The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Course at Ban Na Doi School ,2021

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ban Na Doy School, 2021-04-25 14:25:27

Course at Ban Na Doi School

Course at Ban Na Doi School ,2021

Keywords: School course

๔๖

คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เติม

รหัสวชิ า ค 12201 รายวิชาคณิตศาสตรแ์ สนสนกุ ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม หกเหลี่ยม

การจำแนกรูปเราขาคณิต รูปที่ทีแกนสมมาตร รูปเรขาคณิตสองมิติ สามมิติ การจำแนกรูปเรขาคณิตสองมิติและ

สามมิติ

เงิน การจำแนกชนิดเงนิ เหรียญและธนบตั ร การบอกคา่ ของเงินเหรียญและธนบัตร การบอกจำนวนเงิน

และเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด การเปรียบเทียบจำนวนวเงินและการแลกเงินการอ่าน เขียนบันทึกรายรับ

รายจ่าย การแก้โจทย์ปัญหาเกีย่ วกับเงนิ

โดยการใช้กระบวนการเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิตเป็นการจำแนกรูปเรขา คณิต

รปู ทีม่ แี กนสมมาตร รปู เรขาคณิตสามมติ กิ ารจำแนกรปู เรขาคณติ สองมิตไิ ด้อย่างเหมาะสม

เงินเป็นสิ่งสำคัญสำหรับคนในยุคปัจจุบันเพราะเงินเป็นที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนสิ่งของใช้จ่ายในการดำ

เนอนชวี ติ ดงั นนั้ เราควรรู้ค่าของเหรียญและธนบัตรแต่ละประเภท

เพื่อให้พัฒนาผุ้เรียนให้มีวินัยรักการทำงาน รักกการค้นคว้ามีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

อย่างมีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่า จนสามารถนำทักษะปฎิบัติงานไปใช้

ในชวี ติ ประจำวันได้

ผลการเรยี นรู้
๑. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรขาคณิตสองมิติและสามมติ ิได้ (K)
๒. ผเู้ รียนมที กั ษะในการหาแกนสมมาตร (P)
๓. ผู้เรยี นมีทักษะในการวาด สรา้ งรูปเรขาคณติ สองมติ ิและสามมติ ิได้ (P)
๔. ผเู้ รยี นปฎิบัติการสรา้ งสรรค์เหรยี ญและธนบตั รจำลองเพอ่ื การศึกษาเรียนรู้ได้ (P)
๕. ผู้เรยี นมคี วามรบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้มีวนิ ยั มคี วามม่งุ มั่นในการทำงาน (A)

รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๔๗

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหัสวิชา ค ๑๔๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาความรู้เกี่ยวกับการอา่ น การเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทยและตวั หนังสือแสดงจำนวน หลัก

ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบ

และเรียงลำดับจำนวน ค่าประมาณของจำนวนนับและการใช้เครื่องหมาย ≈ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก

การลบ การคูณ การหาร การบวกและการลบ การคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์

ปญั หาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หาพร้อมท้งั หาคำตอบ จำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เศษสว่ นแท้ เศษเกิน

จำนวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่

เท่ากับจำนวนนับ การเปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ

การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ การอา่ นและการเขียนทศนิยมไม่เกิน

๓ ตำแหน่งตามปริมาณที่กาหนด หลัก ค่าประจำหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของทศนิยม และการเขียน

ตัวเลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย ทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยม การบวกการลบ

ทศนิยม การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบ ทศนิยมไม่เกิน ๒ ขั้นตอน แบบรูปของจำนวนท่ีเกิดจากการคูณ การ

หารด้วยจำนวนเดยี วกันการบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง วนั สัปดาห์ เดอื น ปี การเปรยี บเทียบระยะเวลา

โดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างหนว่ ยเวลา การอ่านตารางเวลา การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกับเวลา การวัดขนาดของมุม

โดยใช้โพรแทรกเตอร์ การสร้างมุมเม่ือกำหนดขนาดของมุม ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก พื้นที่ของรปู

สี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ระนาบ จุด

เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุมส่วนประกอบข องมุม การ

เรียกชื่อมุม สัญลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

การอ่านและการเขยี นแผนภูมแิ ทง่ (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง (Two-Way Table)

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรอื โจทยป์ ัญหาท่สี ง่ เสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ในการคิดคำนวณ การแกป้ ัญหา การเชอื่ มโยง การให้เหตุผล การคดิ สรา้ งสรรค์ การสื่อสารและการส่ือความหมาย

ทางคณิตศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี

ระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มวี ิจารณญาณ รจู้ กั นำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ ได้อย่างพอเพยี ง รวมทั้งมีเจต

คติทด่ี ตี อ่ คณติ ศาสตร์

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๔๘
ตวั ชี้วัด

ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๔/๑ ค ๑.๑ ป.๔/๒ ค ๑.๑ ป.๔/๓ ค ๑.๑ ป.๔/๔ ค ๑.๑ ป.๔/๕ ค ๑.๑ ป.๔/๖
ค ๑.๑ ป.๔/๗ ค ๑.๑ ป.๔/๘ ค ๑.๑ ป.๔/๙ ค ๑.๑ ป.๔/๑๐ ค ๑.๑ ป.๔/๑๑ ค ๑.๑ ป.๔/๑๒
ค ๑.๑ ป.๔/๑๓ ค ๑.๑ ป.๔/๑๔ ค ๑.๑ ป.๔/๑๕ ค ๑.๑ ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๔/๑ ค ๒.๑ ป.๔/๒ ค ๒.๑ ป.๔/๓
ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๔/๑ ค ๒.๒ ป.๔/๒
ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมท้ังสน้ิ ๒๒ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๔๙

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวิชา ค ๑๕๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความรู้เกี่ยวกบั เรือ่ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งเศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน ๓

ตำแหน่ง ที่เป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม ๑ตำแหน่ง และ๒ ตำแหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้

บัญญัติไตรยางศ์ การเปรยี บเทยี บเศษสว่ นและจำนวนคละ การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ การคณู การ

หารของเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ การแก้โจทย์ปัญหา

เศษส่วนและจำนวนคละ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม การคณู ทศนยิ ม การ

หารทศนยิ ม การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ทศนยิ ม การอา่ นและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ การแก้โจทย์ปัญหา

ร้อยละ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาวเซนตเิ มตรกับมลิ ลเิ มตร เมตรกบั เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร โดยใช้

ความรู้เรื่องทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวโดยใช้ความรู้ เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม

ความสมั พันธ์ระหวา่ งหนว่ ยน้ำหนัก กิโลกรมั กับกรัม โดยใช้ความรเู้ รอ่ื งทศนยิ ม การแก้โจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั น้ำหนัก

โดยใช้ความรู้ เรื่องการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุ ของภาชนะทรง

สี่เหลี่ยมมุมฉากความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร การแก้โจทย์ปัญหา

เกี่ยวกับปริมาตรของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูป

สี่เหลี่ยมพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดา้ นขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบ

รูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์

แสดงการตัง้ ฉาก เส้นขนานและสญั ลักษณแ์ สดงการขนาน การสร้างเสน้ ขนาน มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอก

ทอ่ี ยบู่ นข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง(Transversal) ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม การสรา้ งรูปส่ีเหล่ียม ลักษณะ

และส่วนตา่ งๆ ของปรซิ มึ การอ่านและการเขียนแผนภูมแิ ทง่ การอ่านกราฟเส้น

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทยป์ ัญหาท่สี ง่ เสริมการพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ในการคิดคำนวณ การแกป้ ัญหา การเชอื่ มโยง การให้เหตผุ ล การคดิ สร้างสรรค์ การสือ่ สารและการสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี

ระบบ ประหยัด ซือ่ สัตย์ มวี จิ ารณญาณ รู้จกั นำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชวี ิตได้อยา่ งพอเพียง รวมทั้งมีเจต

คตทิ ดี่ ตี ่อคณติ ศาสตร์

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๕๐
ตวั ชว้ี ัด

ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๕/๑ ค ๑.๑ ป.๕/๒ ค ๑.๑ ป.๕/๓ ค ๑.๑ ป.๕/๔ ค ๑.๑ ป.๕/๕ ค ๑.๑ ป.๕/๖
ค ๑.๑ ป.๕/๗ ค ๑.๑ ป.๕/๘ ค ๑.๑ ป.๕/๙

ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๕/๑ ค ๒.๑ ป.๕/๒ ค ๒.๑ ป.๕/๓ ค ๒.๑ ป.๕/๔
ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๕/๑ ค ๒.๒ ป.๕/๒ ค ๒.๒ ป.๕/๓ ค ๒.๒ ป.๕/๔
ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๕/๑ ค ๓.๑ ป.๕/๒
รวมท้งั สนิ้ ๑๙ ตัวชี้วัด

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๕๑

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวชิ า ค ๑๖๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละโดยใช้ความรู้เรื่อง

ค.ร.น.อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน และมาตราส่วน ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการ

แยกตวั ประกอบ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การบวก การลบเศษส่วนและ

จำนวนคละ โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ จำนวนคละ การแก้โจทย์

ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม การหารทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหา

เกี่ยวกับทศนิยม (รวมการแลกเงินต่างประเทศ) การแก้โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน การแก้โจทย์ปัญหา

ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วย ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การ

แก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิติทีป่ ระกอบด้วยทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก ความยาวรอบรูปและ

พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม การแก้

โจทยป์ ญั หาเก่ียวกับความยาวรอบรปู และพืน้ ทขี่ องรปู หลายเหลี่ยม ความยาวรอบรปู และพืน้ ที่ของวงกลม การแก้

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม การสร้างรูป

สามเหลยี่ ม ส่วนตา่ ง ๆ ของวงกลม การสร้างวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด รปู คลีข่ องทรงกระบอก

กรวย ปริซมึ พีระมดิ การอา่ นแผนภมู ิรูปวงกลม

โดยจัดประสบการณ์ กจิ กรรม หรอื โจทยป์ ญั หาที่สง่ เสริมการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน

การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การสื่อสารและการสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน

อย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง

รวมท้งั มเี จตคติท่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์

ตัวช้ีวัด

ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๖/๑ ค ๑.๑ ป.๖/๒ ค ๑.๑ ป.๖/๓ ค ๑.๑ ป.๖/๔

ค ๑.๑ ป.๖/๕ ค ๑.๑ ป.๖/๖ ค ๑.๑ ป.๖/๗ ค ๑.๑ ป.๖/๘

ค ๑.๑ ป.๖/๙ ค ๑.๑ ป.๖/๑๐ ค ๑.๑ ป.๖/๑๑ ค ๑.๑ ป.๖/๑๒

ค ๑.๒ ค ๑.๒ ป.๖/๑

ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๒ ค ๒.๑ ป.๖/๓

ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๒ ป.๖/๒ ค ๒.๒ ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๔

ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวมท้ังสิน้ ๒๑ ตัวชวี้ ัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๕๒

รหัสวชิ า ค ๒๑๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑
เวลา ๖๐ ชั่วโมง / ภาคเรยี น ภาคเรียนที่ ๑
รายวิชา คณติ ศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเช่อื มโยง การให้เหตุผล และการคิดสรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

จำนวนเต็ม สมบตั ิของจำนวนเตม็ การนำความรู้เกีย่ วกับจำนวนเต็มไปใช้ในการแก้ปญั หา
การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้าง
พืน้ ฐานทางเรขาคณติ การนำความรู้เก่ียวกับการสร้างพน้ื ฐานทางเรขาคณิตไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
เลขยกกำลัง เลขยกกำลังที่มี เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ใน
การแกป้ ญั หา
ทศนยิ มและเศษสว่ น
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า
ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณติ สามมิติที่ประกอบข้นึ จากลูกบาศก์
โดยการจดั ประสบการณห์ รือสร้างสถานการณ์ในชวี ิตประจำวันทใี่ กล้ตวั ให้ผเู้ รียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการ
ปฏบิ ัติจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล
การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด ทกั ษะและกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน
การเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี
ระบบ ประหยัด ซ่อื สัตย์ มวี ิจารณญาณ รู้จกั นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมท้ังมีเจต
คติทด่ี ีต่อคณติ ศาสตร์

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ค ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒

รวมทง้ั สิน้ ๔ ตัวช้ีวดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๕๓

รหสั วิชา ค๒๑๑๐๒ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง / ภาคเรียน ภาคเรียนที่ ๒
รายวิชา คณิตศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการสื่อ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเช่ือมโยง การใหเ้ หตุผล และการคิดสรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว การแก้สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว การนำความรู้เกี่ยวกบั การแก้สมการ เชิง
เส้นตวั แปรเดียวไปใช้ในชวี ติ จริง

อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน สัดส่วน การนำความรู้เกี่ยวกับ
อัตราส่วน สัดสว่ น และร้อยละไปใชใ้ นการแก้ปัญหา

สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น การนำความรู้เกี่ยวกับ สมการเชิงเส้นสองตัว
แปรและกราฟของความสมั พนั ธเ์ ชงิ เส้นไปใช้ในชวี ติ จรงิ

สถิติ การตั้งคำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ได้แก่ แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิ
แทง่ กราฟเส้น แผนภูมิรปู วงกลม การแปลความหมายขอ้ มูล การนำสถิตไิ ปใช้ในชวี ิตจริง

โดยการจัดประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวนั ท่ีใกล้ตวั ใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาค้นคว้า โดยการ
ปฏบิ ตั ิจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกป้ ญั หา การให้เหตุผล
การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน
การเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี
ระบบ ประหยดั ซ่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวิตได้อยา่ งพอเพยี ง รวมทั้งมีเจต
คติทดี่ ตี ่อคณิตศาสตร์

รหสั ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ม.๑/๓
ค ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ค ๓.๑ ม.๑/๑

รวมท้ังสิน้ ๕ ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๕๔

รหัสวชิ า ค๒๒๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
เวลา ๖๐ ชัว่ โมง / ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชา คณติ ศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การใหเ้ หตุผล และการคิดสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปน้ี

จำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้
ในการแกป้ ญั หา

จำนวนจรงิ จำนวนอตรรกยะ จำนวนจรงิ รากทส่ี องและรากที่สามของจำนวนตรรกยะ การนำความรู้
เก่ยี วกับจำนวนจรงิ ไปใช้

พหนุ าม การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม การหารพหนุ ามดว้ ยเอกนามท่ีมีผลหารเป็นพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยใช้ สมบัตกิ ารแจกแจง
กาลังสองสมบูรณ์ ผลตา่ งของกำลังสอง
สถิติ การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมลู
การแปลความหมายผลลพั ธก์ ารนำสถติ ไิ ปใชใ้ นชวี ติ จริง
โดยการจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ในชีวิตประจำวนั ที่ใกลต้ ัวให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษาค้นควา้ โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้
เหตผุ ล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการ
ที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมี
ความเช่ือมั่นในตนเอง
เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มีระเบียบวินัยมุง่ ม่ันในการทางานอยา่ งมี
ระบบ ประหยัด ซ่ือสตั ย์ มีวิจารณญาณ รจู้ กั นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมท้ังมีเจต
คติท่ดี ีต่อคณติ ศาสตร์

ตัวชว้ี ดั
ค๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔,
ค๓.๑ ม.๒/๑

รวมท้ังหมด ๕ ตวั ชีว้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๕๕

รหัสวิชา ค๒๒๑๐๒ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
เวลา ๖๐ ชวั่ โมง / ภาคเรยี น ภาคเรยี นที่ ๒
รายวชิ า คณิตศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศกึ ษาและฝึกทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันไดแ้ ก่ การแกป้ ัญหา การสอ่ื สารและการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

พื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและ
ทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา

ปริมาตร การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและ
ทรงกระบอกไปใช้ในการแกป้ ัญหา

การสร้างทางเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริงเส้นขนาน
สมบัติเกย่ี วกบั เสน้ ขนานและรปู สามเหล่ียม

การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนำความรู้เกี่ยวกับการแปลงทาง
เรขาคณติ ไปใช้ในการแกป้ ัญหา

ความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความ
เทา่ กนั ทกุ ประการไปใชใ้ นการแก้ปญั หา

ทฤษฎีพีทาโกรัส ทฤษฎีพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีพีทาโกรัส การนำๆความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบท พี
ทาโกรสั และบทกลบั ไปใช้ในชีวิตจริง

โดยการจัดประสบการณห์ รือสรา้ งสถานการณ์ในชีวติ ประจำวนั ที่ใกลต้ วั ให้ผเู้ รียนได้ศึกษาคน้ คว้า โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทกั ษะและกระบวนการ
ที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมี
ความเช่ือมน่ั ในตนเอง

เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝร่ ูใ้ ฝ่เรยี น มรี ะเบยี บวนิ ัยมุ่งมนั่ ในการทำงานอย่างมี
ระบบ ประหยดั ซ่ือสตั ย์ มวี ิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชวี ติ ได้อย่างพอเพียง รวมท้ังมีเจต
คตทิ ่ดี ตี อ่ คณติ ศาสตร์

รหสั ตวั ช้วี ัด
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม ๒/๒
ค.๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทัง้ หมด ๗ ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๕๖

รหสั วิชา ค๒๓๑๐๑ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓
เวลา ๖๐ ชว่ั โมง / ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชา คณิตศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชอ่ื มโยง การให้เหตุผล และการคดิ สรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี

การแยกตัวประกอบของพหนุ าม การแยกตัวประกอบของพหนุ ามทมี่ ดี ีกรีสูงกวา่ สอง
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นำความรู้
เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา นำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกำลังสองตัว
แปรเดียวไปใช้ในการแกป้ ัญหา
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตัวแปรเดียว แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว นำความรู้
เกยี่ วกับการแกส้ มการกำลังสองตัวแปรเดยี วไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร นำความรู้เก่ียวกับ
การแกร้ ะบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปรเดยี วไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
พื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม นำความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวของพีระมิด กรวย
และทรงกลมไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
ปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม นำความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของพีระมิด กรวย
และทรงกลมไปใช้ในการแกป้ ัญหา
ความน่าจะเปน็ เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น นำความรู้เกีย่ วกับความน่าจะเป็นไปใชใ้ น
ชวี ิตจริง
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทกั ษะและกระบวนการ
ที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมี
ความเชือ่ ม่นั ในตนเอง
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี
ระบบ ประหยัด ซือ่ สตั ย์ มีวิจารณญาณ รจู้ กั นำความร้ไู ปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจต
คตทิ ด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์
รหัสตัวช้วี ัด

ค๑.๒ ม๓/๑
ค๑.๓ ม๓/๑, ม๓/๒, ม๓/๓
ค๒.๑ ม๓/๑, ม๓/๒
ค๓.๒ ม๓/๑
รวมทงั้ หมด ๗ ตวั ชีว้ ดั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๕๗

รหัสวชิ า ค๒๓๑๐๒ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง / ภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี ๒
รายวชิ า คณิตศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศกึ ษาและฝึกทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ์ ันได้แก่ การแกป้ ญั หา การส่ือสารและการสื่อ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเช่อื มโยง การใหเ้ หตผุ ล และการคิดสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

ฟงั กช์ นั กาลงั สอง กราฟของฟงั ก์ชันกำลังสอง นำความรเู้ ก่ียวกับฟงั กช์ ันกำลงั สองไปใช้ในการแก้ปัญหา
ความคลา้ ย รูปสามเหล่ยี มท่ีคล้ายกนั นำความรู้เกย่ี วกบั ความคลา้ ยไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ นำค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ
๖๐ องศาไปใชใ้ นการแก้ปญั หา
วงกลม วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎีบทเกยี่ วกบั วงกลม
สถติ ิ ขอ้ มลู และการวิเคราะห์ข้อมลู แผนภาพกลอ่ ง การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจรงิ
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้
เหตผุ ล การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะและกระบวนการ
ที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมี
ความเช่ือมนั่ ในตนเอง
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมี
ระบบ ประหยดั ซื่อสตั ย์ มวี ิจารณญาณ รู้จกั นำความรูไ้ ปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชวี ิตได้อยา่ งพอเพียง รวมทั้งมีเจต
คติท่ดี ีตอ่ คณิตศาสตร์

รหัสตวั ชวี้ ดั
ค๑.๒ ม๓/๒
ค๒.๒ ม๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค๓.๑ ม๓/๑

รวมทงั้ หมด ๕ ตัวชวี้ ัด

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๕๘

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๕๙

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต

และความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี วี ิตกบั ส่ิงมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลย่ี นแปลงแทนทใี่ นระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ี
มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อม รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ี
ทำงานสมั พันธ์กัน ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ี ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชที่
ทำงานสัมพนั ธ์กนั รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ีผลต่อส่ิงมชี ีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพ
และวิวฒั นาการของสงิ่ มีชีวิต รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของ สสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการ
เปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏกิ ิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลือ่ นที่
แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์
ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาติของ คล่นื ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี

ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทงั้ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่สง่ ผลตอ่ สิ่งมชี ีวติ และ
การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภมู ิอากาศโลก
รวมทั้งผลตอ่ ส่งิ มีชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๖๐
สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชวี ิตในสังคมที่มีการเปลย่ี นแปลง อย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และ
สิง่ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขนั้ ตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รูเ้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๖๑

โครงสร้างหลักสตู ร
กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชัน้ ประถมศึกษา

รายวิชาพนื้ ฐาน

ระดบั ชนั้ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา เวลาเรยี นรายปี
ชั้น ป.๑ ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี)
ชน้ั ป.๒ ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ป)ี
ชน้ั ป.๓ ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี)
ชน้ั ป.๔ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑๒๐/ปี)
ช้นั ป.๕ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี)
ชั้น ป.๖ ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑๒๐/ปี)

รายวชิ าเพม่ิ เติม ว ๑๔๒๐๑ คอมพวิ เตอร์ ๑ ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ (๔๐/ปี)
ว ๑๕๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๒ ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ชั้น ป.๔ ว ๑๖๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๓ ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๔๐/ปี)
ช้นั ป.๕
ช้นั ป.๖

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๖๒

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

รายวิชาพน้ื ฐาน

ระดับชน้ั รหสั วิชา ชื่อรายวชิ า เวลาเรยี นรายปี
ชั้น ม.๑ ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ว ๒๑๑๐๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ชั้น ม.๒ ว ๒๑๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๒ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ว ๒๑๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ช้ัน ม.๓ ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ว ๒๒๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ว ๒๒๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๔ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ว ๒๒๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ว ๒๓๑๐๒ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ว ๒๓๑๐๓ วทิ ยาศาสตร์ ๖ ๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ว ๒๓๑๐๔ เทคโนโลยี (การออกแบบ) ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )

รายวชิ าเพ่ิมเติม รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา เวลาเรยี นรายปี
ระดับช้ัน ว ๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑ หนว่ ยกิต)
ชน้ั ม.๑ ว ๒๑๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๒ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑ หนว่ ยกิต)
ว ๒๒๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๓ ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ (๑ หนว่ ยกิต)
ชัน้ ม.๒ ว ๒๒๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๔ ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑ หนว่ ยกติ )
ว ๒๓๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๕ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๑ หนว่ ยกิต)
ช้นั ม.๓ ว ๒๓๒๐๒ คอมพิวเตอร์ ๖ ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑ หนว่ ยกติ )

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๖๓

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ว ๑๑๑๐๑ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ พชื และสัตวท์ ่ีอาศยั อย่บู ริเวณต่างๆ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์
ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ระบุลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช รวมทั้งการทำหน้าท่ี
ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทำวัตถุซึ่งทำจากวัสดุชนิดเดียว
หรอื หลายชนิดประกอบกนั ชนิดของวัสดแุ ละจดั กลุ่มวัสดุตามสมบัติทีส่ งั เกต การเกดิ เสยี งและทิศทางการเคล่ือนที่
ของเสียง ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน และสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลา
กลางวัน ลักษณะภายนอกของหินจากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การ
สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การ
อธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงทีเ่ รียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม

แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ การ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ
เรียกใช้ข้อมูล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และดูแลรักษาอุปกรณ์เบ้ืองต้น ใช้งานงานอย่าง
เหมาะสม

ตวั ชีว้ ดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว.๓.๒ ป.๑/๑
ว.๔.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป๑.๔ ป.๑/๕

รวมทั้งหมด ๑๕ ตวั ชวี้ ดั

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๖๔

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วิชา ว ๑๒๑๐๑ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ พชื และสัตว์ทอ่ี าศัยอยูบ่ ริเวณต่างๆ สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมกับการดำรงชวี ิต
ของสัตว์ในบริเวณทอี่ าศัยอยู่ ระบุลักษณะและหน้าท่ีของส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สตั ว์และพชื รวมท้งั
การทำหน้าท่รี ่วมกนั ของส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์ อธิบายสมบัตทิ สี่ งั เกตได้ของวสั ดุทีใ่ ช้ทำวัตถุซ่งึ ทำจากวัสดุ
ชนิดเดียวหรือหลายชนดิ ประกอบกัน ชนิดของวัสดแุ ละจดั กล่มุ วัสดตุ ามสมบัติที่สงั เกต การเกดิ เสียงและทิศ
ทางการเคลือ่ นท่ีของเสยี ง ดาวทีป่ รากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวนั และกลางคืน และสาเหตุที่มองไมเ่ ห็นดาวสว่ น
ใหญใ่ นเวลากลางวนั ลักษณะภายนอกของหนิ จากลักษณะเฉพาะตัวท่ีสงั เกต โดยใชก้ ระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมลู การเปรยี บเทียบข้อมลู จากหลกั ฐาน
เชงิ ประจักษ์ การอธบิ าย อภิปราย และการสรา้ งแบบจำลอง เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถ
สอื่ สารส่ิงทเ่ี รยี นรู้ มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ เหน็ คุณค่าของการนำความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม

แสดงลำดบั ขัน้ ตอนการทำงานหรอื การแก้ปัญหาอย่างงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลักษณ์ หรือข้อความ การเขียน
โปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รอื สื่อ การใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดหมวดหมู่ คน้ หา จดั เกบ็ เรียกใช้
ข้อมลู การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และดูแลรักษาอปุ กรณเ์ บื้องตน้ ใชง้ านงานอยา่ งเหมาะสม

ตวั ชว้ี ดั
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว.๔.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป๑.๔ ป.๑/๕

รวมทั้งหมด ๑๖ ตวั ชี้วัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๖๕

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวชิ า ว ๑๓๑๐๑ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

ศกึ ษา วเิ คราะห์ สงิ่ ทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงชวี ิต การเจริญเตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ประโยชนข์ องอาหาร
น้ำ และอากาศ การดแู ลตนเองและสัตวอ์ ยา่ งเหมาะสม วฏั จกั รชีวิตของสตั วแ์ ละคณุ ค่าของสตั ว์ ส่วนประกอบของ
วตั ถุ การเปลี่ยนแปลงของวัสดเุ ม่ือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง แรงท่ีมีต่อการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ
แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส แรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ การดึงดูดระหว่างแม่เหล็กกับวัตถุ ขั้วแม่เหล็ก การ
เปลี่ยนพลังงาน การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ประโยชน์และโทษของ
ไฟฟ้า วิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย เส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวัน
กลางคืน การกำหนดทิศ ความสำคัญของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ส่วนประกอบของอากาศ ความสำคัญของ
อากาศ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต การปฏิบัติตนในการลดมลพิษทางอากาศ การเกิดลม
ประโยชน์และโทษของลม โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิง่ ท่เี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจำวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา แสดงอัลกอริทึมในการทำงาน แก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อนิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้ รวบรวม ประเมิน นำเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ

ตวั ชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวชี้วัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๖๖

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหสั วชิ า ว ๑๔๑๐๑ รายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ หน้าที่ของราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอก ส่วนประกอบของพืชดอก ความ
แตกตา่ งชองลักษณะส่ิงมีชวี ิตกลุ่มพืช กลุม่ สัตว์ และกลุ่มท่ีไมใ่ ช่พืชและสตั ว์ จำแนกพชื ออกเป็นพืชดอกและพืชไม่
มีดอก จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังในกลุ่มปลา กลุ่มสตั วส์ ะเทนิ นำ้ สะเทินบก กลมุ่ สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และกลมุ่ สัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนม ตัวอย่าง
ของสัตวใ์ นแต่ละกลมุ่ สมบตั ิทางกายภาพของวัสดุ การนำสมบัตขิ องวัสดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั สมบตั ทิ างกายภาพ
ของวัสดุ ด้านความแข็ง ความยืดหยุ่น การนำความร้อน การนำไฟฟ้า สมบัติของสสาร มวล และปริมาตรของ
สสาร เครื่องมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสาร ผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่งสปริง มวลของ
วัตถุกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุที่เปน็ ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง วัตถุทึบแสง และลักษณะการมองเห็น
ผ่านวัตถุ แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเปลี่ยนแปลงและการพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวง
จนั ทร์ องคป์ ระกอบของระบบสุริยะ และการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน
การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ การ
อธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่เี รียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและ
ค่านิยมทเี่ หมาะสม

วิเคราะห์การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม การค้นหา

ข้อมูลในอินเตอร์เน็ต และการใช้คำค้นหา การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การ

ประมวลผลอย่าง่าย การวิเคราะห์ผล การสร้างทางเลือก การนำเสนอข้อมูล การสื่อสารอย่างมีมารยาท และรู้

กาลเทศะ การปกป้องข้อมลู สว่ นตวั ทั้งน้ี โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจ

ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิง่ ที่เรยี นรู้

มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ที่เหมาะสมใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย โดยใช้

ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ

หนา้ ท่ขี องตน เคารพในสิทธิของผอู้ น่ื

ตัวชวี้ ดั

ว ๑.๒ ป.๔/๑

ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ว ๒.๓ ป.๔/๑

ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวมทัง้ หมด ๒๑ ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๖๗

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

รหัสวชิ า ว ๑๔๒๐๑ รายวชิ าคอมพวิ เตอร์ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ศึกษาเรียนรู้ ฝึกทักษะการออกแบบด้วยโปรแกรม Paint สามารถเปิด - ปิดโปรแกรม บอกชื่อและ
หนา้ ท่ขี องเคร่ืองมือ รูปรา่ งเครอื่ งมือของโปรแกรม Paint สรา้ งสรรคช์ น้ิ งานอย่างหลากหลาย และรู้จักการใช้งาน
โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint เบื้องต้น เรียนรู้การเขียนโปรแกรม
อย่างในรูปแบบ Online และ OffLine และมคี วามรู้เร่อื งการสบื คันขอ้ มลู ทางอินเทอรเ์ นต็ เบื้องต้น

โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้ลงมือปฏิบัติจริง มีการสาธิต การนำเสนอ การสอนโดยใช้เกม การ
ยกตัวอยา่ ง การจดั เก็บผลงาน การใชก้ ระบวนการกลุ่ม การฝึกทักษะการคิดแบบสร้างสรรค์และพัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหาให้ผู้เรียนได้มีความอดทนสามารถคิดและแก้ปัญหาได้มีพื้นฐานด้านวิทยาการคอมพิ วเตอร์เรียนรู้การ
เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ยและใชท้ คโนโลยีใหเ้ หมาะสมกบั งานได้ เพ่ือประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั

ผลการเรยี นรู้
๑. รจู้ ักการใช้งานโปรแกรม Paint
๒. สบื คน้ ข้อมลู โดยใชอ้ นิ เทอร์เนต็ โดยใช้เวบ็ ไซต์สำหรบั สบื คน้ ได้
๓. สามารถเปดิ -ปดิ โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint , Microsoft Excel ได้
๔. รู้จกั เครอ่ื งมือการใช้งานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint

Microsoft Excel เบอ้ื งต้น
๕. มีพืน้ ฐานด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์เรียนรู้การเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย

รวม ๕ ผลการเรียนรู้

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๖๘

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหัสวิชา ว ๑๕๑๐๑ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิต ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับการ

ดำรงชีวิต การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ

ความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวติ กับสิ่งไม่มีชีวิต โซอ่ าหาร หนา้ ทข่ี องส่ิงมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค คุณค่าของ

สิ่งแวดล้อมทีม่ ีตอ่ การดำรงชีวิต การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแมส่ ่ลู ูก

ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้ำ การ

เปล่ยี นแปลงของสารเมอ่ื เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงที่ผนั กลับได้และการเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับ

ไม่ได้ แรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุ แรงลัพธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดยี วกนั การใชเ้ ครื่องชงั่ สปริงวดั แรงทกี่ ระทำตอ่ วัตถุ

แรงเสียดทาน แรงเสียดทานและแรงที่กระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกัน เสียงและการได้ยินเสียง การเกิดเสียงสูง

เสียงต่ำ เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง การหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง ดาว

เคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว ตำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ แบบรูปเส้นทาง

การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ปริมาณน้ำในแต่ละแหล่งน้ำ คุณค่าของน้ำ การใช้น้ำอย่าง

ประหยดั และการอนรุ ักษ์นำ้ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง และน้ำคา้ งแขง็ การเกิดฝน หมิ ะ และ

ลูกเห็บ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล

การเปรียบเทยี บขอ้ มลู จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ การอธบิ าย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง เพ่ือให้เกิดความรู้

ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสือ่ สารส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั มี

จติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การทำงาน การคาดการณ์ผลลพั ธจ์ ากปญั หาอย่างง่าย การออกแบบ

อธิบาย และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้

อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม นำเสนอ

ข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเตอร์เน็ต เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มมี ารยาท เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าทีข่ องตน เคารพในสิทธิของผู้อน่ื แจง้ ผเู้ กีย่ วข้องเม่ือพบ

ข้อมูลหรือบุคคลทไี่ ม่เหมาะสม

ตวั ช้ีวดั

ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒

ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมท้ังหมด ๓๒ ตัวชวี้ ัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๖๙

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหสั วิชา ว ๑๕๒๐๑ รายวชิ าคอมพิวเตอร์ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟกเบื้องตน โปรแกรม Paint มีทักษะในการใชโปรแกรม
Paint ในการสรางสรรคงานการออกแบบตัวการตูนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟก (Cartoon Character
Design) และรจู กั การใชงานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft Excel , Microsoft PowerPoint เบอ้ื งตน
สามารถสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ตเบื้องตน เรียนรูการเขียนโปรแกรมอยางงายผานแพลตฟอรม ออนไลน
code.org

โดยเนนผูเรยี นเปนสําคัญ ไดลงมือปฏิบตั จิ รงิ มีการสาธติ การนาํ เสนอ การสอนโดยใชเกม การยก
ตัวอยาง การจดั เก็บผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝกทักษะการคดิ แบบสรางสรรคและพัฒนา ทกั ษะการแก
ปญหา

ใหผูเรียนไดมีความอดทนสามารถคิดและแกปญหาไดมีพื้นฐานดานวทิ ยาการคอมพวิ เตอรเรียนรู การ
เขยี นโปรแกรมอยางงายและใชเทคโนโลยใี หเหมาะสมกบั งานได เพื่อประโยชนในชวี ติ ประจาํ วัน

โปรแกรมอยางงายและใชเทคโนโลยใี หเหมาะสมกบั งานได เพ่อื ประโยชนในชวี ติ ประจาํ วัน

ผลการเรียนรู้

๑. รจู ักและมีทักษะในการใชงานเครอ่ื งมือโปรแกรม Paint
๒. ออกแบบตัวการตูน (Cartoon Character Design) ดวยโปรแกรม Paint
๓. สบื คนขอมลู ผานเครอื ขายอนิ เทอรเนต็
๔. เปด-ปด โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint , Microsoft Excel
๕. ระบุการใชงานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint
Microsoft Excel เบอ้ื งตน
๖. เขยี นโปรแกรมอยางงายผานแพลตฟอรมออนไลน code.org

รวม ๖ ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๗๐

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ว ๑๖๑๐๑ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง

ศึกษา วิเคราะห์ สารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับเพศ
และวัย และความปลอดภัยต่อสุขภาพ ระบบย่อยอาหาร หน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร การย่อยอาหาร
และการดูดซึมสารอาหาร ความสำคัญของระบบย่อยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร การแยก
สารผสม การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน การแยกสารใน
ชีวิตประจำวัน การเกิดแรงไฟฟ้าจากการขัดถูของวัตถุ ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย การต่อวงจรไฟฟ้า
อนุกรมและแบบขนาน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและขนาน การเกิดเงามืด เงามัว สุริยุปราคา และ
จันทรุปราคา พฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศและการใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวัน การเกดิ หนิ อัคนี หินตะกอน
และหินแปร วัฏจักรหิน ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจำวัน การเกิดซากดึกดำบรรพ์ สภาพแวดล้อมใน
อดีต การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของ
น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม สึนามิ แผ่นดินไหว ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย การ
ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ การเกิดแก๊สเรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลกระทบจาก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสืบคน้ ขอ้ มูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ การอธบิ าย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถส่ือสารสิง่ ท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความร้ไู ป
ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์มจี รยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม

ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หาที่พบในชีวติ ประจำวัน และเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต
เพื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ของ
ตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม ทั้งนี้ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้
ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ นำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มี
จิตวทิ ยาศาสตร์จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวมท้งั หมด ๓๐ ตัวชี้วัด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๗๑

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหสั วิชา ว ๑๖๒๐๑ รายวชิ าคอมพวิ เตอร์ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลา ๔๐ ช่วั โมง

ฝกึ ทักษะการใชคอมพิวเตอร โดยการใชงานโปรแกรมการสรางภาพสวยดวยโปรแกรม Paint เพื่อสร
างสรรคชิ้นงาน การใชงานโปรแกรม Microsoft Word เบื้องตนสําหรับการพิมพงานเอกสาร มีพื้นฐานดานวิทยา
การคอมพวิ เตอร เรยี นรูการเขยี นโปรแกรมอยางงายผานทางเว็บไซต และมีความรูเร่ืองการสืบคนขอมูลทางอินเท
อรเน็ตเบอ้ื งตน

โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการทักษะการคิดเชิงคํานวณ การคิดวิเคราะห แกปญหา เป
นขั้นตอนและเปนระบบ กระบวนการสรางสรรคงาน สรางความรู กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง สรางงานได
อยางสวยงาม และใชจนิ ตนาการอยางสรางสรรค

มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดีตอการใชเทคโนโลยี และสามารถประยุกตใชความรูดานวิทยาการ
คอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกปญหาท่ีพบในชีวิตจริงไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

ผลการเรยี นรู้
๑. วาดภาพตามหัวขอท่ีกําหนดดวยโปรแกรม Paint
๒. รจู ักเครื่องมือพ้ืนฐานโปรแกรม Microsoft Word สาํ หรับพิมพงานเอกสาร
๓. ออกแบบและจดั พมิ พผลงานดวยโปรแกรม Microsoft Word
๔. สบื คนขอมลู ผานเครอื ขายอินเทอรเนต็
๕. บนั ทึกขอมูลจากการสืบคนในหนวยบันทึกขอมลู
๖. เขยี นโปรแกรมอยางงายผานแพลตฟอรมออนไลน Code.org

รวม ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๗๒

รหัสวิชา ว ๒๑๑๐๑ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑
เวลา ๖๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๑
รายวิชา วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

สังเกต อธิบายและเปรียบเทียบลักษณะของเซลล์ของสิ่งมชี ีวิตเซลล์เดยี วและสิ่งมชี ีวิตหลายเซลล์ พร้อมท้ัง
บอกส่วนประกอบทีส่ ำคัญของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์

ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์พืชและสัตว์ กระบวนการสารผ่านเซลล์โดย
การแพร่ และออสโมซีส ปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง
คลอโรฟิลล์ น้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง ผลที่ได้จากการ
สังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื และความสำคญั ของกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื ต่อสิง่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

สงั เกต ทดลอง และอธบิ ายกลุ่มเซลล์เกี่ยวข้องกับการลำเลยี งน้ำของพชื โครงสรา้ งทเ่ี กี่ยวกับระบบลำเลียง
นำ้ และอาหารของพืช

ทดลอง และอธบิ ายโครงสรา้ งของดอกที่เกยี่ วขอ้ งกับการสบื พนั ธ์ุของพืช กระบวนการสบื พนั ธ์ุ
แบบอาศัยเพศของพืชดอก และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชโดยใช้ส่วนต่างๆของพืชเพื่อช่วยในการ
ขยายพันธุ์ การตอบสนองของพืชต่อ แสง น้ำ และการสัมผัส หลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ
ขยายพนั ธ์ุ ปรับปรงุ พันธุ์ เพ่ิมผลผลติ ของพชื และนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ทดลอง อธิบายและจำแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารขนาดของอนุภาคเป็นเกณฑ์ สมบัติของสารในแต่ละ
กลมุ่ สมบตั แิ ละการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนภุ าคของสาร สมบตั คิ วามเป็นกรดและ
เบสของสารละลาย ตรวจสอบคา่ pH ของสารละลาย และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลตอ่ การเปลีย่ นสถานะและการละลายของ
สาร และอภปิ รายการนำความรู้เกยี่ วกบั สารละลายไปใช้ประโยชน์

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และอภิปรายเพื่อให้เกิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
พึงประสงค์

ตวั ช้วี ัด
ว ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.

๑/๑๑ ม.๑/๑๒ ม.๑/๑๓ ม.๑/๑๔ ม.๑/๑๕ ม.๑/๑๖ ม.๑/๑๗
ว ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐

รวม ๒๗ ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๗๓

รหสั วชิ า ว ๒๑๑๐๒ คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
เวลา ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๑
รายวิชา วิทยาการคำนวณ
จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาแนวคิคเชิงนามธรรม การคดั เลือกคุณลักษณะทจ่ี ำเปน็ ต่อการแก้ปัญหา ข้นั ตอนการแก้ปญั หา การ
เขียนรหัสลําลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย ที่มีการใช้งานตัวแปร เงื่อนไข และ
การวนซ้ำ เพื่อแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิ การประมวลผลข้อมูล การ
สร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนว
ทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา
ข้อตกลงและข้อกำหนดการใชส้ ่ือและแหล่งข้อมูล นำแนวคิดเชิงนามธรรมและขัน้ ตอนการแกป้ ัญหาไปประยุกต์ใช้
ในการเขียนโปรแกรม หรือ การแก้ปัญหาในชีวิตจรงิ รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือก ในการตัดสินใจได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ และตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เกิดประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ และไม่
สรา้ งความเสียหายให้แกผ่ ู้อนื่

ตัวช้วี ัด
ว ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔

รวมทงั้ หมด ๔ ตัวชว้ี ัด

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

รหสั วชิ า ว ๒๑๒๐๑ ๗๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๑
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๑
จำนวน ๑ หน่วยกิต

ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ การเปิด-ปิดเครื่อง การใช้แป้นพิมพ์ ระบบปฏิบัติการ การดูแฟ้มข้อมูล และ
ศึกษาการใช้โปรแกรม Microsoft Word เบื้องต้น เพื่อสามารถให้สามารถใช้งานโปรแกรมในการพิมพ์เอกสาร
ตกแต่งเอกสาร แฟ้มข้อมูล เอกสารการพิมพ์ตาราง การค้นหา และเปลี่ยนแปลงข้อความ คำสั่งพิเศษในการสั่ง
พิมพ์ การประยกุ ต์ในการพิมพเ์ อกสารตา่ ง ๆ

ปฏิบัติการใช้โปรแกรม Microsoft Word ในการประมวลผลคำ ป้อนข้อมูล แก้ไขข้อมูล ใช้คำสั่งในการ
พิมพ์แฟ้มข้อมูล เอกสาร จัดเก็บแฟ้มข้อมูลเอกสารและเรียกแฟ้มข้อมูลมาแก้ไข กำหนดรูปแบบเอกสาร พิมพ์
เอกสาร สร้างตาราง คน้ หาและเปลยี่ นแปลงข้อความ

เพ่ือให้นกั เรียนมีความรคู้ วามสามารถในการใช้ทกั ษะกระบวนการปฏิบตั ิ เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับโปรแกรมประมวลผลคำ สามารถนำไปใช้ในการจัดทาเอกสาร ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวันได้ อีกทงั้ ยงั เป็นพนื้ ฐานในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชพี ได้อย่างมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

ผลการเรียนรู้

๑. อธิบายความร้เู ก่ียวกบั โปรแกรม Microsoft Word ได้
๒. สามารถใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word เบอื้ งตน้ ได้
๓. เลือกใชเ้ ครอ่ื งมือในโปแกรม Microsoft Word ได้
๔. สรา้ งเอกสาร จดั รปู แบบข้อความ จดั รปู แบบเอกสารได้
๕. สรา้ งชน้ิ งานจากโปรแกรม Microsoft Word ได้

รวมท้งั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๗๕

รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๓ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑
เวลา ๖๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๒
รายวชิ า วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาวิเคราะห์ สืบค้นข้อมูล ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปริมาณ สเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ ระยะทาง
การกระจัด อตั ราเร็ว และความเรว็ ในการเคลอื่ นที่ของวัตถุ

สงั เกต ทดลอง และอธิบายอณุ หภูมิ และการวดั อณุ หภมู ิ การถา่ ยโอนความรอ้ น การดูดกลนื การคายความ
ร้อน โดยการแผ่รังสีสมดลุ ความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของสารและนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ชวี ิตประจำวนั

สืบคน้ สังเกต ทดลองอภิปราย และวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบและการแบ่งชนั้ บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอุณหภูมิ ความชนื้ และความกดอากาศท่มี ผี ลต่อปรากฏการณ์ ทางลมฟ้าอากาศ การเกดิ
ปรากฏการณ์ทางลมฟา้ อากาศท่ีมีผลต่อมนุษย์ การแปรความหมายข้อมลู จากการพยากรณ์อากาศผลของลมฟ้า
อากาศตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่ิงมีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม ปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทำของมนุษยท์ ่ีมผี ลต่อการ
เปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิของโลก รโู หว่ โอโซน และฝนกรด ต่อภาวะโลกร้อน สง่ิ มชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม

โดยใชท้ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มลู
และอภปิ ราย

เพอื่ ใหเ้ กิด ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เหน็ คณุ คา่ ของการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่
พึงประสงค์

ตวั ชี้วัด
ว ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒
ว ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔
ว ๖.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗
ว ๘.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙

รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๗๖

รหัสวิชา ว ๒๑๑๐๔ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
เวลา ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน ภาคเรียนท่ี ๒
รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
การทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ
เลือกข้อมูลท่ีจำเป็นเพ่ือออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันในด้านการเกษตรและอาหาร นำความรู้ ทักษะ
และทรพั ยากร ในด้านการทำงานของระบบทางเทคโนโลยี โดยวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ และเลอื กขอ้ มูลท่ีจำเป็นเพ่ือ
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน มาประยุกต์ใช้ และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ
ปลอดภัย

ตัวชว้ี ดั
ว ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕

รวมท้ังหมด ๕ ตัวชี้วัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๗๗

รหัสวิชา ว ๒๑๒๐๒ คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติม ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑
เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ภาคเรยี น ภาคเรยี นที่ ๒
รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๒
จำนวน ๑ หน่วยกติ

ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Word เริ่มตนใชงาน Microsoft Office
Word ในระดับที่สูงกว่าขั้นพื้นฐาน เพื่อสร้างงาน และใช้คำสั่งพิเศษ หรือฟังก์พิเศษ ในการจัดรูปแบบตัวอักษร
และยอหนา การตกแตงเอกสารดวยตาราง (Table) การตกแตงเอกสารดวยกราฟก (Graphics) การใชกราฟก
(Graphics) พิเศษ การสรางรายงานและเอกสารแบบพิเศษ

เพื่อให ผู เรียนมีทักษะเกี่ยวกับการใช โปรแกรมประมวลผลคํา ในระดับที่สูงขึ้นกว่าระดับพื้นฐาน
สามารถใชโปรแกรมประมวลผลคําในการสรางงานเอกสาร การตกแตงเอกสาร การใชกราฟิก (Graphics) พิเศษ
และการสรงเอกสารในรปู แบบทีห่ ลากหลาย

เพื่อใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีในการใชคอมพิวเตอร สามารถเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการทํางาน
และการประกอบอาชพี อยางถูกตองตามกระบวนการอยางมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม

ผลการเรียนรู้
๑. สรางงานโดยโปรแกรม Microsoft Word ได
๒. สรา้ งตาราง กราฟ และสูตรทางคณิตศาสตร์ได้
๓. สร้างกราฟิกในเอกสารได้
๔. เลือกใช้คน้ หาและตรวจคำในเอกสารได้
๕. สามารถจดั รปู แบบและพมิ พ์เอกสารเพื่อจัดทำชิน้ งานในรปู แบบต่าง ๆ ได้
๖. สรางงานเอกสารตามรูปแบบ โดยพิจารณาวตั ถุประสงคของงานได
๗. แกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมปี ระสิทธิภาพ

รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๗๘

รหัสวิชา ว ๒๒๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
เวลา ๖๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชา วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบหมนุ เวยี นเลือดของมนุษย์ ระบบหายใจของมนุษย์ ระบบขับถ่ายของมนุษย์ ระบบ
ประสาทของมนุษย์ ระบบสืบพนั ธ์ุของมนุษย์ การคุมกําเนิด องค์ประกอบของสารละลาย สภาพละลายได้ของสาร
และปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้ ความเข้มข้นของสารละลาย ตําแหน่งของวัตถุ ระยะทางและการกระจัด
ความเร็วและอัตราเร็ว แรงเสียดทานแรงและความดันของของเหลว แรงพยุง โมเมนต์ของแรง แรงและสนามของ
แรง โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะ
ในศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มี
ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และอภิปรายเพื่อให้เกิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคณุ ค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
พงึ ประสงค์

ตัวชวี้ ัด
ว ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑,

ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗
ว ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖

รวม ๒๓ ตวั ชีว้ ดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๗๙

รหสั วชิ า ว ๒๒๑๐๒ คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒
เวลา ๒๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ภาคเรยี นที่ ๑
รายวชิ า วิทยาการคำนวณ
จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

ศึกษาแนวคิดเชิงคำนวณ การคัดเลือกลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปญั หา ขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียน
รหัสจำลองและผงั งาน การเขยี นและการออกแบบแปรแกรมอย่างง่ายท่มี ีการใช้งานตวั แปร เงื่อนไข การวนซ้ำ เพอ่ื
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือก
และประเมินผลเพื่อตัดสินใจซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนวทางการใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ข้อตกลงและ
ขอ้ กำหนดการใช้ส่ือและแหล่งข้อมลู และตระหนักถึงการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั เกดิ ประโยชน์
ต่อการเรียนรู้ และไมส่ รา้ งความเสียหายใหแ้ ก่ผู้อ่ืน ศกึ ษาแนวคิดเชิงคำนวณ

การแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ การเขียนโปรแกรมทีม่ ีการใช้ตรรกะและฟังกช์ นั องคป์ ระกอบและ
หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทางการปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมคี วามรบั ผิดชอบ วิธีการสร้างและกำหนดสิทธิความเปน็ เจ้าของผลงาน นำแนวคิดเชงิ
คำนวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริง สร้างและกำหนดสิทธิ์การใช้ข้อมูล
ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ขอ้ มลู

ตัวชี้วัด
ว ๔.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔

รวมท้ังหมด ๔ ตวั ชี้วดั

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๐

รหสั วชิ า ว ๒๒๒๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนท่ี ๑
รายวชิ า คอมพิวเตอร์ ๓
จำนวน ๑ หน่วยกติ

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน งานที่จำเป็นต้องใช้ตารางการคำนวณ
ส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน เครื่องมือการทำงาน การป้อนและจัดรปู แบบขอ้ มูล การปรับแก้ข้อมูล การ
จัดการรปู แบบของข้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมูล สรา้ งตารางสรุปสาระสำคญั

โดยเนนผูเรยี นเปนสําคญั ไดลงมือปฏิบตั จิ รงิ มกี ารสาธิต การนําเสนอ การสอนโดยใชเกม การยก
ตวั อยาง การจดั เก็บผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝกทักษะการคดิ แบบสรางสรรคและพัฒนา ทกั ษะการแก
ปญหา

เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติ เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ เกี่ยวกับโปรแกรมตารางงาน ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ อีกทั้งยังเป็น
พนื้ ฐานในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชพี ได้

ผลการเรยี นรู้
๑. อธบิ ายความรเู้ กีย่ วกับโปรแกรม Microsoft Excel ได้
๒. สามารถใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel เบือ้ งต้นได้
๓. เลอื กใชเ้ ครอ่ื งมือในโปแกรม Microsoft Excel ได้
๔. สรา้ งชิ้นงานจากโปรแกรม Microsoft Word ได้

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๘๑

รหสั วชิ า ว ๒๒๑๐๓ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒
เวลา ๖๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๒
รายวิชา วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ งานและกําลัง เครื่องกลอย่างง่าย พลังงานกล กฎการอนุรักษ์พลังงาน ลักษณะของช้ัน
หน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน ปัจจัยที่ทําให้ดนิ มีลักษณะและสมบัติแตกตา่ งกัน การตรวจวดั สมบัติบางประการ
ของดนิ และการใช้ประโยชน์ดนิ กระบวนการเกิดแหลง่ น้ำผิวดนิ และแหล่งน้ำใต้ดิน การใช้น้ำอย่างย่ังยืนในท้องถิ่น
กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์สมบัติของเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์ การใช้ประโยชน์จากเชื้อเพลิงซาก
ดึกดําบรรพ์และผลกระทบจากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์ พลังงานทดแทน กระบวนการผุพังอยู่กับที่การ
กรอ่ น และการสะสมตวั ของตะกอน กระบวนการเกดิ และผลกระทบของน้ำท่วม การกดั เซาะชายฝ่ัง ดนิ ถลม่ หลุม
ยุบ แผน่ ดินทรดุ โครงสรา้ งภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมี โดยใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนํา
ความร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจําวันมจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และอภิปรายเพื่อให้เกิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เหน็ คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่
พงึ ประสงค์

ตัวชวี้ ดั
ว ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.

๒/๑๑, ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕
ว ๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

รวม ๓๑ ตัวชี้วดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๒

รหัสวชิ า ว ๒๒๑๐๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ภาคเรียนท่ี ๒
รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีใน
อนาคต เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ ต่อชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม ประยกุ ต์ใช้ความรู้ทักษะ
และทรัพยากร มาเปรียบเทียบ และเลอื กข้อมูลทจ่ี ำเป็นเพ่ือออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาในชุมชนหรือท้องถ่ินในด้าน
พลังงาน สิ่งแวดล้อม การเกษตรและอาหาร เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้
วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหนา้ ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ศึกษากระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และวิศวกรรมศาสตรแ์ นวคิด กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบบเทคโนโลยี
การคิดเชงิ ออกแบบ แนวคิดหลกั ของการคิดเชงิ ออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ และความคิดเชิงออกแบบ
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และนำความรู้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากร ด้านพลงั งาน สง่ิ แวดลอ้ ม การเกษตรและอาหาร และแนวทางทไี่ ด้ มาประยุกต์ใช้ และสร้าง
ชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการ
แกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย

ตวั ชว้ี ดั
ว ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕

รวมทัง้ หมด ๕ ตวั ช้ีวัด

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๓

คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม

รหัสวิชา ว ๒๒๒๐๒ รายวชิ า คอมพิวเตอร์ ๔ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒

เวลา ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๒

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเริ่มต้นใช้โปรแกรมตารางงาน ส่วนประกอบของโปรแกรมตารางงาน

การป้อนและจัดรูปแบบข้อมูล การสร้างสูตรและการใช้ฟังก์ชันในการคำนวณ การปรับแก้ข้อมูล การจัดการ

ฐานข้อมูลในตารางงาน การออกรายงานในรูปแบบข้อความและแผนภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูล สร้า งตารางสรุป

สาระสำคญั

โดยเนนผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง มีการสาธิต การนําเสนอ การสอนโดยใชการยกตัวอยาง การ

จดั เกบ็ ผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝกทกั ษะการคิดแบบสรางสรรคและพัฒนา ทักษะการแกปญหา

ใหผูเรยี นไดมีความอดทนสามารถคดิ และแกปญหาไดมีพืน้ ฐานดานวิทยาการคอมพิวเตอรเรียนรู และ

มเี จตคตทิ ีด่ ีในการใชคอมพิวเตอร สามารถเลือกใชเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมในการทาํ งานและการประกอบอาชีพอยาง

ถกู ตองตามกระบวนการอยางมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม

ผลการเรยี นรู้
๑. ป้อนขอ้ มูลและการจัดการกับข้อมลู ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้
๒. สรา้ งสตู รและฟังกช์ นั ในการคำนวณได้
๓. สรา้ งแผนภูมิหรอื ชาร์ตได้
๔. จดั ทำขอ้ มลู ในเร่ืองตา่ ง ๆ พรอ้ มทงั้ แสดงแผนภูมิหรือชาร์ตได้
๕. สรางตารางคำนวณตามรูปแบบ โดยพิจารณาวัตถุประสงคของงานได
๖. แกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๘๔

รหสั วชิ า ว ๒๓๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓
เวลา ๖๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนที่ ๑
รายวิชา วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งยนี ดเี อ็นเอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม
การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่นลูก ความสําคัญของการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส โรคทางพันธุกรรม
ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิด
ส่งิ มชี วี ติ ในระบบนิเวศต่าง ๆอธบิ ายความสำคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศและต่อมนุษย์ การเกิดคลื่นและส่วนประกอบของคลื่น คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมของคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์เกี่ยวกับแสง การสะท้อนของแสงและ
การหักเหของแสง การทํางานของทัศนอุปกรณ์ความสว่างและการมองเห็น การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวง
อาทิตย์ดว้ ยแรงโน้มถว่ ง การเกดิ ฤดู การเคล่ือนท่ีปรากฏของดวงอาทติ ย์ การเกิดข้างขน้ึ ขา้ งแรมการเปลี่ยนแปลง
เวลาขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำาขึ้น น้ำลง เทคโนโลยีอวกาศ โครงการสํารวจอวกาศ โดยใช้การสืบ
เสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว ๒.๓ ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘,

ม.๓/๑๙, ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑
รวม ๒๓ ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๕

รหสั วชิ า ว ๒๓๑๐๒ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
เวลา ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๑
รายวิชา วิทยาการคำนวณ
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลและสารสารเทศ การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ โดยอาศยั กระบวนการเรียนรู้ทเี่ นน้ ให้ผูเ้ รยี นได้ลงมือปฏบิ ัติ ฝกึ ทกั ษะการคิด
เผชญิ สถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผ่าน
กระบวนการคิดและปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ การ
แก้ปัญหาเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสาร
เบอื้ งต้นในการแก้ปัญหา ทพ่ี บในชวี ิตจรงิ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาแอป
พลิเคชันข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์หรือ
บริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล การประเมินการความน่าเชื่อถือของข้อมูล การสืบค้นหาแหล่งต้น
ตอของข้อมูล เหตุผลวิวัตผิ ลกระทบจากข่าวสารทีผ่ ิดพลาด การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การ
ใชล้ ขิ สิทธิ์ของผูอ้ ่ืนโดยชอบธรรม รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิหรือทตุ ิยภมู ิ ประมวลผล สรา้ งทางเลือก และนำเสนอการ
ตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม เพอ่ื พัฒนาแอปพลิเคชนั ทีม่ ีการบูรณาการกับวิชาอ่ืน
อย่างสร้างสรรค์ ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างรู้เท่าทัน และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำความรู้
ความเข้าใจในการนำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนา
กระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถ
ในการตัดสินใจ และเป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อย่างสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด
ว ๔.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔

รวมทง้ั หมด ๔ ตัวชวี้ ดั

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๖

รหสั วชิ า ว ๒๓๒๐๑ คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี ๑
รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๕
จำนวน ๑ หน่วยกติ

ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกย่ี วกับการเร่ิมตน้ ใชโ้ ปรแกรมนำเสนองาน Microsoft PowerPoint ส่วนประกอบ
ของโปรแกรม เครื่องมือการทำงาน การป้อนและจัดรูปแบบข้อมลู การปรับแก้ขอ้ มูล การจัดการรูปแบบของข้อมูล
และการตกแต่งการนำเสนอให้มีความน่สนใจ

โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ไดลงมือปฏิบัติจริง มีการสาธิต การนําเสนอ การยกตัวอยาง การจัดเก็บ
ผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝกทักษะการคดิ แบบสรางสรรคและพฒั นา ทักษะการแก้ปญั หา

เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติ เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ เก่ียวกับโปรแกรมตารางงาน ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ อีกทั้งยังเป็น
พ้ืนฐานในการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชพี ได้

ผลการเรียนรู้
๑. อธบิ ายความร้เู กย่ี วกบั โปรแกรม Microsoft PwerPoint ได้
๒. สามารถใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint ได้
๓. เลือกใช้เครอื่ งมอื ในโปแกรม Microsoft PowerPoint ได้
๔. สรา้ งชน้ิ งานจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint ได้

รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๗

รหสั วชิ า ว ๒๓๑๐๓ คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นที่ ๒
รายวชิ า วิทยาศาสตร์
จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ รูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต สายใย
อาหาร การสะสมสารพิษในโซ่อาหาร ความหลากหลายทางชีวภาพ สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์จาก
วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม การเกิดปฏิกิริยาเคมีการเขียนสมการข้อความ กฎทรงมวล การ
เปลี่ยนแปลงพลังงานความรอ้ นของปฏิกิริยา ปฏกิ ิริยาเคมีในชีวิตประจําวนั ประโยชนแ์ ละโทษของปฏกิ ิรยิ าเคมีที่มี
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี การวัดปริมาณทางไฟฟ้า ความ
สมั พนั ธร์ ะหว่างความต่างศักย์ไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความต้านทานไฟฟา้ วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและขนาน การ
ทํางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน พลังงานไฟฟ้าและกําลังไฟฟ้า ค่าไฟฟ้า การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่าง
ประหยัดและปลอดภัย โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนําความรู้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจําวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมท่เี หมาะสม

ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙

รวม ๒๓ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๘

รหสั วชิ า ว ๒๓๑๐๔ คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓
เวลา ๒๐ ชวั่ โมง/ภาคเรียน ภาคเรยี นท่ี ๒
รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี
จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษา และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ
เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณ์ กรอบของปัญหา
เปรียบเทยี บ และเลือกข้อมูลที่จำเป็นโดยคำนงึ ถึงทรัพย์สินทางปญั ญา เพื่อให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ความเข้าใจ มีทักษะ
เกี่ยวกับการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ในการออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ท่ี
สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชน์ตอ่ สงั คม และการดำรงชวี ิต

นำความรู้ ทักษะ และทรัพยากร จากแนวทางการวิเคราะห์สาเหตุ ปัญหา หรือปัจจัย ที่ทำให้เปิดการ
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้เพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในงานอาชีพด้านการเกษตร อาหาร
พลังงานและขนสง่ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย เพื่อให้ผู้เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจ มี
ทักษะกระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และ
ความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

ตวั ชี้วัด
ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓

รวมทั้งหมด ๓ ตวั ช้วี ดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๘๙

รหสั วิชา ว ๒๓๒๐๒ คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนที่ ๒
รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๖
จำนวน ๑ หนว่ ยกิต

สร้าง Presentation ด้วย Microsoft PowerPoint อธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม ฝึกทักษะ
การเพิ่มสไลด์ใหม่ การเปลี่ยนเค้าโครงสไลด์ การบันทึก การเปิด-ปิดไฟล์งานนำเสนอ การออกแบบสไลด์ ด้วย
ชุดธีมสไลด์ ธีมเอฟเฟ็กต์ การจัดรูปแบบข้อความ การแรกรูปภาพก การปรับตกแต่งรูปภาพ การใช้รูปร่างรูปทรง
การแทรกตาราง การแทรกวิดีโอ และเสียง การกำหนดการเคลื่อนไหว และเอฟเฟ็กต์เปล่ียนสไลด์ เผยแพร่ และ
ส่งออกงานนำเสนอเป็นไฟล์วิดีโอ สร้างสรรค์ชิ้นงานภาพวาดกราฟิกด้วย Shape Graphic ของโปรแกรม เก็บ
ข้อมูลในหน่วยบันทกึ ขอ้ มูล

อธิบายการทำงานของของโปรแกรม ฝกทักษะการคิดแบบมี เหตุผลและเป็นขั้นตอน พัฒนาทักษะ
ด้านการคิดวเคราะห์ แกปญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ กระบวนการสรา้ งสรรค์งาน สร้างความรู กระบวนการ
ปฏบิ ตั ิ ลงมือทำจริง สรา้ งงานได้ อยา่ งสวยงาม และใชจนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรค์

ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดีตอการใชเทคโนโลยี และสามารถประยุกตใชความรูด้าน
วิทยาการคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก ปญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ผลการเรยี นรู้
๑. สรางงานนำเสนออยา่ งง่ายด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint
๒. วาดภาพประกอบดวย Shape Graphic โปรแกรม Microsoft PowerPoint
๓. จัดเกบ็ บนั ทกึ และส่งออกงานนำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ
๔.จดั ทำงานนำเสนอในเร่ืองราวต่าง ๆ พรอ้ มทง้ั นำเสนองานตามวัตถปุ ระสงคของงานได
๕. แกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๙๐

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ – ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๙๑

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทีต่ นนบั

ถือและศาสนาอืน่ มศี รทั ธาท่ีถกู ต้อง ยึดมนั่ และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพ่ืออยรู่ ่วมกันอยา่ ง
สันตสิ ุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนกิ ชนที่ดี และธำรงรักษาพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา
ท่ีตนนับถือ
สาระท่ี ๒ หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัตติ นตามหนา้ ที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านยิ มที่ดีงาม และธำรงรักษา
ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวติ อย่รู ่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ

มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยดึ มน่ั ศรัทธา และธำรงรักษาไวซ้ ่งึ การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใชท้ รัพยากรท่ีมีอยู่

จำกัดไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ
การดำรงชวี ติ อย่างมดี ลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็น
ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการทาง
ประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถึงปจั จุบัน ในด้านความสัมพนั ธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์
ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรัก ความภูมใิ จและธำรง
ความเป็นไทย
สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธข์ องสรรพส่ิงซึง่ มผี ลต่อกัน ใช้แผนทีแ่ ละ
เคร่อื งมือทางภูมิศาสตรใ์ นการคน้ หา วิเคราะห์ และสรุป ข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งมนษุ ย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรคว์ ถิ ี
การดำเนินชวี ติ มีจิตสำนึกและมีสว่ นรว่ มในการจดั การ ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๙๒

พัฒนาท่ียัง่ ยืน

โครงสรา้ งหลักสตู ร
กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา

รายวชิ าพนื้ ฐาน

ระดบั ชนั้ รหสั วชิ า ชอื่ รายวชิ า เวลาเรยี นรายปี
ชั้น ป.๑ ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ( ๔๐/ปี)
ชั้น ป.๒ ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ( ๔๐/ปี)
ชน้ั ป.๓ ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๒ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ชั้น ป.๔ ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๒ ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ชั้น ป.๕ ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๓ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ( ๔๐/ปี)
ชั้น ป.๖ ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๔ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๕ ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๖ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ( ๔๐/ปี)
ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๖ ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ( ๔๐/ปี)

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๙๓

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

รายวิชาพ้นื ฐาน

ระดับช้ัน รหัสวชิ า ชอ่ื รายวิชา เวลาเรียนรายปี
ชน้ั ม.๑ ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๑๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ชัน้ ม.๒ ส ๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษาฯ ๓ ช่วั โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ช้นั ม.๓ ส ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกติ )
ส ๒๒๑๐๓ ประวตั ิศาสตร์ ๑ ช่วั โมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ส ๒๒๑๐๒ สงั คมศึกษาฯ ๓ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ช่วั โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ส ๒๓๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ (๑.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )

รายวชิ าเพ่มิ เติม

ระดับช้นั รหัสวิชา ชื่อรายวชิ า เวลาเรียนรายปี
ชน้ั ม.๑ ส ๒๑๒๐๑ ต้านทจุ ริตศึกษา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกติ )
ส ๒๑๒๐๒ ตา้ นทจุ ริตศกึ ษา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ชน้ั ม.๒ ส ๒๒๒๐๑ ตา้ นทุจรติ ศึกษา ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๒๒๐๒ ต้านทุจรติ ศึกษา ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ชน้ั ม.๓ ส ๒๓๒๐๑ ตา้ นทจุ รติ ศึกษา ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)
ส ๒๓๒๐๒ ตา้ นทุจริตศกึ ษา ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห์ (๐.๕ หนว่ ยกิต)

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๙๔

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมขอ้ มูล อภิปราย ความหมาย ความสำคัญ องคป์ ระกอบเบ้ืองต้นของศาสนา

ประโยชน์ ประวัติ ศาสดาของศาสนา สรุปใจความสำคัญของคัมภีร์ ความคิดหลักของศาสนา สรุปหลักจรยิ ธรรม

การบำเพญ็ ประโยชน์ วิธีปฏบิ ตั ิ การใชภ้ าษาเกย่ี วกบั ศาสนพิธี พิธีกรรมในวนั สำคญั ฝึกปฏิบตั ิการบริหารจิต การ

เจริญปัญญาเบื้องต้น เปรียบเทียบ การทำความดี ปฏิบัติตนตามคำแนะนำ รวบรวมขั้นตอน ของศาสนพิธี

คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยมีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ความกล้าหาญ ความ

เสียสละ การเคารพสิทธิและหน้าที่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว กฎ

กติกา ความหมาย ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชน์ของรายรับ-รายจ่าย ต้นทุนผลประโยชน์ที่ได้รับ

ทรัพยากรในท้องถิ่น ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและ

บริการ ในชีวิตประจำวัน ลักษณะทางกายภาพของบ้าน โรงเรียน และชุมชน องค์ประกอบของ แผนผัง การ

เขียนแผนที่เบื้องต้นอย่างง่าย ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ผลเสียการทำลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทางสังคม การสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

และทางสงั คม โดยใชก้ ระบวนการทางสังคม กระบวนการสบื คน้ กระบวนการกลุ่มและกระบวนการแก้ปญั หา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสตั ย์ มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ

สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันตสิ ขุ ในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใช้หลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓

รวม ๒๔ ตัวช้วี ดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๙๕

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ส ๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สังเกต ศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล อภิปราย ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบเบื้องต้นของ

ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนา คัมภีร์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจรยิ ธรรม การบำเพ็ญ

ประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน และชุมชน หลักปฏิบัติการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ศาสนพิธี และพิธีกรรมในวัน

สำคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญาเบื้องต้น การทำความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน

การปฏบิ ัตติ นตามคำแนะนำเก่ยี วกับศลี ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มท่ดี ีงาม การเป็นพลเมืองดี ในสงั คมประชาธิปไตย

การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหน้าที่ของตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สิทธิของบุคคลที่พึงได้รับการ

ค้มุ ครอง การขดั เกลาของสังคม ค่านิยม ความเชือ่ ประเพณี วฒั นธรรม และภมู ปิ ญั ญาของท้องถ่ิน ความสัมพันธ์

ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทหน้าที่ของตนเอง การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบใน

โรงเรยี น ความหมาย และความสำคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชนข์ องรายรบั –รายจา่ ยของครอบครวั ตดั สนิ ใจเลือก

อย่างเหมาะสม เศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของชุมชน การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ประโยชน์ของ

ธนาคาร ภาษีที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันลักษณะทางกายภาพ องค์ประกอบของแผนผังแผนที่ ตำแหน่ง ระยะ

ทศิ ทาง ทรพั ยากรธรรมชาติรู้คุณค่าของธรรมชาติ การสร้างสรรคส์ ่ิงแวดล้อมทางสังคม การเปรียบเทียบประชากร

กับสิ่งแวดล้อม การฝึกสังเกตสิ่งต่างๆรอบตัว โดยใช้กระบวนการสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการ

กล่มุ กระบวนการแกป้ ญั หา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซือ่ สัตย์ มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ตวั ชวี้ ดั
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๒๘ ตวั ชวี้ ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔


Click to View FlipBook Version