The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-26 02:54:06

รายงานประจำปี2560

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

แผนที่จังหวดั สุพรรณบุรี

อาณาเขต

ทิศเหนอื ติดจังหวัดอุทัยธานี และจังหวดั ชยั นาท

ทศิ ตะวันออก ติดจังหวดั สิงห์บุรี จังหวดั อ่างทอง และจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ทิศใต้ ตดิ จังหวดั นครปฐม และจงั หวัดกาญจนบุรี

ทศิ ตะวันตก ติดจงั หวดั กาญจนบรุ ี

แผนทีจ่ ังหวัดสุพรรณบุรี

ขอ้ มูลทวั่ ไป Page 2

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานส

นายแพทย์สา

นายแพทยเ์ ชี่ยวชาญ รก นกั วิชาการ
(ดา้ นส
(ด้านเวชกรรมป้องกัน) (นายเ

1.กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตร์ 1.กลุม่ ง
สาธารณสขุ 2.กล่มุ ง
2.กลุม่ งานประกนั สุขภาพ 3.กลุม่ ง
3.กลมุ่ งานส่งเสริมสขุ ภาพ บคุ คล
4.กลุ่มงานควบคมุ โรคไม่ 4.กลุม่ ง
และอ
ติดต่อและสุขภาพจติ 5. กลุ่ม
5.กล่มุ งานพฒั นาคณุ ภาพ
ประช
และรูปแบบบรกิ าร
1.ค
1.คปสอ.เดิมบางนางบวช 2.ค
2.คปสอ.ดอนเจดีย์ 3.ค
3.คปสอ.หนองหญา้ ไซ 4.ค

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

ส่านักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี

าธารณสุขจงั หวัด กล่มุ งานนติ ิการ

รสาธารณสขุ เชี่ยวชาญ นักวชิ าการสาธารณสขุ
สง่ เสรมิ พัฒนา) ชา่ นาญการพเิ ศษ
เอนก อ่าสกลุ )
(นางจฑุ ามาศ โกมลศิร)ิ
งานบริหารทั่วไป
งานทรัพยากรบุคคล 1.กลมุ่ งานควบคมุ โรค
งานพฒั นาทรัพยากร 2.กลมุ่ งานคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค
ล 3.กลุ่มงานทนั ต
งานอนามยั สิ่งแวดล้อม
อาชีวอนามัย สาธารณสุข
มงานสขุ ศกึ ษา 4.กลุ่มงานพัฒนาการ
ชาสมั พันธแ์ ละสุขภาพ แพทยแ์ ผนไทยและ
แพทย์ทางเลอื ก
คปสอ.เมอื งสุพรรณบรุ ี
คปสอ.สองพ่นี อ้ ง 1.คปสอ.สามชกุ
คปสอ.อู่ทอง 2.คปสอ.ศรปี ระจนั ต์
คปสอ.บางปลามา้ 3.คปสอ.ดา่ นชา้ ง

Page 1

ขอ้ มูลทั่วไป

เขตการปกครอง

การบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าคของจังหวดั สพุ รรณบุริ แบ่งเขตการปกครองออกเปน็

10 อาเภอ 110 ตาบล 258 ชมุ ชน และ 1,008 หมบู่ ้าน โดยมีอาเภอดังนี้

1. อาเภอเมืองสุพรรณบรุ ี 2. อาเภอเดมิ บางนางบวช

3. อาเภอด่านชา้ ง 4. อาเภอบางปลามา้

5. อาเภอศรปี ระจนั ต์ 6. อาเภอดอนเจดีย์

7. อาเภอสองพี่น้อง 8. อาเภอสามชุก

9. อาเภออู่ทอง 10. อาเภอหนองหญา้ ไซ

การบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง

2 แห่ง เทศบาลตาบล 43 แหง่ และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล 81 แหง่ (ตารางท่ี 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครองจังหวดั สุพรรณบรุ ี จ่าแนกรายอ่าเภอ จานวนชุมชน/หมบู่ ้านตาม
เขตการปกครอง(มหาดไทย)
เทศบาล
อาเภอ ตาบล เมือง ตาบล อบต. ชมุ ชน หมู่บ้าน
72 124
เมืองสพุ รรณบรุ ี 20 17 14 42 121
เดมิ บางนางบวช 5 93
ด่านช้าง 14 - 8 8 30 127
บางปลาม้า 24 64
ศรีประจันต์ 7 -1 7 8 50
ดอนเจดีย์ 25 140
สองพ่นี ้อง 14 -7 11 20 68
สามชุก 30 155
อู่ทอง 9 -4 6 2 66
หนองหญ้าไซ 258 1,008
5 -2 5
รวม
15 11 14

7 -1 6

13 - 9 6

6 -1 6

110 2 41 83

ทีม่ า: 1) สานักงานสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ จังหวัดสุพรรณบุรี (ข้อมูล 6 มถิ นุ ายน 2560)

ขอ้ มูลทวั่ ไป Page 3

ประชากรจังหวดั สพุ รรณบุรี

จานวนประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี จานวนประชากรในระบบทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย (ณ วันท่ี
31 ธันวาคม 2559) จาแนกตามเพศและรายอาเภอ มจี านวน ทงั้ สิน้ 848,567 คน เป็นชาย 410,617คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 48.39 และหญิง 437,950 คน คิดเป็นร้อยละ 51.61 อตั ราสว่ นเพศชายตอ่ เพศหญิง เทา่ กับ 1:1.07
อาเภอท่ีมีสดั สว่ นประชากรมากท่ีสดุ 3 ลาดับแรก คือ อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี รองลงมาคืออาเภอสองพ่นี ้อง
และอาเภออู่ทอง ความหนาแนน่ ของประชากรในภาพรวมท้ังจงั หวดั เทา่ กบั 158 คนต่อตารางกิโลเมตร(พน้ื ท่ี
จังหวดั สพุ รรณบุรีมที ั้งหมด 5,358.01 ตารางกิโลเมตร)มีจานวนหลังคาเรือนรวมทง้ั สน้ิ 292,289 หลงั คาเรือน
(ตารางที่ 2)

ตารางท่ี 2 จ่านวนประชากรในทะเบยี นราษฎร์และหลังคาเรือน กระทรวงมหาดไทย รายอา่ เภอจงั หวดั
สุพรรณบุรี

อ่าเภอ ชาย หญงิ รวม ร้อยละ อัตราส่วน หลงั คา
ชาย:หญงิ เรือน

เมอื ง 79635 87956 167591 19.75 1:1.10 62076
เดมิ บางนางบวช 35037 37790 72827 8.58 1:1.08 26105

ด่านชา้ ง 33499 34279 67778 7.99 1:1.02 25775
บางปลาม้า 1:1.05 25302
ศรีประจันต์ 38114 40201 78315 9.23 1:1.10 21937
ดอนเจดยี ์ 1:1.06 15630
สองพ่ีน้อง 29673 32507 62180 7.33 1:1.04 40278
สามชุก 1:1.09 20442
อ่ทู อง 22441 23751 46192 5.44 1:1.06 38142

หนองหญา้ ไซ 62688 65258 127946 15.08 1:1.04 16602

26031 28438 54469 6.42

59356 62634 121990 14.38

24143 25136 49279 5.81

รวม 410,617 437,950 848,567 100 1:1.07 292,289

ท่มี า : 1. ฐานข้อมลู ประชากรในทะเบยี นราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2559
2. ข้อมลู จานวนหลงั คาเรอื นจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (http://www.dopa.go.th/stat_m.htm)

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 4

โครงสรา้ งประชากรตามกลมุ่ อายุและเพศ

รปู ท่ี 1 ปริ ามดิ ประชากร จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2539 รปู ท่ี 2 ปิรามดิ ประชากร จังห
ทีม่ า ข้อมลู จากกรมการปกครอง ณ เดือนธันวาคม 2538 ที่มา ขอ้ มลู จากกรมการปกครอ

เม่อื พจิ ารณาโครงสรา้ งประชากรตามกลุ่มอายุและเพศของประชากรจังหวดั สุพ
โครงสรา้ งกลุ่มอายทุ ชี่ ัดเจนมากกลา่ วคือสัดส่วนของประชากรวัยเด็ก(0-14 ป)ี ลดลง ใน
พจิ ารณาจากจานวนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 152258 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.00 ขอ
ธนั วาคม 2559) น่นั หมายถึงจังหวดั สพุ รรณบรุ ีได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

ขอ้ มูลทว่ั ไป

กลุม่ อายุ (ป)ี % ชาย 0 % หญิง 6
รอ้ ยละ
80+ 333.338..3.7.79763.85517.3335..29112.869.8299.25.8391.95 1.112..17017 1.15.106.88522..4422249...3788.6230033..44333133..7..47882.810441.30
70-74
60-64 42 24
50-54
40-44
30-34
20-24
10-14
00-04

6

หวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2549 รปู ที่ 3 ปิรามดิ ประชากร จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ.2560
อง ณ เดอื นธันวาคม 2548 ท่มี า ข้อมลู จากกรมการปกครอง ณ เดอื นธนั วาคม 2559

พรรณบรุ ีในรอบ 20 ปีทผ่ี า่ นมา (ปี พ.ศ.2539 – 2560) พบวา่ มีการเปล่ียนแปลงทาง
นขณะเดียวกนั สัดสว่ นประชากรกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) เพิ่มมากข้ึน (รูปท่ี 1-3) เมื่อ
องประชากรท้ังหมด (จานวน 846057 คน ขอ้ มลู จากกรมการปกครอง ณ เดือน

Page 7

ขอ้ มลู ทรพั ยากรสาธารณสุข

สถานบรกิ ารสาธารณสุขของรัฐ

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มีสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล ดงั น้ี

โรงพยาบาล ระดับ A โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จานวน 1 แห่ง
1 แหง่
โรงพยาบาล ระดับ M1 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ่ี 17 จานวน 1 แหง่
1 แห่ง
โรงพยาบาล ระดบั M2 โรงพยาบาลอทู่ อง จานวน 6 แหง่

โรงพยาบาล ระดบั F1 โรงพยาบาลดา่ นชา้ ง จานวน 174 แหง่
8 แห่ง
โรงพยาบาล ระดับ F2 โรงพยาบาลสามชุก,เดมิ บางนางบวชล,ศรีประ จานวน
166 แห่ง
จันต์,ดอนเจดยี ,์ บางปลาม้า,หนองหญา้ ไซ 3 แห่ง
5 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล จานวน 3 แหง่

-โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลขนาดใหญ่ จานวน

-โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลขนาดท่วั ไป จานวน

ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุขของเทศบาล จานวน

 ศนู ยส์ ุขภาพชมุ ชนเมือง จานวน

คลินิกหมอครอบครัว(Primary care cluster) จานวน

ตารางที่ 3 จา่ นวนสถานบริการสาธารณสุขของรัฐบาล จ่าแนกรายอ่าเภอ จังหวดั สพุ รรณบุรี

โรงพยาบาล โรงพยาบาล ศนู ยบ์ รกิ าร คลินิกหมอ

อ่าเภอ ประเภท/แหง่ จ่านวน จา่ นวนเตียง ส่งเสรมิ สขุ ภาพ สาธารณสุข ครอบครัว

เตียงจริง ตามกรอบ ต่าบล (แหง่ ) (แห่ง)

เมอื งฯ รพ. ระดับ A 1 แหง่ 680 666 29 2 1
เดมิ บางฯ รพ. ระดับ F2 1 แหง่ 120 120 20 - -
ด่านชา้ ง รพ. ระดับ F1 1 แหง่ 106 90 16 -
บางปลาม้า รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 62 60 17 - -
ศรปี ระจนั ต์ รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 60 60 14 - -
ดอนเจดยี ์ รพ. ระดบั F2 1 แห่ง 68 60 9 - -
สองพีน่ ้อง รพ. ระดบั M1 1 แห่ง 262 210 25 1 -
สามชุก รพ. ระดับ F2 1 แห่ง 60 60 13 - 1
อูท่ อง รพ. ระดับ M2 1 แห่ง 144 150 22 - 1
หนองหญา้ ไซ รพ. ระดบั F2 1 แหง่ 60 60 9 - -
-
รวม 10 1,607 1,506 174 3 3

ทมี่ า : 1. ข้อมลู ทรพั ยากรทางการแพทย์ กล่มุ งานพัฒนายุทธศาสตรส์ าธารณสขุ สสจ.สุพรรณบรุ ีขอ้ มลู
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2559

2. ข้อมลู พ้นื ฐานโรงพยาบาลในสังกัดสานักปลดั กระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 สานกั บรหิ ารการสาธารณสุข

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 8

สถานบรกิ ารสาธารณสุขของเอกชน

 สถานพยาบาลประเภทท่รี บั ผปู้ ่วยไวค้ า้ งคนื จ่านวน 5 แห่ง
o โรงพยาบาล
o สถานพยาบาล (มเี ตียง) จานวน 4 แหง่
จานวน 1 แห่ง
 สถานพยาบาลประเภททไ่ี มร่ ับผ้ปู ่วยไว้คา้ งคนื จ่านวน 255 แหง่
o คลนิ ิกเวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง (คลนิ ิแพทย์)
o คลินกิ ทันตกรรม จานวน 101 แหง่
o คลินกิ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ จานวน 29 แห่ง
o คลนิ ิกเทคนิคการแพทย์ จานวน 95 แห่ง
o คลนิ ิกการแพทย์แผนไทย จานวน 7 แหง่
o สหคลินกิ จานวน 11 แหง่
o คลนิ กิ กายภาพบาบัด จานวน 6 แห่ง
o คลินิกการประกอบโรคศิลปะ จานวน 4 แหง่
จานวน 2 แห่ง
 สถานประกอบการรา้ นขายยาและผลิตยาแผนโบราณ จา่ นวน 279 แหง่
o รา้ นขายยาแผนปจั จบุ นั /แผนปจั จุบันบรรจุเสรจ็
o รา้ นขายยาแผนโบราณ จานวน 206 แห่ง
o สถานทผ่ี ลติ ยาแผนโบราณ จานวน 44 แหง่
o รา้ นขายยาแผนปจั จบุ ันบรรจเุ สรจ็ สาหรับสตั ว์ จานวน 14 แห่ง
จานวน 15 แห่ง

ท่ีมา : กล่มุ งานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคสานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ีณ วันท่ี 10 มกราคม พ.ศ.2560

ตารางท่ี 4 จ่านวนอาสาสมคั รสาธารณสุข จ่าแนกรายอา่ เภอ จงั หวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2560

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อัตราส่วน อสม./ อตั ราสว่ น อสม./
ประชากร หลังคาเรือน

เมอื งสุพรรณบรุ ี 2,411 1:70 1:26

เดมิ บางนางบวช 1,614 1:45 1:16

ดา่ นช้าง 1,152 1:59 1:22

บางปลามา้ 1,479 1:53 1:17

ศรีประจนั ต์ 1,278 1:49 1:17

ดอนเจดยี ์ 876 1:53 1:18

สองพน่ี ้อง 1,705 1:75 1:24

สามชุก 1,160 1:47 1:18

อู่ทอง 2,563 1:48 1:15

หนองหญา้ ไซ 1,283 1:38 1:13

รวม 15,521 1:55 1:19

ท่มี า : ระบบสารสนเทศสุขภาพภาคประชาชน กองสนบั สนุนสขุ ภาพภาคประชาชน ณ วนั ที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ.2560

ขอ้ มูลทวั่ ไป Page 9

การบรกิ ารสขุ ภาพ

การใหบ้ ริการสุขภาพในระดบั โรงพยาบาล

1. ผปู้ ่วยนอก
การใหบ้ ริการผูป้ ว่ ยนอกในระดับโรงพยาบาล จากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 จานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกใน
โรงพยาบาล เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของการมารับบริการ(คร้ังต่อคน) ตามประเภทสิทธิ จะเห็นว่ากลุ่มสิทธิ
ขา้ ราชการ/รฐั วิสาหกิจ/เบิกตน้ สงั กัดมาใชบ้ ริการเฉล่ียจานวนคร้ังต่อคนมากกว่ากลุ่มสิทธิอ่ืนๆ คือ 6.11 ครั้ง/คน
รองลงมาคือกลุ่มสิทธิประกันสังคม มีอัตราส่วนของการมารับบริการใกล้เคียงกัน คือ 4.25 ครั้ง/คน และ กลุ่ม
สิทธิ UC มีอัตราส่วนของการมารับบริการเท่ากับ 3.70 คร้ัง/คน ในกลุ่มสิทธิแรงงานต่างด้าวมีอัตราส่วนของ
การมารับบริการต่าสุดคือ 2.31 คร้ัง/คน โดยค่าเฉล่ียของการมารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลในภาพรวม
ของประชากรท้ังจังหวัดในปี พ.ศ.2560 มคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 2.46 ครัง้ /คน/ปี (ตารางท่ี 5)

ตารางท่ี 5 จ่านวนคน/ครงั้ ของผ้รู ับบรกิ ารประเภทผู้ปว่ ยนอกในระดับโรงพยาบาล จังหวดั
สพุ รรณบรุ ี จา่ แนกตามประเภทสิทธิ ปีงบประมาณ พ.ศ.2559-2560

ประเภทสิทธิ คน ปี 2559 ครั้ง:คน คน ปี 2560 คร้ัง:คน
(ผูป้ ่วยนอก) 62,649 คร้งั 6.54 61,592 คร้ัง 6.11
1.ขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ /เบกิ ตน้ สังกดั 37,701 4.16 38,783 4.25
2.ประกนั สังคม 304,567 410,013 4.46 356,364 376,589 3.70
3.UC บตั รทองไมม่ ี ท/มี ท 6,093 156,671 2.22 4,937 164,756 2.31
1,357,401 1,317,524
4.แรงงานต่างดา้ ว 453,152 13,521 4.56 461,676 11,394 4.53
รวมผมู้ ารับบริการ 2,090,238
ประมาณการอัตราสว่ นการใช้บรกิ าร 2,064,729
ผ้ปู ว่ ยนอก 1 ปีตอ่ ประชากรทัง้ หมด 2.46 คร้งั /คน/ปี
2.43 คร้ัง/คน/ปี

ทม่ี า : คลงั ข้อมลู สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี (Data Center) ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2560

เมื่อจาแนกจานวนผู้มารับบริการผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสุพรรณบุรี ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่ารพศ.เจ้าพระยายมราช มีจานวนผู้ป่วยนอกเฉลี่ยต่อเดือนมากท่ีสุด
รองลงมาคือ รพท.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ รพช.เดิมบางนางบวช รพช.อู่ทอง รพช.สามชุก รพช.ดา่ นช้าง รพช.ศรี
ประจันต์ รพช.ดอนเจดีย์ รพช.บางปลาม้า และรพช.หนองหญ้าไซ ตามลาดับ แต่อัตราส่วนของการมารับ
บรกิ ารผปู้ ่วยนอกจานวนครั้งต่อคนต่อปีของรพช.สามชุกสูงกว่าโรงพยาบาลอื่นๆ คือเฉลี่ยเท่ากับ 5.44 ครั้ง/คน/ปี
โดยค่าเฉล่ียทัง้ จงั หวัดเท่ากบั 4.53 ครง้ั /คน/ปี (ตารางที่ 6)

ขอ้ มูลทว่ั ไป Page 10

ตารางท่ี 6 จ่านวนคนและครง้ั ของผูร้ บั บริการประเภทผู้ป่วยนอก จ่าแนกตามรายโรงพยาบาล
(รพ.ของรฐั ฯ) จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ พ.ศ.2559-2560

โรงพยาบาล ปี 2559 ปี 2560

คน ครง้ั ครงั้ :คน ครั้ง:เดือน คน ครั้ง ครั้ง:คน คร้งั :เดือน

รพศ.เจา้ พระยาฯ 134,388 630,939 4.69 52,578 147,901 718,946 4.86 59,912
รพท.สมเดจ็ ฯ 58,271 251,098 4.31 20,925 62,038 268,727 4.33 22,394
รพช.เดิมบางฯ 40,019 188,229 4.7 15,686 38,226 180,750 4.73 15,063
รพช.ดา่ นชา้ ง 34,928 147,625 4.23 12,302 36,058 147,737 4.10 12,311
รพช.บางปลามา้ 30,611 140,932 4.6 11,744 25,662 100,231 3.91 8,353
รพช.ศรปี ระจนั ต์ 27,679 123,766 4.47 10,314 27,517 124,785 4.53 10,399
รพช.ดอนเจดยี ์ 24,976 115,379 4.62 9,615 25,780 121,348 4.71 10,112
รพช.สามชกุ 27,118 150,759 5.56 12,563 29,845 162,270 5.44 13,523
รพช.อู่ทอง 57,513 226,826 3.94 18,902 50,703 174,558 3.44 14,547
รพช.หนองหญา้ ไซ 17,649 89,176 5.05 7,431 17,946 90,886 5.06 7,574
รวม 453,152 2,064,729 4.56 172,061 461,676 2,090,238 4.53 174,187

ทมี่ า : คลังข้อมลู สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2560

2. ผ้ปู ่วยใน
การให้บริการผู้ป่วยในของโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี จากคลังข้อมูลสานักงาน

สาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี ในภาพรวมของจงั หวดั พบว่าปีงบประมาณ 2560 จานวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้น เม่ือ
พิจารณาตามจานวนวันนอนเฉล่ียต่อรายพบว่าจานวนวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยใน 1 ราย มีวันนอนเฉล่ียเพิ่มขึ้น
เล็กน้อยจากปี 2559 ซึ่งมีวันนอนเฉล่ีย 4.61 วัน/ราย เม่ือแยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ป่วยสิทธิข้าราชการ
มีวันนอนเฉลย่ี สูงกวา่ ผู้ปว่ ยสทิ ธอิ นื่ ๆ คอื มีวันนอนเฉล่ยี 5.98 วนั ตอ่ ผปู้ ว่ ยใน 1 ราย ผู้ป่วยสิทธิ UC มีวันนอน
เฉลย่ี 4.51 วนั สทิ ธปิ ระกนั สังคม มีวันนอนเฉลยี่ 3.87 วัน ส่วนแรงงานต่างด้าว มีวันนอนเฉล่ียต่อคนน้อย
ทส่ี ดุ คอื 3.84 วันรายละเอยี ดตามตารางท่ี 7
ตารางที่ 7 จ่านวนผู้รับบรกิ าร จ่านวนวันนอน และจ่านวนวันนอนเฉล่ียของผปู้ ่วยใน

จ่าแนกตามประเภทสทิ ธิ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปีงบประมาณ พ.ศ.2559–2560

ประเภทสทิ ธิ ปงี บประมาณ 2559 ปงี บประมาณ 2560

1.ขา้ ราชการ/รัฐวิสาหกิจ จ่านวน รวมวนั นอน วันนอน จา่ นวน รวมวนั นอน วนั นอน
2.ประกนั สังคม
3.UC บตั รทองม/ี ไม่มี (ราย) เฉลยี่ /ราย (ราย) เฉลีย่ /ราย
4.แรงงานต่างดา้ ว 10,841 63,875 5.89 9,793 58,532 5.98

รวมผู้มารับบริการ 5,235 19,142 3.66 5,182 20,054 3.87

75,367 322,572 4.28 83,421 376,143 4.51

1,686 6,230 3.70 1,765 6,772 3.84

102,795 456,417 4.44 100,161 461,501 4.61

ทมี่ า : คลงั ข้อมูลสานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี (Data Center) ณ วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2560

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 11

เมือ่ จาแนกวนั นอนเฉลยี่ ผู้ป่วยในตามรายโรงพยาบาล พบวา่ รพศ.เจ้าพระยายมราช มีวันนอนเฉลี่ย
ผูป้ ว่ ยใน 5.23 วัน/ราย รองลงมาคอื รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ มีวันนอนเฉลีย่ ผปู้ ว่ ยในสูงสุด คือ 5.09 วัน/ราย
ในระดับโรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลท่ีมีจานวนวันนอนเฉล่ียผู้ป่วยในสูงสุดคือ รพช.เดิมบางนางบวช (4.47
วนั /ราย) รองลงมาไดแ้ ก่ รพช. ดา่ นชา้ ง (4.17 วัน/ราย) รพช.อู่ทอง (3.95 วัน/ราย) รพช.หนองหญ้าไซ (3.67
วนั /ราย) รพช.ศรปี ระจันต์ (3.60 วัน/ราย) รพช.สามชุก (3.56 วัน/ราย) รพช.ดอนเจดีย์ (3.28 วัน/ราย) รพช.
บางปลามา้ (3.10 วนั /ราย) ตามลาดบั (ตารางท่ี 8)

เม่ือเปรียบเทียบวันนอนเฉล่ียของผู้ป่วยในกับค่าเฉล่ียของประเทศในช่วงเวลาเดียวกันคือในปี
2560 จาแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นว่าวันนอนเฉล่ียของผู้ป่วยในระดับ โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทัว่ ไป และโรงพยาบาลชมุ ชนมีคา่ เฉล่ยี สงู กว่าคา่ เฉล่ียของประเทศ (ตารางที่ 8)

อัตราการครองเตียง (อัตราวันนอนผู้ป่วยใน 1 ปี) ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิดเป็นร้อยละ
79.17 ซึ่งถือว่ามีการใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ป่วยในระดับดีแต่เม่ือพิจารณาตามประเภทโรงพยาบาล พบว่า
โรงพยาบาลทั่วไปสูงทีส่ ุด มีอัตราครองเตียง ร้อยละ 89.37 สูงกว่าโรงพยาบาลศูนย์ ท่ีมีอัตราการครองเตียง ร้อย
ละ 86.27 และกล่มุ โรงพยาบาลชมุ ชน รอ้ ยละ 65.23 โดยท้ัง 3 กลุ่ม มีอัตราครองเตียงสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ
ประเทศและอยู่ในเกณฑ์ท่เี หมาะสม (ตารางท่ี 8)

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่าในระดับโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราการใช้เตียง 1
ปี เท่ากบั 60.26 สูงกวา่ ค่าเฉลีย่ ของกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ท่ัวประเทศในปีพ.ศ.2559 (ค่าเฉลี่ยของประเทศเท่ากับ
49.67) โรงพยาบาลทั่วไปมีอัตราการใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 64.11 สูงกว่าค่าเฉล่ียของกลุ่ม โรงพยาบาลท่ัวไป
ของประเทศในปีพ.ศ.2559 (ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 49.29) กลุ่มโรงพยาบาลชุมชนในภาพรวมมีอัตรา
การใชเ้ ตยี ง 1 ปีเท่ากับ 62.33 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มโรงพยาบาลชุมชนท่ัวประเทศในปีพ.ศ.2559 (ค่าเฉล่ีย
ของประเทศเท่ากับ 60.60) โรงพยาบาลท้ัง ๓ ระดับ มีอัตราการใช้เตียงเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
นั่นหมายความว่า มีการใช้เตียงมากหรือมีการหมุนเวียนเตียงมาก โรคมีความรุนแรงมากเป็นโรคเรื้อรังลดลง
หรือคุณภาพในการใหก้ ารรกั ษามากใช้วันนอนน้อยกวา่ หรือเทา่ กบั เกณฑเ์ ฉล่ีย (ตารางที่ 8)

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 12

ตารางท่ี 8 จ่านวนผ้รู ับบริการผปู้ ว่ ยใน จ่านวนวันนอน จา่ นวนเตียง อัตราการครองเตียง อัตราการ
ใช้เตยี ง 1 ปี ของผู้ป่วยใน จังหวัดสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

โรงพยาบาล ผปู้ ว่ ยในท่ี รวมวัน วนั นอนเฉลี่ย จ่านวนเตยี ง อตั ราการครองเตียง อตั ราการ
ใชเ้ ตียง 1
รพศ.เจา้ พระยายมราช จา่ หน่าย นอน ผปู้ ่วยใน (ตามจริง) (อัตราวนั นอน
รพท.สมเดจ็ พระสังฆราชฯ ปี
รพช.เดิมบางนางบวช ท้งั หมด ผู้ป่วยใน 1 ป)ี 60.26
รพช.ดา่ นช้าง 64.11
รพช.บางปลามา้ 40,978 214,126 5.23 680 86.27 54.61
รพช.ศรีประจนั ต์ 58.44
รพช.ดอนเจดีย์ 16,797 85,465 5.09 262 89.37 54.84
รพช.สามชกุ 82.45
รพช.อู่ทอง 6,553 29,270 4.47 120 66.83 67.32
รพช.หนองหญ้าไซ 70.98
6,195 25,856 4.17 106 66.83 64.56
รวม 52.62
3,400 10,536 3.10 62 46.56 62.72
รพศ. (1 แห่ง)
รพท. (1 แห่ง) 4,947 17,794 3.60 60 81.25 60.26
รพช. (8 แหง่ ) 64.11
4,578 15,037 3.28 68 60.58 62.33

4,259 15,152 3.56 60 69.19

9,297 36,691 3.95 144 69.81

3,157 11,574 3.67 60 52.85

100,161 461,501 4.61 1,597 79.17

สรปุ ตามประเภทโรงพยาบาลจังหวดั สพุ รรณบุรี ปี 2560

40,978 214,126 5.23 680 86.27

16,797 85,465 5.09 262 89.37

42,386 161,910 3.82 680 65.23

คา่ เฉล่ียระดับประเทศ ปี 2559

รพศ. - - 5.06 - 70.54 49.67
รพท.นอ้ ยกวา่ 300 เตยี ง 52.07 49.29
รพช. มากกวา่ 30 เตียง - - 4.45 - 49.15 60.60

- - 2.84 -

ทม่ี า : คลงั ข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี (Data Center) ณ วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2560

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 13

เมื่อเปรียบเทียบค่า CMI ในโรงพยาบาลจังหวัดสุพรรณบุรีจาแนกตามระดับ Service Plan ท้ัง 10
แห่ง มคี า่ มากกวา่ ค่าเป้าหมายจานวน 9 โรงพยาบาล ยกเว้นรพศ.เจา้ พระยายมราช (ตารางที่ 9)

ตารางที่ 9 สรุปค่า ผลรวม AdjRW และเปรยี บเทียบคา่ CMI ในโรงพยาบาลจังหวดั สุพรรณบรุ ี จ่าแนก

ตามระดบั Service Planกบั จ่านวนคา่ เป้าหมายระดับประเทศ ประจ่าปงี บประมาณ พ.ศ.2560

ชื่อโรงพยาบาล ประเภท จานวน วนั นอน totalAdjRw CMI เกณฑ์

ผปู้ ่ วย ผปู้ ่ วยใน โรงพยาบาล อา้ งอิง

รพ.เจ้าพระยายมราช โรงพยาบาล 40,978 214,126 62,880.74 1.5345 1.6
ศนู ย์_A

รพ.ด่านชา้ ง โรงพยาบาลชมุ ชน 6,534 26,978 4,836.47 0.7402 0.6
ขนาดใหญ่_F1

รพ.เดมิ บางนางบวช โรงพยาบาลชุมชน 6,558 29,178 6,536.36 0.9967 0.6
ขนาดกลาง_F2

รพ.บางปลามา้ โรงพยาบาลชมุ ชน 3,400 10,536 3,248.80 0.6392 0.6
ขนาดกลาง_F2

รพ.ศรปี ระจนั ต์ โรงพยาบาลชมุ ชน 4,950 17,994 3,467.97 0.7006 0.6
ขนาดกลาง_F2

รพ.สมเด็จ โรงพยาบาลทวั่ ไป 16,802 85,907 19,327.34 1.1503 1

พระสงั ฆราชองคท์ 1ี่ 7 ขนาดเล็ก_M1

รพ.สามชกุ โรงพยาบาลชุมชน 4,261 15,031 3,482.09 0.8172 0.6
ขนาดกลาง_F2

รพ.หนองหญ้าไซ โรงพยาบาลชมุ ชน 3,144 11,508 2,217.46 0.7053 0.6
ขนาดกลาง_F2

รพ.อู่ทอง โรงพยาบาลชุมชน 9,297 37,655 7,782.52 0.8371 0.8
แม่ข่าย_M2

รพ.ดอนเจดยี ์ โรงพยาบาลชมุ ชน 4,586 15,084 3,234.96 0.7054 0.6
ขนาดกลาง_F2

ท่ีมา : โปรแกรมระบบรายงานศูนยบ์ ริการประสทิ ธิภาพ ประจาปงี บประมาณ 2560(ตค.2559-กย..2560)
กองบรหิ ารการสาธารณสุข

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 14

สถานะสุขภาพ

สถติ ิชพี จงั หวดั สพุ รรณบุรี พบการตายของมารดา (การตายเนอ่ื งจากการคลอดและภาวะแทรกในการ

มคี รรภแ์ ละระยะอยูไ่ ฟ ( ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2546-2549 ปีละ 1 ราย และในปี 2551-

2557 พบมารดาตาย ปีละ 1-3 ราย ในปี 2552 พบมารดาตาย 3 ราย ทาให้อัตราตายของมารดาเพ่ิมเป็น

32.06 ต่อการเกิดมชี ีพ 100,000 คน เกินเกณฑท์ ก่ี ระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ คืออัตราตายของมารดาไม่

เกิน 18 คนต่อการเกิดมีชีพ 100,000 คน ในปี 2554 ไม่พบมารดาตาย และในปี 2558 พบมารดาตาย 2

ราย คดิ เป็นอตั รามารดาตายเทา่ กับ 28.12 สูงกว่าเกณฑ์เป้าหมาย ส่วนในปี 2559 พบมารดาตาย 1 คน คิด

เป็นอัตรามารดาตายเท่ากับ 13.61 สาหรับอัตราทารกตายมีแนวโนม้ ลดลงอย่างต่อเน่ือง จาก 7.98 ต่อการเกิด

มชี ีพ 1,000 คน ในปี 2546 ลดลงเป็น 2.50 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ในปี 2559 (ตารางท่ี 10) และเมื่อ

เปรียบเทียบสถิติชีพของจังหวัดสุพรรณบุรีกับประเทศไทยในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่า อัตราทารกตาย ของ

จังหวดั สพุ รรณบุรีในปี 2559 ตา่ กว่าของระดับประเทศประมาณ 2.48 เท่า และเป็นท่ีสังเกตว่า อัตราเพิ่มตาม

ธรรมชาติมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ืองและต่ากว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศอย่างต่อเน่ือง (ตารางท่ี 10 และ

ตารางที่ 11)

ตารางท่ี 10 จ่านวนและอตั รา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนชี พี

จังหวดั สพุ รรณบุรี พ.ศ. 2546 – 2559

จานวน อตั รา

ปี เกิดมี ตาย ทารก มารดา เกิดมีชีพ ตาย ทารก มารดา อตั ราเพ่ิม ดชั นชี ีพ
ตาย ตาม
ชีพ ตาย ตาย ตาย

ธรรมชาติ

(รอ้ ยละ)

2546 8,898 5,991 71 1 10.24 6.90 7.98 11.24 0.33 148.52

2547 9,536 6,314 65 1 11.35 7.52 6.82 10.49 .038 151.03
2548 9,202 6,915 72 1 10.92 8.21 7.82 10.87 .027 133.07
2549 9,174 6,132 72 1 10.87 7.27 7.85 10.90 0.36 149.61
2550 9,333 6,673 66 0 11.08 7.92 7.07 0.00 0.32 139.86

2551 9,049 6,603 56 2 10.72 7.82 6.19 22.10 0.29 137.04

2552 9,356 6,542 47 3 11.08 7.75 5.02 32.06 0.33 143.01

2553 8,891 7,022 54 2 10.51 8.30 6.09 22.99 0.22 126.62
2554 9,147 6,697 58 0 10.81 7.92 6.34 0.00 0.29 137.00
2555 9,242 6,806 39 1 10.91 8.03 4.22 10.82 0.28 135.86

2556 8739 6817 24 2 10.07 7.85 2.75 11.44 0.22 126.62

2557 8586 6862 36 1 9.89 7.90 3.93 12.35 0.20 125.12

2558 8,307 7,112 23 2 9.78 8.38 2.91 28.12 0.14 116.80

2559 7,596 7,345 19 1 8.94 8.64 2.50 13.61 0.03 103.42

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 15

ท่ีมา : กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html)
หมายเหตุ : 1. มารดาตายคอื การตายเน่ืองจากการคลอดและภาวะแทรกในการมีครรภแ์ ละระยะอยไู่ ฟ

( ภายใน 6 สัปดาห์หลงั คลอด)
2. อตั ราเกดิ มชี พี และตายต่อประชากร 1,000 คน
3. อตั ราทารกตายตอ่ เกดิ มชี ีพ 1,000 คน และมารดาตายตอ่ เกิดมชี ีพ 100,000 คน
4. อัตราเพิม่ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) : จานวนเกดิ ลบด้วย จานวนตาย หารด้วยจานวนประชากรกลางปี

คูณดว้ ย 100
5. ดชั นีชีพหรือ อตั ราส่วนเกิดตาย เปน็ จานวนเกิดมีชีพตอ่ ตาย 100 คน

ตารางท่ี 11 สถติ ชิ ีพ จังหวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2559 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558

สถิติชีพ จ.สุพรรณบุรี ประเทศไทย

1. อตั ราเกิด (ต่อประชากรพันคน) ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2558
2. อตั ราตาย (ต่อประชากรพันคน) 8.941 10.40
3. อัตราเพม่ิ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) 8.641 6.90
4. อัตราทารกตาย (ต่อการเกิดมชี ีพพันราย) 0.031 0.40
5. อัตรามารดาตาย (ต่อการเกิดมีชพี 100,000 คน) 2.501 6.20
6. อายุคาดเฉลย่ี เมื่อแรกเกิด ( จานวนปีเฉลี่ยทีค่ าดวา่ 13.611 24.60

บุคคลทีเ่ กิดมาแลว้ จะมีชวี ิตอยู่ต่อไปอีกกีป่ ี) 72.18 71.93
79.38 78.82
ชาย
20.07 20.10
หญงิ 23.57 23.30
7. อายคุ าดเฉล่ียท่ีอายุ 60 ปี (จานวนปีเฉลี่ยทีค่ าดวา่

ผทู้ ีม่ ีอายุ 60 ปี จะมีชีวติ อยตู่ อ่ ไปอกี กป่ี )ี

ชาย

หญิง

ท่ีมา : 1กลมุ่ งานพัฒนายทุ ธศาสตรฯ์ สสจ.สุพรรณบรุ ีปี 2560
สถติ ิสาธารณสุข พ.ศ.2559 สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
ขอ้ มลู เบื้องตน้ ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 16

อายุคาดเฉลี่ย ตารางที่ 12 อายคุ าดเฉล่ยี ของประชากร จังหวัดสุพรรณบุรปี ี พ.ศ.2559

อายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด (ความยืนยาวของ กลุ่มอายุ อายุคาดเฉลย่ี (Expectation of Life)
ชีวิตต้ังแต่แรกเกิดตาย) ของประชากรจังหวัด หญงิ ชาย รวม
สุพรรณบุรี ในปี 2559(จากข้อมูลกรมการปกครอง) <1 79.38 72.18 75.69
อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดแยกตามเพศ พบว่า เพศ 1-4 78.71 71.45 74.99
หญิงมีอายุยืนยาวกว่าเพศชาย กล่าวคือ เพศหญิงมี 5-9 74.85 67.68 71.18
อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด 79.38 ปี เพศชายมีอายุ 10 - 14 69.88 62.80 66.26
คาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด คือ 72 .18 ปี ในภาพรวมทั้ง 15 - 19 64.94 57.99 61.39
2 เพศมอี ายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเท่ากับ 75.69 ปี 20 - 24 60.15 53.44 56.73
25 - 29 55.27 49.05 52.11
อายุคาดเฉลี่ยเม่ืออายุ 60 ปี (อายุที่คาดว่า 30 - 34 50.57 44.51 47.50
จะยนื ยาวตอ่ ไปหลังจากอายุ 60 ปี) พบว่า เพศหญิงจะ 35 - 39 45.81 40.09 42.92
มีอายุยืนยาวต่อไปอีกประมาณ 23.57 ปี ขณะที่ผู้ชาย 40 - 44 41.18 35.78 38.46
จะมีอายุยืนยาวหลังอายุ60 ปี ต่อไปอีก 20.07 ปี 45 - 49 36.62 31.58 34.09
(ตารางท่ี 12) 50 - 54 32.21 27.48 29.84
55 - 59 27.86 23.66 25.77
เมื่อพิจารณาอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของ 60 - 64 23.57 20.07 21.82
ป ร ะ ช า ก ร จั ง ห วั ด สุ พ ร ร ณ บุ รี เ ม่ื อ เ ที ย บ กั บ 65 - 69 19.63 16.75 18.19
ระดับประเทศในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกัน พบว่าอายุ 70 - 74 15.99 13.58 14.77
คาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของประช ากรจังหวัด 75 - 79 12.18 10.81 11.60
สพุ รรณบุรีสงู กวา่ อายุคาดเฉล่ียของระดบั ประเทศท้ัง 80 - 84 9.08 8.25 8.75
เพศชายและเพศหญิง ดังรูปท่ี 4 และ 5 85 - 89 6.72 6.55 6.66
90 - 94 4.90 5.45 5.08
95 - 99 3.76 4.76 4.10
100+ 2.50 2.50 2.50

รูปที่ 4 อายคุ าดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด ของประชากรเพศชาย รูปท่ี 5 อายุคาดเฉล่ยี เมื่ออายุ 60 ปี ของประชากรเพศชาย
จงั หวดั สุพรรณบุรี พ.ศ.2559 และประเทศไทย พ.ศ. 2558 จงั หวดั สพุ รรณบุรี พ.ศ.2559 และประเทศไทย พ.ศ. 2558

79.38 40 20.07 20.10 23.57 23.30
80 78.82
20
75 72.18
71.93 0
ชาย หญิง
70 สพุ รรณบุรี ประเทศ

650

ชาย หญิง
สุพรรณบุรี ประเทศ

ทม่ี า 1) สถาบันวิจยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหดิ ล
2) http://ipsr.mahidol.ac.th/ipsr-th/PublicationGazette.html

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 17

สาเหตกุ ารป่วย

จากการเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ป่วยนอก ประมวลผลจากคลังข้อมูลสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีใน

รอบ3 ปที ่ีผา่ นมา พบว่า 5 ลาดบั แรกของกลุ่มโรคท่ีเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยท่ีสาคัญของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี

คอื โรคระบบไหลเวยี นเลือด โรคเกย่ี วกับต่อมไรท้ ่อโภชนาการและเมตะบอลซิ ึม โรคระบบยอ่ ยอาหารรวมโรคในช่อง

ปาก โรคระบบกล้ามเนอื้ รวมโครงรา่ งและเนอื้ ยึดเสรมิ กล่มุ โรคระบบทางเดินหายใจ (ตารางท่ี 13)

ตารางที่ 13 จา่ นวนและอัตราป่วยต่อประชากร 1,000 คน ของผู้ป่วยนอกจา่ แนกตามกลมุ่ สาเหตุการป่วย

จังหวัดสุพรรณบรุ ี พ.ศ.2558-2560

กล่มุ โรค สาเหตุ พ.ศ. 2558 พ.ศ.2559 พ.ศ. 2560

จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อตั รา

1 โรคตดิ เชอื้ และปรสติ 96,574 113.74 79,993 94.14 89,023 104.91

2 เนือ้ งอก (รวมมะเร็ง) 32,672 38.48 24,643 29.00 33,304 39.25

3 โรคเลือดและอวยั วะสรา้ งเลือดและ 28,290 33.32 25,283 29.76 30,934 36.45
ความผิดปกติเก่ยี วกบั ภูมิคมุ้ กัน

4 โรคเก่ียวกับต่อมไรท้ ่อโภชนาการ 643,186 757.53(2) 532,273 626.43(2) 573,488 675.83(2)
และเมตะบอลิซมึ

5 ภาวะแปรปรวนทางจติ และพฤติกรรม 71,172 83.83 59,000 69.44 71,249 83.96

6 โรคระบบประสาท 72,545 85.44 59,767 70.34 62,702 73.89

7 โรคตารวมส่วนประกอบของตา 89,648 105.59 78,291 92.14 91,456 107.78

8 โรคหแู ละปุ่มกกหู 26,281 30.95 23,040 27.12 27,759 32.71
9 โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด 661,285 778.85(1) 568,108 668.60(1) 621,224 732.09(1)
364,088 428.82(5) 334,907 394.15 333,641 393.18(5)
10 โรคระบบหายใจ

11 โรคระบบย่อยอาหารรวมโรคในชอ่ ง 460,347 542.19(4) 445,233 523.99(3) 509,258 600.14(3)
ปาก

12 โรคผิวหนงั และเนอ้ื เย้ือใต้ผิวหนงั 109,588 129.07 93,009 109.46 96,074 113.22

13 โรคระบบกล้ามเนื้อรวมโครงร่าง และ 520,530 613.07(3) 422,955 497.77(4) 463,073 545.71(4)
เน้อื ยึดเสรมิ

114 โรคระบบสบื พันธุ์ รวมทางเดนิ 157,549 185.56 150,681 177.33 182,902 215.54
ปสั สาวะ

15 ภาวะแทรกในการต้งั ครรภก์ ารคลอด 14,210 16.74 10,481 12.33 14,243 16.78
และระยะหลังคลอด

16 ภาวะผดิ ปกตขิ องทารกที่เกิดขนึ้ ใน

ระยะปริกาเนดิ (อายุครรภ์ 22 3,833 4.51 2,694 3.17 2,790 3.29

สปั ดาห์ขึน้ ไปจนถงึ 7วนั หลังคลอด)

17 รปู รา่ งผดิ ปกติแตก่ าเนิดการพกิ ารจน 2,752 3.24 1,958 2.30 2,706 3.19
ผดิ รูปแตก่ าเนดิ และโครโมโซมผิดปกติ

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 18

กลุ่มโรค สาเหตุ พ.ศ. 2558 พ.ศ.2559 พ.ศ. 2560

จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อตั รา

18 อาการ, อาการแสดงและสิง่ ผดิ ปกติที่ 312,472 367.74(5) 287,075 338.31
พบได้จากการตรวจทางคลนิ กิ และทาง 368,922 434.51(5)

หอ้ งปฏิบัตกิ ารฯ

19 การเปน็ พิษและผลทต่ี ามมา 827 0.97 585 0.69 752 0.89
14,739 17.35 17,131 20.19
20 อบุ ัตเิ หตุจากการขนสง่ และผลท่ี 16,868 19.87
ตามมา

21 สาเหตุจากภายนอกอน่ื ๆทีท่ าใหป้ ว่ ยหรือ 58,213 68.56 48,723 57.34 57,810 68.13
ตาย

ทมี่ า : คลงั ขอ้ มูลสานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี (Data Center) ณ วันท่ี 20 ธนั วาคม 2560

สาหรับกลุ่มผู้ป่วยใน กลุ่มสาเหตุการเจ็บป่วยท่ีสาคัญ 10 ลาดับแรกในปี พ.ศ.2560 ได้แก่ความผิดปกติ
เกี่ยวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลิซึมอื่นๆ,โรคความดันโลหิตสูง,โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือด ,
โรคเบาหวาน, โรคอื่นๆของระบบยอ่ ยอาหาร, โรคตาและสว่ นผนวก , โรคอ่ืนๆของระบบหายใจ,โรคหัวใจและโรค
ของการไหลเวียนเลือดผ่านปอดอื่น ๆ ,โรคติดเชื้ออ่ืนๆของลาไส้,ความผิดปกติอื่นๆเท่ีกิดข้ึนในระยะปริกาเนิด
(ตารางท่ี 14 รูปที่ 6)

ตารางที่ 14 สาเหตกุ ารปว่ ยของกลุม่ ผู้ปว่ ยในตอ่ ประชากร 100,000 คน จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

พ.ศ. 2558-2560

กลุม่ โรค สาเหตกุ ารปว่ ย พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560

2 โรคตดิ เชอ้ื อ่ืนๆของลาไส้ อตั รา อัตรา อัตรา
15 โรคเลือด,อวยั วะสร้างเลอื ดและความผดิ ปกติบางชนดิ ท่ีเกย่ี วกับ 683.62(9)
702.08(8) 753.91(8) 1384.33 (3)
1109.94(4) 1154.53(4)
1335.55 (4)
ระบบภมู คิ มุ้ กนั 1167.42(3) 1253.15(3) 3402.56 (1)
18 โรคเบาหวาน 3302.86(1) 3169.83(1) 828.57 (6)
19 ความผิดปกตเิ กย่ี วกบั ต่อมไรท้ ่อโภชนาการและเมตะบอลซิ มึ อืน่ ๆ 968.02(5) 951.51(5) 2240.37 (2)
28 โรคตาและสว่ นผนวก 1933.92(2) 2049.90(2) 723.22 (8)
32 โรคความดนั โลหิตสงู 626.46(9) 668.59(9) 822.68 (7)
34 โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอดอืน่ ๆ 713.38(7) 757.68(7) 849.90 (5)
42 โรคอน่ื ๆของระบบหายใจ 853.89(6) 852.54(6) 580.63 (10)
50 โรคอื่นๆของระบบย่อยอาหาร 560.62(10) 532.19(10)
65 ความผิดปกติอน่ื ๆที่เกดิ ข้ึนในระยะปริกาเนดิ

หมายเหตุ ไมน่ ากลมุ่ โรคที่ 62, 63 และ 67 มาจัดลาดบั ใน 10 ลาดับแรก
ทมี่ า : คลังข้อมลู สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี (Data Center) ณ วันที่ 20 ธนั วาคม 2560

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 19

ความผิดปกตอิ ่ืนๆท่เี กดิ ขึน้ ในระยะปริกาเนิด 580.63
โรคตดิ เชือ้ อนื่ ๆของลาไส้ 683.62
723.22
โรคหัวใจและโรคของการไหลเวียนเลอื ดผา่ นปอดอน่ื ๆ 822.68
โรคอ่นื ๆของระบบหายใจ 828.57
โรคตาและสว่ นผนวก 849.90
1335.55
โรคอืน่ ๆของระบบยอ่ ยอาหาร 1384.33
โรคเบาหวาน
2240.37
โรคเลอื ดและอวยั วะสร้างเลอื ดและความผิดปกตบิ างชนิดทเ่ี กยี่ วกบั …
โรคความดันโลหติ สูง 3402.56

ความผดิ ปกติเก่ยี วกับตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึมอื่นๆ

รูปที่ 6 อัตราผู้ป่วยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ล่าดับแรกจังหวัดสุพรรณบุรี ปีพ.ศ.2560

ภาวะการเจ็บป่วยจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไตวายเรื้อรัง โรค
หลอดเลือดสมองใหญ่ โรคหัวใจขาดเลือด และมะเร็งทุกชนิด จังหวัดสุพรรณบุรีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง
ต้ังแต่ พ.ศ.2552 – 2557แต่ในพ.ศ.2558 มีแนวโน้มลดลงท้ัง ๕ โรคเม่ือเปรียบเทียบปีพ.ศ.2557 ส่วนในปีพ.ศ.
2559 และ พ.ศ.2560 ไตวายเร้อื รังท่ีมแี นวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง

ตารางท่ี 15 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยในกลุ่มโรคไม่ตดิ ตอ่ ทีส่ ่าคัญ
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปพี .ศ. 2552–พ.ศ.2560

กลุ่มโรคไมต่ ดิ ต่อ 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560
โรคเบาหวาน 1070.5 1187.6 1076.9 1018.9 1163.3 1410.90. 1167.42 1253.15 1335.55
โรคความดันโลหิตสูง 1509.4 1775.7 1691.9 1636.2 1868.5 2318.29 1933.92 2049.90 2240.37
โรคหวั ใจขาดเลือด 463.4 485.3 468.0 438.1 449.5 487.96 430.01 410.97 446.75
โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ 368.2 421.9 383.1 334.6 394.5 528.86 414.58 440.74 481.40
ไตวายเรอื้ รัง 358.8 393.1 386.6 348.8 414.9 570.44 564.28 611.04 652.63
มะเรง็ ทกุ ชนดิ 201.77 189.44 156.21 122.45 175.51 154.83 121.90 148.29 150.84

ขอ้ มูลทวั่ ไป Page 20

อตั ราตอ่ แสนปชก. ความดันโลหติ สงู เบาหวาน หัวใจขาดเลือด
หลอดเลอื ดสมองใหญ่ ไตวายเรอ้ื รงั มะเร็งรวม
2500

2000

1500

1000

500

0 พ.ศ.

2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

รปู ท่ี 7 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผ้ปู ว่ ยในดว้ ยโรคความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน
โรคหวั ใจขาดเลอื ด โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ไตวายเร้ือรังและมะเร็งทุกชนิด
จงั หวดั สพุ รรณบุรีปพี .ศ. 2549–2560

ท่มี า : 1) รายงานผปู้ ่วยใน รง.505 จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2549– 2560
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ีพ.ศ.2554 - 2560

เมื่อพิจารณาการป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มเน้ืองอกร้ายในอวัยวะต่าง ๆและโรคตับจาก
แอลกอฮอล์ พบว่าโรคตับจากแอลกอฮอล์กลมุ่ โรคเนอื้ งอกร้ายที่ปอด ตับ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ปี
พ.ศ. 2549 เป็นต้นมาจนถึงปีพ.ศ..2558 และพ.ศ.2559 มีอัตราป่วยผู้ป่วยในลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่กลุ่ม
โรคเนอื้ งอกร้ายที่เตา้ นมและปากมดลูกมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนอ่ื งต้ังแตป่ ีพ.ศ.2557 (รูปท่ี 8)

ขอ้ มูลทว่ั ไป Page 21

อตั ราตอ่ แสนปชก. มะเรง็ ปากมดลกู มะเรง็ เตา้ นม
มะเร็งตับ มะเรง็ ปอด
300 โรคตับจากแอลกอฮอล์

250

200

150

100

50

0 พ.ศ.

รปู ท่ี 8 อตั ราป่วยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ป่วยในดว้ ยโรคตับจากแอลกอฮอล์
เนอ้ื งอกร้ายทป่ี อดเนอื้ งอกร้ายทตี่ บั เนื้องอกร้ายทเี่ ต้านม เนื้องอกร้ายที่ปากมดลูก จงั หวัด
สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2549-2560

ทม่ี า : 1) รายงานผ้ปู ว่ ยใน รง.505 จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2549 – 2560
2) ประมวลผลจากระบบ Data Center ของสานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี พ.ศ.2554 - 2560

สถานการณก์ ารเจ็บปว่ ยด้วยกลุ่มโรคตดิ ตอ่ ที่สา่ คญั

การเจบ็ ปว่ ยด้วยกลุ่มโรคติดต่อที่สาคัญของประชาชนจังหวดั สุพรรณบุรี พบวา่ กลมุ่ โรคติดต่อท่ีมีแนวโน้ม
สงู ขน้ึ อย่างตอ่ เนอ่ื งตงั้ แต่ ปี พ.ศ.2549-พ.ศ.2553 คือกล่มุ โรคติดเชอ้ื อื่นๆของลาไส้,โรคติดเช้ือและปรสิตอื่นๆและมี
แนวโน้มเพิ่มข้ึนคงท่ีและลดลง ปี พ.ศ.2554-พ.ศ.2558 ส่วนในปี พ.ศ.2559 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยเมื่อ
เปรียบเทยี บกบั ปี พ.ศ.2558(รูปที่ 9)

สาหรับกลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคปอดอักเสบมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่กลุ่มโรค
ระบบหายใจส่วนบนติดเชื้อเฉียบพลันและโรคอ่ืน ๆ ของระบบหายใจส่วนบน และไข้หวัดใหญ่ มีอัตราป่วยผู้ป่วยใน
เพิ่มขึ้นเล็กน้อยโรคเรื้อรังของระบบหายใจส่วนล่างมีอัตราป่วยผู้ป่วยในลดลงในปีพ.ศ2559เม่ือเปรียบเทียบกับปีพ.ศ.
2558(รูปท่ี 10)

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 22

กลุ่มโรคไขเ้ ลือดออกจากเช้ือเดง็ กี่ และไข้เลอื ดออกจากเช้ือไวรัส มกี ารระบาดตามฤดูกาลซึ่งมีอัตราป่วยสูง

ในปี พ.ศ.2551 และ 2554 และมีแนวโน้มลดลงในปีพ.ศ.2560 เม่ือเทียบกับปีพ.ศ.2559 ในขณะท่ีโรควัณโรคมี

อตั ราป่วยในผ้ปู ว่ ยในค่อนข้างคงที่และลดลงในปีพ.ศ.2560(รปู ท่ี 11)

สาหรับโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องจากเชื้อไวรัส (เอชไอวี) มีแนวโน้มลดลง โรคมาลาเรีย มีอัตราป่วยในผู้ป่วยใน

ค่อนข้างคงที่และลดลง โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัสและไข้หวัดใหญ่มีแนวโน้มมีอัตราผู้ป่วยในค่อนข้างเพิ่มขึ้น (รูปท่ี

12)

1200 อตั ราต่อแสน โรคติดเชือ้ อื่นๆของลำไส้ อัตราต่อแสน ปอดอกั เสบ
1000 โรคติดเชือ้ และปรสติ อ่ืนๆ ระบบหายใจส่วนบนติดเช้อื เฉยี บพลนั ฯ
800 800 โรคเรอ้ื รงั ของระบบหายใจสว่ นลา่ ง
ไขห้ วดั ใหญ่
600

600 400

400 พ.ศ.
200 200

0 พ.ศ. 0

รปู ที่ 9 อตั ราปว่ ยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยโรคตดิ เชือ้ อนื่ ๆ รปู ท่ี 10 อตั ราป่วยตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยโรคปอดอกั เสบ
ของลาไส้ และโรคตดิ เชอื้ และปรสิตอน่ื ๆในกลมุ่ ผู้ป่วยใน ระบบหายใจส่วนบนติเชอื้ เฉียบพลัน,โรคเรอ้ื รงั ของระบบ
จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2549-2560 หายใจสว่ นลา่ ง และไข้หวดั ใหญ่ ปี 2549-2560

อัตราตอ่ แสน วณั โรค 200 อัตราตอ่ แสน ตับอกั เสบจากเช้ือไวรสั
350 ไข้เลอื ดออก มาลาเรยี
300
250 พ.ศ. 150
200
150 100
100
50 50

0

0 พ.ศ.

รูปที่ 11 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ด้วยวัณโรค และโรค รปู ที่ 12 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ดว้ ยตบั อักเสบจากเชื้อ
ไข้เลอื ดออก ในกลมุ่ ผู้ป่วยในจังหวดั สุพรรณบรุ ี ไวรสั มาลาเรีย ไข้หวัดใหญ่และเอชไอวีในกล่มุ ผู้ป่วยใน
ปี 2549 – 2560 จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี 2549–2560

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 23

สถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยกลมุ่ โรคทต่ี ้องเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยา

การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี 10 ลาดับแรก
ของในปี พ.ศ.2560 ได้แก่ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, Influenza, Food Poisoning, Hand foot
mouth disease, D.H.F Total, Chickenpox, H.conjunctivitis และ Hepatitis B ตามลาดับ จากการ
พิจารณา 10 ลาดบั โรคทางระบาดวทิ ยา พบวา่ โรคอจุ จาระร่วง มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุดอย่างต่อเนื่อง
เป็นลาดับ 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 – 2560 และในปี พ.ศ.2560 Hepatitis B มีการระบาดเพ่ิมขึ้น โดยมีอัตราป่วย
เทา่ กับ 36.46 ต่อแสนประชากร (ตารางที่ 16)

ตารางที่ 16 จ่านวนและอัตราป่วย ด้วยโรคที่ตอ้ งเฝา้ ระวังทางระบาดวิทยา 10 ล่าดบั แรก
ของปี พ.ศ. 2559 –2560(ธนั วาคม 2560) จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

ลา โรคเฝา้ ระวังทาง พ.ศ. 2559 ลา โรคเฝ้าระวงั ทาง พ.ศ. 2560
จานวนป่วย อัตราปว่ ย/
ดบั ระบาดวทิ ยา จานวนปว่ ย อตั ราป่วย/ ดบั ระบาดวิทยา
(ราย) แสน
(ราย) แสน
11,301 1,815.35
1. Diarrhoea 9765 1,150.99 1. Diarrhoea
3,639 584.55
2. Pyrexia 3114 367.04 2. Pyrexia
3,086 495.72
3. Pneumonia 1884 222.07 3. Pneumonia
1,752 281.43
4. Food Poisoning 1056 124.47 4. Influenza 952 152.93
687 110.36
5. D.H.F,Total 832 98.07 5. Food Poisoning 566 90.92
553 88.83
6. H.conjunctivitis 697 82.15 6. Hand foot mouth 478 76.78
233 37.43
7. Chickenpox 440 51.86 7. D.H.F,Total

8. D.H.F, 397 46.79 8. Chickenpox

9. Influenza 265 31.24 9. H.conjunctivitis

10. Hand foot mouth 171 20.16 10.. Hepatitis B

ท่ีมา :รายงาน 506 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2559-2560(ธนั วาคม 2560)

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 24

สาเหตกุ ารตาย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2559 มีจานวนประมาณ 7,345 คนต่อปี เม่ือจาแนกตามเพศ
พบว่า จานวนและอัตราตายของเพศชายสูงกว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสัดส่วนเพศชายคิดเป็นร้อยละ 53.53 และเพศ
หญิงคิดเปน็ ร้อยละ 46.47 ของจานวนการตายทัง้ หมด (รปู ที่ 13 - 14)

คน

8,000 พ.ศ.
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000
1,000

-
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
ชำย หญิง รวม

รูปท่ี 13 จานวนการตายของประชากร จาแนกตามเพศ จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2550-2559

อตั รา/แสนปชก.

1200

1000 863.7 855.9 912.7 905.0 913.8 906.0 897.4 933.9 956.0
800 766.3 781.9 769.1 830.2 791.6 803.2 803.4 790.3 837.6 864.4
600 796.2 829.8
400 688.5 704.6 687.3 752.3 684.9 699.3 706.9 690.5
200 ชำย
615.0

หญิง

รวม

0 พ.ศ.

รปู ที่ 14 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร จาแนกตามเพศ จงั หวัดสุพรรณบุรี
ปี พ.ศ. 2550 - 2559

ขอ้ มูลทวั่ ไป Page 25

ตารางที่ 17 จานวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน จาแนกตามกลมุ่ สาเหตุการต

ICD-10 สาเหตกุ ารตาย 2553 2554
จ่านวน อตั รา จ่านวน อัตร
R00-R99 อาการ อาการแสดง และความผดิ ปกติที่พบจากกา 3000 354.67 2866 338.7
ตรวจทางคลินิกและทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารมิไดจ้ าแนกไว้
V01-Y89 สาเหตุภายนอกของการเจ็บปว่ ยและการตาย 690 81.57 740 87.46
C00-D48 มะเรง็ 753 89.02 745 88.06

I00-I99 โรคของระบบไหลเวยี นโลหติ 755 89.26 706 83.45

A00-B99 โรคติดเชอ้ื และโรคปรสติ บางโรค 630 74.48 566 66.90

J00-J98 โรคของระบบหายใจ 538 63.60 466 55.08

K00-K92 โรคของระบบยอ่ ยอาหาร 212 25.06 169 19.98

N00-N98 โรคของระบบสืบพันธแุ์ ละระบบปสั สาวะ 152 17.97 176 20.80

E00-E88 โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลซิ ึม 110 13.00 89 10.52

G00-G98 โรคของระบบประสาท 85 10.05 70 8.27

L00-L98 โรคของผวิ หนังและเนอ้ื เย่ือใต้ผิวหนงั 17 2.01 27 3.19

P00-P96 ภาวะบางอยา่ งทีเ่ รม่ิ ต้นในระยะปรกิ าเนิด 33 3.90 27 3.19

Q00-Q99 รูปผดิ ปกตแิ ตก่ าเนดิ รูปพกิ าร และความผดิ ปกติของ 11 1.30 22 2.60

โครโมโซม

M00-M99 โรคของระบบกล้ามเน้ือ โครงรา่ ง และเนอ้ื เย่ือเกี่ยวพนั 19 2.25 3 0.35

F01-F99 ความผิดปกติทางจิตและพฤตกิ รรม 6 0.71 8 0.95

D50-D89 โรคของเลอื ดและอวัยวะสร้างเลอื ดและความผดิ ปกติ 10 1.18 17 2.01

ของภูมคิ ุ้มกัน

O00-O99 การตง้ั ครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด 1 0.12 0 0.00

7022 830.17 6697 791

ที่มา: ข้อมูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2553- 2559

ขอ้ มลู ทวั่ ไป

ตาย ของประชากรจังหวดั สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2553- 2559 2559
จ่านวน อัตรา
2555 2556 2557 2558 2467 290.73
รา จา่ นวน อัตรา จ่านวน อัตรา จ่านวน อตั รา จา่ นวน อตั รา
75 2839 334.92 2850 336.94 2298 271.68 1991 234.50

6 725 85.53 675 79.80 584 69.04 639 75.26(4) 553 65.17(4)
6 757 89.31 842 99.54 938 110.89 1007 118.60(2) 972 114.55(2)

5 715 84.35 784 92.69 894 105.69 1124 132.38(1) 981 115.61(1)

0 608 71.73 623 73.65 601 71.05 608 71.61(5) 619 72.95(5)
8 506 59.69 573 67.74 606 71.64 627 73.85(3) 732 86.26(3)
8 197 23.24 234 27.66 216 25.54 266 31.33(7) 237 27.93(7)
0 171 20.17 207 24.47 199 23.53 243 28.62(8) 254 29.93(8)
2 120 14.16 132 15.61 165 19.51 274 32.27(6) 177 20.86(6)
7 54 6.37 56 6.62 250 29.56 194 22.85(9) 214 25.22(9)
9 29 3.42 35 4.14 30 3.55) 35 4.12(10) 47 5.54(10)

9 37 4.36 20 2.36 22 2.60 23 2.71 19 2.24

0 21 2.48 17 0.24 20 0.24 18 2.12 12 1.41

5 13 1.53 16 1.89 19 2.25 34 4.00 23 2.71
5 2 0.23 9 1.06 6 0.71 17 2.00 12 1.41
1 11 1.30 8 0.95 11 1.30 10 1.18 23 2.71

0 1 0.11 2 0.24 2 0.24 2 0.24 1 0.12
1.55 6806 802.92 7083 837.38 6861 811.14 7112 840.81 7345 868.12

Page 26

เม่ือพิจารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวัดสุพรรณบุรี ในปีพ.ศ.2559 จะพบว่ากลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการ
ตายท่ีสาคัญโดยไม่นับการตายท่ีระบุว่าชราภาพหรือไม่ทราบสาเหตุ ได้แก่ 1.กลุ่มโรคระบบไหลเวียนโลหิต(Diseases of
the circulatory system) 2.กลุ่มโรคมะเร็ง(Neoplasms) 3.กลุ่มโรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the
respiratory system) 4.กลุ่มการตายจากสาเหตุภายนอก(External causes of morbidity and mortality) และ 5.
กลุม่ โรคตดิ เชือ้ และปรสติ (Certain infectious and parasitic diseases) (ตารางที่ 18, รปู ท่ี 15)

อตั รา/100,000

Diseases of the circulatory system

140 Neoplasms

External causes of morbidity and mortality

120 Certain infectious and parasitic diseases

100 Diseases of the respiratory system

80

60

40

20

0 พ.ศ
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559
.
รปู ท่ี 15 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร กลุ่มโรคทเ่ี ป็นสาเหตุการตายท่สี าคญั โดยไม่นบั การตาย

ทีร่ ะบุวา่ ชราภาพหรอื ไมท่ ราบสาเหตุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2550– 2559

ส่วนสาเหตุการตายทส่ี าคัญของกล่มุ โรคไมต่ ิดตอ่ ทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ 1.Cerebrovascular diseases 2.Ischaemic heart

diseases3.Diabetes mellitus 4.Hypertensive diseases (รปู ที่ 16)

อัตรา/100,000

80 Diabetes mellitus Hypertensive diseases

70 Ischaemic heart diseases Cerebrovascular diseases

60

50

40

30

20

10

0 พ.ศ.
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

รปู ที่ 16 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ที่สาคญั จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี 2550- 255

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 27

การตายดว้ ยกลุ่มโรคเนอ้ื งอกและมะเรง็

เม่ือจาแนกสาเหตุการตายตามกลุ่มโรคเน้ืองอกและมะเร็งพบว่ากลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายที่ตับ และท่อน้าดีในตับ
(Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts) แนวโน้มลดลงในปีพ.ศ.2559 เมื่อเปรียบเทียบกับปี
พ.ศ.2558 กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายท่ีหลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of trachea, bronchus
and lung) แนวโน้มเพ่ิมข้ึนเม่ือเปรียบเทียบระหว่างพ.ศ.2557 ถึงพ.ศ.2559 กลุ่มโรคเนื้องอกร้ายท่ีลาไส้ ลาไส้ใหญ่และ
ทวารหนกั (Malignant neoplasm of colon, rectum and anus)แนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง แต่ลดลงในปีพ.ศ.2558
และเพิ่มข้ึนในปีพ.ศ.2559 และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายท่ีตับอ่อนแนวโน้มลดลงเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีพ.ศ.2557 ถึงพ.ศ.
2559(รูปที่ 17) กลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายที่เต้านม(Malignant neoplasm of breast)และกลุ่มโรคเนื้องอกร้ายท่ีปากมดลูก
(Malignant neoplasm of cervix uteri)แนวโน้มเพิ่มขึ้นมากเม่ือเปรียบเทียบพ.ศ.2550 และกลุ่มโรคเน้ืองอกร้ายเม็ด
เลอื ดขาว(Leukemia) มแี นวโนม้ ท่จี ะเพม่ิ ขึน้ (รูปท่ี 18)

อัตรา/100,000

25 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts

20 Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung
Malignant neoplasm of colon, rectum and anus

15

10

5

0 พ.ศ.
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

รปู ที่ 17 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลุ่มเนอื้ งอกร้ายทตี่ ับ และท่อนา้ ดี
ในตบั และกลุม่ โรคเน้อื งอกร้ายทห่ี ลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด ปี พ.ศ. 2550 – 2559

อัตรา/100,000

7
6 Malignant neoplasm of cervix uteri

Malignant neoplasm of breast
5 Leukaemia

4

3 พ.ศ.
2
1
0

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

รปู ท่ี 18 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยกลมุ่ โรคโรค Malignant neoplasm of
cervix uteri, breast , Leukaemiaจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2550 – 2559

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 28

ทีม่ า: ขอ้ มลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2550 -2559

สาหรับการตายจากสาเหตุภายนอก พบว่าการตายจากอุบัติเหตุจราจร อุบัติเหตุจมน้าและจมน้า การสัมผัสกับควัน
ไฟและเปลวไฟ การตกจากท่ีสูง การทาร้ายตนเอง ยังเป็นสาเหตุการตายที่สาคัญจังหวัดสุพรรณบุรี(รูปที่ 19) ส่วนการตาย
ด้วยกลุ่มโรคติดต่อพบว่าการตายด้วยปอดอักเสบ ปี 2552–2553 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น แต่ในปี 2554-2555 มีแนวโน้มลดลง ปี
2554-2559 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โรคเอดส์มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ปี 2552-2559 วัณโรคในระบบทางเดินหายใจมี
อัตราตายมีแนวโน้มเพ่ิมสงู ขนึ้ ตั้งแต่ ปี 2552–2559 (รูปที่ 20)

อัตรา/100,000 Transport accidents
Assault
40 Falls
Accidental drowning and submersion
20 Exposure to smoke, fire and flames

0

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 พ.ศ.

รปู ท่ี 19 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วย Transport accidents , Assault

,Falls,Accidental drowning and submersion,Exposure to smoke,fire and flame

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2550– 2559

อัตรา/100,000 Respiratory tuberculosis 2559 พ.ศ.
Human immunodeficiency virus [HIV] disease
80 Pneumonia
70
60 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
50
40
30
20
10

0
2550 2551

รูปท่ี 20 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคปอดอกั เสบ เอดส์ และวณั โรคปอด
จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2550 -2559

ที่มา : ข้อมลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2550 –2559

ขอ้ มลู ทว่ั ไป Page 29

สาเหตกุ ารตายทสี่ า่ คัญ จ่าแนกตาม 5 กลุ่มวัย

กลมุ่ เดก็ อายุต่ากว่า 1 ปีในเพศชาย ได้แก่ 1.ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกาเนิด 2.รูปผิดปกติแต่
กาเนิด รุปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม และ 3.ปอดปวม ส่วนในเพศหญิง ได้แก่ 1.ภาวะบางอย่างท่ีเริ่มต้นใน
ระยะปริกาเนดิ 2.รูปผดิ ปกติแตก่ าเนดิ รูปพิการและความผิดปกตขิ องโครโมโซม และ 3.โลหติ จาง

กล่มุ เด็กอายุ 1-4 ปี ในเพศชาย ได้แก่ 1.อุบัติเหตุจากการจมน้า 2.ทุกสาเหตุภายนอกอ่ืน ๆ และ 3.การ
ตดิ เชอ้ื ในกระแสโลหติ สว่ นในเพศหญงิ ไดแ้ ก่ 1.ปอดบวม 2.ภาวะบางอย่างที่เร่ิมต้นในระยะปริกาเนิด และ 3.การติดเช้ือ
ในกระแสโลหติ

กลุ่มเด็กอายุ 5-14 ปี ในเพศชายได้แก่1.อุบัติเหตุจากการขนส่ง2.อุบัติเหตุจากการจมน้าและ 3.ทุก
สาเหตภุ ายนอกอื่น ๆ สว่ นในเพศหญงิ ได้แก่ 1.อุบัตเิ หตจุ ากการขนส่ง 2.โรคปอดบวม และ 3.อบุ ตั ิเหตุจากการจมน้า

กลุ่มอายุ 15-59 ปี ในเพศชาย ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคตับและ 3.โรคหัวใจขาดเลือด ส่วน
ในเพศหญงิ ได้แก่ 1.โรคหลอดเลือดสมอง2.การตดิ เช้อื ในกระแสโลหิต และ 3.มะเรง็ เตา้ นม

กลุ่มอายุ 60 ปีข้ึนไป ในเพศชาย ได้แก่1.โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคปอดบวม และ 3.มะเร็งไม่ระบุ
ตาแหน่ง ในเพศหญิง ได้แก1่ .โรคหลอดเลือดสมอง 2.โรคปอดบวมและ 3.Septicaemia ดังตารางท่ี 18

ตารางท่ี 18 สรปุ สาเหตุการตายจา่ แนกตาม 5 กล่มุ วัยท่ีสา่ คัญ ประจา่ ปี พ.ศ.2554 – 2559

สรปุ ตา่ กวา่ 1ปีเพศชาย สรปุ ตา่ กวา่ 1ปเี พศหญิง

1.Certain conditions orginating in the 1.Certain conditions orginating in the
perinatal period perinatal period
2.Congenital malformations, 2.Congenital malformations,
deformations and chromosoma deformations and chromosomal
abnormalities abnormalities
3.Pneumonia 3.Anaemias

สรปุ 1-4ปี เพศชาย สรุป 1-4ปี เพศหญิง

1.Accidental drowning and submersion 1.Pneumonia

2.All other external causes 2.Certain conditions orginating in the
3.Septicaemia perinatal period
3.Septicaemia

ขอ้ มลู ทวั่ ไป Page 30

สรุป 5-14ปี เพศชาย สรุป 5-14ปี เพศหญงิ
1.Transport accidents 1.Transport accidents
2.Pneumonia
2.Accidental drowning and submersion 3.Accidental drowning and submersion
4.Congenital malformations,
3.All other external causes deformations and chromosomal
4.Congenital malformations, abnormalities
deformations and chromosomal สรปุ 15-59ปีเพศหญิง
abnormalities 1.Cerebrovascular diseases
2.Septicaemia
สรุป 15-59ปเี พศชาย 3.Malignant neoplasm of breast
1.Cerebrovascular diseases 4.Septicaemia
5. .Pneumonia
2.Diseases of the liver 6.Diabetes mellitus
7.Remainder of diseases of the
3.Ischaemic heart diseases genitourinary system
4.Pneumonia 8.Ischaemic heart diseases
5..Intentional self-harm 9.Human immunodeficiency virus [HIV]
6.Malignant neoplasm of liver and disease
intrahepatic bile ducts 10.Diseases of the liver
7.Human immunodeficiency virus [HIV]
disease สรุป 60ปีขน้ึ ไปเพศหญิง
8.Respiratory tuberculosis 1.Cerebrovascular diseases
9.Malignant neoplasm of trachea,
bronchus and lung 2.Pneumonia
10.Septicaemia 3.Septicaemia
4.Remainder of malignant neoplasms
สรปุ 60ปขี ้ึนไปเพศชาย 5.Diabetes mellitus
1.Cerebrovascular diseases 6.Remainder of diseases of the
genitourinary system
2.Pneumonia
Page 31
3.Remainder of malignant neoplasms

4.Ischaemic heart diseases
5.Chronic lower respiratory diseases
6.Hypertensive diseases
7.Diabetes mellitus

ขอ้ มลู ทว่ั ไป

สรุป 60ปีขึ้นไปเพศชาย สรุป 60ปขี ึ้นไปเพศหญงิ

8.Remainder of diseases of the 7.Hypertensive diseases
genitourinary system 8.Remainder of diseases of the nervous
9.Malignant neoplasm of trachea, System
bronchus and lung 9.Ischaemic heart diseases
10.Malignant neoplasm of liver and 10.Malignant neoplasm of trachea,
intrahepatic bile ducts bronchus and lung

ที่มา : ข้อมลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2554 –2559

ขอ้ มูลทว่ั ไป Page 32

P&P Excellence

แผนงานที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนไทยทุกกล่มุ วัย
กลุ่มสตรีและเด็ก

การส่งเสริมสขุ ภาพและปูองกันโรคสู่ความเป็นเลิศ (P&P Excellence) เป็นหนึ่งในแผนยทุธศาสตร์ชาติระยะ 20
ปี ด้านสาธารณสุข โดยมีเปูาหมายเพ่ือให้ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน กรมอนามัยได้มี
การขับเคล่ือนแผนยทุ ธศาสตร์ส่งเสริมสขุ ภาพและปอู งกนั โรคสู่ความเป็นเลิศ (Promotion and Prevention Excellence
Strategic Plan Forum) โดยมีเปูาหมายสาคัญคือ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วน
ร่วม เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย โดยเริ่มจากกลุ่มสตรีและเด็ก เน้นการส่งเสริมสุขภาพมารดา
และบุตรตง้ั แตร่ ะยะก่อนตงั้ ครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอด เน่ืองจากเป็นจุดเริ่มต้นท่ีสาคัญต่อการให้กาเนิดทารกท่ี
มีคุณภาพ สมบูรณ์ท้ังด้านร่างกายและสติปัญญา การต้ังครรภ์ของสตรีเป็นภาวะท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ท้ังด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทาให้หญิงต้ังครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวล ดังนั้นจึงจาเป็นท่ีหญิง
ต้งั ครรภต์ ้องเรียนรู้เกยี่ วกับการดแู ลตนเองและทารกในครรภ์ การเปลยี่ นแปลงของร่างกายตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด
และระยะหลังคลอด การฝึกการหายใจเพื่อลดความเจ็บปวดขณะคลอด เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการคลอด รวมทั้งเตรียม
รับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ สามารถดูแลตนเองภายหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง และเลี้ยงดูบุตรด้วยน้านมที่
เป่ียมด้วยคณุ คา่ ทางโภชนาการ พรอ้ มดว้ ยความรัก ความอบอุ่น เปูาหมายสูงสุด คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ซ่ีงกลวิธีที่
จะบรรลุเปูาหมายดังกล่าว สถานบริการทุกแห่งต้องให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ว่าจะเป็น
การเตรียมความพร้อมของคู่แต่งงานใหม่ในชุมชนซ่ึงถือเป็นการให้บริการก่อนการตั้งครรภ์ มาตรฐาน ANC คุณภาพ การ
ประเมนิ ภาวะเส่ยี งของมารดาขณะตั้งครรภ์ ใหค้ วามรู้และดูแลด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกาลัง
กาย และการพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงท้ังด้านด้าน
ร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมในการรองรับบทบาทหน้าท่ี และภาพลักษณ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้ยังมีมาตรฐาน
LR คุณภาพซึ่งให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ต้ังแต่เร่ิมมีน้าเดินหรือเจ็บครรภ์คลอด จนถึงการดูแลหลังคลอดในชุมชน เพื่อ
ปูองกันปัญหามารดา/ทารกเสียชีวิต หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กมีความพร้อมทางร่างกาย และจิตใจ
สามารถเจริญเติบโตตามวัย และมีพัฒนาการท่ีสมวัยต่อไป สาหรับปีงบประมาณ ๒๕60 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
สุพรรณบรุ ีไดจ้ ดั ทาโครงการพัฒนาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพคนไทยกลมุ่ สตรีและเด็กปฐมวัยจงั หวดั สุพรรณบุรี ปี 2560 โดย
มกี ิจกรรม ดงั น้ี

1. การอบรมเรื่องการคัดกรองครรภ์เส่ียงอย่างมีประสิทธิภาพและการดูแลต่อเนื่องในชุมชนให้แก่ผู้รับผิดชอบ
งานอนามัยแม่และเด็กระดับโรงพยาบาล และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุกอาเภอ จานวน ๘๒ คน
เพ่อื เฝูาระวงั ความเสี่ยงในพนื้ ทีแ่ ละจดั การความเส่ียงเปน็ รายบุคคลตั้งแตต่ ั้งครรภจ์ นถึงหลังคลอด 42 วนั

2. การประชุมทมี ประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กระดับจังหวัดและหน่วยงานท่ีรับการประเมิน จานวน
30 คน

3. การประเมินมาตรฐานงานอนามยั แม่และเด็กในโรงพยาบาล ๒ แห่ง โดยทมี ประเมนิ ฯ ระดบั จงั หวดั
4. การประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาล ๒ แหง่ โดยทมี ประเมนิ ฯ ระดับเขต
5. การประเมนิ มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 10 อาเภอ อาเภอ

ละ 1 แห่ง รวม 10 แห่ง
6. การประเมนิ มาตรฐาน ANC LR WCC คุณภาพในโรงพยาบาลชุมชน 8 แห่ง
7. การประชุมคณะทางาน MCH Board ระดบั จงั หวัด จานวน 3 คร้งั
8. การประชุมกรรมการ MCH Manager ระดับจังหวดั จานวน 4 คร้งั
9. การสอบสวนการตายมารดา 1 ครง้ั
10. การติดตามผลงานตามตวั ช้วี ดั และคืนกลับขอ้ มูลไปยงั พื้นที่ทกุ ไตรมาส
ผลลัพธก์ ารดาเนินงาน
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2560 (รายงาน HDC) อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12
สัปดาห์ จานวนหญิงต้ังครรภ์ที่มาคลอด 4,841 ราย ฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ จานวน 3,275 ราย ร้อยละ 67.65
(เปูาหมายร้อยละ 60) อัตราการฝากครรภค์ รบ 5 คร้ัง ตามเกณฑ์ จานวนหญิงคลอดทั้งหมด 4,697 ราย ได้รับการดูแลก่อน
คลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 2,567 ราย รอ้ ยละ 54.65 (เปาู หมาย ร้อยละ 60) หญิงต้ังครรภ์ทุกรายได้รับการคัดกรองภาวะ
เส่ียงและพบภาวะเส่ียง ร้อยละ 50.60 (เปูาหมาย ร้อยละ 25) การได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน จานวนหญิงตั้งครรภ์มารับ
บรกิ าร 7,705 ราย จานวนหญิงตั้งครรภ์ทไ่ี ด้รบั ยาเม็ดเสริมไอโอดีน จานวน 6,442 ราย ร้อยละ 83.61 เยี่ยมหลังคลอดครบ
3 ครง้ั ตามเกณฑ์ จานวนหญิงที่คลอดในเขตรับผิดชอบ จานวน 4,697 ราย จานวนหญิงไทยท่ีรับการดูแลหลังคลอด 3,449
ราย ร้อยละ 73.43 (เปูาหมายร้อยละ 65) เด็กเกิดมีชีพ (รายงาน HDC) จานวน 4,784 ราย เป็นทารกแรกเกิดน้าหนักน้อย
กว่า 2,500 กรัม จานวน 335 ราย ร้อยละ 7 (เปูาหมาย ร้อยละ 7) อัตราตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน จานวน
24 ราย อัตรา 3.25 : 1,000 , (ไมเ่ กิน 5: 1,000 การเกิดท้ังหมด) ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน (รายงานแม่และเด็กไทย) จานวน
119 ราย อัตรา 13.32 : 1,000 (ไม่เกิน 25: 1,000 การเกิดมีชีพ) มารดาเสียชีวิต 1 ราย จากสาเหตุตกเลือดหลังคลอด
อัตราสว่ นมารดาตาย 14.32 : การเกิดมชี ีพแสนคน (ไมเ่ กนิ 15 ต่อการเกิดมชี พี แสนคน) มารดาหลังคลอด จานวน 6,957
ราย ตกเลือดหลังคลอด จานวน 115 ราย ร้อยละ 1.65 (ไม่เกิ นร้อยละ 5 ) ภาวะโลหิตจางในหญิงต้ังครรภ์
(Hematocrit<33%) จากการเจาะเลือดหญงิ ตั้งครรภ์ท่ีมาฝากครรภ์ครัง้ แรก จานวน 6,934 ราย พบภาวะโลหิตจาง 1,234
ราย รอ้ ยละ 17.80 (ไม่เกินร้อยละ 20) คร้ังที่ 2 จานวน 849 ราย ร้อยละ 12.24 หญิงต้ังครรภ์ท่ีขาดสารไอโอดีน (ระดับ
ไอโอดนี ในปสั สาวะ < 150 ไมโครกรัม/ลิตร ในหญงิ ต้งั ครรภท์ ี่มาฝากครรภค์ รงั้ แรก รอ้ ยละ 66 (ไมเ่ กนิ ร้อยละ 50)
การคัดกรองความเสีย่ งโรคธาลัสซีเมียในหญิงตง้ั ครรภ์ มกี ารคดั กรองหญิงต้ังครรภ์รายใหม่ทม่ี าฝากครรภ์จานวน
5,952 ราย ตรวจคดั กรอง OF/MCV/ MCH/ DCIP จานวน 5,952 ราย ร้อยละ 100 (ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80) หญงิ ตัง้ ครรภ์ท่ี
มีผลคัดกรองผิดปกติ ร้อยละ ๓4.07 คู่สมรสเสี่ยงธาลัสซีเมยี ได้รับการตรวจคัดกรอง จานวน รอ้ ยละ ๗4.06 สามีพบผล
Positive รอ้ ยละ 35.49 มีคู่สมรสเสยี่ งส่งตรวจ Hb Typing รอ้ ยละ 97.20 คสู่ มรสเสี่ยงได้รบั การส่งตรวจ DNA analysis

(PCR 1 และ PCRβ) 97 คู่ รอ้ ยละ 21.46 ค่สู มรสเสยี่ งท่ีมโี อกาสใหก้ าเนิดบตุ รที่เป็นโรคธาลัสซเี มยี ชนิดรนุ แรง 15 คู่
รอ้ ยละ 15.46 ยุตกิ ารตง้ั ครรภ์ 2 คู่ ร้อยละ 13.33 จากสาเหตุ Hb Bart’s Hydrops Fetalis 1 ราย , Thalassemia /

Hb. E ผล PND affected fetus 1 ราย) ภาวะ Down syndrome มีแม่อยใู่ นเกณฑเ์ สี่ยง จานวน 652 ราย ร้อยละ ๑๑.
13 ได้รับการให้คาปรกึ ษาทุกรายคดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 พบ Trisomy ค่ทู ่ี ๒๓ จานวน ๑ ราย ถกู ส่งต่อมาจากตา่ งจงั หวัด ได้
ส่งตอ่ ไป รพ.ศริ ิราช แพทย์ใหต้ งั้ ครรภต์ อ่ แลว้ ค่อยเลือกเพศภายหลัง

การปอู งกนั การถา่ ยทอดเช้อื เอชไอวจี ากแมส่ ู่ลกู (รายงาน PHIMS) หญงิ คลอดท้ังหมดจานวน 7,019 ราย ฝาก
ครรภ์ 6,955 ราย ผลเลอื ด เอช ไอ วี บวก 40 ราย ไมฝ่ ากครรภ์ 65 ราย ผลเลอื ด เอช ไอ วี บวก จานวน 3 ราย ไดต้ รวจ
CD4 จานวน 38 ราย ไม่ได้ตรวจ CD4 จานวน 5 ราย ไดร้ ับยาต้านไวรัสสตู ร HAART เมอื่ มีอาการหรือ CD4 เข้าเกณฑ์การ
รกั ษา จานวน 30 ราย ได้รับยาตา้ นไวรัส สูตร HAART เมื่อยงั ไม่เขา้ เกณฑ์การรกั ษา/ไม่ทราบผล CD4 จานวน 10 ราย
ได้รบั ยาสตู รอ่นื ๆ ระยะต้ังครรภ/์ หรอื ระยะคลอด 1 ราย ไม่ไดร้ บั ยา 2 ราย เด็กเกดิ มชี ีพ 43 ราย ได้รับยาทุกราย เป็นยา
AZT อย่างเดียว 29 ราย ไดร้ ับยาต้านไวรัสท่ีมีฤทธิ์สงู (HARRT) 14 ราย พบการถา่ ยทอดเชื้อจากมารดาสูบ่ ตุ ร 1 ราย คดิ
เปน็ ร้อยละ 2.33 จากสาเหตุมารดาต้ังครรภ์ปกปิดไมม่ าฝากครรภ์ และมาคลอดฉุกเฉิน บุตรได้รับการรักษาและติดตาม
อยา่ งต่อเนอื่ ง การตรวจซฟิ ิลสิ หญงิ คลอดท้ังหมด 7,019 ราย ผลซฟิ ิลสิ (VDRL) บวก 11 ราย ผลซิฟิลสิ (VDRL) ลบ
7,008 ราย มารดาและบตุ รได้รับการรกั ษาซฟิ ลิ ิสและตดิ ตามอยา่ งตอ่ เน่ืองทุกราย

ผลงานการดาเนนิ งานตามข้อมลู อนามยั แม่และเด็กปี 2554-2560 เปรียบเทยี บเปูาหมาย (รายงาน แมแ่ ละ
เดก็ ไทย) ตามตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 1 ขอ้ มลู อนามยั แม่และเดก็ ปี 2556 -2560 เปรียบเทียบเปูาหมาย

ตัวชี้วดั KPI เปา้ หมาย 2556 ผลการดาเนินงาน 2560
23.87 2557 2558 2559 14.32
กล่มุ หญิงตั้งครรภ์ (รายงานแมแ่ ละเด็กไทย) 99.42 100
19.76 12.41 0.00 53.81 74.06
1.อตั ราตายมารดา ไมเ่ กนิ 18:แสนการเกดิ มี
100 94.77 100
ชพี
77.87 86.36 81.36
2.หญิงตั้งครรภร์ ายใหม่ทีไ่ ดร้ บั การตรวจคัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

กรองธาลัสซเี มยี

3.คู่สมรสเสยี่ งธาลัสซเี มยี ได้ตรวจคัดกรอง ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 72

4.หญิงมีครรภ์มภี าวะโลหิตจางจากการ ไมเ่ กินร้อยละ 20 17.52 29.20 16.46 17.49 17.80
ขาดธาตเุ หล็ก (ครั้งที่ 1) ไมเ่ กินร้อยละ 10 7.38 8.78 7.65 12.57 12.24
5.หญงิ มีครรภ์มภี าวะโลหิตจางจากการ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 50 71.00 60.07 59.0 66.0 รอผล
ขาดธาตุเหล็ก (คร้งั ท่ี 2)
6.สดั สว่ นหญงิ ต้งั ครรภ์มีไอโอดีนใน
ปสั สาวะนอ้ ยกว่า 150 ไมโครกรมั /ลิตร

ตัวชวี้ ัด KPI เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน
2556 2557 2558 2559 2560
กลมุ่ หญิงต้ังครรภ์ (รายงาน HDC)
7.หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ ับยาเมด็ เสรมิ ไอโอดนี รอ้ ยละ 100 74.62 77.93 77.82 81.69 83.72

8. อตั ราหญงิ ตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรก ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 51.47 56.34 53.70 57.70 68.39

กอ่ น หรืออายคุ รรภ์เท่ากับ 12 สปั ดาห์

9. อตั ราการฝากครรภ์ครบ 5 ครัง้ ตาม ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 51.47 50.01 45.64 39.06 55.75

เกณฑ์

10. หญงิ หลงั คลอดและทารกไดร้ ับการ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 65 50.17 74.84 65.57 78.30 74.65

เยี่ยมหลงั คลอดครบ 3 ครง้ั ตามเกณฑ์

กลุ่มเด็ก (รายงานแมแ่ ละเด็กไทย)

1. อตั ราการเกดิ ไรช้ ีพ ไมเ่ กิน 16.7 : พันการเกิด 4.06 4.48 3.29 3.90 4.99

ทั้งหมด

2. อัตราตายปรกิ าเนิดของทารก ไม่เกิน 9 : พนั การเกิด 5.58 6.45 4.17 6.32 2.57

ท้ังหมด

3. ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ไม่เกิน 25 : พนั การเกดิ 14.32 15.01 11.50 16.01 13.32

มีชีพ

กลมุ่ เด็ก (รายงาน HDC)

4.ทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม ไมเ่ กนิ ร้อยละ 7 9.62 8.83 9.66 8.43 7.02

๕. อัตราตายทารกอายนุ อ้ ยกวา่ หรือเทา่ กบั ไมเ่ กนิ 5 : พนั การเกดิ NA NA 3.61 3.05 3.25
28 วนั ทัง้ หมด 0.69 0.61 0.57 0.60 0.61
โรคจากภาวะครรภเ์ ส่ียง (รายงาน PHIMS)
1.อัตราการหญิงต้งั ครรภต์ ิดเชื้อเอชไอวี ไม่เกินรอ้ ยละ 0.65

2.หญิงตง้ั ครรภ์ท่ีตดิ เช้อื เอช ไอ วี ไดร้ ับยา ร้อยละ 98 98.28 100 95.45 100 95.35

ตา้ นไวรัสเอดส์

3.อัตราถา่ ยทอดเชอื้ เอช ไอ วี จากแม่สูล่ กู ไม่เกิน รอ้ ยละ 2 1.72 4 2.27 0 2.33
(1/58) (2/50) (1/44) (0/44) (1/43)

จังหวัดสุพรรณบุรี ได้ประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง ใน

ปีงบประมาณ 2551-2560 ซึ่งโรงพยาบาลของรัฐทุกแหง่ ผ่านเกณฑม์ าตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดับทอง และผ่าน

เกณฑ์ประเมนิ ซ้าระดบั ทองทุก 3 ปี จานวน 10 แหง่ ผ่านเกณฑ์ฯ ระดบั ทองท้งั 10 แหง่ ดงั นี้

ตางรางที่ 2 แสดงผลการประเมนิ โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ระดบั ทอง และผ่าน
การประเมนิ ซา้

สถานบริการ ผลการดาเนินงานผ่าน ผ่านเกณฑ์ประเมินซ้า
เกณฑ์ ระดับทอง (แหง่ )

1. โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60
100001001

2.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชองคท์ ่ี 17 1 0 0 0 0 1 0 0 1

3.โรงพยาบาลดา่ นช้าง 01010010 0
0
4.โรงพยาบาลบางปลาม้า 00101001 0
0
5.โรงพยาบาลศรีประจันต์ 01010010 0
0
6.โรงพยาบาลดอนเจดยี ์ 01010010 0
0
7.โรงพยาบาลเดิมบางนางบวช 00101001 2

8.โรงพยาบาลสามชุก 01010010

9.โรงพยาลอูท่ อง 00101001

10.โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ 00101001

รวมทัง้ จงั หวดั 24444244

ตางรางที่ 3 ผลการประเมนิ ANC/LR/WCC คณุ ภาพ ในสถานบริการจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี 2557 – 2560

สถานบริการ ANC (ปี) ผ่านเกณฑค์ ณุ ภาพการประเมนิ WCC (ปี)
LR (ป)ี

1.โรงพยาบาลศนู ยเ์ จ้าพระยายมราช 57 58 59 60 57 58 59 60 57 58 59 60
  
2.โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชองค์ที่ 17    

3.โรงพยาบาลด่านช้าง 

4.โรงพยาบาลบางปลามา้  

5.โรงพยาบาลศรปี ระจนั ต์  
6.โรงพยาบาลดอนเจดยี ์  
7.โรงพยาบาลเดมิ บางนางบวช  

8.โรงพยาบาลสามชกุ  

9.โรงพยาลอ่ทู อง  
10.โรงพยาบาลหนองหญา้ ไซ  
รวมทัง้ จังหวดั  

ตางรางที่ 4 ผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามยั แม่และเด็ก ระดับจังหวดั ของโรงพยาบาล
สง่ เสริมสุขภาพตาบล ในจังหวดั สุพรรณบรุ ี ตง้ั แต่ ปี 2555 – 2560

ลาดับ อาเภอ ตาบล รพ.สต. ปี พ.ศ. ประเมนิ ผ่าน
55 56 57 58 59 60
1 เมอื ง พิหารแดง พิหารแดง 
บ้านโพธิต์ ะวันออก
สพุ รรณบรุ ี บา้ นโพธิ์ 

ลาดบั อาเภอ ตาบล รพ.สต. ปี พ.ศ. ประเมนิ ผา่ น
55 56 57 58 59 60
สนามคลี สนามคลี


สวนแตง สวนแตง 

2 สองพน่ี ้อง บอ่ สุพรรณ บา้ นหวั วงั 

ต้นตาล ตน้ ตาล 

บางตาเถร บางตาเถร 

หนองบ่อ หนองกระทู้ 
 
3 ดา่ นช้าง หนองมะค่าโมง หนองมะค่าโมง 
 
องคพ์ ระ บา้ นทุ่งมะกอก 
 
วงั คนั บ้านทับผงึ้ นอ้ ย  

4 ดอนเจดีย์ ไร่รถ ไรร่ ถ  

สระกระโจม สระกระโจม

หนองสาหรา่ ย หนองสาหรา่ ย 

ทะเลบก ทะเลบก 

5 ศรีประจันต์ วังยาง บา้ นลาดปลาเคา้ 

บ้านกรา่ ง บา้ นกรา่ ง 

บางงาม บางงาม

6 สามชุก กระเสียว กระเสียว

หนองสะเดา หนองสะเดา

ยา่ นยาว ย่านยาว

7 อู่ทอง จรเขส้ ามพัน จรเขส้ ามพนั

พลบั พลาไชย พลบั พลาไชย

หนองโอ่ง หนองโอง่

8 หนองหญา้ ไซ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์

หนองขาม หนองขาม

ทัพหลวง ทพั หลวง

แจงงาม บ้านวงั นา้ โจน

9 บางปลาม้า จรเข้ใหญ่ จรเข้ใหญ่

วัดดาว วัดดาว

บางใหญ่ บางใหญ่

วงั นา้ เย็น วังนา้ เย็น 

10 เดิมบางนาง หัวเขา หวั เขา 

บวช เดมิ บาง เดมิ บาง

ลาดบั อาเภอ ตาบล รพ.สต. ปี พ.ศ. ประเมินผา่ น
55 56 57 58 59 60
หนองกระทุ่ม หนองกระทมุ่


ตารางที่ 5 จานวนมารดาตายจาแนกตามสาเหตกุ ารตาย ปี 2556 - 2560

ขอ้ มูลมารดาตาย หนว่ ยนบั ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60
อตั รามารดาตายต่อทารกเกิดมีชีพ 100,000 คน 23.87 12.40 0.00 53.60 14.32
จานวนทารกเกดิ มชี ีพทงั้ หมด 6,981
จานวนมารดาตาย คน 8,379 8,063 7,916 7,462
สาเหตุ Direct caused คน 2 1 0 4 1
- Postpartum Hemorrhage
- Amniotic Fluid Embolism คน 2 1
- Eclampsia คน
สาเหตุ Indirect caused คน 1 1
- Infection Influenza
- AVM คน 1
- CHF with PIH c Severe Pulmonary edema คน 1
คน 1

ปัญหาเชิงระบบในการเข้าถึงบริการฝากครรภ์ แม้ว่าสถานบริการทุกแห่งได้เปิดให้บริการตามนโยบายฝากท้องทุกท่ี
ฟรีทุกสิทธิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลสามารถให้บริการฝากครรภ์ได้ตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ แต่ยังพบหญิง
ต้ังครรภ์ที่ปกปิด ไม่เห็นความสาคัญของการฝากครรภ์ ไม่มีเวลามาฝากครรภ์ ไม่อยากรอนานเน่ืองจากคลินิก ANC ใน
โรงพยาบาลแออัด ซึ่งสถานบริการในพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ได้แก้ปัญหาโดยการรับฝากครรภ์เชิงรุก แต่ก็ยังพบหญิงตั้งครรภ์ฝาก
ครรภ์ล่าช้า ไม่มาฝากครรภ์ร้อยละ 0.93 และมักพบภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้ ทางจังหวัดสุพรรณบุรีได้มี
นโยบายในการติดตามผลงานการคัดกรอง เฝูาระวังครรภ์เส่ียงและจัดการความเสี่ยงเป็นรายบุคคล เริ่มตั้งแต่ต้ังครรภ์จนถึง
หลังคลอด 42 วัน โดยมีการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในชุมชนและในสถานบริการ มีการเชื่อมโยงและคืนข้อมูลกลับพื้นท่ี
ผ่านช่องทางต่าง ๆ และการส่งต่อข้อมูลระหว่างสถานบริการแต่ละระดับ ทาให้การจัดการครรภ์เส่ียงได้ผลเป็นที่น่าพึง
พอใจ สามารถลดอตั รามารดาตายจนบรรลตุ วั ชวี้ ดั

ตารางที่ 6 สรุปผลการคัดกรองสขุ ภาพทารกแรกเกดิ ทีม่ ีระดับ THS ≥25 mU/L จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2560
(เดือน ต.ค.59 - ก.ย.60)

สถานบริการ จานวนทีส่ ง่ ทารกแรกเกิด ทารกแรกเกิดทผี่ ลการตรวจยนื ยัน
ตรวจท้ังหมด ทีม่ รี ะดับ THS ≥25 mU/L ระดับ THS ≥25 mU/L

จานวน อตั ราต่อพัน จานวน อัตราต่อพัน

ตลุ าคม 2558 648 0 0 0 0

พฤศจิกายน 2558 717 0 0 0 0

ธันวาคม 2558 690 2 2.90 1 1.45

มกราคม 2559 650 3 4.62 0 0

กุมภาพนั ธ์ 2559 433 3 6.93 1 2.31

มีนาคม 2559 697 3 4.30 0 0

เมษายน 2559 598 1 1.67 0 0

พฤษภาคม 2559 675 2 2.96 1 1.48

มถิ นุ ายน 2559 568 3 5.28 0 0

กรกฎาคม 2559 605 2 3.31 2 3.31

สงิ หาคม 2559 743 5 6.73 0 0

กันยายน 2559 682 3 4.40 0 0

รวม 7,706 27 3.50 5 0.65

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี มีเดก็ ท่ไี ด้รบั การเจาะสน้ เท้าทั้งหมด 7,706 ราย ผล Serum TSH ในซีรั่มครง้ั แรกผดิ ปกติ

(มากกว่า 25 mU/L) จานวน 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.35 เรยี กตรวจซา้ พบว่า Serum TSH มากกว่า 25 mU/L จานวน

5 ราย คดิ เป็นร้อยละ 0.06 แพทย์วนิ จิ ฉัยเปน็ congenital Hypothyroid ได้รับการดแู ลและติดตามอย่างต่อเน่ือง เด็ก

ทกุ รายมีพัฒนาการสมวัย ซง่ึ ภาวะพร่องธยั รอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิดสอดคล้องกบั สถานการณ์มารดาท่ีมภี าวะขาด

สารไอโอดนี ของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี 2560 ซง่ึ เก็บตัวอยา่ งปสั สาวะหญิงต้งั ครรภ์เม่ือมาฝากครรภค์ รงั้ แรกเพ่ือตรวจหาสาร

ไอโอดนี และพบว่าสารไอโอดีนในปัสสาวะตา่ กวา่ 150 ug/L ถึงร้อยละ 66 ซึ่งเกินเกณฑ์ (เปาู หมาย ไมเ่ กินรอ้ ยละ 50) ดงั

ตารางท่ี ๗ จงึ ส่งผลใหท้ ารกมีภาวะพ่องธยั รอยด์ฮอร์โมนดังกลา่ ว

ตารางที่ 7 ระดบั สารไอโอดีนในปสั สาวะหญิงต้งั ครรภท์ ่ีมาฝากครรภ์คร้ังแรกเกบ็ ใน ปี 2559 จาแนกรายอาเภอ

โรงพยาบาล จานวน median µg/L Range µg/L < 150 µg/L > 150 µg/L
ตวั อย่าง
เจา้ พระยายมราช 126.225 10.934 - 301.180 จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
สมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท์ ่ี 17 80 122.590 7.690 - 1049.960
อู่ทอง 60 108.475 14.203 - 989.500 47 58.80 33 41.30
ดา่ นช้าง 40 112.060 11.028 - 862.480 38 63.30 22 36.70
สามชุก 40 107.315 25.325 - 207.010 26 65.00 14 35.00
20 26 65.00 14 35.00
17 85.00 3 15.00

เดิมบางนางบวช 15 103.290 45.050 - 167.330 12 80.00 3 20.00
ศรปี ระจันต์ 15 146.780 14.230 - 644.900 8 53.30 7 46.70
ดอนเจดยี ์ 10 102.358 47.265 - 338.640 6 60.00 4 40.00
บางปลาม้า 10 125.160 59.016 - 218.800 8 80.00 2 20.00

หนองหญา้ ไซ 10 64.384 45.505 - 141.190 10 100.00 0 0.00

ท้งั จังหวัด 300 118.095 7.690 - 1049.960 198 66.00 102 34.00

จากปัญหาการขาดสารไอโอดีนของหญิงตง้ั ครรภท์ ่ีมผี ลกระทบต่อบตุ รจังหวดั สุพรรณบรุ ี จงึ ไดร้ ณรงคเ์ ร่อื งการ

บรโิ ภคสารไอโอดีนในชุมชนอยา่ งต่อเนื่องในทุกกลุ่มวัยเพ่ือให้หญิงวยั เจริญพนั ธุม์ สี ารไอโอดีนเพียงพอแกบ่ ุตรในครรภ์ และ

สง่ เสรมิ ใหห้ ญงิ ตัง้ ครรภบ์ ริโภคอาหารท่ีมไี อโอดนี และยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีนอย่างสม่าเสมอจนถึงหลงั คลอด 6 เดือน อนั จะ

นาไปสู่การมีสติปัญญาดี มีคุณภาพชีวติ และมีสขุ ภาวะในทกุ กลุ่มวยั ต่อไป

งานเด็กปฐมวยั
การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนตัง้ แต่ในชว่ งต้งั ครรภ์ วัยเด็ก วัย เจริญพันธุ์ วัยบรรลุนิติภาวะ วัยชรา และผู้

พิการ โดยส่งเสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนใหเ้ ตบิ โตเปน็ พลเมอื งทม่ี ี คณุ ภาพ ดว้ ยการพัฒนาเด็กต้ังแต่อยู่ในครรภ์มารดา
เด็กแรกเกิดเดก็ ก่อนวัยเรียนและเยาวชนทุกช่วงวัย ให้มี ความรู้คู่จริยธรรม ให้ความสาคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วง
6 เดือนแรกสนับสนุนให้มีศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนวัย เรียนที่มีคุณภาพ และในส่วนเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้

สามารถมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ท่ีจะอยู่อาศัยในศูนย์เด็กเล็กคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ ครูผู้ดูแลเด็ก และ

เพ่ือนๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริ ม พัฒนาการ และ

ความคดิ สร้างสรรคอ์ ย่างเหมาะสม

สาหรับสถานการณ์ด้านโภชนาการเกี่ยวกับดูแลเด็กปฐมวัยในเขตพื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรีที่ผ่านมาในปี 2560
เด็ก 0-5 ปี มีรูปร่างดีสูงสมส่วน (โปรแกรม HDC) (ข้อมูลด้านโภชนาการ เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี เขตบริการสุขภาพท่ี 5
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2560) เด็ก 0-5 ปี ชง่ั น้าหนักเด็กท้ังหมด 159,802 คน ได้รับการประเมิน 79,049 คน

มีเด็กสูงดีสมสว่ น ร้อยละ 49.47 และจากรายงาน HDC ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉล่ียท่ีอายุ 5

ปี เขตบริการสขุ ภาพที่ 5 จังหวัดสุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2560 จานวนเด็กทั้งหมด 159,802 คน ค่าเฉล่ียเด็กชายส่วนสูง

เฉล่ีย 110.40 (คา่ เฉลยี่ 113) เดก็ หญิงส่วนสงู เฉลี่ย 109.71 (ค่าเฉล่ีย 112) มีภาวะผอม จานวน 7,576 คน ร้อยละ 4.74

มีภาวะอว้ น จานวน 4,770 คน ร้อยละ 2.98 มภี าวะเตีย้ จานวน 9,714 คน ร้อยละ 6.08

การคัดกรองพัฒนาการสมวัยในช่วง 4 กลุ่มอายุ (รง. Manual) คือ 9,18,30,42 เดือน มีเด็กจานวน 23,656 คน
ได้รับการประเมิน 20,753 คน ร้อยละ 87.73 มีพัฒนาการสมวัย จานวน 19,831 คน ร้อยละ 95.56 พบเด็กท่ีมีปัญหา
พัฒนาการสงสัยล้าช้า จานวน 3,914 คน ร้อยละ 18.86 เด็กที่สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 100
เด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม 79. 97 คน เด็กท่ีสงสัยล่าช้าในรับการกระตุ้นซ้า 1 เดือน จานวน 3,048 คน

สมวัยหลังไดร้ ับการกระตนุ้ ร้อยละ 77.87 ไม่สมวัยหลังกระตุ้น 1 เดือน ร้อยละ 2.10 ส่งเสริมพัฒนาการต่อด้วย TEDA4I

(3 เดือน) จานวน 82 คน ร้อยละ 2.10 เด็กที่ขาดการติดตามและติดตามไม่ได้ จานวน 784 คน ร้อยละ 3.77 สาเหตุจาก

ภาระงานของเจ้าหนา้ ที่มมี ากทาให้การติดตามตรวจพัฒนาการเด็กขาดความสม่าเสมอ ไม่ต่อเนื่องและไม่ครอบคลุม อีกท้ัง

อาชีพส่วนใหญ่ของคนในชุมชนเป็นอาชีพรับจ้าง พ่อแม่ไม่มีเวลาท่ีจะพาเด็กมารับการตรวจพัฒนาการตามท่ีเจ้าหน้าท่ีนัด
หมาย

เดก็ แรกเกดิ - ต่ากวา่ 6 เดือน กินนมแม่อยา่ งเดยี ว จานวน 10,090 คน เดก็ แรกเกดิ – ตา่ กวา่ 6 เดอื นท่ีแมห่ รือผู้
เล้ยี งดไู ด้ถูกสอบถามท้ังหมดในช่วงเวลาเดยี วกนั จานวน 8,855 คน รอ้ ยละ 87.76

เด็กอายุ 9 -12 เดอื น ไดร้ ับการเจาะเลือดเพ่ือหาภาวะซดี ในเดก็ ปฐมวยั พบวา่ มีเด็กทัง้ หมด จานวน 4,105 คน

ได้รบั การเจาะเลอื ด จานวน 3,035 คน คิดเป็นร้อยละ 73.93 พบเด็กทม่ี ีภาวะซีด จานวน 281 คน คดิ เปน็ เดก็ ท่ีมีภาวะซีด

รอ้ ยละ 9.26 (เกณฑ์ไม่เกิน ร้อยละ 10)

เด็กแรกเกดิ ที่เปน็ กลุม่ เสี่ยง จาก Low Birth weight (LBW) และ Birth Asphyxia (BA) ต่อการเกดิ พัฒนาการ

สมวัย ดังน้ี

เดก็ ที่เกิดภาวะ Low Birth weight (LBW) จานวน 670 คน ได้รับการประเมินพัฒนาการสมวัย จานวน 566 คน

ร้อยละ 84.48 สมวัย จานวน 260 คน ร้อยละ 45.93 ไม่สมวัย ร้อยละ 4.36 ท่ีเหลือ ยังไม่ครบอายุการประเมิน จานวน

25 คน ร้อยละ 4.41 และติดตามไมไ่ ด้ จานวน จานวน 20 คน รอ้ ยละ 3.53

เด็กทเี่ กดิ ภาวะ Birth Asphyxia (BA) จานวน 100 คน ไดร้ ับการประเมนิ พฒั นาการสมวัย จานวน 92 คน ร้อยละ

92.00 สมวัย จานวน 73 คน ร้อยละ 79.30 ไม่สมวัย จานวน 15 คน ร้อยละ 16.30 ท่ีเหลือ ยังไม่ครบอายุการประเมิน

จานวน 5คน รอ้ ยละ 5.43 และตดิ ตามไมไ่ ด้ จานวน จานวน 15 คน รอ้ ยละ 4.35

ตารางที่ 1 ข้อมูลอนามยั แม่และเดก็ ปี 2559-2560 เปูาหมาย ปี งบประมาณ
(รายงาน HDC)ตวั ชีว้ ัด KPI 2559 2560

เด็กปฐมวัย

1. เดก็ 0-5 ปี มพี ัฒนาสมวัย >รอ้ ยละ 85 87.35 95.56

ผลงาน (คน) 4,682 20,753

เปูาหมาย (คน) 5,360 23,656

2. เดก็ 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการ 9,18,30,42 ไม่น้อยกว่า 80 21.04 87.73

เดอื น ผลงาน (คน) 5,360 20,753

เปูาหมาย (คน) 25,474 23,656

3. เดก็ 0-5 ปี มีพฒั นาการสงสัยล่าชา้ >ร้อยละ 20 24.91 18.86

ผลงาน (คน) 1,335 3,914

เปูาหมาย (คน) 5,360 20,753

4. เดก็ 0-5 ปี มสี ว่ นสงู ระดบั ดีและรูปรา่ งสมสว่ น >รอ้ ยละ 51 48.47 49.42

ผลงาน (คน) 82,662 79,049

เปาู หมาย (คน) 170,553 159,802

5. เด็ก 0-5 ปี มภี าวะเต้ยี ไม่เกินร้อยละ 10 6.65 6.08

ผลงาน (คน) 11,346 9,714

เปูาหมาย (คน) 170,553 159,802

6. เด็ก 0-5 ปี มีภาวะผอม ไมเ่ กินร้อยละ 5 4.78 4.74

ผลงาน (คน) 8,150 7,576

เปูาหมาย (คน) 170,553 159,802

7. เดก็ 0-5 ปี มีภาวะอว้ น ไม่เกนิ ร้อยละ 10 3.05 2.98

ผลงาน (คน) 5,204 4,770

เปูาหมาย (คน) 170,553 159,802

ตวั ชวี้ ดั KPI เปาู หมาย ปี งบประมาณ
2559 2560

8. ทารกแรกเกิด-6 เดือน กินนมแม่อย่างเดยี ว 6 เดอื น >รอ้ ยละ 30 86.37 87.76

ผลงาน (คน) 8,8893 8,855

เปูาหมาย (คน) 10,251 10,090

9. การประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์คลินิก รอ้ ยละ 80 100 100

WCC คุณภาพ ผลงาน (แห่ง) 10 10

เปาู หมาย (แห่ง) 10 10

จังหวัดสุพรรณบุรีได้มีการประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานคลินิกสุขภาพเด็กดี(WCC คุณภาพ)

โรงพยาบาลในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี จานวน ๑๐ แห่ง ผา่ นการประเมินคุณภาพ ทั้ง ๑๐ แห่ง

ตารางท่ี 2 แสดงผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับจังหวัด ตาบลพฒั นาการดีเร่ิมท่นี มแม่ ปี 2560

ลาดบั อาเภอ ตาบล ผา่ นเกณฑ์ ศพด. ผ่านเกณฑ์ สรปุ การ

พฒั นาการดี ประเมนิ ประเมิน ประเมนิ

ตาบล

1 อ.เมืองฯ ต.ดอนโพธท์ิ อง ผา่ น ศพด.ปรีชาคุณวุฒิ ไม่ผา่ น ไมผ่ า่ น

2 อ.อทู่ อง ต.ดอนมะเกลือ ผา่ น ศพด.ดอนมะเกลอื ผ่าน ผ่าน

3. อ.สองพน่ี ้อง ต.บ้านกุ่ม ผ่าน ศพด.รางบวั ทอง ผา่ น ผา่ น

4 อ.ดอนเจดีย์ ต.ดอนเจดีย์ ผ่าน ศพด.บา้ นหนองกะดวง ผ่าน ผา่ น

5 อ.บางปลาม้า ต.มะขามล้ม ผา่ น ศพด.สขุ เกษม ผา่ น ผา่ น

6 อ.ดา่ นช้าง ต.นิคมกระเสยี ว ผ่าน ศพด.หนองกระดี่ ผ่าน ผ่าน

7 อ.เดิมบางนางบวช ต.หนองกระทมุ่ ผา่ น ศพด.บา้ นหนองปอ ผา่ น ผ่าน

8 อ.หนองหญา้ ไซ ต.หนองราชวัตร ผา่ น ศพด.บา้ นมาบพะยอม ผ่าน ผ่าน

9 อ.สามชุก ต.บา้ นสระ ผา่ น ศพด.บ้านสระ ผ่าน ผ่าน

10 อ.ศรีประจนั ต์ ต.วงั นา้ ซบั ผ่าน ศพด.บ้านห้วยเจริญ ผ่าน ผ่าน

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับจังหวดั ตาบลเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมสว่ น ฟันไม่ผุ ปี 2560

ลาดบั อาเภอ ตาบลสูงดีสมส่วน คะแนนท่ไี ด้(%) ผา่ นเกณฑป์ ระเมินตาบลทมี่ ีการ

ดาเนินงานครบท้ัง 3 ข้อ

1 เดมิ บางนางบวช ต.หนองกระทุม่ 95.30% ระดบั 4 Very Good

2 ด่านช้าง ต.นิคมกระเสยี ว 92.73% ระดบั 4 Very Good

3 อทู่ อง ต.กระจัน 91.28% ระดับ 4 Very Good

4 เมืองฯ ต.ดอนโพธ์ทิ อง 91.00% ระดบั 4 Very Good

5 สองพ่ีน้อง ตาบลสองพ่นี ้อง 90.19% ระดับ 4 Very Good

6 ดอนเจดยี ์ ต.ดอนเจดยี ์ 89.59% ระดบั 3 Good

7 บางปลาม้า ต.โคกคราม 89.27% ระดบั 3 Good

8 ศรีประจนั ต์ ต.วงั น้าซับ 88.98% ระดบั 3 Good

9 อ.สามชุก ต.กระเสียว 88.98% ระดับ 3 Good

10 อ.หนองหญา้ ไซ ต.หนองราชวัตร 83.23% ระดับ 3 Good

หมายเหตุ ตาบลที่มีการดาเนินงานครบท้ัง 3 ข้อ และมีการดาเนินงานตามกิจกรรมเม่ือเทียบกับกิจกรรมทั้งหมดคิดเป็น

รอ้ ยละ ซงึ่ จะแบง่ เปน็ 6 ระดบั ดังน้ี

ไมผ่ า่ น มีการดาเนนิ งานตามกจิ กรรม นอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กับรอ้ ยละ 50

ระดบั 1 Basic มกี ารดาเนนิ งานตามกจิ กรรม รอ้ ยละ 51-65

ระดับ 2 Fair มกี ารดาเนินงานตามกิจกรรม ร้อยละ 66-79

ระดับ 3 Good มกี ารดาเนนิ งานตามกจิ กรรม ร้อยละ 80-89

ระดับ 4 Very Good มีการดาเนินงานตามกิจกรรม รอ้ ยละ 90-99

ระดบั 5 Excellence มีการดาเนนิ งานตามกิจกรรม ร้อยละ 100

ตารางที่ 4 แสดงผลการดาเนินงานการคัดกรองพัฒนาการเดก็ ตามกลมุ่ อายุ 9,18,30,42 เดอื น ปี 2560

ลาดบั สถานบรกิ าร เปาู หมาย คดั กรอง ร้อยละ
1 เมืองสุพรรณบรุ ี 4,335 4,001 93.8
2 เดมิ บางนางบวช 1,811 1,579 94.87
3 ดา่ นช้าง 2,352 1,989 94.92
4 บางปลาม้า 1,947 1,752 95.72
5 ศรีประจนั ต์ 1,630 1,185 91.65
6 ดอนเจดีย์ 1,354 1,134 95.15

ลาดบั สถานบริการ เปาู หมาย คดั กรอง ร้อยละ
7 สองพนี่ ้อง 3,903 3,538 97.74
8 สามชกุ 1,243 1,184 98.48
9 อทู่ อง 3,643 3,140 96.85
10 หนองหญา้ ไซ 1,438 1,251 94.72
รวม 23,656 20,753 95.56

แผนภูมิท่ี 1 ผลการดาเนนิ งานการคัดกรองพฒั นาการเด็กตามกลุม่ อายุ 9,18,30,42 เดือน ปี 2560

100 97.74 98.48 96.85

98 93.8 94.87 94.92 95.72 95.15 94.72 95.56
96

94 91.65
92

90

88

เเดิมืมองบาุสงพนรารงณบวุบ ีรช
่ดาน ้ชาง

ศบีราปงรปะลจัาน้ม ์าต
สดอองนพเี่จ้นดีอ ์ยง

สาม ุชก
หนองห ู่อ้ญาทไอซง

ภาพรวม

ตารางที่ 5 แสดงผลการคัดกรองพัฒนาการสงสัยลา่ ช้า เด็กตามกลมุ่ อายุ 9,18,30,42 เดือน ปี 2560

ลาดบั สถานบริการ เปูาหมาย ประเมิน รอ้ ยละ
1 เมืองสุพรรณบุรี 4,001 854 21.34
2 เดิมบางนางบวช 1,579 288 18.24
3 ดา่ นช้าง 1,989 416 20.92
4 บางปลาม้า 1,752 357 20.38
5 ศรปี ระจันต์ 1,185 289 24.39
6 ดอนเจดีย์ 1,134 225 19.84
7 สองพี่น้อง 3,538 560 15.83
8 สามชุก 1,184 260 21.96
9 อทู่ อง 3,140 482 15.35
10 หนองหญ้าไซ 1,251 183 14.63
รวม 20,753 18.86
3,914

แผนภมู ทิ ่ี 2 ผลการคดั กรองพัฒนาการสงสัยล่าช้า เด็กตามกลุ่มอายุ 9,18,30,42 เดือน ปี 2560

30

25 24.39 21.96

20 21.34 20.92 20.38 19.84 18.86

18.24 15.83

15 15.35 14.63

10

5

0 เดิมบาง ด่านชา้ ง บางปลามา้ ศรีประจนั ต์ ดอนเจดีย์ สองพ่ีนอ้ ง สามชุก อูท่ อง หนองหญา้ ไซ ภาพรวม
เมือง

ตารางที่ 6 แสดงผลการดาเนินการเด็กมีพฒั นาการสมวยั ตามกลมุ่ อายุ 9,18,30,42 เดือน ปี 2560

ลาดับ สถานบริการ เปา้ หมาย ประเมนิ ร้อยละ

1 เมอื งสพุ รรณบุรี 3,907 3,634 93.01

2 เดิมบางนางบวช 1,506 1,407 93.43

3 ด่านชา้ ง 1,960 1,856 94.69

4 บางปลามา้ 1,676 1,581 94.33

5 ศรปี ระจันต์ 1,150 1,048 91.13

6 ดอนเจดยี ์ 1,119 1,064 95.08

7 สองพน่ี อ้ ง 3,377 3,290 97.42

8 สามชกุ 1,123 1,098 97.77

9 อู่ทอง 2,987 2,877 96.32

10 หนองหญา้ ไซ 1,156 1,085 93.86

รวม 19,961 18,940 94.89

แผนภูมทิ ี่ 3 ผลการดาเนินการเด็กมีพฒั นาการสมวัย ตามกล่มุ อายุ 9,18,30,42 เดือน ปี 2560

100 97.42 97.77
98 96.32
95.08 93.86 94.89
96 93.01 93.43 94.69 94.33
94
92 91.13

90

88

86

เเดิมืมอบงาสุงพนรารงบณวบุรชี
ด่านช ้าง

บางปลาม ้า
ศรีประ ัจนต์
ดอนเจดีย์
สองพี่น ้อง

สามชุก
หนองหอู่ญ ้าทไองซ

ภาพรวม

ตารางที่ 7 แสดงผลการดาเนินการคัดกรองภาวะโภชนาการเดก็ 0-5 ปี สงู ดสี มส่วน ปี 2560

ลาดับ สถานบรกิ าร เป้าหมาย ประเมนิ รอ้ ยละ
1 เมอื งสุพรรณบรุ ี 28,780 22,319 77.55
2 เดิมบางนางบวช 12,260 9,981 81.41
3 ดา่ นชา้ ง 15,347 12,703 82.77
4 บางปลามา้ 12,855 10,082 78.43
5 ศรีประจันต์ 10,962 8,768 79.99
6 ดอนเจดยี ์ 14,220 10,456 73.53
7 สองพนี่ อ้ ง 22,104 14,517 65.68
8 สามชกุ 10,060 8,559 85.08
9 อูท่ อง 20,940 17,193 82.11
10 หนองหญ้าไซ 10,070 7,789 77.35
รวม 117,276 91,948 78.40

แผนภูมทิ ี่ 4 ผลการดาเนนิ การคดั กรองภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี สงู ดสี มสว่ น ปี 2560

100 77.55 81.41 82.77 78.43 79.99 73.53 65.68 85.08 82.11 77.35 78.4
80
60 เดิมบาง ดา่ นชา้ ง บางปลามา้ ศรีประจนั ต์ ดอนเจดยี ์ สองพนี่ อ้ ง สามชุก อทู่ อง หนองหญา้ ไซ รวม
40
20
0

เมอื ง

ตารางท่ี 8 แสดงผลการดาเนินภาวะโภชนาการ เด็ก 0-5 ปี สงู ดสี มส่วน ปี 2560

ลาดับ สถานบริการ เปูาหมาย ประเมนิ รอ้ ยละ
1 เมอื งสุพรรณบุรี 33,440 16,119 48.2
2 เดิมบางนางบวช 12,168 6,288 51.68
3 ด่านช้าง 14,933 6,862 45.95

4 บางปลามา้ 12,547 6,222 49.59

5 ศรีประจันต์ 10,395 4,588 44.14

6 ดอนเจดยี ์ 8,187 4,288 52.38

7 สองพน่ี อ้ ง 24,204 11,554 47.74

8 สามชกุ 10,533 5,670 53.83

9 อทู่ อง 23,791 12,892 54.19

10 หนองหญ้าไซ 9,604 4,566 47.54

รวม 159,802 79,049 49.47

แผนภมู ทิ ่ี 5 ผลการดาเนินการคดั กรองภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี สงู ดสี มส่วน ปี 2560

60 48.2 51.68 45.95 49.59 44.14 52.38 47.74 53.83 54.19 47.54 49.47
50

40

30

20

10

0

เเดิมืมอบงาสุงพนรารงบณวบุรชี
ด่านช ้าง

บางปลาม ้า
ศรีประ ัจนต์
ดอนเจดีย์
สองพี่น ้อง

สามชุก
หนองหอู่ญ ้าทไองซ

ภาพรวม

ตารางที่ 9 แสดงผลการดาเนินภาวะโภชนาการ เด็ก 0-5 ปี เดก็ มีภาวะเตี้ย ปี 2560

ลาดบั สถานบริการ เปูาหมาย ประเมนิ รอ้ ยละ
5.96
1 เมอื งสุพรรณบรุ ี 8,187 488 9.54
6.21
2 เดิมบางนางบวช 14,933 1,425 10.18
5.63
3 ด่านช้าง 12,547 779 2.92
5.78
4 บางปลาม้า 10,395 1,058 4.48
4.57
5 ศรปี ระจันต์ 24,204 1,362 6.33
6.08
6 ดอนเจดีย์ 10,533 308

7 สองพน่ี ้อง 9,604 555

8 สามชุก 23,791 1,066

9 อู่ทอง 12,168 556

10 หนองหญ้าไซ 33,440 2,117

รวม 159,802 9,714

แผนภมู ิท่ี 6 ผลการดาเนินภาวะโภชนาการ เด็ก 0-5 ปี เด็กมีภาวะเต้ยี ปี 2560

12

10 9.54 10.18
8

6 5.96 6.21 5.63 5.78 6.33 6.08
4 4.48 4.57

2 2.92

0

ตารางท่ี 10

แสดงผลการดาเนนิ ภาวะโภชนาการ เดก็ 0-5 ปี เดก็ มีภาวะผอม ปี 2560

ลาดบั สถานบรกิ าร เปูาหมาย ประเมนิ ร้อยละ
6.57
1 เมืองสุพรรณบรุ ี 33,440 2,197 3.53
5.52
2 เดมิ บางนางบวช 12,168 429 5.04
3.53
3 ด่านชา้ ง 14,933 824 4.28
5.31
4 บางปลาม้า 12,547 632 4.13
2.94
5 ศรปี ระจันต์ 10,395 367 3.73
4.74
6 ดอนเจดีย์ 8,187 350

7 สองพน่ี ้อง 24,204 1,285

8 สามชุก 10,533 435

9 อู่ทอง 23,791 699

10 หนองหญ้าไซ 9,604 358

รวม 159,802 7,576

แผนภมู ทิ ่ี 7 ผลการดาเนนิ ภาวะโภชนาการ เดก็ 0-5 ปี เด็กมีภาวะผอม ปี 2560

7 6.57
6
5 5.52 5.04 5.31 4.74
4
3.53 3.53 4.28 4.13 3.73

2.94

3

2

1

0

เเดิมืมอบงาสุงพนรารงบณวบุรชี
ด่านช ้าง

บางปลาม้า
ศร ีประจ ันต ์
ดอนเจดีย์
สองพ่ีน้อง

สาม ุชก
หนองห อู่ญ้าทไองซ

ภาพรวม

ตารางที่ 11 แสดงผลการดาเนนิ ภาวะโภชนาการ เดก็ 0-5 ปี เด็กมภี าวะอว้ น ปี 2560

ลาดับ สถานบริการ เปาู หมาย ประเมนิ รอ้ ยละ

1 เมืองสุพรรณบรุ ี 33,440 1,149 3.44

2 เดิมบางนางบวช 12,168 315 2.59

3 ด่านช้าง 14,933 569 3.81

4 บางปลาม้า 12,547 501 3.99

5 ศรปี ระจนั ต์ 10,395 313 3.01

ลาดบั สถานบรกิ าร เปูาหมาย ประเมนิ ร้อยละ

6 ดอนเจดยี ์ 8,187 205 2.5

7 สองพน่ี ้อง 24,204 596 2.46

8 สามชุก 10,533 303 2.88

9 อทู่ อง 23,791 568 2.39

10 หนองหญา้ ไซ 9,604 251 2.61

รวม 159,802 4,770 2.98

แผนภูมทิ ี่ 8 แสดงผลการดาเนนิ ภาวะโภชนาการ เดก็ 0-5 ปี เด็กมภี าวะอว้ น ปี 2560

4.5 3.81 3.99
4 3.44
3.5 3.01 2.5 2.46 2.88 2.39 2.61 2.98
3 2.59

2.5
2
1.5
1
0.5
0

เมือง
เดิมบาง
ด่านช ้าง
บางปลาม ้า
ศรีประ ัจนต์
ดอนเจดีย์
สองพ่ีน ้อง
สามชุก
หนองหอู่ญ ้าทไองซ
ภาพรวม

ปญั หาที่พบในการดาเนนิ งาน
พ่อแม่ ผปู้ กครอง ไมก่ ระตุน้ พัฒนาการเด็กไมเ่ ห็นความสาคัญเร่ือง โภชนาการเด็กตามวัย การช่ังนา้ หนัก

/วดั ส่วนสูงเดก็ ไมจ่ ัดอาหารกลางวนั ตามหลัก โภชนาการในบางแหง่ เจา้ หนา้ ทรี่ ะดับตาบลบางแห่งยงั ขาดความชานาญ
การประเมิน DSPM/DAIM (กรณเี ด็กในพน้ื ที่ไม่ไป รพ.) กากบั คุณภาพใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ คน้ หาและมีการบันทึกเดก็ ที่
สงสยั ลา่ ช้าและเด็กที่ไม่มาตามนัด ศนู ยเ์ ด็กเล็กไมผ่ า่ นเกณฑเ์ ป็นส่วนใหญ่ ไม่มคี ูม่ ือ DSPM ครูไมม่ ีทักษะในการฝึกกระตุ้น
พัฒนาการเด็กและการชั่ง น้าหนกั /วัดสว่ นสงู เดก็ ไม่จัดอาหารกลางวนั ตามหลกั โภชนาการในบางแห่ง การค้นหาเดก็
และ การติดตามเด็กลา่ ช้ายังไมค่ รอบคลมุ ปัญหา EPI การดสู ุขภาพช่องปาก และการดูแล EQ เด็ก 3-5 ปี เจา้ หน้าท่ีบาง
แหง่ ยงั ไม่เขา้ ใจถึงวิธีการคยี ์ข้อมูล /การคืนข้อมูล การบันทกึ ข้อมลู ให้ครบ ถูกต้อง รวดเร็วทนั เวลา ผลงานต่ากว่าความ
เป็นจรงิ ผปู้ ฏิบัตไิ ม่ทราบผลงานของตน
แนวทางในการในการดูแลสง่ เสริมเด็ก 0-5 ปี

ตามปญั หาดงั กลา่ ว เพ่อื ให้เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาการ เจริญเติบโตเตม็ ตามศักยภาพ ตลอดจนพัฒนาศกั ยภาพครู
ผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพอนามัยอย่างรอบด้าน รวมถึงพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เพ่อื การพัฒนาเดก็ กลมุ่ เดก็ ปฐมวัย สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรีจึงได้ดาเนินงานโครงการ
พัฒนาและสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพคนไทยกล่มุ สตรีและเด็กปฐมวัยจังหวัดสุพรรณบุรี ปี เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการ
ที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กท่ีมีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มี
พัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายท่ีมีความผิดปกติมาก ค้นหาเด็กพัฒนาการไม่สมวัยในชุมชนเชิงรุก


Click to View FlipBook Version