาธารณสุข
ด้านเวชกรรมปอู งกัน เชีย่ วชาญ
รร ร

1. กล่มุ งานคมุ้ ครองผบู้ ริโภค 1. งานทนั ตสาธารณสขุ 1. กลุม่ งานบ
2. งานควบคุมโรคตดิ ต่อ 2. งานควบคุมโรคเอดสแ์ ละ 2. กลุ่มงานป
3. งานพัฒนายทุ ธศาสตร์
กามโรค สขุ ภาพ
สาธารณสุข 3. งานพัฒนาคุณภาพบรกิ าร 3. กลุม่ งานน
4. งานพัฒนาทรพั ยากร

บุคคล

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี

านสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี

รณสุขจังหวัด

นกั วิชาการสาธารณสุขเช่ียวชาญ นักวิชาการสาธารณสุข
ดา้ นสง่ เสรมิ พัฒนา ชานาญการพ2เิ ศษ

บริหารท่วั ไป 1. งานสง่ เสรมิ สุขภาพ 1. กลุ่มงานอนามยั สิ่งแวดล้อม
ประกัน และรกั ษาพยาบาล และอาชีวอนามัย

นติ กิ าร 2. งานโรคไม่ติดต่อและ 2. งานสุขภาพภาคประชาชน
สขุ ภาพจติ 3. งานพัฒนาการแพทยแ์ ผน

3. งานสุขศึกษาและ ไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
ประชาสัมพนั ธ์

หน้า 8

แผนท่ีจงั หวดั สุพรรณบุรี

อาณาเขต

ทิศเหนือ ตดิ จังหวัดอทุ ยั ธานี และจังหวดั ชัยนาท
ทศิ ตะวันออก ติดจังหวดั สิงหบ๑ ุรี จังหวัดอํางทอง และจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ทศิ ใต๎ ติดจังหวดั นครปฐม และจงั หวัดกาญจนบรุ ี
ทศิ ตะวันตก ตดิ จงั หวดั กาญจนบรุ ี

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 5

แผนที่จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี

เขตการปกครอง

การบรหิ ารราชการสวํ นภมู ภิ าคของจังหวัดสพุ รรณบรุ ิ แบํงเขตการปกครองออกเป็น

10 อาํ เภอ 110 ตําบล 28 ชมุ ชน และ 1,007 หมบูํ ๎าน โดยมีอาํ เภอดงั นี้

1. อําเภอเมืองสุพรรณบรุ ี 2. อาํ เภอเดิมบางนางบวช

3. อาํ เภอดํานช๎าง 4. อาํ เภอบางปลาม๎า

5. อาํ เภอศรปี ระจันต๑ 6. อาํ เภอดอนเจดีย๑

7. อาํ เภอสองพน่ี ๎อง 8. อาํ เภอสามชุก

9. อาํ เภออูํทอง 10. อําเภอหนองหญา๎ ไซ

การบรหิ ารราชการสวํ นท๎องถิ่น ประกอบดว๎ ย องค๑การบรหิ ารสวํ นจังหวัด 1 แหงํ เทศบาลเมือง

2 แหํง เทศบาลตาํ บล 35 แหํง และองค๑การบริหารสวํ นตาํ บล 89 แหงํ (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครอง จังหวดั สุพรรณบุรี จําแนกรายอาํ เภอ สําหรับใชก๎ ําหนด

เปาู หมายในปีงบประมาณ 2556

เทศบาล จํานวนชุมชน/หมบูํ า๎ นตาม

อําเภอ ตาํ บล เมอื ง ตําบล อบต. เขตการปกครอง(มหาดไทย)

ชมุ ชน หมูบํ า๎ น

เมอื งสพุ รรณบรุ ี 20 16 15 16 124

เดิมบางนางบวช 14 -6 10 - 121

ดํานชา๎ ง 7 -1 7 - 93

บางปลาม๎า 14 -7 11 - 127

ศรปี ระจนั ต๑ 9 -3 7 - 64

ดอนเจดีย๑ 5 -2 5 - 50

สองพ่ีนอ๎ ง 15 11 14 12 140

สามชกุ 7 -1 6 - 68

อูํทอง 13 - 7 8 - 154

หนองหญา๎ ไซ 6 -1 6 - 66

รวม 110 2 35 89 28 1,007

ทม่ี า : ทท่ี าํ การปกครองจังหวัดสพุ รรณบุรี (ธันวาคม 2555)
องค๑กรปกครองสํวนท๎องถน่ิ จงั หวัดสุพรรณบุรี (ธนั วาคม 2555)

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 6

ประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ ี

จาํ นวนประชากรจังหวัดสุพรรณบรุ ี สาํ หรับใช๎กําหนดเปูาหมายในปีงบประมาณ 2556 มจี ํานวน
ท้ังสิ้น 848,399 คน เป็นชาย 411,016 คน คดิ เป็นร๎อยละ 48.45 และหญิง 437,383 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ
51.55 อตั ราสวํ นเพศชายตํอเพศหญงิ เทํากบั 1 :1.06 อาํ เภอที่มสี ดั สํวนประชากรมากทีส่ ุด 3 ลาํ ดบั
แรก คอื อาํ เภอเมืองสพุ รรณบรุ ี รองลงมาคอื อําเภอสองพี่นอ๎ ง และอําเภออทํู อง ความหนาแนนํ ของ
ประชากรในภาพรวมทั้งจงั หวัด เทาํ กับ 157 คนตํอตารางกิโลเมตร มีจาํ นวนหลงั คาเรือนรวมทงั้ สิ้น
268,094 หลงั คาเรือน (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 จาํ นวนประชากรและหลังคาเรือน จาํ แนกตามเพศและรายอําเภอ สาํ หรับใชก๎ าํ หนด
เปูาหมายในปีงบประมาณ 2556 จงั หวัดสพุ รรณบุรี

อาเภอ ชาย หญงิ รวม รอ้ ยละ อัตราสว่ น หลังคาเรือน

เมอื ง 82,206 89,166 ชาย:หญิง
เดิมบางนางบวช 35,345 38,231
ดาํ นชา๎ ง 32,888 33,380 171,372 20.20 1:1.08 55,395
บางปลาม๎า 37,861 40,201
ศรปี ระจนั ต๑ 29,717 32,643 73,576 8.67 1:1.08 24,274
ดอนเจดีย๑ 21,833 23,062
สองพีน่ ๎อง 62,481 65,428 66,268 7.81 1:1.01 23,409
สามชุก 25,703 28,166
อํูทอง 59,516 62,684 78,062 9.20 1:1.06 24,292
หนองหญา๎ ไซ 23,466 24,422
62,360 7.35 1:1.10 20,235
รวม 411,016 437,383
44,895 5.30 1:1.06 14,258

127,909 15.08 1:1.05 37,011

53,869 6.35 1:1.10 19,381

122,200 14.40 1:1.05 34,600

47,888 5.64 1:1.04 15,239

848,399 100.0 1:1.06 268,094

ที่มา : 1. ฐานขอ๎ มูลจาํ นวนประชากรหลักประกันสขุ ภาพ สํานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี
ขอ๎ มูล ณ ธันวาคม 2555

2. สํานกั นโยบายและยุทธศาสตร๑ กระทรวงสาธารณสขุ ปี 2555 (ftp ://healthdata.moph.go.th)
3. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ธนั วาคม 2555 (http ://www.dopa.go.th)

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 7

โครงสร้างประชากรตามกลุ่มอายุและเพศ

รปู ที่ 1 ปริ ามดิ ประชากร จ.สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2535 รูปที่ 2 ปริ ามิดประชากร จ

ท่มี า สํานกั นโยบายและยุทธศาสตร๑ กระทรวงสาธารณสขุ ที่มา สาํ นักนโยบายและยทุ ธศาส
http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1 http://bps.ops.moph.go.th/

เมอ่ื พจิ ารณาโครงสร๎างประชากรตามกลํุมอายุและเพศของประชากรจังหวัด
ทางโครงสร๎างกลุมํ อายุทช่ี ดั เจนมาก กลาํ วคือสัดสํวนของประชากรวยั เดก็ (0-14 ปี) ล

การเปลยี่ นแปลงโครงสร๎างทางประชากรดังกลําว ทําให๎ดัชนีผสู๎ งู อายุ คอื จาํ นว
ชดั เจนจากทีพ่ บวําในปี 2543 คาํ ดชั นีผูส๎ ูงอายเุ ทาํ กับ 53.13 ซ่ึงหมายถงึ มีประชากรผู๎ส
คาํ ดชั นผี ๎สู งู อายุเทาํ กบั 90.97 ซง่ึ เกือบเทํากบั ประชากรวยั เดก็ และสูงกวาํ ดัชนผี ๎ูสงู อา
อันแสดงใหเ๎ หน็ วํา ประชากรผู้สูงอายุในจังหวดั สุพรรณบุรเี ร่มิ มีจานวนใกลเ้ คยี งกับป
ของสุพรรณบุรจี ะมากกวา่ จานวนประชากรวัยเดก็ นั่นหมายถึงว่าจังหวัดสุพรรณบ

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี

จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2545 2

สตร๑ กระทรวงสาธารณสุข รปู ที่ 3 ปิรามิดประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2556
/index.php?mod=bps&doc=5_1
ท่ีมา สาํ นกั นโยบายและยุทธศาสตร๑ กระทรวงสาธารณสุข
http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1

ดสุพรรณบุรีในรอบ 22 ปีท่ีผํานมา (ปี พ.ศ.2535 – 2556) พบวํามีการเปลี่ยนแปลง
ลดลง ในขณะเดยี วกนั สดั สํวนประชากรกลํุมผูส๎ ูงอายุ (60 ปขี ึน้ ไป)เพิม่ มากขนึ้ (รปู ที่ 1-3)
วนผูส๎ ูงอายุตอํ จํานวนเด็ก 100 คน ของจังหวดั สุพรรณบรุ มี ีการเปลี่ยนแปลงอยาํ ง
สงู อายปุ ระมาณคร่งึ หน่ึงของประชากรวยั เดก็ แตํเมื่อ 10 ปีผํานไปพบวาํ ในปี 2553
ายุระดบั ประเทศอยาํ งมากเม่ือเปรียบเทียบในชวํ งเวลาเดยี วกนั (ตารางที่ 3, รปู ท่ี 4)
ประชากรวยั เดก็ มากขนึ้ และในอนาคตอันใกล้กค็ าดว่าจานวนประชากรผสู้ ูงอายุ
บุรีจะกา้ วเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรปู แบบ

หน้า 8

ตารางที่ 3 ดัชนีผส๎ู งู อายุจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2543-2556 และดชั นีผสู๎ ูงอายขุ องประเทศไทย

ปี พ.ศ.2543-2556

ปี พ.ศ. ประชากร จ.สุพรรณบุรี ดชั นผี ู๎สงู อายุ

ทัง้ หมด ผส๎ู ูงอายุ วยั เดก็ จ.สพุ รรณบุรี ประเทศไทย

2543 873,969 109,093 205,333 53.13 38.24

2544 877,939 111,491 202,269 55.12 39.36

2545 880,319 113,798 197,559 57.60 40.62

2546 881,239 116,066 191,427 60.63 42.06

2547 880,997 118,382 184,287 64.24 43.71

2548 880,160 120,790 176,799 68.32 45.50

2549 881,655 122,558 170,478 71.89 47.16

2550 884,385 124,967 164,930 75.77 49.21

2551 887,964 128,100 159,831 80.15 51.72

2552 892,231 132,064 155,063 85.17 54.67

2553 897,066 136,946 150,546 90.97 58.04

2554 / 852,068

2555 8 846,057 1 124,623 149,940

2556 / 848,399 1 128,803 1 146,368

ทมี่ า : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2573, สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหงํ ชาติ

(http://www.nesdb.go.th/)

ร้อยละ

180 163.9
160
140 155.7 จ.สุพรรณบุรี
120 148.0 ประเทศไทย
100 140.5
133.1 พ.ศ.
80 125.6
60 117.6
40 109.9
20 102.7
96.4
64.2 68.3 71.9 75.8 80.1 85.2 91.0 61.1 91.9 105.3
43.7 45.5 47.2 49.2 51.7 54.7 58.0 98.4

53.1 55.1 57.6 60.6 80.8 86.0
38.2 39.4 40.6 42.1
71.9 76.3

64.4 68.0

0

รปู ที่ 4 ดชั นีผส๎ู ูงอายุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี และประเทศไทย ปี พ.ศ.2543-2563

ที่มา : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2573, สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแหํงชาติ (http://www.nesdb.go.th/)

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 13

ร้อยละ

35 33.2 จ.สุพรรณบุรี
31.6 ประเทศไทย
30.1
28.7
30 27.5
25 26.4
20 20.0 20.2 20.5 20.7 20.8 21.0 21.3 21.8 22.5 23.0 23.7 24.5 25.4 21.2 25.3 26.6
15 14.7 14.9 15.2 15.5 15.8 16.1 16.5 17.0 17.6 18.1 18.7 19.5 20.3
19.5 19.8 23.1 24.2
14.3 14.5
22.1

10

5

0

พ.ศ.

รปู ที่ 5 อัตราสํวนพ่ึงพงิ วยั ชรา(Old-age dependency ratio) จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
และประเทศไทย ปี พ.ศ.2543-2563

ทม่ี า : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2563, สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแหงํ ชาติ (http://www.nesdb.go.th/)

ขอ้ มลู ทรพั ยากรสาธารณสุข จาํ นวน 1 แหํง
จํานวน 1 แหํง
สถานบริการสาธารณสขุ ของรฐั จํานวน 8 แหํง
จํานวน 174 แหํง
จงั หวัดสุพรรณบุรี มสี ถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล ดังน้ี จาํ นวน 3 แหงํ
โรงพยาบาลศูนย๑

 โรงพยาบาลทั่วไป
 โรงพยาบาลชมุ ชน
 รพ.สต. (สถานีอนามยั หรือศูนยส๑ ุขภาพชุมชน (PCU))
 ศนู ยบ๑ รกิ ารสาธารณสุขของเทศบาล



รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 14

ตารางท่ี 4 จํานวนสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั บาล จาํ แนกรายอาํ เภอ จังหวดั สุพรรณบุรี

โรงพยาบาล สถานอี นามยั ศนู ย์บรกิ าร

อาเภอ ประเภท/แห่ง จานวนเตยี ง จานวนเตยี ง (รพ.สต.) สาธารณสุข

จรงิ ตามกรอบ (แหง่ )

เมืองฯ รพศ. 1 แหํง 680 666 29 2

เดิมบางฯ รพช. 1 แหํง 120 120 20 -

ดาํ นชา๎ ง รพช. 1 แหงํ 106 90 16 -

บางปลาม๎า รพช. 1 แหงํ 62 60 17 -

ศรปี ระจนั ต๑ รพช. 1 แหงํ 60 60 14 -

ดอนเจดีย๑ รพช. 1 แหํง 60 60 9-

สองพี่นอ๎ ง รพท. 1 แหํง 302 210 25 1

สามชกุ รพช. 1 แหํง 60 60 13 -

อูทํ อง รพช. 1 แหงํ 150 150 22 -

หนองหญา๎ ไซ รพช. 1 แหํง 60 60 9-

รวม 10 1,435 1,506 174 3

ทีม่ า : งานพัฒนายทุ ธศาสตรส๑ าธารณสขุ สสจ.สพุ รรณบรุ ี ข๎อมลู ณ เดอื น มกราคม 2554

สถานบรกิ ารสาธารณสุขของเอกชน

 สถานพยาบาลประเภทท่ีรบั ผปู้ วุ ยไว้ค้างคนื จานวน 5 แหง่

o โรงพยาบาล จาํ นวน 5 แหํง

 สถานพยาบาลประเภททไ่ี มร่ ับผู้ปุวยไว้คา้ งคนื จานวน 203 แหง่

o คลินิกเวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง (คลินกิ แพทย)๑ จํานวน 91 แหงํ

o คลินกิ ทนั ตกรรม จํานวน 23 แหงํ

o คลนิ กิ การพยาบาลและการผดุงครรภ๑ จํานวน 67 แหงํ

o คลินกิ เทคนิคการแพทย๑ จาํ นวน 6 แหงํ

o คลินิกการแพทยแ๑ ผนไทย จํานวน 9 แหงํ

o สหคลินกิ จาํ นวน 4 แหงํ

o คลนิ ิกกายภาพบาํ บัด จํานวน 3 แหํง

 สถานประกอบการรา้ นขายยาและผลติ ยาแผนโบราณ จานวน 268 แห่ง

o รา๎ นขายยาแผนปัจจบุ ัน จาํ นวน 106 แหงํ

o ร๎านขายยาแผนปจั จบุ ันบรรจุเสร็จ จํานวน 83 แหํง

o รา๎ นขายยาแผนโบราณ จํานวน 49 แหํง

o สถานทผี่ ลิตยาแผนโบราณ จํานวน 18 แหํง

o สถานทนี่ ําเขา๎ หรือส่ังยาแผนโบราณเขา๎ มาในราชอาณาจกั รฯ จํานวน 1 แหํง

o ร๎านขายยาแผนปัจจบุ ันบรรจุเสรจ็ สําหรับสตั ว๑ จาํ นวน 11 แหงํ

ท่ีมา : งานคุม๎ ครองผู๎บรโิ ภค สาํ นกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ณ วนั ท่ี 20 เดอื นกันยายน พ.ศ.2553

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 15

จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข

อาสาสมัครสาธารณสุข ทงั้ หมดมี จาํ นวน 15,127 คน อัตราสวํ นอาสาสมัครตํอประชากรใน
ภาพรวมท้งั จังหวัด เทํากบั 1: 56 และอัตราสํวนอาสาสมัครตอํ หลงั คาเรือน ในภาพรวม เทาํ กับ 1:18
สาํ หรับอําเภอที่มีอตั ราสวํ นอาสาสมัครตํอหลังคาเรือน มากกวํา 1 : 15 ไดแ๎ กํ อําเภอสองพนี่ ๎อง,
อําเภอเมืองสุพรรณบุร,ี อําเภอดาํ นชา๎ ง,อําเภอสามชุก อําเภอดอนเจดยี ๑ อําเภอบางปลามา๎ และอําเภออูํ
ทองรายละเอียดตาม(ตารางท่ี 5)

ตารางท่ี 5 จํานวนอาสาสมคั รสาธารณสขุ จําแนกรายอาํ เภอ จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2556

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อัตราส่วน อสม./ประชากร อตั ราส่วน อสม./หลงั คาเรอื น

เมืองสุพรรณบรุ ี 2,301 1:74 1:24

เดิมบางนางบวช 1,651 1:45 1:15

ดาํ นชา๎ ง 1,178 1:56 1:20

บางปลาม๎า 1,539 1:51 1:16

ศรปี ระจนั ต๑ 1,275 1:49 1:16

ดอนเจดยี ๑ 838 1:54 1:17

สองพน่ี อ๎ ง 1,595 1:80 1:23

สามชกุ 1,082 1:50 1:18

อํูทอง 2,435 1:50 1:14

หนองหญ๎าไซ 1,233 1:39 1:12

รวม 13,975 1:56 1:18

ที่มา : งานสุขภาพภาคประชาชน สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี ณ เดือนสงิ หาคม 2556

การบริการสุขภาพ

การให้บริการสขุ ภาพในระดบั โรงพยาบาล

1. ผ้ปู ุวยนอก
การให๎บริการผ๎ูปุวยนอกในระดับโรงพยาบาล จากคลังข๎อมูลสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

สุพรรณบุรี ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบวํา ในปีงบประมาณ 2556 จํานวนผู๎มารับบริการ
ผ๎ูปุวยนอกในโรงพยาบาลจํานวนคนและจํานวนคร้ังเพิ่มขึ้น จากปีงบประมาณ 2555 เม่ือพิจารณา
อัตราสํวนของการมารับบริการ (คร้ังตํอคน) ตามประเภทสิทธิ จะเห็นวํากลํุมสิทธิข๎าราชการ/
รัฐวิสาหกิจ/เบิกต๎นสังกัดมาใช๎บริการเฉล่ียจํานวนครั้งตํอคนมากกวํากลุํมสิทธิอ่ืนๆ คือ 6.73 คร้ัง/คน
กลํุมสิทธิ UC และกลุํมสิทธิประกันสังคม มีอัตราสํวนของการมารับบริการใกล๎เคียงกัน คือ 4.61 และ
4.32 คร้ัง/คน กลํุมสิทธิแรงงานตํางด๎าวมีอัตราสํวนของการมารับบริการตํอคนน๎อยท่ีสุดคือ 2.20
คร้งั /คน โดยคาํ เฉล่ยี ของการมารับบริการผู๎ปุวยนอกในโรงพยาบาลในภาพรวมของประชากรท้ังจังหวัด
เทํากับ 2.45 คร้ัง/คน/ปี (ตารางที่ 6) และเม่ือพิจารณาจํานวนคร้ังท่ีเพ่ิมข้ึนจากปีงบประมาณ 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 16

พบวาํ จํานวนคนและจํานวนครั้งเพิ่มมากที่สุด ในกลํุมสิทธิ UC ในขณะท่ีจํานวนคร้ังที่มารับบริการเพิ่ม
มากที่สุดในกลํุม UC คือร๎อยละ 71.84 รองลงมาคือกลํุมประกันสังคม ร๎อยละ 19.25 กลํุม
ข๎าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ร๎อยละ 1.10 ตามลําดับ ในขณะที่กลํุมแรงงานตํางด๎าวมารับบริการลดลง
รอ๎ ยละ 3.53 รายละเอยี ดตาม(ตารางที่ 7)

ตารางที่ 6 จํานวนคน/ครัง้ ของผรู๎ ับบริการประเภทผ๎ูปวุ ยนอกในระดับโรงพยาบาล จ.สุพรรณบรุ ี

จาํ แนกตามประเภทสิทธิ ปีงบประมาณ 2555 -2556

ประเภทสทิ ธิ ปี 2555 ปี 2556

(ผูป๎ วุ ยนอก) คน ครัง้ ครงั้ :คน คน ครงั้ ครั้ง:คน

1.ขา๎ ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ/เบกิ ต๎นสังกัด 64,659 425,426 6.58 63,374 426,244 6.73

2.ประกันสงั คม 33,467 133,755 4.00 34,282 148,026 4.32

3.UC บตั รทองไมมํ ี ท/มี ท 293,889 1,338,770 4.56 302,080 1,392,038 4.61

4.แรงงานตาํ งดา๎ ว 7,167 17,095 2.39 6,573 14,481 2.20

รวมผมู๎ ารับบรกิ าร 448,703 2,060,287 4.59 458,115 2,134,433 4.66

ประมาณการอตั ราสํวนการใช๎บริการ 2.42 คร้งั /คน/ปี 2.45 คร้ัง/คน/ปี
ผปู๎ ุวยนอก 1 ปี ตํอประชากรท้ังหมด

ทม่ี า : คลังขอ๎ มลู สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วันที่ 30 มกราคม 2557

ตารางท่ี 7 จาํ นวนคน และครงั้ ท่ีเพ่มิ ข้นึ ของผร๎ู ับบรกิ ารประเภทผ๎ปู ุวยนอกในระดบั โรงพยาบาล

จ.สุพรรณบุรี จาํ แนกตามประเภทสิทธิ จากปีงบประมาณ 2555-2556

ประเภทสิทธิ ปี 2555 ปี 2556
(ผปู๎ ุวยนอก)
จํานวนเพ่ิมข้นึ (เพ่มิ จากปี 2554) จํานวนเพม่ิ ข้นึ (เพ่มิ จากปี 2555)

คน คร้งั รอ๎ ยละของ คน ครั้ง ร๎อยละของ

จาํ นวนคร้ัง จาํ นวนครง้ั

1.ข๎าราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 4,101 72,125 24.78 -1,285 818 1.10

2.ประกนั สงั คม 8,379 38,170 13.11 815 14,271 19.25

3.UC บัตรทองไมมํ ี ท/มี ท 15,983 164,829 56.62 8,191 53,268 71.84

4.แรงงานตาํ งด๎าว -5,202 -5,210 -1.79 -594 -2,614 -3.53

รวมผมู๎ ารบั บรกิ าร (1-4) 23,879 261,114 100.00 9,412 74,146 100.00

ท่ีมา : คลงั ข๎อมลู สาํ นักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 30 มกราคม 2557

เม่ือจําแนกจํานวนผ๎ูมารับบริการผู๎ปุวยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จ.สุพรรณบุรี ใน
ปงี บประมาณ 2556 เปน็ รายโรงพยาบาล พบวํา รพศ.เจ๎าพระยายมราช มีจาํ นวนผ๎ูปุวยนอกเฉลี่ยตํอ
เดือนมากที่สุด รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ รพช.อูํทอง รพช.เดิมบางนางบวช รพช.
ดํานช๎าง รพช.สามชุก รพช.บางปลาม๎า รพช.ดอนเจดีย๑ รพช.ศรีประจันต๑ และรพช.หนองหญ๎าไซ
ตามลําดับ ในขณะเดียวกันอัตราสํวนของการมารับบริการผู๎ปุวยนอกจํานวนคร้ังตํอคนตํอปีของ

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 17

รพช.สามชุกสูงกวําโรงพยาบาลอ่ืนๆ คือเฉล่ียเทํากับ 5.44 คร้ัง/คน/ปี โดยคําเฉลี่ยท้ังจังหวัดเทํากับ
4.66 คร้ัง/คน/ปี (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 จาํ นวนคนและคร้ังของผรู๎ ับบริการประเภทผ๎ปู วุ ยนอก จาํ แนกตามรายโรงพยาบาล

(รพ.ของรัฐฯ) จ.สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2555-2556

โรงพยาบาล ปี 2555 ปี 2556

คน ครัง้ ครง้ั : คร้งั :เดอื น คน ครั้ง ครั้ง:คน ครงั้ :เดอื น
590,299 คน 128,849 629,894 4.89
รพศ.เจา๎ พระยาฯ 125,495 52,491
4.70 49,192 22,116
17,177
รพท.สมเดจ็ ฯ 57,065 235,134 4.12 19,595 60,086 265,395 4.42 12,894
12,075
รพช.เดมิ บางฯ 44,547 201,459 4.52 16,788 44,598 206,125 4.62 10,958
10,965
รพช.ดาํ นชา๎ ง 36,170 149,483 4.13 12,457 38,250 154,731 4.05 12,203
19,252
รพช.บางปลาม๎า 32,481 140,583 4.33 11,715 33,105 144,900 4.38 7,737
177,869
รพช.ศรีประจนั ต๑ 27,484 130,213 4.74 10,851 27,391 131,501 4.80

รพช.ดอนเจดีย๑ 25,321 131,262 5.18 10,939 26,589 131,585 4.95

รพช.สามชกุ 27,917 155,074 5.55 12,923 26,936 146,437 5.44

รพช.อํูทอง 53,593 232,821 4.34 19,402 53,314 231,023 4.33

รพช.หนองหญ๎าไซ 18,631 93,959 5.04 7,830 18,997 92,842 4.89

รวม 448,703 2,060,287 4.59 171,691 458,115 2,134,433 4.66

ทมี่ า : คลังขอ๎ มลู สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันท่ี 30 มกราคม 2557

2. ผปู้ ุวยใน
การให๎บริการผู๎ปุวยในของโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข๎อมูล

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาพรวมของจังหวัด พบวํา ในปีงบประมาณ 255 6
จํานวนผู๎ปุวยในลดลงเล็กน๎อยจากปีงบประมาณ 2555 ในกลุํมสิทธิ์ข๎าราชการ/รัฐวิสาหกิจ สิทธ์ิ
ประกนั สงั คม และกลํมุ สิทธห์ิ ลักประกนั สุขภาพ (30 บาท) สํวนกลุํมแรงงานตํางด๎าวมีจํานวนผ๎ูปุวย
ในเพ่ิมข้ึนเล็กน๎อย เม่ือพิจารณาตามจํานวนวันนอนพบวําจํานวนวันนอนรวมลดลงจากปี 2555
สมั พนั ธก๑ ับจํานวนผป๎ู วุ ยในที่ลดลง โดยในปี 2556 ผ๎ูปุวยใน 1 ราย มีวันนอนเฉลี่ย 4.50 วัน ลดลง
จากปี 2555 ซ่งึ มวี ันนอนเฉลีย่ 4.53 วัน/ราย จํานวนวันนอนเฉล่ียในปี 2556 เมื่อแยกตามประเภท
สิทธิ พบวําผ๎ูปุวยสิทธิข๎าราชการ มีวันนอนเฉลี่ยสูงกวําผ๎ูปุวยสิทธิอ่ืนๆ คือมีวันนอนเฉลี่ย 5.96 วัน
ตํอผู๎ปุวยใน 1 ราย ผ๎ูปุวยสิทธิ UC และประกันสังคมมีวันนอนเฉล่ียใกล๎เคียงกัน คือ 4.35 และ
3.87 วันตํอผู๎ปุวยใน 1 ราย ผู๎ปุวยแรงงานตํางด๎าวมีวันนอนเฉลี่ยตํอคนน๎อยท่ีสุดคือ 3.76 วัน
รายละเอยี ดตาม(ตารางที่ 9)

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 18

ตารางที่ 9 จาํ นวนผู๎รบั บรกิ าร จาํ นวนวันนอน และจํานวนวันนอนเฉลี่ยของผป๎ู วุ ยใน

จําแนกตามประเภทสิทธิ จ.สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2555 - 2556

ประเภทสิทธิ ปงี บประมาณ 2555 ปงี บประมาณ 2556

จํานวน(ราย) รวมวนั วันนอน จาํ นวน(ราย) รวมวันนอน วันนอน

นอน เฉลี่ย/ราย เฉลีย่ /ราย

1.ขา๎ ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ 11,612 70,746 6.09 10,691 63,756 5.96

2.ประกันสงั คม 4,996 18,989 3.80 4,944 19,143 3.87

3.UC บตั รทองมี/ไมํมี 78,390 342,722 4.37 74,612 324,657 4.35

4.แรงงานตํางด๎าว 1,594 5,950 3.73 1,617 6,080 3.76

รวมผมู๎ ารบั บริการ 106,407 481,934 4.53 101,500 456,261 4.50

ท่ีมา : คลังข๎อมลู สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วนั ที่ 22 มกราคม 2557

เม่ือจําแนกวันนอนเฉลี่ยผ๎ูปุวยในตามรายโรงพยาบาล พบวํา รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ
มีวนั นอนเฉลี่ยผ๎ปู วุ ยในสูงสดุ คือ 5.37 วัน/ราย รองลงมาคือ รพท.เจ๎าพระยายมราช มีวันนอนเฉล่ีย
ผ๎ูปุวยใน 5.15 วัน/ราย ในระดับโรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลที่มีจํานวนวันนอนเฉลี่ยผ๎ูปุวยในสูงสุด
คือ รพช.หนองหญ๎าไซ (4.13 วัน/ราย) รองลงมาได๎แกํ รพช.อูํทอง (4.04 วัน/ราย) รพช.ดํานช๎าง
(3.83 วนั /ราย) รพช.บางปลามา๎ (3.72วนั /ราย) รพช.ดอนเจดีย๑ (3.63 วัน/ราย) รพช.เดิมบางนางบวช
(3.48 วนั /ราย) รพช.สามชุก (3.36วัน/ราย) รพช.ศรีประจนั ต๑ (3.33 วัน/ราย) ตามลาํ ดบั (ตารางท่ี 10)

เมอื่ เปรยี บเทยี บวนั นอนเฉลย่ี ของผ๎ูปุวยในกบั คําเฉล่ยี ของประเทศในชวํ งเวลาเดียวกันคือ
ในปี 2556 จําแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นวําวันนอนเฉล่ียของผ๎ูปุวยในระดับ
โรงพยาบาลศูนย๑ โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชน มีคําเฉล่ียสูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
(ตารางที่ 10)

อัตราการครองเตียง (อัตราวันนอนผู๎ใน 1 ปี) ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็น
ร๎อยละ 85.38 ซึ่งถือวํามีการใช๎ประโยชน๑จากเตียงผู๎ปุวยในอยํางเหมาะสม แตํเม่ือพิจารณาตาม
ประเภทโรงพยาบาล พบวํา อัตราการครองเตียงของกลุํมโรงพยาบาลชุมชนสูงท่ีสุด ร๎อยละ 114.89
รองลงมาได๎แกํ โรงพยาบาลท่ัวไป ร๎อยละ 108.96 โรงพยาบาลศูนย๑มีอัตราครองเตียงต่ําสุด ร๎อยละ
85.88 โดยกลํุมโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลท่ัวไป มีอัตราครองเตียงสูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
ในขณะที่โรงพยาบาลศูนย๑ มีอัตราครองเตียงต่ํากวําคําเฉล่ียของประเทศ แตํยังอยํูในเกณฑ๑ที่เหมาะสม
(ตารางท่ี 10)

อัตราการใช๎เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบวํา ในระดับโรงพยาบาลศูนย๑มีอัตราการ
ใช๎เตียง 1 ปี เทํากับ 60.85 ตํ่ากวําคําเฉล่ียของกลุํมโรงพยาบาลศูนย๑ท่ัวประเทศในปี 2556 (คําเฉล่ีย
ของประเทศเทํากับ 77.45) โรงพยาบาลท่ัวไปมีอัตราการใช๎เตียง 1 ปี เทํากับ 55.44 ต่ํากวําคําเฉล่ีย
ของกลุํม โรงพยาบาลทั่วไปของประเทศในปี 2556 (คําเฉล่ียของประเทศเทํากับ 75.46)
กลํุมโรงพยาบาลชุมชนในภาพรวมมีอัตราการใช๎เตียง 1 ปี เทํากับ 75.45 ต่ํากวําคําเฉลี่ยของกลุํม

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 19

โรงพยาบาลชุมชนทั่วประเทศในปี 2556 (คําเฉล่ียของประเทศเทํากับ 100.98) โรงพยาบาลทั้ง ๓
ระดบั มีอตั ราการใชเ๎ ตยี งเฉลย่ี ตาํ่ กวําคําเฉลยี่ ระดับประเทศ น่ันหมายความวํา อาจมีการใช๎เตียงน๎อย
หรือการหมุนเวียนเตียงน๎อย โรคมีความรุนแรงมากเป็นโรคเรื้อรัง หรือคุณภาพในการให๎การรักษา
นอ๎ ย ใหว๎ ันนอนมากกวาํ ในเกณฑ๑เฉลย่ี (ตารางท่ี 10)

ตารางที่ 10 จาํ นวนผูร๎ ับบริการผปู๎ วุ ยใน จาํ นวนวันนอน จํานวนเตยี ง อตั ราการครองเตียง

อัตราการใช๎เตียง 1 ปี ของผปู๎ ุวยใน จ.สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2556

โรงพยาบาล ผู้ปุวยในที่ รวมวนั วนั นอนเฉลย่ี จานวนเตียง อัตราการครองเตยี ง อัตราการ
ใชเ้ ตียง
จาหนา่ ยท้ังหมด นอน ผปู้ ุวยใน (ตามจรงิ ) (อตั ราวันนอนผ้ปู วุ ย 1 ปี
60.85
ใน 1 ป)ี 74.69
84.70
รพศ.เจา๎ พระยายมราช 36,630 188,713 5.15 602 85.88 82.81
79.25
รพท.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ 16,730 89,082 5.37 224 108.96 68.59
82.50
รพช.เดิมบางนางบวช 8,809 30,625 3.48 104 80.68 96.35
65.93
รพช.ดํานช๎าง 7,453 28,550 3.83 90 86.91 55.90
69.33
รพช.บางปลามา๎ 4,755 17,689 3.72 60 80.77
60.85
รพช.ศรีประจันต๑ 5,076 16,898 3.33 74 62.56 74.69
75.45
รพช.ดอนเจดยี ๑ 4,950 17,957 3.63 60 82.00
77.45
รพช.สามชุก 3,854 12,960 3.36 40 88.77 75.46
100.98
รพช.อูํทอง 9,889 39,926 4.04 150 72.92

รพช.หนองหญา๎ ไซ 3,354 13,861 4.13 60 63.29

รวม 101,500 456,261 4.50 1,464 85.38

สรุปตามประเภทโรงพยาบาลจ.สุพรรณบุรี ปี 2556

รพศ. (1 แหงํ ) 36,630 188,713 5.15 602 85.88

รพท. (1 แหงํ ) 16,730 89,082 5.37 224 108.96

รพช. (8 แหงํ ) 48,140 267,548 4.50 638 114.89

คา่ เฉล่ียระดบั ประเทศ ปี 2556

รพศ. -- 5.09 - 107.98

รพท.น๎อยกวํา 300 เตยี ง -- 4.42 - 91.29

รพช. มากกวาํ 30 เตยี ง -- 3.35 - 92.59

ที่มา : คลงั ขอ๎ มลู สํานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 22 มกราคม 2557

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 20

สถานะสขุ ภาพ

อายคุ าดเฉลย่ี

อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด ตารางที่ 11 อายคุ าดเฉล่ียของประชากร จ.สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2555

(ความยืนยาวของชีวิตตั้งแตํแรกเกิดจน กลมํุ อายุ อายคุ าดเฉลี่ย (Expectation of Life)
ตาย) ของประชากรสุพรรณบุรี ในปี
หญงิ ชาย รวม

2555 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดแยก <1 78.44 71.26 74.87
ตามเพศ พบวํา เพศหญิงมีอายุยืนยาว 1-4 78.10 70.71 74.42
กวําเพศชาย กลําวคือ เพศหญิงมีอายุ 5-9 74.24 66.88 70.57
10 - 14 69.38 62.09 65.76

คาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด 78.44 ปี เพศชาย 15 - 19 64.51 57.31 60.94
มีอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดส้ันกวํา คือ 20 - 24 59.68 52.86 56.31
71.26 ในภาพรวมท้ัง 2 เพศมีอายุ 25 - 29 54.89 48.29 51.64
30 - 34 49.98 43.77 46.94

คาดเฉล่ยี เมื่อแรกเกิดเทาํ กับ 74.87 ปี 35 - 39 45.24 39.41 42.40
อายคุ าดเฉล่ียเมื่ออายุ 60 ปี 40 - 44 40.57 35.10 37.93
45 - 49 36.01 31.02 33.63
(อายุที่คาดวําจะยืนยาวตํอไปหลงั จาก 50 - 54 31.52 27.05 29.41

อายุ 60 ปี) พบวาํ เพศหญิงจะมีอายุยืน 55 - 59 27.18 23.22 25.33
ยาวตํอไปอีกประมาณ 22.96 ปี ขณะท่ี 60 - 64 22.96 19.54 21.39
ผชู๎ ายจะมีอายยุ ืนยาวหลงั อายุ 60 ปี 65 - 69 18.91 16.10 17.64
70 - 74 15.23 13.03 14.26

ตํอไปอีก 19.54 ปี (ตารางท่ี 11) 75 - 79 11.84 10.27 11.18
เมื่อพิจารณาอายุคาดเฉล่ยี เมื่อ 80 - 84 8.96 8.02 8.59
85 - 89 6.72 6.42 6.61

แรกเกิดของประชากรจังหวดั สพุ รรณบรุ ีเมื่อเทยี บก90ับ-ระ94ดับประเทศ4.ใ8น4ชวํ งเวลาที่ใก5.ล52เ๎ คยี งกนั พบ5.ว06ํา
95 - 99อายุ (ป)ี 3.99 4.87 4.28
78.44
อายุ (ปี) 76.90 30 19.54 19.10 22.96 22.20
80

75 71.26 69.60 20

70 10

65 0
ชายสพุ รรณบรุ ี หปญระิงเทศ ชาย หญงิ
สพุ รรณบรุ ี

อายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกิดของประชากรจังหวดั สุพรรณบุรี สูงกวําอายุคาดเฉลยี่ ของระดับประเทศทั้ง
เพศชายและเพศหญงิ ดงั รูปที่ 6 และ 7

รูปที่ 6 อายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกดิ ของประชากรเพศชาย จ.สพุ รรณบุรี และ ประเทศไทย พ.ศ. 2555
ทม่ี า 1) สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

2) http://ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/PublicationGazette.html

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 21

สถติ ชิ ีพ

จังหวัดสพุ รรณบุรี พบการตายของมารดา (การตายเนื่องจากการคลอดและภาวะแทรกในการมี
ครรภ๑และระยะอยํูไฟ ( ภายใน 6 สัปดาห๑หลังคลอด) ในระหวํางปี 2546-2549 ปีละ 1 ราย และในปี
2551-2553 พบมารดาตาย ปลี ะ 2-3 ราย ทําให๎อัตราตายของมารดาเพ่ิมเป็น 22.99 ตํอการเกิดมีชีพ
100,000 คน เกินเกณฑ๑ที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว๎ คืออัตราตายของมารดาไมํเกิน 18 คนตํอ
การเกิดมีชีพ 100,000 คน ในปี 2554 ไมํพบมารดาตาย และในปี 2555 พบมารดาตาย 1 ราย
คดิ เป็นอตั รามารดาตายเทํากับ 10.82 สําหรับอัตราทารกตายมีแนวโน๎มลดลงอยํางตํอเน่ือง จาก 7.98
ตํอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2546 ลดลงเป็น 4.22 ตํอการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2555
(ตารางที่ 12) และเมื่อเปรียบเทียบสถิติชีพของจังหวัดสุพรรณบุรีกับประเทศไทยในชํวงเวลาเดียวกัน
พบวํา อัตราทารกตายตํ่ากวําคําคาดประมาณของระดับประเทศ 2.79 เทํา อัตราเพิ่มตามธรรมชาติมี
แนวโน๎มลดลงอยํางตอํ เนื่องและ ตํา่ กวําคําเฉลี่ยของระดบั ประเทศ (ปี 2555) (ตารางท่ี 13)

ตารางท่ี 12 จาํ นวนและอตั รา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดชั นชี ีพ
จังหวดั สุพรรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2555

จาํ นวน อัตรา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกิดมชี ีพ ตาย ทารก มารดา อตั ราเพิ่ม ดชั นชี ีพ
ตาย ตาม
ชพี ตาย ตาย ตาย 148.52
ธรรมชาติ 151.03
2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 (รอ๎ ยละ) 133.07
2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 0.33 149.61
2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .038 139.86
2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 .027 137.04
2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.36 143.01
2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.32 126.62
2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.29 137.00
2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.33 135.86
2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.22
2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.29
0.28

ที่มา : กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)

หมายเหตุ:
1. มารดาตาย คอื การตายเนอื่ งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภแ๑ ละระยะอยไูํ ฟ ( ภายใน 6 สัปดาห๑
หลังคลอด)

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 22

2. อัตราเกิดมีชีพและตายตํอประชากร 1,000 คน
3. อตั ราทารกตายตอํ เกดิ มีชีพ 1,000 คน และมารดาตายตอํ เกดิ มชี พี 100,000 คน
4. อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (รอ๎ ยละ) : จาํ นวนเกดิ ลบดว๎ ย จาํ นวนตาย หารดว๎ ยจํานวนประชากรกลางปี

คณู ดว๎ ย 100
5. ดชั นีชพี หรือ อตั ราสํวนเกิดตาย เป็นจํานวนเกดิ มชี ีพตอํ ตาย 100 คน

ตารางท่ี 13 สถติ ิชีพ จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2555 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555

สถติ ิชพี จ.สพุ รรณบรุ ี ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2555 ปี พ.ศ. 2555
1. อัตราเกิด (ตํอประชากรพันคน)
2. อัตราตาย (ตํอประชากรพันคน) 10.911 12.03
3. อตั ราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร๎อยละ) 8.031 7.13
4. อัตราทารกตาย (ตํอการเกิดมีชพี พนั ราย) 0.281 0.53
5. อตั รามารดาตาย (ตํอการเกิดมีชีพ 100,000 คน) 4.221 11.83
6. อายุคาดเฉลีย่ เมอ่ื แรกเกิด ( จํานวนปีเฉลย่ี ทค่ี าดวํา 10.821 10.82

บคุ คลทเ่ี กดิ มาแล๎วจะมีชวี ิตอยํูตอํ ไปอีกกี่ป)ี 71.26 69.603
ชาย 78.44 76.903
หญิง
19.54 19.103
7. อายุคาดเฉลยี่ ท่ีอายุ 60 ปี (จาํ นวนปเี ฉลยี่ ทคี่ าดวาํ 22.96 22.203
ผูท๎ ่มี ีอายุ 60 ปี จะมชี วี ิตอยตํู ํอไปอกี ก่ปี ี)
ชาย
หญิง

ท่มี า 1 งานพฒั นายุทธศาสตรฯ๑ สสจ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2555
2 กลมุํ ภารกจิ ด๎านข๎อมลู ขําวสารและสารสนเทศสุขภาพ สาํ นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร๑
3 สารประชากร สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคม มหาลัยมหดิ ล ปี 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 23

สาเหตุการปุวย

จากการเกบ็ ข๎อมลู กลุํมผ๎ูปุวยนอก ประมวลผลจากคลังข๎อมูลสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี
ในรอบ 3 ปีที่ผํานมา พบวํา 5 ลําดับแรกของกลํุมโรคที่เป็นสาเหตุการเจ็บปุวยที่สําคัญของประชาชนจังหวัด
สพุ รรณบุรี คอื โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด โรคเกย่ี วกับตอํ มไรท๎ ํอโภชนาการและเมตะบอลซิ มึ โรคระบบกล๎ามเน้ือรวม
โครงรํางและเนื้อยึดเสริม กลุํมโรคระบบทางเดินหายใจ และอาการ,อาการแสดงและส่ิงผิดปกติท่ีพบได๎จากการ
ตรวจทางคลนิ ิกและทางห๎องปฏบิ ัตกิ ารฯ (ตารางท่ี 14)
ตารางที่ 14 จาํ นวนและอตั ราปุวยตํอประชากร 1,000 คน ของผ๎ูปุวยนอก จาํ แนกตามกลํุมสาเหตุการปวุ ย

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2554-2556

กลมุํ สาเหตุ พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556
โรค จาํ นวน อตั รา จํานวน อตั รา จํานวน อตั รา
1 โรคตดิ เช้อื และปรสติ 96,262 113.1 111,398 131.3 84,716 100.0
2 เน้อื งอก (รวมมะเรง็ ) 20,638 24.3 18,998 22.4 17,030 20.0

3 โรคเลอื ดและอวัยวะสรา๎ งเลือด และความ 17,111 20.1 22,242 26.2 22,902 27.0
ผดิ ปกตเิ กย่ี วกบั ภมู คิ ๎มุ กัน
399,705 469.7(4) 487,808 575.0(3) 515,875 608.8(2)
4 โรคเก่ยี วกบั ตํอมไรท๎ อํ โภชนาการ และ
เมตะบอลซิ ึม 46,871 55.1 49,503 58.3 51,414 60.7

5 ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤตกิ รรม 65,014 76.4 77,840 91.7 69,354 81.9
6 โรคระบบประสาท
66,779 78.5 78,168 92.1 73,551 86.8
7 โรคตารวมสํวนประกอบของตา 17,718 20.8 22,469 26.5 18,377 21.7
8 โรคหแู ละปมุ กกหู 442,226 519.7(2) 494,203 582.5(2) 533,837 630.0(1)
9 โรคระบบไหลเวยี นเลือด 443,867 521.6(1) 468,411 552.1(5) 399,375 471.4(5)
10 โรคระบบหายใจ 292,773 344.1 348,835 411.2 353,575 417.3
11 โรคระบบยํอยอาหาร รวมโรคในชอํ งปาก 123,232 144.8 140,235 165.3 117,394 138.5
12 โรคผวิ หนังและเน้อื เยอื้ ใต๎ผวิ หนัง 340,771 400.5(5) 474,727 559.6(4) 484,514 571.8(3)
13 โรคระบบกลา๎ มเน้อื รวมโครงราํ ง และเน้ือ
76,214 89.6 90,996 107.3 92,478 109.1
ยดึ เสรมิ 11,341 13.3 11,661 13.7 9,901 116.9
14 โรคระบบสืบพนั ธ๑ุ รวมทางเดนิ ปสั สาวะ
2,177 2.6 2,680 3.2 2,500 3.0
15 ภาวะแทรกในการต้ังครรภ๑ การคลอด
และระยะหลังคลอด 1,921 2.3 1,805 2.1 1,780 2.1

16 ภาวะผดิ ปกตขิ องทารกทีเ่ กดิ ขน้ึ ในระยะ
ปริกาํ เนิด (อายุครรภ๑ 22 สปั ดาห๑ขึ้นไป
จนถึง 7วนั หลงั คลอด)

17 รูปรํางผดิ ปกติแตกํ าํ เนดิ การพิการจนผดิ
รปู แตํกําเนดิ และโครโมโซม ผิดปกติ

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 24

18 อาการ, อาการแสดงและสง่ิ ผดิ ปกตทิ ่พี บ 409,289 481.0(3) 496,975 585.8(1) 425,562 502.2(4)
ไดจ๎ ากการตรวจทางคลนิ กิ และทาง
ห๎องปฏิบตั ิการฯ 1,060 1.2 983 1.2 694 0.8
14,100 16.6 14,086 16.6 12,540 14.8
19 การเป็นพิษและผลทต่ี ามมา 63,095 74.1 61,102 72.0 50,994 60.2
20 อุบัติเหตจุ ากการขนสงํ และผลท่ีตามมา
21 สาเหตุจากภายนอกอ่นื ๆ ที่ทําให๎ปวุ ยหรอื ตาย

ทีม่ า : คลังข๎อมูลสาํ นกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี (Data Center) ณ วันท่ี 31 มกราคม 2557

สําหรับกลุํมผู๎ปุวยใน กลุํมสาเหตุการเจ็บปุวยที่สําคัญ 10 ลําดับแรกในปี พ.ศ. 2556
ไดแ๎ กํ กลํมุ โรคความผิดปกติของตํอมไร๎ทอํ โภชนาการและเมตะบอลิซมึ ,โรคความดันโลหิตสูง, โรคเลือด
และอวยั วะสร๎างเลือด, โรคเบาหวาน ,โรคตาและสวํ นผนวก ,โรคอ่ืนๆของระบบยํอยอาหาร ,โรคติดเช้ือ
อ่ืนๆของลําไส๎, โรคอื่นๆของระบบหายใจ ,ความผิดปกติอ่ืนๆที่เกิดขึ้นในระยะปริกําเนิด และโรคหัวใจ
และโรคของการไหลเวียนเลือดผาํ นปอดอ่นื ๆ (ตารางที่ 15, รูปที่ 8)

ตารางท่ี 15 สาเหตุการปวุ ยของกลํมุ ผปู๎ วุ ยในตํอประชากร 100,000 คน จ.สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2556

กลุมํ โรค สาเหตกุ ารปุวย พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556
อตั รา
2 โรคตดิ เช้ืออนื่ ๆของลาํ ไส๎ 958.8 อตั รา อตั รา
15 โรคเลือด,อวยั วะสร๎างเลือดและความผดิ ปกติบางชนิดท่เี กี่ยวกับ 858.0(7)
1,189.8 847.83 1287.9(3)
ระบบภมู ิค๎มุ กัน 1102.08(3)
18 โรคเบาหวาน 1,077.0
19 ความผิดปกติเกยี่ วกบั ตํอมไร๎ทํอ โภชนาการและเมตะบอลซิ มึ อ่นื ๆ 3,092.9 1018.04(4) 1163.3(4)
28 โรคตาและสวํ นผนวก 3105.14(1) 3825.5(1)
32 โรคความดนั โลหิตสูง 567.3 952.6(5)
34 โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผาํ นปอดอน่ื ๆ 1,692.0 593.24 1868.5(2)
42 โรคอื่นๆของระบบหายใจ 1634.84(2) 651.8(10)
50 โรคอื่นๆของระบบยํอยอาหาร 646.2 594.41(10) 790.7(8)
65 ความผิดปกติอ่ืนๆทเ่ี กดิ ข้นึ ในระยะปริกาํ เนดิ 732.6 666.79(7) 934.5(6)
1,003.7 886.61(5) 674.1(9)
637.5 603.96(9)

หมายเหตุ ไมํนํากลุํมโรคท่ี 62, 63 และ 67 มาจัดลาํ ดบั ใน 10 ลําดับแรก
ที่มา : คลงั ข๎อมูลสาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2557

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 25

โรคหวั ใจและโรคของการไหลเวยี นเลือดผา่ นปอดอื่นๆ 651.8 อัตรา/แสนปชก.
ความผิดปกติอืน่ ๆที่เกิดขึ้นในระยะปรกิ าเนิด 674.1 3825.5
โรคอืน่ ๆของระบบหายใจ 790.7
โรคตดิ เชือ้ อน่ื ๆของลาไส้
โรคอนื่ ๆของระบบย่อยอาหาร 858.0
โรคตาและส่วนผนวก 934.5
โรคเบาหวาน 952.6

โรคเลอื ด,อวัยวะสรา้ งเลือดและความผดิ ปกตบิ างชนดิ ท่ีเก่ียวกับ… 1163.3
โรคความดันโลหติ สงู 1287.9
1868.5
ความผดิ ปกติเก่ียวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึมอน่ื ๆ

0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 4000

รูปที่ 8 ลาํ ดับอัตราผ๎ูปุวยในตํอประชากร 100,000 คน 10 ลําดับแรก จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2556

ภาวะการเจ็บปุวยจากกลมุ่ โรคไมต่ ิดต่อ ไดแ๎ กํ โรคความดันโลหติ สงู โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาด
เลือด โรคหลอดเลือดสมองใหญํ และไตวายเร้ือรัง จังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นอยํางตํอเน่ือง
ตง้ั แตํ พ.ศ.2546 – 2556 โดยเฉพาะโรคเบาหวานที่มีอัตราปุวยของผ๎ูปุวยในเพ่ิมขึ้นถึง 2 เทํา และโรค
ความดนั โลหติ สูงอัตราปวุ ยของผูป๎ ุวยในเพิ่มขึ้นถงึ 3 เทําจากพ.ศ.2546 (ตารางที่ 16,รูปที่ 9)

ตารางที่ 16 อัตราปวุ ยตอํ ประชากร 100,000 คน ของผู๎ปวุ ยในกลํุมโรคไมํติดตอํ จ.สุพรรณบุรี
ปี พ.ศ. 2546 - 2556

กลํุมโรคไมํติดตอํ 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

โรคเบาหวาน 568.1 614.7 862.2 876.1 1025.8 1031.0 1070.5 1187.6 1076.9 1018.9 1163.3
โรคความดนั โลหติ สูง 613.8 713.9 1143.9 1094.2 1411.6 1443.0 1509.4 1775.7 1691.9 1636.2 1868.5
โรคหัวใจขาดเลือด 287.7 233.3 320.0 326.7 455.9 457.0 463.4 485.3 468.0 438.1 449.5
โรคหลอดเลือดสมองใหญํ 262.5 239.0 334.8 318.1 374.0 365.0 368.2 421.9 383.1 334.6 394.5
ไตวายเรือ้ รงั 125.2 131.4 196.9 230.7 262.4 318.0 358.8 393.1 386.6 348.8 414.9

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 26

อัตราตอ่ แสนปชก. ความดันโลหติ สงู
เบาหวาน
2000 หัวใจขาดเลือด
1800 หลอดเลอื ดสมองใหญ่
1600 ไตวายเรื้อรัง
1400
1200
1000
800
600
400
200

0

รปู ที่ 9 อตั ราปุวยตอํ ประชากร 100,000 คน ของผปู๎ ุวยในด๎วยโรคความดันโลหิตสงู โรคเบาหวาน
โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองใหญํ และไตวายเรอ้ื รงั จ.สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2546 - 2556

ที่มา : 1) รายงานผ๎ปู ุวยใน รง.505 จ.สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2546 – 2553
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสํานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.2554 - 2556

และเมื่อพจิ ารณาการปุวยด๎วยกลํุมโรคไมํติดตอํ ในกลํมุ เนื้องอกร๎ายในอวยั วะตาํ ง ๆ และโรค
ตบั จากแอลกอฮอล๑ พบวําโรคตบั จากแอลกอฮอล๑มีแนวโนม๎ เพิม่ ขน้ึ อยํางตอํ เน่ืองต้ังแตํปี พ.ศ. 2546
เป็นตน๎ มา โดยในปี พ.ศ.2556 มีอตั ราปวุ ยผปู๎ วุ ยในเพิ่มขึน้ ถงึ 3.29 เทาํ จากปี พ.ศ.2546 กลํมุ โรคเนือ้
งอกรา๎ ยทป่ี อด ตับ และมดลูกมีแนวโนม๎ เพ่ิมข้ึนเล็กน๎อยในรอบ 11 ปี ในขณะทก่ี ลุํมโรคเนอ้ื งอกร๎ายที่
เต๎านมมแี นวโน๎มลดลงต้ังแตํปี พ.ศ. 2554 เป็นตน๎ มา (รปู ที่ 14.1)

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 27

อัตราต่อแสนปชก. โรคตบั จากแอลกอฮอล์
เนือ้ งอกร้ายทปี่ อด
120 เน้ืองอกรา้ ยท่ตี ับ
100 เนอื้ งอกร้ายท่เี ตา้ นม
80 เนื้องอกรา้ ยทมี่ ดลูก
60
40
20

0

รปู ที่ 10 อตั ราปวุ ยตํอประชากร 100,000 คน ของผป๎ู วุ ยในด๎วยโรคตบั จากแอลกอฮอล๑
เน้อื งอกร๎ายท่ีปอด เนอื้ งอกรา๎ ยทต่ี ับ เน้ืองอกร๎ายทเ่ี ตา๎ นม จ.สุพรรณบุรี
ปี พ.ศ. 2546-2556

ทมี่ า : 1) รายงานผ๎ูปวุ ยใน รง.505 จ.สพุ รรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2553
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสํานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี พ.ศ.2554 - 2556

สถานการณ์การเจ็บปุวยดว้ ยกลุม่ โรคติดต่อ

การเจ็บปุวยด๎วยกลํุมโรคติดตํอของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี พบวํา กลํุมโรคติดตํอที่มี
แนวโน๎มสงู ขึ้นอยาํ งตํอเนื่องต้งั แตํ ปี พ.ศ. 2546 เป็นต๎นมา คือกลุํมโรคติดเช้ืออื่นๆของลําไส๎, โรคติดเช้ือ
และปรสติ อน่ื ๆ (รปู ที่ 11)

สาํ หรับกลํุมโรคระบบทางเดินหายใจ ได๎แกํ โรคปอดอักเสบมีแนวโน๎มสูงข้ึนอยํางตํอเนื่อง ในขณะท่ี
กลํุมโรคระบบหายใจสํวนบนติดเช้ือเฉียบพลันและโรคอื่น ๆ ของระบบหายใจสํวนบน โรคเร้ือรังของระบบ
หายใจสวํ นลาํ ง และไข๎หวัดใหญํ มีอัตราปวุ ยผป๎ู ุวยในเพม่ิ ข้ึนเล็กน๎อย (รปู ท่ี 12)

กลุํมโรคไข๎เลือดออกจากเช้ือเด็งก่ี และไข๎เลือดออกจากเช้ือไวรัส มีการระบาดตามฤดูกาลซ่ึงมี
อตั ราปวุ ยสูงในปี พ.ศ.2551 และ 2554 ในขณะทโ่ี รคมาลาเรียมแี นวโน๎มลดลงอยาํ งตอํ เน่ือง (รปู ท่ี 13)

สําหรบั โรคภมู ิค๎มุ กนั บกพรอํ งจากเช้ือไวรัส (เอชไอวี) มีแนวโน๎มลดลง ในขณะที่โรควัณโรคมีอัตรา
ปวุ ยในผู๎ปุวยในคํอนข๎างคงท่ี (รูปที่ 14)

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 28

1200 โรคตดิ เชอื้ อนื่ ๆของลาไส้ 700 ปอดอกั เสบ
1000 โรคตดิ เช้ือและปรสติ อื่นๆ 600 ระบบหายใจส่วนบนตดิ เช้อื เฉยี บพลันฯ

800 โรคเร้อื รังของระบบหายใจสว่ นล่าง
500 ไขห้ วดั ใหญ่
600 400

400 300

200 200

0 100
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556
0
รูปที่ 11 อัตราปวุ ยตอํ ประชากร 100,000 คน ดว๎ ยโรคติดเชอ้ื อนื่ ๆ 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556
ของลําไส๎ และโรคติดเช้ือและปรสติ อืน่ ๆ ในกลํมุ ผู๎ปวุ ยใน
จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 -2556 รูปท่ี 12 อตั ราปวุ ยตอํ ประชากร 100,000 คน ดว๎ ยโรคปอดอกั เสบ
ระบบหายใจสวํ นบนตเิ ชือ้ เฉยี บพลัน,โรคเรื้อรงั ของระบบหายใจ
สวํ นลําง และไข๎หวดั ใหญํ จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2546 - 2556

350 ไขเ้ ลอื ดออก 200 เอชไอวี
300 มาลาเรยี
250 วณั โรค

200 150

150 100

100 50

50 0
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556
0
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 รูปที่ 14 อตั ราปุวยตอํ ประชากร 100,000 คน ด๎วย HIV วณั โรค
ในกลํุมผ๎ปู วุ ยใน จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 - 2556
รูปท่ี 13 อตั ราปวุ ยตํอประชากร 100,000 คน ดว๎ ยไข๎เลือดออก มาลาเรยี
ในกลํุมผ๎ูปวุ ยใน จ.สุพรรณบุรี ปี 2546 - 2556

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 29

สถานการณก์ ารเจบ็ ปวุ ยดว้ ยกล่มุ โรคทตี่ ้องเฝูาระวงั ทางระบาดวทิ ยา

การเจ็บปุวยด๎วยกลํุมโรคที่ต๎องเฝูาระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี 10
ลําดับของในปี พ.ศ. 2556 ได๎แกํ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, Food Poisoning, Hand foot
mouth disease ,D.H.F Total ,H.conjunctivitis , Chickenpox ,Influenza และ Herpes zoster
ตามลําดบั จากการพจิ ารณา 10 ลําดับโรคทางระบาดวิทยา พบวาํ โรคอจุ จาระรํวง มีอัตราปุวยตํอแสน
ประชากร สูงสุดอยํางตํอเน่อื ง เปน็ ลาํ ดบั 1 ต้ังแตํ พ.ศ. 2553 – 2556 และใน พ.ศ. 2556 โรคมือ เท๎า
ปาก มีการระบาดเพมิ่ ข้ึน โดยมีอตั ราปุวย เทาํ กับ 74.73 ตอํ แสนประชากร (ตารางที่ 17)

ตารางที่ 17 จานวน และอัตราปุวย ด้วยโรคที่ตอ้ งเฝาู ระวงั ทางระบาดวทิ ยา 10 ลาดับแรก
ของ ปี พ.ศ. 2555 - 2556 จ.สพุ รรณบุรี

ลาํ ดับ โรคเฝูาระวงั ทาง พ.ศ. 2555 ลาํ ดับ โรคเฝาู ระวังทาง พ.ศ. 2556
ระบาดวทิ ยา จํานวน อัตรา
ระบาดวทิ ยา จํานวน
1 Diarrhoea ปวุ ย ปุวย/แสน
ปุวย 2 Pyrexia (ราย)
3 Pneumonia 10,776 1,270.16
(ราย) 4 Food Poisoning 4,697 553.63
2,057 242.46
1 Diarrhoea 14,085 1 Hand foot 1,147 135.20
5 mouth disease
2 Pyrexia 5326 2 6 D.H.F,Total 634 74.73
7 H.conjunctivitis 632 74.49
3 Pneumonia 1699 3 8 Chickenpox 589 69.42
455 53.63
4 Food Poisoning 931 4 9 Influenza
10 Herpes zoster 369 43.49
5 D.H.F,Total 649 5 192 22.63
6 H.conjunctivitis 605 6
7 Influenza 598 7
8 Chickenpox 519 8

Hand foot 481 9
9 mouth disease 412 10
10 Herpes zoster

ท่ีมา : รายงาน 506 งานควบคุมโรคติดตํอ สํานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2555 - 2556

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 30

สาเหตุการตาย

การตายของประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2555 มจี ํานวนประมาณ 6,808 คนตํอปี เมื่อจําแนก
ตามเพศพบวํา จํานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกวําเพศหญงิ มาตลอด โดยสดั สํวนเพศชายคิดเป็นร๎อยละ
55.28 และเพศหญิงคิดเป็นร๎อยละ 44.72 ของจํานวนการตายทั้งหมด (รูปที่ 15 - 16)

4000 3543 3508 3747 3711 3752 3054
3000 3135 3060 2988 3275 2986

2666

2000

1000

0
พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.

ชาย หญิง

รปู ท่ี 15 จาํ นวนการตายของประชากร จาํ แนกตามเพศ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2550-2555

อัตรา/แสนปชก.

1000 911.9 885.6 863.7 855.9 912.7 905.0 913.8
900 769.1 830.2 791.6 803.2
800 806.1 815.2 754.3 813.7 781.4 766.3 781.9

700 704.7 708.7 672.6 688.5 699.3
600 752.3
720.8 683.0 704.6 687.3
684.9

500 608.4 608.0 595.4 615.0

400 ชาย

300 หญงิ

200 รวม

100

0 พ.ศ.

รปู ที่ 16 อตั ราตายตํอประชากร 100,000 คนของประชากร จาํ แนกตามเพศ จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ปี พ.ศ. 2545 - 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 31

ตารางท่ี 17 จาํ นวน และอัตราตายตํอประชากรแสนคน จําแนกตามกลมุํ สาเหตุการ

ICD-10 สาเหตุการตาย 2549 2550
จานวน อตั รา จานวน อัต
R00-R99 Systems, signs and abnormal clinical and 3012 356.91 2883 342
laboratory finding,not elsewhere classified
V01-Y89 External causes of morbidity and mortality 707 83.78 709 84.
C00-D48 Neoplasms 664 78.68 614 72.
I00-I99 Diseases of the circulatory system 614 72.76 604 71.

A00-B99 Certain infectious and parasitic diseases 601 71.22 495 58.
43.73 385 45.
J00-J98 Diseases of the respiratory system 369 19.43 185 21.
17.54 162 19.
K00-K92 Diseases of the digestive system 164 13.86 112 13.
13.63 97 11.
N00-N98 Diseases of the genitourinary system 148 1.30
3.55 9 1.
E00-E88 Endocrine, nutritional and metabolic diseases 117 33 3.
3.20
G00-G98 Diseases of the nervous system 115 20 2.
0.47
L00-L98 Diseases of the skin and subcutaneous tissue 11 7 0.
0.59
P00-P96 Certain conditions orginating in the perinatal 30 0.71 4 0.
5 0.
period 781.37
6324 750
Q00-Q99 Congenital malformations, deformations and 27

chromosomal abnormalities

M00-M99 Diseases of the musculoskeletal system and 4

connective tissue

F01-F99 Mental and behavioural disorders 5

D50-D89 Diseases of the blood and blood-forming organs 6

and certain disorders involving the immune

mechanism

O00-O99 Pregnancy, childbirth and the puerperium

6594

ทม่ี า ขอ๎ มูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2549 - 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

รตาย ของประชากรจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549 - 2555

2551 2552 2553 2554 2555
จานวน อัตรา
ตรา จานวน อตั รา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา
2.16 3015 357.02 3002 355.44 3000 354.67 2866 338.75 2839 334.92

.15 721 85.38 736 87.14 690 81.57 740 87.46 725 85.53
.87 682 80.76 697 82.53 753 89.02 745 88.06 757 89.31
.68 607 71.88 587 69.50 755 89.26 706 83.45 715 84.35

.75 542 64.18 519 61.45 630 74.48 566 66.90 608 71.73
.69 384 45.47 395 46.77 538 63.60 466 55.08 506 59.69
.96 201 23.80 175 20.72 212 25.06 169 19.98 197 23.24
.23 153 18.12 156 18.47 152 17.97 176 20.80 171 20.17
.29 110 13.03 81 9.59 110 13.00 89 10.52 120 14.16
.51 98 11.60 78 9.24 85 10.05 70 8.27 54 6.37
.07 14 1.66 19 2.25 17 2.01 27 3.19 29 3.42
.92 39 4.62 19 2.25 33 3.90 27 3.19
372 4.36

.37 24 2.84 15 1.78 11 1.30 22 2.60 21 2.48

.83 4 0.47 6 0.71 19 2.25 3 0.35 13 1.53

.47 6 0.71 5 0.59 6 0.71 8 0.95 2 0.23
.59 2 0.24 4 0.47 10 1.18 17 2.01 11 1.30

0 1 0.118 2 0.237 1 0.12 0 0.00 1 0.11
0.55 6603 781.88 6496 769.13 7022 830.17 6697 791.55 6806 802.92

หน้า 32

เมื่อพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี จะพบวํากลมํุ โรคทเี่ ป็นสาเหตกุ ารตายที่
สาํ คญั โดยไมนํ ับการตายทีร่ ะบุวาํ ชราภาพหรอื ไมํทราบสาเหตุ ไดแ๎ กํ กลมํุ การตายจากสาเหตภุ ายนอก (External
causes of morbidity and mortality) กลมุํ โรคมะเร็ง (Neoplasms) กลมํุ โรคระบบไหลเวยี นโลหติ
(Diseases of the circulatory system) กลุมํ โรคตดิ เชื้อและปรสติ (Certain infectious and parasitic
diseases) และกลมํุ โรคของระบบทางเดนิ หายใจ (Diseases of the respiratory system) (ตารางท่ี 17, รูปที่
18)

อัตรา/100,000 Diseases of the circulatory system
Neoplasms
120 External causes of morbidity and mortality
Certain infectious and parasitic diseases
100 Diseases of the respiratory system

80

60

40

20

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รปู ที่ 17 อัตราตายตํอประชากร 100,000 คนของประชากร ดว๎ ยโรคกลํุมการตายจากสาเหตภุ ายนอก,
กลุํมโรคมะเรง็ , กลมุํ โรคโรคระบบไหลเวียนโลหติ , กลุมํ โรคตดิ เชอื้ และปรสติ และกลํมุ โรคของ

ระบบทางเดนิ หายใจ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2545 - 2555

อตั ร6า0/100,000 Diabetes mellitus
Hypertensive diseases
50
40

30

20

10

พ.ศ.

0

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รูปท่ี 18 อัตราตายตํอประชากร 100,000 คน ด๎วยกลมํุ โรค Cerebrovascular diseases,

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 33

Ischaemic heart diseases, Diabetes mellitus และ Hypertensive diseases
จ.สพุ รรณบุรี ปี 2545 - 2555

การตายดว้ ยกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็ง
เมื่อจําแนกสาเหตุการตายตามกลมํุ โรคเน้ืองอกและมะเร็ง พบวาํ กลํุมโรคท่ีกําลังมีแนวโนม๎ เพ่มิ ข้นึ ไดแ๎ กํ

กลุํมโรคเนอื้ งอกร๎ายท่ตี ับ และทํอนา้ํ ดใี นตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts)
กลมํุ โรคเนอ้ื งอกร๎ายทห่ี ลอดคอ หลอดลมใหญํ และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus and
lung) ,Malignant neoplasm of colon, rectum and anus (รปู ที่ 19) Malignant neoplasm of cervix
uteri, Malignant neoplasm of breast และ Leukemia (รูปท่ี 20)

อตั ร1า8/100,000 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
16 Malignant neoplasm of colon, rectum and anus
14 Malignant neoplasm of pancreas
12

10

8

6

4

2

0 พ.ศ.
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รูปที่ 19 อตั ราตายตอํ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด๎วยโรคกลมุํ เนอื้ งอกร๎ายท่ีตบั และทํอน้าํ ดี
ในตบั และกลํมุ โรคเนือ้ งอกรา๎ ยท่หี ลอดคอ หลอดลมใหญํ และปอด จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2545 – 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 34

อัตรา/100,000 Malignant neoplasm of cervix uteri
Malignant neoplasm of breast
6 Leukaemia

5

4

3

2

1

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รปู ท่ี 20 อตั ราตายตอํ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว๎ ยกลมุํ โรค โรค Malignant neoplasm of
cervix uteri, breast , Leukaemia จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2545 - 2555

ท่ีมา ข๎อมูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2545 -2555

สําหรับการตายจากสาเหตุภายนอก พบวําการตายจากอุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุจมน้ําและจมนํ้า การ
สัมผัสกับควันไฟและเปลวไฟ การตกจากที่สูง การทําร๎ายตนเอง ยังเป็นสาเหตุการตายท่ีสําคัญจังหวัดสุพรรณบุรี
สํวนการตายด๎วยกลุํมโรคติดตํอพบวําการตายด๎วยปอดอักเสบ ปี 2552 –2553 มีแนวโน๎มเพิ่มข้ึน แตํในปี 2554 -
2555 มีแนวโน๎มลดลง โรคเอดส๑มแี นวโนม๎ ลดลงอยาํ งตอํ เน่อื ง ต้ังแตํปี 2552 - 2555 วัณโรคในระบบทางเดินหายใจมี
อัตราตายมีแนวโน๎มเพ่ิมสงู ขึ้นตั้งแตํ ปี 2552 – 2555 (รูปท่ี 21 - 22)

อัต3ร5า/100,000 Transport accidents
Assault
30 Falls
25 Accidental drowning and submersion
20 Exposure to smoke, fire and flames

15

10

5

0

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2พ5.5ศ5.

รปู ที่ 21 อตั ราตายตํอประชากร 100,000 คนของประชากร ด๎วย Transport accidents , Assault
,Falls,Accidental drowning and submersion,Exposure to smoke,fire and flame
จังหวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2545 - 2555

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 35

อัตรา/100,000 Respiratory tuberculosis
Human immunodeficiency virus [HIV] disease
40 Pneumonia

35

30

25

20

15

10

5

0 พ.ศ.

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รูปที่ 22 อตั ราตายตํอประชากร 100,000 คนของประชากร ด๎วยโรคปอดอักเสบ เอดส๑ และวณั โรคปอด
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2545 -2555

ที่มา ขอ๎ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2545 -2555

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 36

ผลการดาเนินงาน

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 37

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 38

งานพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล

ผลการดาเนนิ งานของงานพัฒนาทรัพยากรบคุ คล สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดสพุ รรณบรุ ีมีบคุ ลากรสาธารณสุขในสังกัดจาํ นวน 5,252 คน เปน็ ขา๎ ราชการจํานวน 2,466

คน คิดเป็นร๎อยละ 46.95 (ปี 2555 ร๎อยละ 48.08) ลกู จา๎ งสายนักเรยี นทนุ 510 คน คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 9.71 (ปี
2555 ร๎อยละ 7.81) พนักงานราชการจาํ นวน 73 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 1.38 (ปี 2555 ร๎อยละ 1.26) ลูกจ๎างประจํา
จาํ นวน 381 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 7.25 (ปี 2555 ร๎อยละ 7.90) และลูกจา๎ งชวั่ คราว จํานวน 2,203 คน คดิ เป็นร๎อย
ละ 41.94 (ปี 2555 รอ๎ ยละ 34.95) สาํ หรับระบบบรหิ ารงานบคุ คลของสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
โรงพยาบาลศูนย๑ และโรงพยาบาลทั่วไป สามารถดําเนนิ การได๎ดว๎ ยตัวของหนํวยงานเอง อาทิเชํน การจ๎างบคุ ลากร
การบรรจุ การโอน-ย๎าย และการพฒั นาศักยภาพบุคลากร เป็นตน๎ ปจั จุบันยงั พบปัญหาการขาดแคลนแพทย๑
ทนั ตแพทย๑ เภสัชกร และพยาบาล ในบางพ้นื ที่ แมใ๎ นภาพรวมพบวํา จังหวัดสพุ รรณบุรี มบี ุคลากรปฏิบตั งิ านจรงิ
สายงานแพทยร๑ ๎อยละ 89.20 ทนั ตแพทยร๑ ๎อยละ 59.79 เภสชั กรร๎อยละ 86.96 และพยาบาล (ขา๎ ราชการ) ร๎อย
ละ 73.70 ของเกณฑ๑ GIS (ข๎อมูล ณ วันที่ 30 มกราคม 2556) สาํ หรบั อัตรากําลังในโรงพยาบาลสงํ เสรมิ สุขภาพ
ตาํ บล (รพ.สต.) พบวํา มีอัตรากาํ ลังเฉล่ียภาพจงั หวัด 3.70 คนตํอแหํง อําเภอทีม่ ีอัตรากาํ ลังคนปฏบิ ัตงิ านอยํูใน
รพ.สต.เฉล่ียสงู ท่สี ดุ คอื อําเภอเมืองฯ เทํากบั 4.79 คนตอํ แหงํ รองลงมาคือ อําเภอศรปี ระจันต๑ เทํากับ 4.00
อาํ เภอที่มอี ตั รากาํ ลังคนปฏิบตั ิงานเฉลย่ี ตํา่ ที่สุด คือ อําเภอดํานช๎าง เทํากบั 3.00 คนตํอแหงํ
กิจกรรมท่ีดาเนนิ การ ปีงบประมาณ 2556

1. ผลงานดา้ นการพฒั นาบุคลากร
1.1 โครงการปฐมนิเทศบุคลากรสาธารณสุข และกจิ กรรมอ่ืนๆ ที่เก่ยี วข้อง
ขัน้ ตอนการปฐมนิเทศขา้ ราชการที่ กพ. พ.ศ.2553 กําหนดให๎ ขา๎ ราชการบรรจุใหมํต้ังแตํ

มิถนุ ายน 2553 ทกุ คนต๎องผาํ นข้ันตอนการพฒั นาระหวาํ งทดลองปฏิบตั หิ น๎าท่ีราชการ 3 ขน้ั ตอน ประกอบด้วย 3
ข้นั ตอน ดงั นี้

ขั้นตอนท่ี 1 การเรียนรู๎ด๎วยตนเอง E_Learning ทาง website : www.ocsc.go.th กบั กพ.
ขัน้ ตอนท่ี 2 การปฐมนิเทศโดยการสมั มนารวํ มกนั ใน”หลักสตู รการเปน็ ข๎าราชการที่ดี”
ดําเนนิ การโดยสํวนกลาง
ข้ันตอนที่ 3 การปฐมนเิ ทศโดยหนํวยงานทสี่ ังกดั
สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี มีข๎าราชการบรรจุใหมํ ตงั้ แตวํ ันท่ี ตุลาคม 2555 – 31
พฤษภาคม 2556 จํานวน 27 คน ซึง่ อยูํระหวํางกระบวนการข้ันตอนที่ 1 จํานวน 24 คน ผํานกระบวนการที่
1 แลว๎ 3 คน ข้ันตอนท่ี 2 ไดร๎ ับคําสั่งจากกระทรวงสาธารณสุขเรียกเข๎ารับการอบรมสัมมนา จํานวน 3 คน และ
รอคําสั่งอีก 24 คน และทง้ั 27 รายผาํ นขั้นตอนที่ 3 เรยี บร๎อยแลว๎ จากโครงการอบรมปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหมํ
สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2556

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี หน้า 39

ในปีงบประมาณ 2556 จังหวัดสุพรรณบุรีได๎รับจัดสรรข๎าราชการสายนักเรียนทุน แพทย๑
ทันตแพทย๑ และเภสัชกร (รวมแพทย๑ใช๎ทุนฝากฝึก) ทั้งส้ิน 40 คน แยกเป็น แพทย๑ 36 คน ทันตแพทย๑ 2 คน
เภสัชกร 2 คน ซงึ่ ในปีงบประมาณน้ี จังหวัดสุพรรณบุรีได๎สํงข๎าราชการบรรจุใหมํสายนักเรียนทุนทั้งไป ไปรับการ
ปฐมนเิ ทศ หลกั สตู รการเป็นขา๎ ราชการท่ดี ี ทีส่ ํานกั งานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรีรํวมกับวิทยาลัยบรมราชชนนี
จักรีรัช ราชบรุ ี เปน็ เจ๎าภาพในการจัดอบรม โดยทุกคนผาํ นเกณฑ๑การอบรมตามที่หลักสูตรกําหนด คิดเป็น ร๎อยละ
100

โครงการอบรมปฐมนิเทศบุคลากรบรรจุใหมํ จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2556 ซึ่งเป็น 1 ใน 3
กิจกรรมซงึ่ สาํ นักงาน กพ.กําหนดให๎จังหวัดจัดการปฐมนิเทศในภาพของหนํวยงาน เพ่ือตอบสนอง กฎ กพ. 2553
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี จัดปฐมนิเทศบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ทุกคน เพ่ือใหท๎ ราบถงึ วัฒนธรรมองคก๑ ร แนวทางการดําเนินงานรํวมกัน ปี 2556 จัดการอบรมเสร็จส้ินไปเม่ือวันที่
3 -5 เมษายน 2556 มีผเ๎ู ขา๎ อบรมทั้งส้ิน จํานวน 152 คน ใช๎งบประมาณในการดําเนินการ 93,200 บาท จาก
การอบรมมีการประเมินความรู๎ทั้งกํอนและหลัง พบวํา กํอนเข๎ารับการอบรม ผู๎เข๎ารับการอบรมฯ สํวนใหญํ ร๎อย
ละ 97.37 ได๎คะแนนระหวําง 14-26 คะแนน รองลงมา ร๎อยละ 1.97 ได๎คะแนนระหวําง 0-13 คะแนน น๎อย
ทส่ี ุด ร๎อยละ0.66 ไดค๎ ะแนนระหวําง 27-40 คะแนน คะแนนเฉล่ีย = 19.06 คะแนนต่ําสุด 12 คะแนน คะแนน
สงู สุด 27 คะแนน เปรียบเทียบกับคะแนนภายหลังเข๎ารับการอบรม พบวํา สํวนใหญํ ร๎อยละ 69.74 ได๎คะแนน
ระหวําง 27-40 คะแนน รองลงมา ร๎อยละ 30.26 ได๎คะแนนระหวําง 14-26 คะแนน คะแนนเฉลี่ย = 27.94
คะแนน ตาํ่ สุด 18 คะแนน คะแนนสงู สุด 36 คะแนน ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินความรู๎กอํ น – หลังการอบรมปฐมนเิ ทศ ปี 2556

ระดบั คะแนน กอํ นการอบรม (n=1152) หลังการอบรม (n=152) หมายเหตุ

(คะแนนเต็ม=40) จาํ นวน ร๎อยละ จาํ นวน ร๎อยละ

0-13 คะแนน 3 1.97 0 0

14-26 คะแนน 148 97.37 46 30.26

27-40 คะแนน 1 0.66 106 69.74

คาํ คะแนนเฉล่ยี n=170) 19.06 27.97

สวํ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.919 3.482

คะแนนต่ําสุด 12 18

คะแนนสูงสดุ 27 36

เมื่อนําคําคะแนนมาทดสอบทางสถิติโดยเปรียบเทียบระหวํางคะแนนหลังการอบรมกับคะแนนกํอนการ
อบรมพบวํา คะแนนภายหลังการอบรมมากกวําอยํางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อมั่น ร๎อยละ 95 ดัง
ตารางที่ 2

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 40

ตารางท่ี 2 การเปรยี บเทยี บระหวาํ งคะแนนหลังการอบรม : กอํ นการอบรม โครงการปฐมนเิ ทศฯ ป2ี 556

mean N Std. Dev. คํา t คาํ Sig

หลัง 19.06 152 2.919 -18.127 00.000

กํอน 27.94 152 3.482

จาก การประเมินผลการอบรมภาพรวมในทุกด๎าน พบวํา สํวนใหญํมีความพึงพอใจในระดับมาก –มาก

ทส่ี ุดในทุกดา๎ น (ด๎านความเหมาะสมของเนอ้ื หาและหลักสูตร , ดา๎ นระยะเวลาในการจัดการอบรม ,ด๎านการได๎รับ

และนําความรู๎ไปปฏิบัติ สามารถนําความรู๎ไปปฏิบัติ ) สํวนในภาพรวมวิทยากรในการบรรยายรายทุกรายวิชา

จาํ นวน 7 ทาํ น ผาํ นการประเมนิ อยใํู นระดบั มากและมากทส่ี ุด

1.2 โครงการพัฒนาสมรรถนะบคุ ลากร ประจาปี 2555 (ตามTraining Need)
งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลได๎สํงแบบบันทึกการประเมินสมรรถนะให๎หนํวยงานในสังกัดบันทึก
การประเมินสมรรถนะ 5 ตัวหลัก และสํงกลับให๎สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด วิเคราะห๑ประเมินหาสํวนขาด แตํ
เนื่องจากการดําเนินงานยังขาดความสมบูรณ๑ครบถ๎วน งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงทําการสํารวจความต๎องการ
ในการพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสํวนขาด ฟ้ืนฟูความร๎ู พัฒนาแนวคิดของข๎าราชการในสังกัด โดยกําหนดหลักสูตร
เนื้อหาที่สอดคล๎องกับสมรรถนะหลักของข๎าราชการตามท่ีกระทรวงกําหนด หลักสูตรที่เป็นความต๎องการของ
ข๎าราชการในหนํวยงานมากที่สุด คือ เรื่องการทํางานเชิงรุก การปรับปรุงงาน และการสร๎างนวตกรรม เพ่ือพัฒนา
สมรรถนะ การมุํงเน๎นผลสัมฤทธิ์ รองลงมาคือหลักสูตรเก่ียวกับการให๎บริการท่ีเป็นเลิศ การบริหารความสัมพันธ๑
การเข๎าใจตนเองและผู๎อื่น เพื่อพัฒนาสมรรถนะการบริการท่ีดี และหลักสูตรการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
จรรยาบรรณข๎าราชการในชวี ติ ประจําวัน เพอื่ พฒั นาสมรรถนะ คุณธรรมจรยิ ธรรม ตามลําดบั
ซ่ึงในปี งบประมาณ 2556 สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ได๎ดําเนินการพัฒนาบุคลากร
ทุกหนํวยงานในสังกัด ซ่ึงประกอบด๎วย บุคลากรจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ
โรงพยาบาล และ โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพตําบล ในเร่ือง “การจัดการความรู้จากบทเรียนสู่การปฏิบัติจริง”
โดย อาจารย๑ ดร.ประพนธ๑ ผาสุขยืด ผ๎ูอํานวยการสถาบันสํงเสริมการจัดการความร๎ูเพื่อสังคม ในวันที่ 16
พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมศรีอูํทองแกรนด๑ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี
มผี เ๎ู ข๎ารบั การอบรมทั้งสนิ้ 250 คน ใชง๎ บประมาณในการดาํ เนนิ การ 95,000 บาท
ผลการประเมินการจัดอบรมฯ โดยใช๎แบบสอบถามประเมินความคิดเห็นของผ๎ูเข๎ารับการอบรม
หลังจากเสร็จสิ้นการอบรมพบวํา ผ๎ูเข๎ารับการอบรมสํวนใหญํคิดวําหลักสูตรท่ีจัดการอบรมมีความสอดคล๎องกับ
วัตถุประสงค๑อยูํในระดับมาก ร๎อยละ 53.5 รองลงมาคือปานกลาง ร๎อยละ 46 สํวนใหญํมีความร๎ูเรื่องการจัดการ
ความร๎ูกํอนการอบรม อยํูในระดับปานกลางมากท่ีสุดคือร๎อยละ 55.1 รองลงมาคือระดับน๎อย ร๎อยละ 29.4
ความร๎ูภายหลังการอบรม อยํูในระดับปานกลางมากท่ีสุดคือร๎อยละ 62.6 รองลงมาคืออยํูในระดับ มาก ร๎อยละ
35.8 รูปแบบการจัดการอบรมมีความเหมาะสม อยํูในระดับปานกลางมากท่ีสุด คือร๎อยละ 55.1 รองลงมาอยํูใน

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 41

ระดับเหมาะสมมาก ร๎อยละ 43.9 ประโยชน๑ท่ีได๎รับจากการอบรม ผู๎เข๎ารับการอบรมสํวนใหญํคิดวําได๎รับ
ประโยชนอ๑ ยใูํ นระดับมาก ร๎อยละ 52.4 รองลงมาคือระดับปานกลางร๎อยละ 46.5 การบรรลุตามวัตถุประสงค๑ของ
การจัดอบรม ผู๎เข๎ารับการอบรมสํวนใหญํเห็นวําบรรลุวัตถุประสงค๑อยูํในระดับปานกลางมากท่ีสุด ร๎อยละ 55.1
และอยูํในระดับมากรอ๎ ยละ 43.3 ดงั ตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 แสดงจํานวนและร๎อยละของความเหน็ ตํอการอบรมฯ

หวั ข๎อท่ีประเมนิ จํานวน(n=187) ร๎อยละ

ความสอดคล๎องของเนื้อหาของการอบรมกับวตั ถุประสงค๑ 53.5
46.0
มาก 100 0.5

ปานกลาง 86 15.5
55.1
นอ๎ ย 1 29.4

x = 3.53 sd = 0.511 max = 4 min = 2 35.8
62.6
ความร๎ูความเข๎าใจเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอบรม กอ่ น การฝึกอบรม 1.6

มาก 29 43.9
55.1
ปานกลาง 103 1.0

นอ๎ ย 55 52.4
46.5
x = 1.90 sd = 0.756 max = 4 min = 1 1.1

ความร๎ูความเข๎าใจเกี่ยวกับเร่ืองท่ีอบรม หลัง การฝึกอบรม

มาก 67

ปานกลาง 117

นอ๎ ย 3

x = 3.34 sd = 0.509 max = 4 min = 2

รูปแบบการจดั การอบรม

มาก 82

ปานกลาง 103

นอ๎ ย 2

x = 3.42 sd. = 0.537 max = 4 min = 1

ประโยชน๑ของเน้ือหาสาระนีต้ ํอการนํากลับไปปฏบิ ตั ิงาน

มาก 98

ปานกลาง 87

น๎อย 2

x = 3.51 sd. = 0.537 max = 4 min = 2

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 42

การบรรลวุ ตั ถุประสงค๑ของการอบรมน้ี

มาก 81 43.3
55.1
ปานกลาง 103 1.6

นอ๎ ย 3

x = 3.42 sd = 0.526 max = 4 min = 2

2. ผลงานดา้ นการบริหารจดั การกาลังคนด้านสขุ ภาพ ปี 2556

การพจิ ารณาการกระจายบุคลากรโดยเฉพาะสายงานทป่ี ฏิบัตงิ านในโรงพยาบาลสงํ เสรมิ สขุ ภาพ

ตําบล โดยดําเนนิ การพร๎อมการพิจารณาโยกยา๎ ยบุคลากร ประจําเดือนมีนาคม 2556

จากการพจิ ารณาจัดสรรตามเกณฑ๑ พบวํา การกระจายตวั ของบคุ ลากรมีประสิทธภิ าพดยี ง่ิ ข้ึน

พจิ ารณาไดจ๎ ากการเปรยี บเทียบคําเฉลี่ยจาํ นวนบุคลากร รพ.สต. ตํอ ประชากรในเขตพื้นทรี่ บั ผิดชอบ จาํ แนกราย

อําเภอ ระหวาํ งเดือนกุมภาพันธ๑ 2556 : เดือนพฤษภาคม 2556 พบวํา อําเภอทีม่ ีสัดสํวนบคุ ลากรตํอประชากร

สูงกวาํ คําเฉลีย่ ของภาพรวมจงั หวัดจะไดร๎ บั การพิจารณาจดั สรรบคุ ลากรลงไปปฏบิ ัตงิ าน ทําคาํ เฉล่ยี ของแตํละ

อาํ เภอมีความใกล๎เคียงกนั มากข้นึ สถานการณ๑ปัจจบุ ันพบวาํ อําเภอเดมิ บางนางบวชมีคําเฉลยี่ สูงที่สุด (บุคลากร

สาธารณสขุ 1 คน : ประชากร 1066.52 คน) รองลงมาคืออาํ เภอบางปลาม๎า (1:1060.86) คําเฉลี่ยตํา่ ทสี่ ดุ คอื

อาํ เภอดอนเจดยี ๑ (1:883.82) ดังตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บ คําเฉล่ียจาํ นวนบคุ ลากรตํอประชากรในเขตพ้ืนที่รบั ผิดชอบ จาํ แนกรายอําเภอ ปี 2556

สดั สํวน ผลการจดั สรร หมาย

จํานวนบุคลากรตอํ ประชากร เดอื นเมษายน 2556 เหตุ

อําเภอ กมุ ภาพนั ธ๑ 2556 พฤษภาคม 2556 พยาบาล นวก/จพ.สช. ทันตภิบาล

เมอื ง 1078.11 1060.86 1 1

สองพน่ี ๎อง 1224.37* 1135.09 51

อทูํ อง 1257.92* 1155.53 8

บางปลามา๎ 1281.75* 1155.67 6

เดิมบางนาง 1084.00 1066.52* 1

บวช

ศรปี ระจนั ต๑ 1185.47* 1135.02 11

ดอนเจดยี ๑ 883.82 883.82 1

สามชกุ 869.06 852.02 1 1

ดํานช๎าง 1012.52 973.58 1

หนองหญ๎าไซ 1076.38 1016.58 1

รวม 1114.07 1062.97 2 24 4

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 43

ท่มี า : - ระเบียนรายงานอัตรากําลงั รพ.สต.ข๎อมูล เดือนกุมภาพันธ๑ และเดือนพฤษภาคม 2556
หมายเหตุ

-พยาบาลทร่ี ะบใุ นตาราง คือผดู๎ าํ รงตําแหนงํ จพ.สช. ลาศึกษาตํอจนจบหลกั สตู รพยาบาลศาสตร๑
-อําเภออํูทอง ไดร๎ บั จัดสรรนกั การแพทย๑แผนไทย 1 คน * หมายถงึ คําเฉล่ยี บุคลากรตอํ ประชากรของ
รพ.สต. สูงกวาํ คําภาพรวมจงั หวดั ฯ

แผนกาลงั คนดา้ นสาธารณสุขเพื่อตอบสนอง Service Plan ระหวา่ งปี 2556 – 2560

เกณฑ๑ สบรส. และ เกณฑ๑ GIS ประชากร ปี2560 (เฉพาะสาขาขาดแคลน /หลัก)

สืบเน่ืองจากสถานการณ๑อัตรากําลังของสถานบริการทุกแหํงในจังหวัดสุพรรณบุรี พิจารณา

เฉพาะสาขาขาดแคลน/หลัก สาขาที่กระทรวงสาธารณสุขสามารถผลิตสนับสนุนได๎ กําหนดกรอบแนวคิดโดยใช๎

จํานวนผู๎ปฏิบัติงาน ประกอบด๎วยข๎าราชการปฏิบัติงานจริง ลูกจ๎างปฏิบัติงานจริง และข๎าราชการที่ลาศึกษา

เปรียบเทียบเกณฑ๑ทีควรมีโดยใช๎เกณฑ๑กระทรวงสาธารณสุข (เกณฑ๑ สบรส. และ การคํานวณฐานประชากรปี

2560) ทีจ่ งั หวัดได๎รบั จัดสรรจากสํานกั ตรวจราชการในพน้ื ทีเ่ ครือขํายบรกิ ารที่ 5 ดงั น้ี

1.แพทย์

เมอ่ื พิจารณาตามเกณฑด๑ ังกลําวขา๎ งตน๎ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี เมื่อปี พ.ศ. 2560 ควรมีแพทย๑ทั้งหมด

305 คน ปัจจุบันมีแพทย๑ปฏิบัติงานจริง 189 คน คิดเป็นร๎อยละ 61.97 ของเกณฑ๑ฯ ซ่ึงตํ่ากวําเกณฑ๑ที่กระทรวง

กําหนด ประกอบด๎วย ขา๎ ราชการ จํานวน 143 คน ลกู จา๎ งชั่วคราว จํานวน 2 คน ลาศึกษาตํอท้ังหมด 44 คน โดย

ภาพรวมจังหวัดฯ ควรได๎รับการจัดสรรแพทย๑เพิ่มอีก เมื่อพิจารณารายโรงพยาบาลพบวํา เกือบทุกโรงพยาบาลมี

ความต๎องการแพทย๑เพมิ่ ขน้ึ ระยะเวลาปี 2557-2560 ต๎องการเพมิ่ ข้ึนท้งั หมด 106 คน ดงั ตารางที่ 5

ตารางท่ี 5 จาํ นวนแพทยท๑ ี่ปฏิบัติงานจรงิ เปรียบเทยี บเกณฑ๑ทคี่ วรจาํ แนกรายโรงพยาบาล (ขอ๎ มูล ณ เดือนเมษายน

2556)

ขาด

(+)/

มีจริง ร๎อยละ ตอ๎ งการเพิ่ม

ท่ี ขา๎ ลูก ลา เกนิ

รพ. ควรมี ราชการ จ๎าง ศึกษา รวม (-) 2557 2558 2559 2560

1 เจา๎ พระยายมราช 149 73 1 28 102 68.46 47 15 17 10 4

2 สมเดจ็ พระสงั ฆราช

ฯ 65 24 1 11 36 55.38 29 5 5 3 4

3 อทูํ อง 43 13 1 14 32.56 29 9 10 9 3

4 ดาํ นช๎าง 10 7 3 10 100.00 0 0 1 0 0

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 44

5 เดมิ บางนางบวช 10 7 1 8 80.00 2 0 1 1 0
6 บางปลามา๎ 85 5 62.50 3 1 1 0 1
7 ศรีประจันต๑ 54 4 80.00 1 1 0 0 0
8 ดอนเจดีย๑ 53 3 60.00 2 1 1 0 0
9 สามชกุ 54 4 80.00 1 1 0 0 0
10 หนองหญา๎ ไซ 53 3 60.00 2 1 1 0 0
305 143 12
รวม 2 44 189 61.97 116 34 37 23

ทีม่ า : แผนความตอ๎ งการอตั รากําลงั ตาม service plan จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปี 2557-2560

หมายเหตุ - หากสนใจข๎อมูลความตอ๎ งการแพทยเ๑ ฉพาะทางจําแนกรายโรงพยาบาล สามารถดไู ด๎ท่ขี ๎อมูลการ

พฒั นาบคุ ลากรของ Service Plane ข๎อมูล ณ เดือนเมษายน 2556

จงั หวดั สุพรรณบรุ มี แี พทย๑ขอลาศกึ ษาตํอเรียบร๎อยแลว๎ จาํ นวน 36 คน อยรูํ ะหวํางดาํ เนนิ การ 8

คน จาํ แนกเปน็ ประเภทตาํ ง ๆ ดังน้ี

รายละเอียดแพทย์ทลี่ าศกึ ษาต่อท่ีจะกลับมารายงานตวั

กรณีทุน รพศ.เจา๎ พระยายมราช จาํ นวน 21 คน

พ.ศ. จบ จํานวน รายละเอยี ดทุน

ป2ี 556 8 ทนุ ศลั ยต๑ กแตํง ,อนุสาขาอายุฯโรคติดเชอ้ื , อายฯุ โรคหวั ใจ ,อนุสาขากมุ ารทารกแรก

เกิด ,จติ เวช ,เวชกิจฉกุ เฉิน, ศัลยก๑ ระดูก และทนุ ศลั ยศาสตร๑

ป2ี 557 6 ทนุ อายุฯ (มะเร็งวทิ ยา),รังสวี ินิจฉัย,ศลั ยศาสตร๑,สตู นิ ารีเวช, ตจวิทยา และทุนเวชกจิ

ฉกุ เฉิน

ปี 2558 5 ทุนอายฯุ ,กุมารฯ, สูตินารเี วช ,เวชกิจฉกุ เฉนิ และทนุ ศัลยศาสตร๑

ปี 2559 2 ทุนศลั ยศาสตร๑-ประสาท และทนุ ยโู ร

กรณที ุน รพ.สมเดจ็ พระสังฆราช องค๑ที่ 17 จาํ นวน 10 คน

พ.ศ. จบ จํานวน รายละเอียดทุน

ปี 2556 3 ทนุ อายรุ ศาสตร๑ 2 คน ,รงั สีวินิจฉยั

ปี 2557 3 ทุนศลั ยศาสตร๑,กมุ ารฯ,เวชศาสตรฟ๑ ื้นฟู

ปี 2558 4 ทนุ ศลั ยศาสตร๑,จิตเวชฯ,วสิ ัญญีวิทยา และ ทนุ อายุรศาสตร๑

กรณที ุน รพ.อูํทอง จาํ นวน 1 คน

พ.ศ. จบ จํานวน รายละเอยี ดทนุ

ปี 2558 1 ทนุ อายุรศาสตร๑

กรณที ุน รพ.ดาํ นชา๎ ง จํานวน 2 คน

พ.ศ. จบ จํานวน รายละเอียดทุน

รายงานประจาปี 2556 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 45

ปี 2557 1 ทนุ อายุรศาสตร๑

ปี 2559 1 ทุนศัลย๑กระดูก

กรณที นุ รพ.เดิมบางนางบวช จาํ นวน 2 คน

พ.ศ. จบ จํานวน รายละเอยี ดทนุ

ปี 2556 1 ทุนสูตินารีเวช

ปี 2557 1 ทนุ อายุรศาสตร๑

2.ทันตแพทย์

เมื่อพิจารณาตามเกณฑ๑ดังกลําวข๎างต๎น จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2560 ควรมีทันตแพทย๑

ทั้งหมด 87 คน ปัจจุบันพบวํา มีทันตแพทย๑ปฏิบัติงานจริง จํานวน 60 คน ลาศึกษาตํอ 11 คน รวมทั้งหมด 71

คน คิดเป็นร๎อยละ 81.61 ของเกณฑ๑ฯ ซ่ึงตํ่ากวําเกณฑ๑ท่ีกระทรวงกําหนด โดยภาพรวมควรได๎รับการจัดสรร

ทันตแพทย๑เพ่ิมอีก เมื่อพิจารณารายโรงพยาบาลพบวํา เกือบทุกโรงพยาบาลต๎องการทันตแพทย๑เพ่ิม ตั้งแตํปี

2557-2560 ต๎องการเพ่มิ อีก 19 คน ดังตารางท่ี 6

ตารางท่ี 6 จํานวนทนั ตแพทย๑ ท่ปี ฏบิ ัติงานจริงเปรียบเทียบกบั เกณฑ๑ จาํ แนกรายโรงพยาบาล

ข๎อมลู ณ เมษายน 2556

ลา ร๎อยละ ขาด ประมาณ จํานวนทนั ตแพทย๑ทจ่ี ะ
ศึกษา ของ (+)/ การ
เกณฑ๑ ปฏิบัติงาน รวม กลับมาปฏบิ ัตงิ าน/

ที่ หนวํ ยงาน สูญเสีย ต๎องการเพ่ิม
56 -60
จรงิ ตํอ เกณฑ๑ เกนิ (-) 2557 2558 2559 2560

1 รพศ.เจ๎าพระยายมราช 21 16 16 76.19 5 0 0/1 0/1 0/1 0/2

รพ.สมเด็จ 7

2 พระสังฆราชฯ 12 11 11 91.67 1 0/1 0/0 0/0 0/0

3 รพ.อํทู อง 10 6 6 60.00 4 0 0/1 0/1 0/1 0/1

4 รพ.ดํานชา๎ ง 8 5 2 7 87.50 1 0 1/1 1/0 0/0 0/0

5 รพ.เดมิ บางนางบวช 6 5 1 6 100 0 0 1/0 0/1 1/1 0/1

6 รพ.บางปลาม๎า 6 4 3 7 116.67 -1 2 1/0 1/0 1/0 0/0

7 รพ.ศรปี ระจันต๑ 6 3 1 4 66.67 2 2 0/0 1/1 0/1 0/0

8 รพ.ดอนเจดยี ๑ 6 4 1 5 83.33 1 0 1/0 1/0 0/0 0/0

9 รพ.สามชุก 6 4 2 6 100 0 0 1/0 1/0 0/0 0/0

10 รพ.หนองหญ๎าไซ 6 2 1 3 50.00 3 3 1/1 0/1 0/1 0/0

รวม 87 60 11 71 81.61 16 14 6/5 5/5 2/5 0/4

รายงานประจาปี 2556 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี หน้า 46


Click to View FlipBook Version