The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Course at Ban Na Doi School ,2021

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ban Na Doy School, 2021-04-25 14:25:27

Course at Ban Na Doi School

Course at Ban Na Doi School ,2021

Keywords: School course

แผหนลกักาสรตู จรดั สกถาารนเรศยี กึ นษราู้
กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
โรงเรียนบา้ นนาดอย
(ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๔]
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑

โรงเรยี นบา้ นนาดอย

สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต ๒
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



ประกาศโรงเรียนบา้ นนาดอย
เรื่อง ให้ใช้หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564)

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
---------------------------------------

โรงเรียนบ้านนาดอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต ๒
ได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และเอกสารประกอบหลกั สูตรขน้ึ เพ่ือกำหนดใชเ้ ปน็ กรอบ
และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี นบา้ นนาดอย ปีการศกึ ษา 2564

โดยได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านนาดอย ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน เม่ือวนั ท่ี 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จึงประกาศให้ใชห้ ลักสูตรโรงเรยี นต้ังแต่บัดนเี้ ปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายสุวทิ ย์ นบุ ุญไชย) (นายพรี ะยุทธ์ สขุ สมบรู ณ์)
ประธานกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านนาดอย

โรงเรยี นบา้ นนาดอย



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตาม
คำส่ังกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคำสัง่ สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัด
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔
โดยให้โรงเรียนใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ให้ใช้ในทุกชั้นปี โดยกำหนดให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของ
ประเทศ กำหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรเู้ ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้
มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมทักษะวิชาการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต มีคุณภาพและมีทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียน
บ้านนาดอย จึงได้ทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านนาดอยพุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ในกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา และออกแบบการจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
และประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการ
จัดทำหลักสูตรการเรียนการสอน ในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ี
ชดั เจน เพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสสู่ ังคมคุณภาพ มคี วามรู้อย่างแท้จริง และ
มีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังที่ต้องการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดบั
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ ช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับชาติจนกระทั่งถึงระดับสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทีก่ ำหนดไว้
ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน รวมท้งั เป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผู้เรียนทกุ กล่มุ เปา้ หมายในระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

การจดั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน จะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายทค่ี าดหวงั ได้ ทุกฝ่ายท่ี
เกย่ี วข้องทงั้ ระดับชาติ ชุมชน และทุกคนต้องร่วมกนั รบั ผดิ ชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง
วางแผนดำเนนิ การ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสูค่ ุณภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ทกี่ ำหนดไว้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

ข หนา้

สารบัญ ก

เรือ่ ง ๑
ประกาศโรงเรยี นบ้านนาดอย เร่อื ง ใหใ้ ชห้ ลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ ๒
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐) ๓
คำนำ ๔
สารบัญ ๖
ความนำ ๑๖
วสิ ัยทศั น์ ๑๗
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๓๖
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๕๘
โครงสรา้ งเวลาเรยี น ๙๐
คำอธิบายรายวชิ า ๑๒๕
๑๔๐
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๑๖๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ๑๗๖
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๙๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๙๕
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑๙๖
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ๑๙๘
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ๒๐๐
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๒๐๒
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๒๐๒
กจิ กรรมแนะแนว ๒๐๕
กจิ กรรมนักเรียน ๒๐๘
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๒๐๙
ระดับการศึกษา
สอื่ การเรียนรู้
การวัดและการประเมินผล
เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
ภาคผนวก

คำส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔



หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ให้เป็น

หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ เม่ือวนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่มิ ใชใ้ นโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและ
โรงเรียนที่มีความพร้อม ในปีการศึกษา ๒๕๕๒ และเริ่มใช้ในโรงเรียนทั่วไปในปีการศึกษา ๒๕๕๓ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ดำเนินการติดตามผลการนำ
หลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ ผลจากการศึกษา พบวา่ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มขี อ้ ดใี นหลายประการ เช่น กำหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจน มีความยืดหยุ่น
เพียงพอใหส้ ถานศึกษาบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาได้ สำหรบั ปญั หาท่พี บส่วนใหญ่เกิดจากการนำหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สกู่ ารปฏบิ ตั ิในสถานศึกษาและในหอ้ งเรียน

นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับ ทิศทาง กรอบยุทธศาสตร์ แผนแม่บท และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกบั
การพัฒนาประเทศ พบว่า ประเด็นสำคัญเพื่อแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่าง แท้จริง คือ การ
เตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุน
มนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงวัย เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะที่
สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จำเป็น ต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษ ที่ ๒๑ ของคนในแต่
ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของกำลังคนด้าน วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่จะ
เปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ดังนั้น การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม
กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเป็นนโยบายสำคัญและ เร่งด่วนให้มีการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งสาระเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดำเนินการปรับปรุง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ และสาระเทคโนโลยี และมอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานดำเนินการ
ปรับปรงุ สาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การปรบั ปรุงหลักสูตรคร้ังนี้
ยังคงหลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ
ประกอบด้วย ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม
ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การ งานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ
แตม่ งุ่ เน้นการปรบั ปรุงเน้ือหาให้มีความทันสมยั ทนั ต่อการ เปลี่ยนแปลงและความเจรญิ ก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง
ๆ คำนึงถงึ การสง่ เสริมให้ผ้เู รียน มีทกั ษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสำคัญ เตรียมผู้เรียนให้มี
ความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะ ประกอบอาชีพ เมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่
สูงขึ้น สามารถแข่งขันและอยรู่ ่วมกบั ประชาคมโลกได้

กรอบในการปรับปรุง คือ ให้มีองคค์ วามร้ทู ่ีเป็นสากลเทยี บเท่านานาชาติ ปรับ มาตรฐานการ เรียนรู้และ
ตวั ชวี้ ัดใหม้ คี วามชดั เจน ลดความซำ้ ซอ้ น สอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และระหว่างกลุ่ม

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔



สาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เข้าด้วยกัน จัด
เรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชัน้ ตามพัฒนาการแตล่ ะช่วงวัย ให้มีความ เชื่อมโยงความรู้และ
กระบวนการเรียนรู้ โดยให้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติทีส่ ่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนพัฒนาความคิด สาระสำคัญของการปรับปรงุ
หลักสตู ร มีดังน้ี

๑. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์
๑.๑ จดั กลุ่มความร้ใู หม่และนำทักษะกระบวนการไปบรู ณาการกบั ตัวชวี้ ดั เน้นใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การคิด

วเิ คราะห์ คิดแกป้ ัญหา และมีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑
๑.๒ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัดสำหรับผูเ้ รียนทุกคน ทเ่ี ป็นพื้นฐานทีเ่ กี่ยวข้องกับ

ชีวิตประจำวนั และเป็นพน้ื ฐานสำคัญในการศกึ ษาต่อระดับทสี่ ูงขึ้น
๑.๓ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๓ กำหนดตวั ชี้วัด เปน็ รายปี เพอื่ เป็นแนวทางให้ สถานศึกษาจัด

ตามลำดับการเรยี นรู้ อยา่ งไรกต็ ามสถานศกึ ษาสามารถพจิ ารณาปรับเลอื่ นไหลระหว่างปีได้ตาม ความเหมาะสม
๒. กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ไดเ้ พ่ิมสาระเทคโนโลยี ซึง่ ประกอบดว้ ยการ ออกแบบและ

เทคโนโลยี และวทิ ยาการคำนวณ ทง้ั น้ีเพ่ือเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ตามแนวคดิ สะเตม็ ศกึ ษา

๓. สาระภูมิศาสตร์ ซง่ึ เป็นสาระหน่ึงในกลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ไดป้ รับ
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั ใหม้ ีความชดั เจน สอดคล้องกบั พัฒนาการตามชว่ งวยั มีองค์ความรู้ท่ี เป็นสากล
เพมิ่ ความสามารถ ทักษะ และกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ทช่ี ัดเจนข้นึ

วิสัยทัศน์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทกุ คน ซ่ึงเป็นกำลังของชาติใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ที่มี

ความสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สำนกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยดึ ม่นั ในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มคี วามรู้และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้งเจตคติ
ทีจ่ ำเป็นตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญบนพนื้ ฐาน
ความเชอื่ ว่าทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลกั การ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย มีหลกั การท่ีสำคัญ ดังน้ี
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้

เปน็ เปา้ หมายสำหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทย
ควบคกู่ บั ความเปน็ สากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ

๔. เปน็ หลักสตู รการศึกษาทม่ี ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทั้งดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรยี น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔



๕. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

ภารกิจและเปา้ หมาย
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รียน เมื่อจบการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน ดงั น้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกำลังกาย
๔. มีความรกั ชาติ มจี ิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวถิ ีชวี ิตและ การปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
๕. มีจติ สำนกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนุรักษแ์ ละพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจติ
สาธารณะทีม่ ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งสง่ิ ทดี่ งี ามในสังคม และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างมคี วามสขุ

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ เนน้ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซ่งึ จะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกิด
สมรรถนะสำคัญ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รองเพอื่ ขจดั และลดปญั หาความ
ขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสารที่มี
ประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่มตี อ่ ตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ สร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ
เก่ียวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสินใจทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔



๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆไปใช้ในการดำเนิน
ชวี ติ ประจำวนั การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนื่อง การทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ ัน
กับการเปล่ียนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่ส่งผลกระทบ
ตอ่ ตนเองและผู้อนื่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆและ
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพ่อื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอยา่ สรา้ งสรรค์ถูกตอ้ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านดอย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ให้สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ใน
ฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ คุณลักษณะท่แี สดงออกถึงการเปน็ พลเมืองดีของชาตแิ ละธำรงไวซ้ ึ่งความ
เปน็ ชาตไิ ทย ศรทั ธา ยดึ มนั่ ในศาสนา และเคารพเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั ริย์

๒. ซื่อสตั ย์สุจรติ คุณลกั ษณะทีแ่ สดงออกถึงการยึดมน่ั ในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเปน็ จริง
ต่อตนเองและผู้อน่ื ท้ังกาย วาจา ใจ

๓. มวี ินยั คุณลักษณะทแี่ สดงออกถงึ การยดึ ม่ันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบยี บข้อบังคับของ
ครอบครวั โรงเรียนและสงั คมเปน็ ปกตวิ สิ ยั ไม่ละเมิดสทิ ธิของผอู้ ืน่

๔. ใฝ่เรียนรู้ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถงึ ความตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรยี น แสวงหาความรจู้ ากแหล่ง
เรียนรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใชส้ ่อื อย่างเหมาะสม

๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง คุณลักษณะท่แี สดงออกถงึ การดำเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มี
คณุ ธรรม มีภูมิคุ้มกนั ในตวั ที่ดี และปรับตวั เพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถงึ ความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำหน้าที่การงาน
ดว้ ยความเพียรพยายาม อดทน เพอื่ ให้งานสำเร็จตามเปา้ หมาย

๗. รกั ความเปน็ ไทย คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงความภูมิใจ เหน็ คณุ คา่ ร่วมอนรุ ักษ์ สืบทอดภมู ปิ ัญญา
ไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

๘. มีจิตสาธารณะ คณุ ลักษณะที่แสดงออกถงึ การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมหรือสถานการณท์ ีก่ ่อให้เกดิ
ประโยชนแ์ ก่ผ้อู ่นื ชุมชน และสงั คม ด้วยความเต็มใจกระตือรือร้น โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔


มาตรฐานการเรยี นรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสมบูรณ์ ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรูโ้ ดยใช้แนวทางของหลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ทีก่ ำหนดใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชพี
๘. ภาษาตา่ งประเทศ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔



โครงสร้างเวลาเรียนโรงเรยี นบา้ นนาดอย
ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา

กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น(ชั่วโมง/ปี)

 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
 รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
คอมพิวเตอร์ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรยี น (เพม่ิ เตมิ ) - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชมุ นุม
๑,๐๔๐ ช่ัวโมง/ปี ๑,๐๔๐ ชว่ั โมง/ปี
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔



โครงสร้างเวลาเรียน ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑
๘๔๐
รายวชิ า/กจิ กรรม ๒๐๐
๒๐๐
รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๒๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๒๐
ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เติม ๑๒๐
ท๑๑๒๐๑ ภาษาไทย ๔๐
ค๑๑๒๐๑ คณิตศาสตร์
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๔๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
▪ กิจกรรมนักเรยี น ๑,๐๔๐

ลกู เสอื /เนตรนารี
ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔



โครงสร้างเวลาเรียน ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ า/กจิ กรรม ๘๔๐
๒๐๐
รายวิชาพืน้ ฐาน ๒๐๐
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑๒๐
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๑๒๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชาเพมิ่ เติม ๔๐
ท๑๒๒๐๑ ภาษาไทย ๔๐
ค๑๒๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ๔๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว
▪ กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐
๔๐
ลกู เสือ/เนตรนารี ๑,๐๔๐
ชมุ นุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔



โครงสร้างเวลาเรียน ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ า/กจิ กรรม ๘๔๐
๒๐๐
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๒๐๐
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑๒๐
ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๒๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เติม ๔๐
ท๑๓๒๐๑ ภาษาไทย ๔๐
ค๑๓๒๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนักเรียน ๔๐
๔๐
ลูกเสือ/เนตรนารี ๑,๐๔๐
ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

หมายเหตุ : กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๐

โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
รายวชิ า/กิจกรรม ๘๔๐
๑๖๐
รายวชิ าพื้นฐาน ๑๖๐
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๒๐
ค๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๑๒๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๘๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐
อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐
ว๑๔๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๑๒๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๔๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนกั เรียน ๔๐
๔๐
ลูกเสอื /เนตรนารี ๑,๐๔๐
ชมุ นมุ
รวมเวลาเรียนท้ังหมด

หมายเหตุ : กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ช่ัวโมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๑

โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลาเรยี น
(ชม./ป)ี
รายวชิ า/กจิ กรรม ๘๔๐
๑๖๐
รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๖๐
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๒๐
ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์
ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๒๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑๒๐
รายวิชาเพ่มิ เติม ๔๐
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐
ว๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๑๒๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๐
▪ กิจกรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนักเรียน ๔๐
๔๐
ลกู เสือ/เนตรนารี ๑,๐๔๐
ชมุ นมุ
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๒ เวลาเรยี น
(ชม./ปี)
โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๘๔๐
๑๖๐
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑๖๐
๑๒๐
รายวชิ า/กจิ กรรม
๘๐
รายวชิ าพ้นื ฐาน ๔๐
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐
ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔๐
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐
ส๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐
ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑๒๐
พ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐
ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๑๒๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชาเพ่มิ เติม
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔๐
ว๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑,๐๔๐
▪ กิจกรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนักเรียน

ลกู เสือ/เนตรนารี
ชมุ นมุ
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชั่วโมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๓

โครงสรา้ งเวลาเรยี นโรงเรยี นบา้ นนาดอย
ระดับมัธยมศกึ ษา

กลุม่ สาระการเรียนรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน ม.๓
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ม.๑ ม.๒ ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.)
คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
เทคโนโลยี ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
ประวัติศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
ศิลปะ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
การงานอาชพี ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก)
รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๐ (๒)
รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ (๑)
ดนตรี ๘๐ (๒) ๘๐ (๒) ๘๐ (๒)
การปอ้ งกันการทุจริต ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ๒๐๐ (๕ นก)
คอมพวิ เตอร์ ๘๐ (๒) ๘๐ (๒)
รวมเวลาเรยี น (เพิ่มเติม) ๔๐
๒๐๐ (๕ นก) ๒๐๐ (๕ นก)
 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๔๐
 กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐
 กจิ กรรมนักเรียน ๑๒๐
- ลูกเสอื เนตรนารี ๔๐ ๔๐
- ชมุ นมุ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชัว่ โมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๔

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนบา้ นนาดอย ระดับช้ันมัธยมศกึ ษา

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น
(หน่วยกติ / (หนว่ ยกิต/
รายวชิ าพื้นฐาน
ชม.) ชม.)
ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑๑(๔๔๐) รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๑(๔๔๐)
ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์
ว ๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ๑.๕ (๖๐) ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๐.๕ (๒๐)
ศ ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ๑.๕ (๖๐)
ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐ (๔๐) พ ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑.๐ (๔๐)
รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๑.๐ (๔๐)
๑.๐ (๔๐) ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชพี ๑.๐ (๔๐)
ศ ๒๑๒๐๑ ดนตรี ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๑๒๐๑ การป้องกันการทุจริต รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๒.๕ (๑๐๐)
ว ๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๒.๕
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (๑๐๐) ศ ๒๑๒๐๒ ดนตรี ๒ (๔๐)
กิจกรรมแนะแนว ๒ (๔๐) ส ๒๑๒๐๒ การป้องกนั การทุจรติ ๐.๕ (๒๐)
กิจกรรมนักเรียน ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๒ (๔๐)
๒ (๔๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
- ลกู เสือ – เนตรนารี ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๖๐
- ชุมนุม ๒๐ กิจกรรมนกั เรียน ๒๐
รวมเวลาเรียนภาค ๑ - ลูกเสือ – เนตรนารี
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด ๒๐ - ชมุ นมุ ๒๐
๒๐ รวมเวลาเรียนภาค ๒ ๒๐
๖๐๐ ๖๐๐
๑,๒๐๐ ชั่วโมง

หมายเหตุ : กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชัว่ โมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๕

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา ระดับช้ันมธั ยมศึกษา

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น
(หนว่ ยกติ / (หน่วยกติ /

ชม.) ชม.)

รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๑(๔๔๐) รายวิชาพ้นื ฐาน ๑๑(๔๔๐)

ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
ค ๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๓ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ๐.๕ (๒๐) ว ๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๐.๕ (๒๐)
ส ๒๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๓ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑.๐ (๔๐) พ ๒๒๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ (๔๐)
ศ ๒๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐)
ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๑.๐ (๔๐)
อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐)
รายวชิ าเพ่มิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวชิ าเพมิ่ เติม ๒.๕ (๑๐๐)
ศ ๒๒๒๐๑ ดนตรี ๒ (๔๐) ศ ๒๒๒๐๒ ดนตรี ๒ (๔๐)
ส ๒๒๒๐๑ การป้องกนั การทจุ รติ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๒๐๒ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๐.๕ (๒๐)
ว ๒๒๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๒ (๔๐) ว ๒๒๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๒ (๔๐)
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
กิจกรรมแนะแนว ๖๐ กิจกรรมแนะแนว ๖๐
กิจกรรมนกั เรียน ๒๐ กจิ กรรมนักเรียน ๒๐
- ลูกเสอื – เนตรนารี
- ลูกเสือ – เนตรนารี ๒๐ - ชุมนุม ๒๐
- ชมุ นุม ๒๐ รวมเวลาเรียนภาค ๒ ๒๐
รวมเวลาเรยี นภาค ๑ ๖๐๐ ๖๐๐
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง

หมายเหตุ : กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ช่วั โมง/ปี (นอกตาราง)

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๑๖

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา ระดับช้ันมัธยมศกึ ษา

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
(หนว่ ยกิต/ (หน่วยกติ /

ชม.) ชม.)

รายวชิ าพื้นฐาน ๑๑(๔๔๐) รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๑(๔๔๐)

ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ๐.๕ (๒๐) ว ๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๐.๕ (๒๐)
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ๑.๕ (๖๐)
ส ๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐)
พ ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ (๔๐) พ ๒๓๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ (๔๐)
ศ ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ (๔๐)
ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๑.๐ (๔๐) ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๑.๐ (๔๐)
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ (๖๐)
๒.๕ (๑๐๐) ๒.๕ (๑๐๐)
รายวิชาเพม่ิ เติม ๒ (๔๐) รายวชิ าเพิม่ เติม ๒ (๔๐)
ศ ๒๓๒๐๑ ดนตรี ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๒๐๒ ดนตรี ๐.๕ (๒๐)

ส ๒๓๒๐๑ การปอ้ งกันการทจุ รติ ๒ (๔๐) ส ๒๓๒๐๒ การป้องกันการทจุ ริต ๒ (๔๐)
๖๐ ๖๐
ว ๒๓๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๒๐ ว ๒๓๒๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๒๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
๒๐ ๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐
กิจกรรมนกั เรียน ๖๐๐ กจิ กรรมนกั เรยี น ๖๐๐
- ลูกเสือ – เนตรนารี - ลกู เสอื – เนตรนารี
- ชุมนมุ - ชมุ นุม

รวมเวลาเรยี นภาค ๑ รวมเวลาเรียนภาค ๒
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ๑,๒๐๐ ชั่วโมง

หมายเหตุ : กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชวั่ โมง/ปี (นอกตาราง)

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๗

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๑๘

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพ่ือนำไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนนิ

ชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอา่ น
สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียน เขียนสือ่ สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ ใน

โอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิ

ปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนำมา

ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๑๙

โครงสร้างหลักสตู ร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา

รายวิชาพน้ื ฐาน

ระดบั ช้นั รหัสวชิ า ชอ่ื รายวิชา เวลาเรียนรายปี
ชน้ั ป.๑ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชนั้ ป.๒ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๕ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ป)ี
ชน้ั ป.๓ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๕ ช่วั โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชั้น ป.๔ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)
ชนั้ ป.๕ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ป)ี
ชน้ั ป.๖ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๔ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)

รายวิชาเพมิ่ เติม รหัสวชิ า ชื่อรายวิชา เวลาเรียนรายปี
ท ๑๑๒๐๑ การอ่านเบื้องต้น ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ (๔๐/ป)ี
ระดบั ช้นั ท ๑๒๒๐๑ การอ่านเขียนสร้างจติ นาการ ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ชัน้ ป.๑ ท ๑๓๒๐๑ การอา่ น การเขียน การพูด ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ชน้ั ป.๒ ในชวี ติ ประจำวัน
ชั้น ป.๓

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

ระดับช้ัน รหัสวชิ า ชือ่ รายวชิ า เวลาเรยี นรายปี
ชนั้ ม.๑ ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ชั้น ม.๒ ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ชั้น ม.๓ ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๐

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหสั วชิ า ท ๑๑๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม
เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอก
ความหมายของเคร่อื งหมายหรือสัญลักษณ์สำคญั ทีม่ ักพบเห็นในชีวติ ประจำวนั มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือ
ดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นสื่อสารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัตติ าม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น
และความรสู้ ึกจากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู พดู ส่อื สารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การดูและการพดู

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เรยี บเรยี งคำเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ ตอ่ คำคลอ้ งจองงา่ ย ๆ

บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึกท่องจำบท
อาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้
ทักษะการฟัง การดแู ละการพดู พูดแสดงความคิดเหน็ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

ตวั ช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ป.๑/๖ ป.๑/๗ ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชีว้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๑

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม

รหัสวิชา ท11201 วชิ า การอ่านเขยี นเบ้อื งต้น กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาตัวพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคำ การแจกลกู และการอ่านคำมาตราตวั สะกด

การแตง่ ประโยคง่ายๆ เพ่อื เป็นพนื้ ฐานในการอ่านและเขยี นภาษาไทยและสามารถใชภ้ าษาไทยได้อย่างถูกต้อง การ

วัดและการประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ

เรียนการสอน การทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ เพื่อให้เกิดทักษะในการใช้ภาษาและสามารถนำไปใช้ใน

ชีวิตประจำวนั เพ่ือการสื่อสารได้ มีความรับผดิ ชอบ รักการทำงาน มีมนุษยสมั พันธ์ และซื่อสัตย์เกิดความตระหนกั

เหน็ คุณค่าของภาษารักความเปน็ ไทย

ผลการเรียนรู้
1. เพือ่ ใหส้ ามารถอา่ นตวั พยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขไทยได้อย่างถูกต้อง
2. เพ่ือให้สามารถเขยี นตวั พยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต์ และตวั เลขไทยได้อย่างประณตี และถูกตอ้ ง
3. เพอื่ ใหส้ ามารถเขยี นสะกดคำและแจกลกู ไดอ้ ย่างถูกต้อง
4. เพอื่ ให้สามารถอ่านคำตามมาตราตวั สะกดได้อย่างถกู ต้อง
5. เพอื่ ให้สามารเขียนประโยคง่ายๆได้อยา่ งถูกต้อง
6. เพ่อื ให้สามารถใชภ้ าษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
รวม 6 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๒๒

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วิชา ท ๑๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและ

ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และ
ปฏิบตั ติ ามคำสง่ั หรือข้อแนะนำ มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้น ๆ ตาม
จนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญของเรื่อง ตั้ง
คำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์
มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เรียบเรยี งคำเปน็ ประโยคไดต้ รงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลกั ษณะคำคล้องจอง เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ
ภาษาถนิ่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

ฝกึ จบั ใจความสำคญั จากเร่ือง ระบุข้อคิดที่ไดจ้ ากการอ่านหรือการฟงั วรรณกรรมสำหรับเด็ก เพอ่ื นำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้ง
คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ติ ประจำวันได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

ตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชีว้ ดั

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๓

รหสั วิชา ท12201 คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง
วชิ า การอ่านเขียนสรา้ งจินตนาการ

ศกึ ษาและฝึกอา่ นออกเสยี งคำ ข้อความ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ สามารถเลือกอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ
และนำเสนอเรื่องท่ีอ่าน เรียบเรยี งคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาส่ือสาร เขยี นเร่ืองส้ัน ๆ เก่ียวกับประสบการณ์
ชวี ิต ครอบครวั และเร่ืองส้ัน ๆ ตามจนิ ตนาการความใฝ่ฝนั เพือ่ ใหม้ คี วามรู้ด้านทักษะการอ่าน การเขียน สามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การวัดและการประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพฤติกรรม การให้
ความร่วมมือ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน การทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบเพื่อให้เกิดทักษะใน
การใช้ภาษาและสามารถนำไปใช้เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้ มีความรับผิดชอบ รักการทำงาน มีมนุษย
สัมพนั ธ์ และซ่ือสตั ย์เกิดความตระหนักเห็นคุณคา่ ของภาษารกั ความเปน็ ไทย

ผลการเรยี นรู้
1. เพอ่ื ให้สามารถอ่านออกเสียงคำ ข้อความไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
2. เพ่อื ให้สามารถอา่ นออกเสียงคำและบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ได้อย่างถกู ตอ้ ง
3. เพือ่ ให้สามารถเลอื กอ่านหนงั สือตามความสนใจ
4. เพ่ือใหส้ ามารถเรียบเรียงประโยคได้อยา่ งถูกต้อง
5. เพื่อใหส้ ามารถเขียนเร่ืองส้ันๆเกี่ยวกบั ประสบการณ์ ชวี ิต ครอบครวั ได้อย่างถกู ต้อง
6. เพ่ือให้สามารถเขียนเร่ืองส้ันๆตามจนิ ตนาการ ความใฝฝ่ ัน ไดอ้ ย่างถูกต้อง
รวม 6 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๔

รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
รายวชิ าภาษาไทย

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ฝึกอ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและข้อความ

ที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
เพือ่ นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองที่อ่าน อา่ นข้อเขยี น
เชิงอธบิ าย และปฏบิ ัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มี
มารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเร่ืองตามจินตนาการ
มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดง
ความคิดเห็น ความรสู้ กึ พดู ส่อื สารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด

ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ ใช้
พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำ แต่งประโยคงา่ ย ๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถน่ิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ

ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก
เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตามท่ี
กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึก
ปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียน
ภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรกั ษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนำความรไู้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

ตัวช้วี ดั
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๕

รหัสวิชา ท1๓201 คำอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เติม
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓
วชิ า การอ่านเขยี นสร้างจนิ ตนาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ศึกษาและอ่านข่าวเหตุการณ์หรือเรื่องที่กำหนดให้สรุปความรู้จากเรื่องที่อ่าน ระบุข้อคิดที่ได้จากเรื่องท่ี
อ่าน เขียนคำ ข้อความ ประโยค จากเรื่อง ภาพ หรือจินตนาการ พูดสาระสำคัญของเรื่อง พูดแสดงความคิดเห็น
และความรสู้ ึกจากประสบการณ์ที่ประทบั ใจโดยใช้ทักษะการอ่าน การเขียนสรปุ ความ และการพูด เพอ่ื ให้มีความรู้
และทักษะการอ่าน เขียนคล่องและคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การวัด
และการประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพฤติกรรม การให้ความร่วมมือ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
เรียนการสอน การทําแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ การพูดนำเสนองาน เพ่ือให้เกิดทักษะในการใช้ภาษาและ
สามารถนำไปใช้เพ่ือการสื่อสารในชวี ติ ประจำวันได้ มคี วามรบั ผิดชอบ รักการทำงาน มีมนุษยสัมพันธ์ และซื่อสัตย์
เกิดความตระหนักเห็นคุณค่าของภาษารกั ความเปน็ ไทย

ผลการเรยี นรู้
๑. เพือ่ ให้สามารถอา่ นออกเสียงข่าวเหตกุ ารณ์ได้อยา่ งถูกต้อง
๒. เพื่อใหส้ ามารถสรุปความรู้ จากเรือ่ งท่ีอา่ นได้อยา่ งถูกต้อง
๓. เพือ่ ให้สามารถบอกข้อคิดจากเรอื่ งที่อ่านได้อยา่ งถูกต้อง
๔. เพอื่ ให้สามารถเขยี นคำ ข้อความ ประโยคสัน้ ๆ จากเร่ือง ภาพ หรอื จนิ ตนาการได้อย่างถกู ต้อง
๕. เพือ่ ให้สามารถพดู สาระสำคัญของเรอื่ งได้อยา่ งถกู ต้อง
๖. เพื่อใหส้ ามารถพูดแสดงความคิดเหน็ และความรสู้ กึ จากประสบการณ์ที่ประทบั ใจ
รวม ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๒๖

รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
รายวิชาภาษาไทย

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจากเร่ืองที่
อ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่
อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เพ่ือ
นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เลอื กอา่ นหนังสอื ที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ
เรอื่ งท่อี ่าน มีมารยาทในการอ่าน ฝกึ คดั ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทดั เขยี นสื่อสารโดยใช้คำได้
ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อ
ความจากเรื่องส้ัน ๆ เขยี นจดหมายถงึ เพอ่ื นและมารดา เขยี นบันทึกและเขยี นรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ เขียน
เรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปจากการฟัง
และดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา มีมารยาทใน
การฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ
ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลัก
ภาษา แตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวญั บอกความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้

ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพนื้ บา้ นหรือนทิ านคติธรรมอธิบายข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ร้องเพลง
พื้นบ้านท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติอธิบาย บันทึก
การตง้ั คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดแู ละการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้างความคิดรวบ
ยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์
ภาษาไทยและตวั เลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใช้วิธกี ารของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นำไปประยุกตใ์ ช้กบั ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชี้วัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๗

รหัสวิชา ท ๑๕๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
รายวิชาภาษาไทย

ฝกึ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่เป็นการ
บรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนยั แยกขอ้ เทจ็ จรงิ ข้อคิดเหน็ วเิ คราะห์ แสดงความคดิ เห็น อ่าน
งานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอ้ แนะนำ และปฏิบตั ิตาม เลือกอา่ นหนังสือทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการ
อา่ น

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพ
ความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น กรอกแบบ
รายการตา่ ง ๆ เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคำถาม ตอบคำถาม
วเิ คราะหค์ วาม พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู

ระบุชนิดและหน้าทีข่ องคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถิ่น ใช้คำราชาศพั ท์ บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทรอ้ ยกรอง ใชส้ ำนวนได้ถกู ตอ้ ง

สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ี
สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท
ร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อ
ความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝกึ ปฏิบตั ิ อธิบาย บันทึก การตัง้ คำถาม ตอบคำถาม ใชท้ ักษะการฟัง การดูและ
การพดู พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนรุ ักษภ์ าษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๘

รหสั วชิ า ท ๑๖๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
รายวชิ าภาษาไทย

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่เป็น
โวหาร อ่านเรื่องสั้น ๆ อย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียน เชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติ
ตาม อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากการอา่ นแผนผัง แผนท่ี แผนภูมแิ ละกราฟ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ
และอธบิ ายคุณค่าทไ่ี ดร้ บั มีมารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และ
เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความ
จากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทใน
การเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู
ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อโฆษณา
อย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมี
เหตุผลและน่าเชอ่ื ถอื มีมารยาทในการฟงั การดูและการพูด

ฝกึ วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ที่ของคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล รวบรวมและบอก
ความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์
เปรยี บเทียบสำนวนท่เี ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิต

ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทาน
พ้ืนบ้านของท้องถ่ินอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านและนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจำ
บทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือ
ความ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเทจ็ จรงิ กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้
เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใชท้ ักษะทางภาษา การฝกึ ปฏบิ ตั ิ อธบิ าย บันทกึ การตงั้ คำถาม ตอบคำถาม
ใชท้ กั ษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนรุ กั ษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใช้วธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

ตัวช้วี ัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๙
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชวี้ ดั

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๓๐

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑

เวลา ๖๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ

วรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ

การอ่านหนังสือตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัดลายมือ เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็น การพูดสรุป

ความ และศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคำประสม คำซ้ำ คำซ้อน และคำพ้อง วิเคราะห์ชนิดและ

หนา้ ทขี่ องคำ

วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องที่อ่าน และนิทานพื้นบ้าน ท่องจำบท

อาขยานตามทีก่ ำหนด และบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวน

การเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู และ

พูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย

การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่าง

เห็นคุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรั กการอ่าน การเขียน

มีมารยาทในการอา่ น การเขียน การฟงั การดู และการพูด

ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๑/๑ , ท ๑.๑ ม.๑/๒ , ท ๑.๑ ม.๑/๓ , ท ๑.๑ ม.๑/๘ , ท ๑.๑ ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑ , ท ๒.๑ ม.๑/๔ , ท ๒.๑ ม.๑/๖ , ท ๒.๑ ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑ , ท ๓.๑ ม.๑/๒ , ท ๓.๑ ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑ , ท ๔.๑ ม.๑/๒ , ท ๔.๑ ม.๑/๓
ท ๕.๑ ม.๑/๑ , ท ๕.๑ ม.๑/๒ , ท ๕.๑ ม.๑/๓ , ท ๕.๑ ม.๑/๔ , ท ๕.๑ ม.๑/๕

รวม ๒๐ ตัวชว้ี ดั

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๑

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑

เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี ๒

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาวิเคราะห์ และฝึกทักษะ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง การอ่านจับใจความสำคัญจาก

ส่ือตา่ ง ๆ การตคี วามคำยากในเอกสารวชิ าการ การระบขุ ้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภท

ชักจูงโน้มน้าวใจ การปฏิบัติตามคู่มือแนะนำวิธีการ ใช้งานของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ การวิเคราะห์คุณค่าของ

เรื่องจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนแสดงความ คิดเห็น

เกี่ยวกับสาระจากสื่อต่าง ๆ การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน

การประเมินความน่าเชือ่ ถือของสื่อที่มเี น้ือหาโน้มน้าวใจ การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นทีศ่ ึกษาค้นคว้าจากการ

ฟัง การดู และการสนทนา ความแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขยี น การแตง่ กาพย์ยานี ๑๑ การจำแนก และ

ใช้สำนวนทีเ่ ป็น คำพังเพยและสุภาษติ การสรุปเนือ้ หา วิเคราะห์คุณค่า และข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม

การทอ่ งจำบทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่า

โดยใชก้ ระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการกลุ่ม

กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึง

ประสงค์

เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า การใช้ภาษาในการสื่อสารเห็นคุณค่าของ

วรรณคดีและวรรณกรรม นำความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา และสร้างวิสัยทัศน์ในการดำรงชีวิตให้

สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ มีมารยาทใน

การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน อนุรักษ์และสืบสานภาษาไทยให้

คงอยู่คชู่ าติไทยตลอดไป

ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ท ๑.๑ ม.๑/๒, ท ๑.๑ ม.๑/๕, ท ๑.๑ ม.๑/๖, ท ๑.๑ ม.๑/๗, ท ๑.๑

ม.๑/๘, ท ๑.๑ ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ท ๒.๑ ม.๑/๔, ท ๒.๑ ม.๑/๖, ท ๒.๑ ม.๑/๘, ท ๒.๑ ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๔, ท ๓.๑ ม.๑/๕, ท ๓.๑ ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๓, ท ๔.๑ ม.๑/๕, ท ๔.๑ ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ท ๕.๑ ม.๑/๒, ท ๕.๑ ม.๑/๓, ท ๕.๑ ม.๑/๔, ท ๕.๑ ม.๑/๕

รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๒

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒

เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๑

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การอ่านตามความสนใจ เขียนย่อความ เขียนรายงาน พูดใน
โอกาสต่างๆ พูดรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า และ ประเภทกลอนสภุ าพ วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจาก
วรรณคดีและวรรณกรรมเรือ่ งที่อา่ น ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่กี ำหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู
และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็น
คุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มี
มารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดู และการพูด

ตวั ช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑ ท ๑.๑ ม.๒/๓ ท ๑.๑ ม.๒/๔ ท ๑.๑ ม.๒/๖ ท ๑.๑ ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๒ ท ๒.๑ ม.๒/๔ ท ๒.๑ ม.๒/๕ ท ๒.๑ ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๓ ท ๓.๑ ม.๒/๔ ท ๓.๑ ม.๒/๕ ท ๓.๑ ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๒
ท ๕.๑ ม.๒/๑ ท ๕.๑ ม.๒/๒ ท ๕.๑ ม.๒/๓ ท ๕.๑ ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๕

รวม ๑๙ ตัวชวี้ ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๓

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒

เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นที่ ๒

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ
วรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสยี ง การอ่านจับใจความ ฝึกทักษะการคัดลายมือ การเขียนบรรยาย
และพรรณนา เขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
แสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรือโต้แย้ง การพูดสรปุ ความ พูดวิเคราะห์และวิจารณจ์ ากเร่ืองที่ฟังและดู และศึกษา
ลักษณะของประโยคในภาษาไทย การสร้างคำสมาส การใช้คำราชาศัพท์ การแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกลอน
สุภาพ การรวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย

วิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องที่อ่าน ท่องจำบทอาขยานตาม
ท่ีกำหนด และบทรอ้ ยกรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสทิ ธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู
และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็น
คุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มี
มารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพดู

ตัวช้วี ดั
ท ๑.๑ ม.๒/๒ ท ๑.๑ ม.๒/๕ ท ๑.๑ ม.๒/๗
ท ๒.๑ ม.๒/๑ ท ๒.๑ ม.๒/๓ ท ๒.๑ ม.๒/๖ ท ๒.๑ ม.๒/๗
ท ๓.๑ ม.๒/๑ ท ๓.๑ ม.๒/๒
ท ๔.๑ ม.๒/๑ ท ๔.๑ ม.๒/๓ ท ๔.๑ ม.๒/๔ ท ๔.๑ ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑ ท ๕.๑ ม.๒/๒ ท ๕.๑ ม.๒/๓ ท ๕.๑ ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๕

รวม ๑๘ ตวั ช้ีวัด

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๓๔

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓

เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ

วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียงการอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะการคัด

ลายมือ การเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาสต่างๆ เขยี นอตั ชีวประวัติหรือชีวประวตั ิ เขียนย่อความ การ

เขียนจดหมายกิจธรุ ะ ฝึกทักษะการพูดแสดงความคดิ เหน็ และการประเมินเรื่องจากการฟังและการดู พูดวิเคราะห์

วิจารณจ์ ากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู พดู รายงานการศกึ ษาค้นคว้า และศึกษาเกย่ี วกับคำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย

โครงสร้างประโยคซับซ้อน ระดับภาษา วิเคราะห์วิถีไทย ประเมินค่า ความรู้และข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม

ท่องจำบทอาขยานทก่ี ำหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสทิ ธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู

และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย

การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็น

คุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มี

มารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพดู

ตวั ชว้ี ดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑ ท ๑.๑ ม.๓/๒ ท ๑.๑ ม.๓/๓ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ท ๑.๑ ม.๓/๕
ท ๒.๑ ม.๓/๑ ท ๒.๑ ม.๓/๒ ท ๒.๑ ม.๓/๓ ท ๒.๑ ม.๓/๔ ท ๒.๑ ม.๓/๕
ท ๓.๑ ม.๓/๑ ท ๓.๑ ม.๓/๒ ท ๓.๑ ม.๓/๓
ท ๔.๑ ม.๓/๑ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ท ๔.๑ ม.๓/๓
ท ๕.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๒ ท ๕.๑ ม.๓/๓ ท ๕.๑ ม.๓/๔

รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๓๕

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

รหสั วชิ า ท ๒๓๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓

เวลา ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๒

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมินค่าวรรณคดีและ

วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอ่านออกเสียงการอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะการ เขียน

อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้ง เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง

จากสื่อต่างๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงานและโครงงาน พูดในโอกาสต่างๆ พูดโน้มน้าว คำทับศัพท์และ

ศัพท์บญั ญัติ คำศัพท์ทางวิชาการและวชิ าชพี การแต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสีส่ ุภาพ

วิเคราะห์วิถีไทย ประเมินค่า ความรแู้ ละข้อคดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม ทอ่ งจำบทอาขยานที่กำหนดและ

บทรอ้ ยกรองทีม่ คี ณุ ค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการอ่านเพื่อสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดู

และพูดแสดงความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย

การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเห็น

คุณค่านำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มี

มารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพูด

ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ม.๓/๖ ท ๑.๑ ม.๓/๗ ท ๑.๑ ม.๓/๘ ท ๑.๑ ม.๓/๙ ท ๑.๑ ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๖ ท ๒.๑ ม.๓/๗ ท ๒.๑ ม.๓/๘ ท ๒.๑ ม.๓/๙ ท ๒.๑ ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๔ ท ๓.๑ ม.๓/๕ ท ๓.๑ ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๔ ท ๔.๑ ม.๓/๕ ท ๔.๑ ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๒ ท ๕.๑ ม.๓/๓

รวม ๑๙ ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๖

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๓๗

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค. ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน

ผลทเี่ กดิ ข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั ก์ชนั ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพนั ธ์ หรือช่วยแกป้ ัญหาท่กี ำหนดให้
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค. ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกยี่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวดั และนำไปใช้
มาตรฐาน ค. ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรูปเรขาคณิต

และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
สาระที่ ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค. ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรูท้ างสถติ ิในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค. ๓.๒ เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งต้น ความนา่ จะเปน็ และนำไปใช้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๘

โครงสร้างหลกั สตู ร
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ระดับชัน้ ประถมศึกษา

รายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วิชา ช่ือรายวิชา เวลาเรยี นรายปี
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๕ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี)
ระดบั ชั้น ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ ๕ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชัน้ ป.๑ ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๒๐๐/ปี)
ชั้น ป.๒ ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ป)ี
ชน้ั ป.๓ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑๖๐/ปี)
ชั้น ป.๔ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑๖๐/ปี)
ชั้น ป.๕
ชน้ั ป.๖ รหสั วชิ า ชื่อรายวิชา เวลาเรยี นรายปี
ค ๑๑๒๐๑ คณติ ศาสตร์แสนสนกุ ๑ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๔๐/ป)ี
รายวิชาเพิ่มเติม ค ๑๒๒๐๑ คณติ ศาสตร์แสนสนกุ ๒ ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ค ๑๓๒๐๑ คณติ ศาสตร์แสนสนุก ๓ ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ระดับชั้น
ช้นั ป.๑
ชน้ั ป.๒
ชั้น ป.๓

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ระดบั ช้นั รหสั วิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรยี นรายปี
ชัน้ ม.๑ ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ชั้น ม.๒ ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ช้ัน ม.๓ ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๓ ช่วั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๓๙

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวิชา ค ๑๑๑๐๑ รายวิชา คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการนับทีละ ๑ และทีละ ๑๐ การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข

ไทยแสดงจำนวน การแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๒๐ ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย ส่วนรวม (Part –

Whole Relationship) การบอกอันดับที่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน

รูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย =,≠,>,< การเรียงลำดับจำนวน ความหมายของการ

บวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสมั พันธ์ของการบวกและการลบ การแก้โจทย์

ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึน

หรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณิตและรูปอื่นๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่

ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น

เมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับความยาวท่ีมหี นว่ ยเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร การวัดน้ำหนักโดย

ใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขดี

การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้ำหนกั ทมี่ หี นว่ ยเป็นกิโลกรัม เป็นขดี ลกั ษณะของทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉาก

ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลกั ษณะของรูปสามเหลีย่ ม รปู สเี่ หล่ยี ม วงกลม และวงรี การอ่านแผนภูมริ ูปภาพ

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรอื โจทย์ปัญหาที่ส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ใน

การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเช่ือมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย

ทางคณติ ศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี

ระบบ ประหยดั ซอื่ สตั ย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ ักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชวี ิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต

คตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์

ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป๑/๑ ค ๑.๑ ป.๑/๒ ค ๑.๑ ป.๑/๓ ค ๑.๑ ป.๑/๔ ค ๑.๑ ป.๑/๕
ค ๑.๒ ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๒
ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมทั้งส้ิน ๑๐ ตัวช้ีวดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๐

คำอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เติม

รหสั วิชา ค 11201 รายวิชาคณิตศาสตร์แสนสนุก ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 การเขียนตัวเลขแสดง

จำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย = ≠ < > การเรียงลำดับจำนวน การบวก

การลบและโจทย์ปัญหา การบวกจำนวนที่ไม่เกิน 100 การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100 การหาผลบวก ผลลบ

และความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ ประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบ

ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 100 และ 0

โดยใช้การปฎิบตั ิ การฝึกฝนทางดา้ นการบวก การลบ การเปรียบเทียบการเรียงลำกับจำนวนนับไมเ่ กิน

100 และ 0 และโจทย์ปัญหาจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการคิดคำนวณมากขึ้นและเป็นพื้นฐานในการศึกษา

เรยี นรตู้ อ่ ไป

เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าในการเรียน มีความรับผิดชอบ มีวินัยใฝ่เรียนรู้และ

มคี วามม่งุ มนั่ ในการศึกษาหาความรู้มาพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ

ผลการเรยี นรู้
๑. ผู้เรียนอธบิ ายการเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจายและการเปรียบเทียบจำนวนการใช้

เครอื่ งหมาย= ≠ < >ได้ (K)
๒. ผูเ้ รยี นมีทักษะทางด้านการบวก การลบ (P)
๓. ผู้เรยี นมที ักษะดา้ นการวิเคราะห์โจทยป์ ญั หาการบวก การลบได้ (P)
๔. ผ้เู รียนมคี วามมุง่ มั่นในการทำงาน (A)

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๑

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหสั วชิ า ค ๑๒๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรือ่ งการนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การอ่านและการเขียนตัวเลข

ฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวน จำนวนคู่ จำนวนค่ี หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ

เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลาดับจำนวน การบวกและการลบ ความหมาย

ของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และความสัมพันธ์ของการคณู และการ

หาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ แบบรูปของ

จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๒ ทีละ ๕ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปซ้ำ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง ๕

นาที) การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมง เป็นนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมงเป็นนาที การอ่านปฏิทิน การ

แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การ

เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มี

หน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเป็น

กิโลกรัม การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด การแก้โจทย์ปัญหา

เกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่

หนว่ ยมาตรฐาน การวดั ปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลิตร การเปรยี บเทยี บปรมิ าตรและความ

จุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อน

โต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบของรูป

การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปญั หาท่สี ่งเสริมการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ใน

การคดิ คำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปญั หา การสือ่ สาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการท ำงานอย่างมี

ระบบ ประหยดั ซอื่ สัตย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ กั นำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพยี ง รวมทั้งมีเจต

คตทิ ดี่ ีตอ่ คณิตศาสตร์

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๒
ตวั ชวี้ ดั

๑.๑ ค ๑.๑ ป.๒/๑ ค ๑.๑ ป.๒/๒ ค ๑.๑ ป.๒/๓ ค ๑.๑ ป.๒/๔ ค ๑.๑ ป.๒/๕ ค ๑.๑ ป.๒/๖
ค ๑.๑ ป.๒/๗ ค ๑.๑ ป.๒/๘

ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๒/๑ ค ๒.๑ ป.๒/๒ ค ๒.๑ ป.๒/๓ ค ๒.๑ ป.๒/๔ ค ๒.๑ ป.๒/๕
ค ๒.๑ป.๒/๖
ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวมท้ังสน้ิ ๑๖ ตวั ชว้ี ัด

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๓

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

รหสั วชิ า ค ๑๒๒๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเกี่ยวกับการวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การ

เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรและเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มี

หน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การ

เปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดน้ำหนักเป็น

กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกโิ ลกรัม การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสมั พันธ์

ระหวา่ งกิโลกรัมกบั กรมั กโิ ลกรัมกบั ขดี การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั น้ำหนกั ท่มี หี นว่ ยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรมั

และขีด การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานและหน่วยมาตรฐานเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ

ถว้ ยตวง ลติ ร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจเุ ป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ

ปริมาตรและความจุทม่ี ีหนว่ ยเป็นชอ้ นชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติ

จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ

สื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และหาประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการที่ได้

ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจำวันอย่างสรา้ งสรรค์

เพ่อื ให้เห็นคณุ คา่ และมเี จตคติทด่ี ีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเปน็ ระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มี

ความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณมคี วามคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเชื่อมั่นในตนเอง

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจและอธิบายการบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การ

เปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และนำความรู้ไปใช้
ในชวี ิตประจำวันได้

2. เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับการวัดความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรและเซนติเมตร การแก้โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับความยาวที่
มีหนว่ ยเปน็ เมตรและเซนติเมตร เวลา และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

3. เข้าใจและอธิบายการวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเป็น
กิโลกรัม การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับน้ำหนกั ท่มี ีหน่วยเป็นกโิ ลกรัมและกรัม กโิ ลกรมั และขดี และนำความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจำวันได้

4. เข้าใจและอธิบายการวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานและหน่วยมาตรฐาน
เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การ
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง และนำความรู้ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวันได้
รวม 4 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๔

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ค ๑๓๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน หลัก

ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ

จำนวน การบวก การลบ การคูณ การหารยาวและการหารสั้น การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหา

และการสร้างโจทย์ปัญหา พรอ้ มท้งั หาคำตอบ ของจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เศษสว่ นทตี่ วั เศษน้อยกว่า

หรอื เทา่ กบั ตัวสว่ น การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับเศษสว่ น การบวก และการลบเศษส่วน การแกโ้ จทย์ปัญหาการ

บวกและโจทยป์ ญั หา การลบเศษสว่ น แบบรปู ของจำนวนที่เพมิ่ ข้ึนหรือลดลงทีละเท่าๆกัน การบอกจำนวนเงนิ และ

เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ

รายจ่าย การแกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกบั เงิน การบอกเวลาเป็นนาฬกิ าและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.)

หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้

ความสัมพันธ์ระหว่างช่ัวโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมทีร่ ะบุเวลา การแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับ

เวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การ

เลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความ

ยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว การเลือกเครื่องชั่งท่ี

เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง

กโิ ลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตันกับกิโลกรัม การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกับน้ำหนัก การวดั ปรมิ าตรและความจุเป็นลิตรและ

มลิ ลลิ ิตร การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลติ ร การเปรยี บเทียบปริมาตรและ

ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตรช้อนชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวงกับมิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหา

เก่ียวกบั ปริมาตรและความจุทมี่ ีหนว่ ยเปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ิตร รปู เรขาคณติ สองมิติท่ีมีแกนสมมาตร การเกบ็ รวบรวม

ข้อมูลและจำแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว(One-Way

Table)

โดยจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม หรอื โจทย์ปัญหาท่สี ่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน

การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี

ระบบ ประหยัด ซื่อสตั ย์ มีวจิ ารณญาณ รจู้ ักนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต

คติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์

ตัวชี้วัด
ค.๑.๑ ค ๑.๑ ป.๓/๑ ค ๑.๑ ป.๓/๒ ค ๑.๑ ป.๓/๓ ค ๑.๑ ป.๓/๔ ค ๑.๑ ป.๓/๕ ค ๑.๑ ป.๓/๖
ค ๑.๑ ป.๓/๗ ค ๑.๑ ป.๓/๘ ค ๑.๑ ป.๓/๙ ค ๑.๑ ป.๓/๑๐ ค ๑.๑ ป.๓/๑๑
ค.๑.๒ ค ๑.๒ ป.๓/๑

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๔๕
ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๒ ค ๒.๑ ป.๓/๓ ค ๒.๑ ป.๓/๔ ค ๒.๑ ป.๓/๕
ค ๒.๑ ป.๓/๖ ค ๒.๑ ป.๓/๗ ค ๒.๑ ป.๓/๘ ค ๒.๑ ป.๓/๙ ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ ค ๒.๑ ป.๓/๑๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑๒ ค ๒.๑ ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๒
รวมทัง้ สิ้น ๒๘ ตัวช้วี ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔


Click to View FlipBook Version