The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Course at Ban Na Doi School ,2021

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ban Na Doy School, 2021-04-25 14:25:27

Course at Ban Na Doi School

Course at Ban Na Doi School ,2021

Keywords: School course

๑๙๖

ความช่วยเหลือผู้เรียนเรื่องสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทำระเบยี นสะสม สมุดรายงานประจำตวั นักเรยี น และ
บตั รสุขภาพ

๒. การจัดกิจกรรมพัฒนาวฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ โดยทำแบบทดสอบเพื่อรจู้ ักและเข้าใจตนเอง มี
ทักษะในการตัดสินใจ การปรบั ตวั การวางแผนเพอ่ื เลอื กศึกษาต่อ เลอื กอาชีพ

๓. การจดั บรกิ ารให้คำปรึกษาแกผ่ ู้เรยี นรายบุคคล และรายกลมุ่ ในด้านการศกึ ษา อาชพี และ
ส่วนตัว โดยมีผู้ให้คำปรึกษาที่มีคุณวุฒิ และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการให้คำปรึกษา ตลอดจนมีห้องให้
คำปรึกษาท่เี หมาะสม

๓.๑ ชว่ ยเหลอื ผู้เรียนทปี่ ระสบปัญหาดา้ นการเงิน โดยการใหท้ ุนการศกึ ษาแกผ่ ู้เรียน
๓.๒ ติดตามเกบ็ ขอ้ มลู ของนกั เรยี นท่ีสำเรจ็ การศึกษา

แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมแนะแนว
๑. การตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นตลอด

ปีการศกึ ษา
๒. ประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและผลงาน/ช้นิ งานของผู้เรียน ผเู้ รยี น

ต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ผลการเรียนรู้ และผ่านทกุ ผลการเรยี นรู้ โดยแต่ละผลการเรียนร้ผู า่ นไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ
๕๐ หรือมคี ุณภาพในระดับ ๑ ข้นึ ไป

๓. ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผู้เรียนตาม ถือว่า
ผเู้ รยี นมผี ลการเรยี น “ผ” ผ่านการประเมนิ กิจกรรมและนำผลการประเมินไปบันทึกในระเบยี นแสดงผลการเรียน

๔ ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไม่เป็นไปตาม ถือว่า
ผู้เรยี นมผี ลการเรยี น “มผ” โรงเรียนต้องจัดซ่อมเสริมให้ผเู้ รียนทำกิจกรรมในสว่ นทผ่ี ู้เรยี นไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้
ทำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” และนำผลการประเมินไปบันทึกในระเบียน
แสดงผลการเรยี น

๒. กิจกรรมนักเรยี น
เป็นกจิ กรรมที่มุ่งพัฒนาความมรี ะเบียบวนิ ัย ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผดิ ชอบการทำงานร่วมกัน

การรู้จกั แกป้ ญั หา การตดั สินใจที่เหมาะสม ความมีเหตผุ ล การช่วยเหลือแบ่งปันกนั เออื้ อาทร และสมานฉนั ท์ โดย
จดั ใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏบิ ตั ิด้วยตนเองในทกุ ข้ันตอน ไดแ้ ก่
การศึกษาวิเคราะหว์ างแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมนิ และปรับปรงุ การทำงาน เนน้ การทำงานรว่ มกนั เป็นกลมุ่ ตาม
ความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียน
ประกอบดว้ ย

๒.๑ กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
ผู้เรียนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๖ ทกุ คน และชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ทกุ คน ได้ฝึกอบรม

วิชาลูกเสือ - เนตรนารี เพื่อส่งเสริมหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๑๙๗

ส่งเสริมความสามัคคี มีวินัย และบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม โดยดำเนินการจัดกิจกรรมตามข้อกำหนดของ
คณะกรรมการลกู เสือแห่งชาติ โดยนักเรยี นทุกคนต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ดังน้ี

• ระดับประถมศึกษา ๔๐ ช่ัวโมงต่อปี
• ระดับมัธยมศกึ ษา ๔๐ ชว่ั โมงต่อปภาคเรยี น
วัตถปุ ระสงค์
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม เพื่อ
พฒั นาลกู เสือทงั้ ทางกาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ และศลี ธรรมใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี มีความรบั ผิดชอบ และชว่ ยสร้างสรรค์
สงั คม เพอ่ื ใหเ้ กิดความสามคั คี และความเจรญิ ก้าวหนา้ ท้ังนเี้ พ่ือความสงบสุข และความมั่งคงของประเทศชาติ
ตามแนวทางดงั ต่อไปนี้
๑. ให้มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชอ่ื ฟัง และพง่ึ ตนเอง
๒. ให้มคี วามซอ่ื สัตยส์ จุ รติ มีระเบียบวินยั และเห็นอกเหน็ ใจผู้อนื่
๓. ใหร้ จู้ กั บำเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน์
๔. ใหร้ ู้จกั ทำการฝมี ือและฝึกฝนการทำกิจกรรมต่างๆตามความเหมาะสม
๕. ให้ร้จู ักรักษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความมั่งคงชองชาติ

แนวการจดั กิจกรรม ลกู เสอื - เนตรนารี
๑. จดั สอนสัปดาหล์ ะ ๑ ช่วั โมง ในวนั พุธ
๒. นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ เปน็ ลูกเสือ – เนตรนารี สำรอง นักเรยี นช้ัน
ประถมศึกษาปที ่ี ๔ – ๖ เปน็ ลกู เสอื – เนตรนารี สามัญ และระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เปน็ ลูกเสอื – เนตรนารี
สามญั รุ่นใหญ่
๓. การจดั กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี จดั กจิ กรรมตามพระราชบญั ญัตลิ ูกเสอื พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๘
๔. การสอบวชิ าชาวค่าย ลูกเสอื สำรองเข้าคา่ ยกลางวนั เปน็ เวลา ๑ วนั ลูกเสือสามญั และลกู เสือ
สามัญรุ่นใหญ่เข้าคา่ ยแรมคืนเปน็ เวลา ๓ วนั ๒ คืน

๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
ผู้เรียนจะร่วมกิจกรรมอย่างหลากหลายประกอบด้วยกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม

การเขา้ คา่ ยคุณธรรม กิจกรรมด้านวัฒนธรรม ประเพณี การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมการ
เรียนรู้ ส่งเสริมด้านศิลปะ หัตถกรรม ค่ายวิชาการ การศึกษาดูงาน การฝึกปฏิบัติ กิจกรรมแข่งขันกีฬาสี โดย
นักเรียนทกุ คนตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมกจิ กรรมชมุ นุม ชมรม ดังน้ี

• ระดบั ประถมศึกษา ๓๐ ชั่วโมงต่อปี
• ระดบั มธั ยมศึกษา ๔๐ ชั่วโมงตอ่ ปภาคเรียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๑๙๘

วตั ถุประสงค์
๑. เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั กิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความตอ้ งการของตน
๒. เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด

ประสบการณท์ ัง้ ทางวชิ าการและวชิ าชพี ตามศกั ยภาพ
๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวมเพื่อให้ผู้เรียน

ทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่นื ไดต้ ามวิถีประชาธิปไตย

แนวการจดั กจิ กรรมชุมนุม
๑. การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ สปั ดาห์ละ ๑ ช่วั โมง ทงั้ ในและนอกโรงเรยี น
๒. การจัดตัง้ ชมุ นมุ จากความสนใจของผเู้ รยี นในการเขา้ เลอื กชมุ นมุ
๓. ผูเ้ รียนรว่ มกนั จดั ต้งั ชุมนมุ และเชิญครเู ปน็ ท่ีปรึกษา โดยร่วมกันดำเนินกจิ กรรมชมุ นุม

ตามระเบยี บปฏิบตั ิที่โรงเรียนกำหนด
๔. ถอดประสบการณ์แลกเปลี่ยนเรยี นร้แู ละเผยแพร่กิจกรรม
๕. ครทู ปี่ รึกษากจิ กรรมประเมินตามหลกั เกณฑ์การประเมินผล

แนวทางการประเมินผลกิจกรรมนักเรียน
๑.ทดสอบความสามารถและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ประเมินตามสภาพจรงิ
๒. กำหนดเกณฑ์การประเมิน “ผ่าน” และ “ไม่ผา่ น”
ผ่าน หมายถงึ ผูเ้ รยี นมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ปฏิบัติกิจกรรมและ

มีผลงาน / ช้นิ งาน/ คุณลกั ษณะตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมน้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ไมผ่ า่ นปฏบิ ตั ิ

กิจกรรม มีผลงาน/ ชนิ้ งาน/ คุณลักษณะไมเ่ ปน็ ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด

๓. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
เปน็ กิจกรรมท่สี ง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนบำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม ชุมชน และท้องถิน่ ตามความสนใจใน
ลกั ษณะอาสาสมคั ร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสยี สละต่อสังคม มจี ิตสาธารณะ เช่น กจิ กรรม
อาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ ดังน้ี

• ระดบั ประถมศึกษา ๑๐ ชัว่ โมงต่อปี
• ระดับมัธยมศึกษา ๒๐ ชั่วโมงต่อปภาคเรียน

วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และ

ประเทศชาติ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๑๙๙

๒. เพื่อให้ผู้เรียนออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตาม
ความถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร

๓. เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ

๔. เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม
จริยธรรมตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

๕. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีจติ สาธารณะและใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์

แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
๑.จดั กจิ กรรมอย่างต่อเนื่องทง้ั ในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนโดยการบูรณาการในกลุ่ม

สาระหรอื กิจกรรมแนะแนว ลูกเสอื – เนตรนารี ชมุ นมุ ในลักษณะเพือ่ สังคมหรอื สาธารณประโยชน์
๒. มีครทู ี่ปรกึ ษากจิ กรรมทกุ กิจกรรม
๓. เนน้ ผเู้ รยี นเป็นผู้จัดกจิ กรรม / รายงานตนเอง / ชิ้นงาน
๔. จัดกิจกรรมเวลาใดก็ได้โดยไมจ่ ำกัดเวลา สถานท่ี / รปู แบบ / กจิ กรรม

ผูเ้ รยี นจะรว่ มกิจกรรมตามวุฒิภาวะอย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั เพศ วัย ประกอบด้วย
๑. กิจกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทำความสะอาดชุมชน โบสถ์
๒. กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์ลำน้ำแม่เงา ปลูกต้นไม้ทางเข้าหมู่บ้าน โบสถ์

โรงเรียน
๓. กิจกรรมรณรงค์ การเผาขยะ การรณรงค์ไปใชส้ ิทธเิ ลือกต้งั การรว่ มกจิ กรรมในวัน

สำคญั ต่างๆ การอนุรกั ษศ์ ลิ ปวฒั นธรรม

แนวทางการประเมนิ ผลกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ มี ๒ ระดับ คือ
“ผ่าน” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป และผ่าน

จดุ ประสงค์ทส่ี ำคัญของแต่ละกิจกรรม
“ไม่ผ่าน” หมายถงึ ผเู้ รียนมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมตำ่ กวา่ ร้อยละ ๘๐ หรือไม่ผ่าน

จดุ ประสงค์ท่สี ำคัญของแตล่ ะกจิ กรรม
ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนครบทุกกิจกรรมตาม

โรงเรียนกำหนดในระดบั “ผ่าน” ในแต่ละช่วงชั้น

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๐๐

ระดับการศกึ ษา

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย ไดจ้ ัดการศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั อนุลาลถึงระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ระดบั นอ้ี ย่ใู นช่วงของการศึกษาภาคบังคับ ม่งุ เนน้ ทกั ษะพื้นฐานดา้ นการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการ
คิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
อย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ

การจัดเวลาเรียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนโดยใช้แนวทางของ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ไดก้ ำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่ำ สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘
กล่มุ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นในทุกระดับชนั้ โดยจัดเวลาเรียนเป็นรายปี และรายภาคเรยี น มีเวลาเรยี นวนั ละ ไม่
เกิน ๖ ชั่วโมง และสถานศึกษาได้เพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริบทของ
สถานศกึ ษาและสภาพของผู้เรียน

การจัดการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็น
เปา้ หมายสำหรับพฒั นาเด็กและเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝัง
เสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะตา่ งๆ อนั เป็นสมรรถนะสำคญั ใหผ้ ูเ้ รยี นบรรลตุ ามเป้าหมาย

๑. หลกั การจดั การเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึง
ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม

๒. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรยี นรทู้ ่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ผูเ้ รยี นจะต้องอาศยั กระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย เป็น

เครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับ ผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ญั หา กระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือ
ทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา
ลกั ษณะนสิ ยั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๐๑

กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรูไ้ ด้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจำเป็นต้องศึกษาทำความ
เขา้ ใจในกระบวนการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เพอ่ื ให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนตอ้ งศึกษาหลักสตู รสถานศกึ ษาให้เข้าใจถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะสำคัญของ

ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายที่กำหนด

๔. บทบาทของผสู้ อนและผู้เรยี น
การจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ให้ผเู้ รียนมีคุณภาพตามเปา้ หมายของหลกั สตู ร ท้ังผสู้ อนและผู้เรียนควรมี

บทบาท ดงั นี้
๔.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศกึ ษาวิเคราะหผ์ ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้

ทที่ ้าทายความสามารถของผูเ้ รียน
๒) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่

เปน็ ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสัมพนั ธ์ รวมทงั้ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พัฒนาการทางสมอง เพ่อื นำผูเ้ รยี นไปสู่เปา้ หมาย
๔) จดั บรรยากาศท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่

เหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
๖) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของ

วชิ าและระดับพัฒนาการของผูเ้ รียน
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการ

จัดการเรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผูเ้ รียน
๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ต้ังคำถาม คิด

หาคำตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ลงมือปฏิบตั ิจริง สรปุ สง่ิ ที่ได้เรียนร้ดู ้วยตนเอง และนำความรู้
ไปประยุกตใ์ ช้ ในสถานการณต์ า่ งๆ มีปฏิสมั พนั ธ์ ทำงาน ทำกจิ กรรมร่วมกับกลมุ่ และครู ประเมนิ และพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๐๒

สอื่ การเรียนรู้

สอื่ การเรียนรู้เปน็ เคร่ืองมอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การกระบวนการเรยี นรู้ ใหผ้ เู้ รียนเข้าถึงความรู้ ทักษะ
กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลากหลาย
ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้
ส่ือควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกับระดบั พัฒนาการ และลลี าการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายของผ้เู รยี น การจดั หาสอ่ื การ
เรียนรู้ ผู้เรยี นและผ้สู อนสามารถจัดทำและพฒั นาขน้ึ เอง หรือปรบั ปรงุ เลอื กใช้อย่างมคี ุณภาพจากส่ือต่างๆ ที่มีอยู่
รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดย
สถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นท่ี
การศึกษา หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งและผู้มีหนา้ ทจ่ี ัดการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานควรดำเนนิ การ ดงั นี้

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรี ยนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในสถานศึกษาและชุมชน เพื่อการศึกษาค้นควา้ และการแลกเปลี่ยนประสบการณก์ าร
เรยี นรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ท้องถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก

๒. จัดทำและจดั หาสือ่ การเรียนร้สู ำหรับการศึกษาคน้ คว้าของผ้เู รยี น เสริมความรู้ให้ผ้สู อน รวมทั้งจัดหา
สิง่ ท่มี ีอยใู่ นท้องถ่ินมาประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ ส่อื การเรยี นรู้

๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ
เรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผูเ้ รยี น

๔. ประเมินคุณภาพของส่อื การเรียนรู้ทเ่ี ลือกใช้อย่างเปน็ ระบบ
๕. ศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ัย เพ่อื พัฒนาสอ่ื การเรียนร้ใู หส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน
๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ือ
การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่ำเสมอในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ใน
สถานศึกษา ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไ ม่
กระทบความมั่นคงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย และ
นา่ สนใจ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก
ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การ
สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นเกดิ การพฒั นาและเรียนรู้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

๒๐๓

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา และระดับชาติ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ
ซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การ
ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
ผ้ปู กครองรว่ มประเมนิ ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วดั ใหม้ ี การสอนซ่อมเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา
ปรบั ปรงุ และสง่ เสรมิ ในด้านใด นอกจากน้ียงั เป็นข้อมูลใหผ้ ู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งน้ีโดย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้ีวดั

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศกึ ษาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑร์ ะดบั ชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมลู และสารสนเทศเพื่อการ
ปรับปรุงนโยบาย หลกั สูตร โครงการ หรอื วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษา
ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้ปกครองและชุมชน

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์ิของผูเ้ รียนด้วยข้อสอบมาตรฐานทีจ่ ัดทำและดำเนินการโดยเขตพ้นื ที่การศกึ ษา หรอื ดว้ ยความรว่ มมือกับ
หน่วยงานต้นสังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดบั สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน สถานศกึ ษาต้องจัดใหผ้ เู้ รียนทกุ คนท่ีเรยี น ในชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ชน้ั
ประถมศึกษาปีที่ ๖ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ และชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ เขา้ รบั การประเมนิ ผลจากการประเมินใช้
เป็นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจดั
การศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนบั สนุน การตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน พัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

๒๐๔

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นต่ำ กลมุ่ ผู้เรียนท่มี ปี ญั หาดา้ นวนิ ัยและพฤตกิ รรม กลุม่ ผู้เรียนท่ปี ฏิเสธโรงเรยี น กลุ่มผู้เรียน
ที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ น
หัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและ
ประสบความสำเรจ็ ในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพ่อื ให้บคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายถือปฏิบตั ิรว่ มกัน

เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียน

๑. การตัดสนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก
และต้องเก็บขอ้ มลู ของผเู้ รียนทุกด้านอยา่ งสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแตล่ ะภาคเรียน รวมทัง้ สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้
พฒั นาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ

(๑) ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ทุกตัวชว้ี ัดและผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด (ผู้เรียน
ตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตัวช้ีวัดโดยแตล่ ะตวั ชวี้ ดั ตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐)
(๓) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวิชา (ผเู้ รยี นไดร้ บั การตดั สินผลการเรียน
ต้งั แต่ระดบั ๑ ข้นึ ไป)
(๔) ผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนด ใน
การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ผู้เรียนมีผลการประเมิน
การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีเยี่ยม ดี และผ่าน และผลการประเมิน
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นในระดบั ผ่าน)
การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถ
พัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่ าน
รายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้ง
คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซำ้ ชัน้ ได้ ทง้ั นใี้ ห้คำนึงถงึ วฒุ ภิ าวะและความรคู้ วามสามารถของผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
๑.๒ การใหร้ ะดับผลการเรยี น

ในการตัดสินระดับผลการเรียนรายวิชาหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรยี นเป็นระบบ
ตัวเลข ระบบที่ใช้คำสำคญั สะทอ้ นมาตรฐาน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์นั้นให้ระดับผลการประเมินเปน็ ดีเยี่ยม ดี และผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณา
ท้ังเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏบิ ตั ิกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผล
การเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผา่ น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๐๕

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้า ใน

การเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็น
ระยะ ๆ หรืออย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครัง้ การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติ
ของผู้เรียนท่ีสะทอ้ นมาตรฐานการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรียนรู้

๒. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
โรงเรียนบา้ นนาดอยไดก้ ำหนดเกณฑก์ ารจบการศึกษาสอดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดงั น้ี
เกณฑ์การจบการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

(๑) ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวชิ า/กจิ กรรมเพ่มิ เติมตามโครงสรา้ งเวลาเรยี น ท่ีหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด (ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานปีละ ๘๔๐ ชั่วโมงและรายวิชาเพิ่มเติมปีละ
๒๔๐ ช่ัวโมง)

(๒) ผู้เรยี นต้องมผี ลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากำหนด
(ผู้เรยี นต้องมผี ลการประเมนิ รายวิชาพ้ืนฐานระดบั ๑ ขึ้นไปทกุ รายวิชา)

(๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดับผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด (ผเู้ รียนมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดบั ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน)

(๔) ผู้เรยี นมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด (ผ้เู รียนมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดับ ดเี ยี่ยม ดี และผา่ น)

(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด (ผู้เรียน เข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมปลี ะ ๑๒๐ ชั่วโมง และได้รับ
การประเมนิ ผ่าน ทุกกิจกรรม)

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง
กับพัฒนาการของผูเ้ รียนในดา้ นต่าง ๆ แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั นี้

๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.๑)
เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรียนของผู้เรยี นตามรายวิชา ผลการประเมิน

การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมิน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบ
การศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖) จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) จบ
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน(ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖) หรือเมอื่ ลาออกจากสถานศกึ ษาในทุกกรณี

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๐๖

๑.๒ ประกาศนยี บตั ร (ปพ.๒)
เปน็ เอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรบั รองศักด์ิและสิทธขิ์ องผู้จบการศึกษา ท่สี ถานศึกษาให้ไว้แก่

ผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คับ และผู้จบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศกึ ษา (ปพ.๓)
เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับ

ประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖) ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) และผู้จบการศึก ษาข้ัน
พนื้ ฐาน (ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖)

๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับ

ผเู้ รียน ได้แก่
๒.๑ แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจำรายวิชา (แบบ ๑)
เป็นเอกสารท่สี ถานศกึ ษาจัดทำข้ึนเพ่ือบันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้ สำหรับพิจารณา ตัดสิน

ผลการเรยี นแตล่ ะรายวิชาพน้ื ฐาน/เพิ่มเติม เป็นรายหอ้ งเรยี น
๒.๒ แบบบันทึกผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น (แบบ ๒)
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพือ่ บันทึกการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียนเปน็ รายห้องเรยี น
๒.๓ แบบบนั ทกึ ผลกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (แบบ ๓)
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกสรุปผลกิจกรรมแนะแนว ลูกเสือ-เนตรนารี ชมรม

และกจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ รายหอ้ งเรยี น
๒.๔ แบบรายงานประจำตัวนกั เรียน (แบบ ๕)
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจดั ทำข้ึนเพื่อบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับผลการเรียน พัฒนาการในด้านตา่ งๆ

และขอ้ มลู อ่นื ๆของผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล ทง้ั ที่สถานศกึ ษาและท่บี ้าน เพื่อใช้สำหรับสอ่ื สารระหว่างสถานศึกษากับ
ผู้ปกครองของผ้เู รียนให้ทราบ และเกิดความเขา้ ใจในตัวผเู้ รียนรว่ มกัน

๒.๕ ระเบียนสะสม (แบบ ๖)
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของผู้เรียนในด้านต่างๆ

เป็นรายบคุ คล โดยจะบันทกึ ข้อมูลของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดชว่ งระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑๒ ปี

๒.๖ ใบรับรองผลการเรยี น
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารสำหรับรับรองสถานภาพทางการเรียนของ

ผเู้ รียนเปน็ การช่ัวคราว ตามทผ่ี เู้ รยี นร้องขอ ทั้งกรณที ่ีผู้เรยี นกำลงั ศึกษาอยู่ในสถานศึกษาและเม่ือจบการศึกษาไป
แล้ว แตก่ ำลงั รอรับหลักฐานการศกึ ษา

การเทียบโอนผลการเรยี น

สถานศึกษาสามารถเทยี บโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณตี ่างๆได้แก่ การย้ายสถานศกึ ษา การเปลี่ยน
รูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนาดอย พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

๒๐๗

และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหลง่ การเรียนรู้
อ่ืนๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชพี การจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรื อต้นภาคเรียนแรก
ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด
รายวชิ า/จำนวนหนว่ ยกติ ทจ่ี ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม

การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนินการได้ ดังน้ี
๑. พจิ ารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่นื ๆ ทใ่ี ห้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี น
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้ และ
ภาคปฏิบัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการสำหรับการ
เทียบโอนเข้าสู่การศกึ ษาในระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ให้ดำเนินการตามแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการเทียบโอน
ผลการเรียนเข้าส่กู ารศกึ ษาในระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
การบริหารจัดการหลกั สูตร

โรงเรียนสังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองปากพนังสนับสนุน ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรให้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้การดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพสูงสุด เพอ่ื สง่ ผลใหก้ ารพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนด
ไวใ้ นระดบั ชาติ โดยมกี ารวางแผนและดำเนินการใช้หลักสตู ร การปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียน
สงั กดั กองการศึกษาเทศบาลเมืองปากพนังใหม้ ีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มีการ
เพ่ิมเติมหลักสูตรท้องถ่นิ ในสว่ นเกี่ยวกับสภาพปญั หาในชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความต้องการของ
ผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ่วนรว่ มการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔

คำสงั่ โรงเรียนบ้ำนนำดอย
ที่ 17 /2564

เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรพัฒนำและปรับปรงุ หลกั สูตรสถำนศกึ ษำ
โรงเรียนบำนนำดอย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักรำช 2564)
-------------------------------------

ตามอนุสนธิคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 1239/2560 ส่ง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง
กาหนดให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราชการ 2551 และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นฐาน ท่ี 30/2561
สั่ง ณ วันที่ 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปล่ียนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาพฒั นาผู้เรยี นให้มีศักยภาพในการแข่งขนั และดารงชวี ิตอย่างสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลกตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ท่ี 921/2561 สั่ง ณ วันท่ี
3 พฤษภาคม 2561 เร่ือง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และ
สาระท่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเปลี่ยนช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการลดความซ้าซ้อน
ของเนอ้ื หาสาระเกี่ยวกับเทคโนโลยี

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไข
เพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2545 มาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
2546 และมาตรา 27 แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 เพอื่ ให้
การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พรอมท้ังการจัดทาเอกสารประกอบหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
มีความชัดเจนและถูกตอง มีประสิทธิภาพ จึงขอแต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นบา้ นนาดอย (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2564) ดังนี้

1. คณะกรรมกำรดำเนินงำน ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ
1.1. นายพีระยทุ ธ์ สุขสมบูรณ์ ครูชานาญการ กรรมการ
1.2. นายภวู นาถ ปญั ญา ครชู านาญการ กรรมการ
1.3. นายพงษ์พฒั น์ ตงั้ ตระกูล ครู กรรมการ
1.4. นายณรงคศ์ ักด์ิ ดเี พยี ร

/นายนริ ันดร.์ ..

2

1.5. นายนริ ันดร์ ประเสริฐรัตนา ครู กรรมการ
1.6. นางสาวจุฑามาศ คาภิไหล ครู กรรมการ
1.7. นางสาวสาวติ รี พทิ ักษ์ ครู กรรมการ
1.8. นางอุษา คงเดมิ ครู กรรมการ
1.9. นางสาวพิชญา บญุ ยวง ครูผู้ชว่ ย กรรมการ
1.10.นางสาวพมิ พส์ มยั ไพโรจน์ ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ
1.11.นางสาวศศนิ า เจรญิ พรกุล ครูผู้ช่วย กรรมการ
1.12.นางสาวขนษิ ฐา ชลใสเยน็ ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ
1.13.นางสาวชลลดา วสุทวพี ูน ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ
1.14.นางสาวมุฑิตา ทวีบญุ ภิรมย์ ครผู สู้ อน กรรมการ
1.15.วา่ ทร่ี ้อยตรี ณฐั วุฒิ ณ รมิ เปง็ ครผู ู้สอน กรรมการ
1.16.ว่าท่รี อ้ ยตรี สรุ ชยั ณัฐธยานนท์ ครผู สู้ อน กรรมการ
1.17.นางสาวประไพ วมิ านประไพ ครพู ่ีเลย้ี งเด็กพิการเรียนรว่ ม กรรมการ
1.18.นางพัชราภรณ์ สมวิสัตย์ ครู กรรมการและ
เลขานกุ าร

มีหน้าที่
1. ทบทวนหลักสูตร วางแผนการพัฒนา และปรับปรุง โดยกาหนดรายละเอียดหลักสูตร

ระดับสถานศึกษาและแนวทางการจัดทาโครงสร้างหลักสูตร และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ประจาปี
การศึกษา 2564 ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นโยบายและ
จดุ เน้นของเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2 และความตอ้ งการของชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ

2. จัดทาแผนการนิเทศ กากับ ติดตาม ให้คาปรึกษาเกี่ยวการพัฒนาหลักสูตร การจัด
กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการแนะแนวให้สอดคล้อง และเป็นไปตามมาตรฐาน หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

3. จัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ท่ีได้รับการพัฒนา และปรับปรุงแล้ว เพื่อให้ทัน
กาหนดการใชใ้ นปีการศกึ ษา 2564

4. รายงานผลการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเน้นผลการพัฒนาคุณภาพการต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั จานวนครู นกั เรียน และห้องเรียน

2. คณะกรรมกำรจดั เตรยี มเอกสำร รวบรวม และจดั ทำเล่ม

2.1. นางพัชราภรณ์ สมวิสัตย์ ครู ประธานกรรมการ
กรรมการ
2.2. นางสาวจฑุ ามาศ คาภิไหล ครู กรรมการ
กรรการและ
2.3. นางสาวขนษิ ฐา ชลใสเย็น ครผู ู้ชว่ ย เลขานุการ

2.4. นางสาวเสาวลกั ษณ์ อมั พรธรรม เจ้าหน้าทธี่ ุรการ

/3. คณะกรรมการจัดทา...

3

3. คณะกรรมกำรจัดทำหลกั สูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

3.1. นางพชั ราภรณ์ สมวสิ ัตย์ ครู

3.2. นางสาวอษุ า คงเดมิ ครู

3.3. นางสาวพมิ พ์สมยั ไพโรจน์ ครผู ชู้ ว่ ย

4. คณะกรรมกำรจดั ทำหลักสตู รกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพ

4.1. นายภูวนาถ ปัญญา ครูชานาญการ

4.2. ว่าท่ีรอ้ ยตรี ณัฐวฒุ ิ ณ รมิ เป็ง ครูผสู้ อน

5. คณะกรรมกำรจัดทำหลักสตู รกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์

5.1. นางพัชราภรณ์ สมวิสตั ย์ ครู

5.2. นางสาวอุษา คงเดิม ครู

5.3. นางสาวชลลดา วสุทวีพนู ครูผู้ชว่ ย

5.4. นางสาวมฑุ ิตา ทวบี ุญภิรมย์ ครูผู้สอน

6. คณะกรรมกำรจัดทำหลักสตู รกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย

6.1. นายณรงค์ศักดิ์ ดเี พียร ครู

6.2. นางสาวสาวติ รี พทิ ักษ์ ครู

6.3. นางสาวชลลดา วสุทวพี ูน ครูผชู้ ว่ ย

7. คณะกรรมกำรจดั ทำหลกั สตู รกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ

7.1. นางสาวศศนิ า เจรญิ พรกุล ครผู ชู้ ่วย

7.2. นางสาวขนิษฐา ชลใสเย็น ครูผู้ช่วย

8. คณะกรรมกำรจดั ทำหลักสูตรกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ

8.1. นายนริ ันดร์ ประเสริฐรัตนา ครู

8.2. วา่ ท่ีรอ้ ยตรี ณัฐวุฒิ ณ รมิ เป็ง ครผู สู้ อน

9. คณะกรรมกำรจัดทำหลกั สตู รกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สขุ ศกึ ษำและพละศกึ ษำ

9.1. นายนิรันดร์ ประเสริฐรัตนา ครู

9.2. วา่ ที่ร้อยตรี ณัฐวุฒิ ณ ริมเป็ง ครผู ู้สอน

9.3. ว่าที่ร้อยตรี สรุ ชัย ณัฐธยานนท์ ครูผู้สอน

10. คณะกรรมกำรจัดทำหลักสตู รกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม

10.1.นายพงษพ์ ฒั น์ ตั้งตระกลู ครูชานาญการ

11. คณะกรรมกำรจัดทำหลักสตู รสถำนศกึ ษำในระดบั ปฐมวัย

11.1.นางสาวจฑุ ามาศ คาภิไหล ครู

11.2.นางสาวพิชญา บญุ ยวง ครูผู้ช่วย

11.3.นางสาวประไพ วมิ านประไพ ครพู ่เี ลี้ยงเดก็ พิการเรยี นร่วม

/มหี นา้ ท่.ี ..

4

มีหน้าที่
1. จัดเตรียมเอกสาร เพื่อเตรียมจัดทาและปรับปรุงหลักสูตร ได้แก่ โครงสร้างหลักสูตร หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย ปีการศึกษาที่ 2563
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ท่ีมีการเปล่ยี นแปลง คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่เกย่ี วข้องกับการปรบั ปรุงหลักสูตรใน
กลมุ่ สาระตา่ ง ๆ
2. รวบรวมข้อมูลการปรับปรุงหลักสูตรรายวิชา คาอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรียนและตัวช้ีวัด
จากกลุม่ สาระต่าง ๆ จัดทาเล่มหลักสูตรนาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา เพอื่ พจิ ารณาอนุมัติ และประกาศใช้ใน
ปกี ารศกึ ษา 2563

ให้ผทู้ ่ไี ด้รับแตง่ ตั้งตามคาสง่ั นี้ ปฏิบัตหิ น้าทท่ี ไ่ี ด้รบั มอบหมายดว้ ยความเอาใจใส่ เพ่อื ให้การดาเนนิ งาน
บรรลวุ ตั ถุประสงค์ตามท่ไี ด้กาหนดไว้ทกุ ประการ

ท้ังน้ี ต้งั แต่วันที่ 1 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2564 เปน็ ตน้ ไป

สัง่ ณ วันที่ 1 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2564

(นายพีระยทุ ธ์ สขุ สมบูรณ์)
ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นนาดอย



โรงเรยี นบ้านนาดอย

311 หม่ 9 ตาบลแมส่ วด อาเภอสบเมย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

สานกั งานเขตพืน้ ทกี ่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2


Click to View FlipBook Version