The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book รัชนีกร จีนบวช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัชนีกร จีนบวช, 2020-06-06 18:16:55

E-book รัชนีกร จีนบวช

E-book รัชนีกร จีนบวช

การฟอกเลือดดว้ ยเครอ่ื งไตเทียม
ข้อบง่ ชีทั่วไป
-Cr มากกวา่ mg/dl dlหรือ BUN มากกว่า mg/dl
-นาเกนิ หรอื น้าท่วมปอด
-ความดันโลหิตสูงไม่ตอบสนองตอ่ ยา
-มภี าวะเลือดออกผดิ ปกติ
-ภาวะ Uremic pericarditis
-N/V ตลอดเวลา
ข้อบง่ ชี จากการทางานของไต
-Weekly renal Kt /V urea ต่ากวา่ 20 เนอ่ื งจากเสีย่ งต่อภาวะทุพโภชนาการ
-การเรม่ิ ทาในผ้ปู ่วยไตวายระยะสดุ ทา้ ยทุพโภชนาการทม่ี กี ารปรบั ปรุงการบริโภค โปรตีนและพลงั งานแล้ว
Kt /V เป็นสดั สว่ นบอกคณุ ภาพการฟอกเลอื ดดว้ ยไตเทียมหรอื การลา้ งไตทางหน้าทอ้ ง
-K ยูเรยี
-t ระยะเวลาการฟอกไตทัง 2 วธิ ี
-V ปริมาณยูเรยี โดยประมาณที่อย่ใู นร่างกายผปู้ ่วย

สิง่ ท่ตี อ้ งเขา้ ใจเก่ียวกับการฟอกเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งไตเทียม
***หมอใช้พจิ ารณาวา่ ควรฟอกถี่ขนึ หรอื เปล่า

เสน้ เลือดเพอื่ การฟอกเลอื ด
1. เสน้ ฟอกชัว่ คราว double lumen catheter (DLC) หลอดเลือดดา ที่ คอ หรือขาหนีบ
2. เสน้ ฟอกเลอื ดถาวร แบง่ เป็น 3ชนิด
-Perm catheter สวนสายเขา้ ไปที่ subclavian vein
-Arteriovenous Fistula (AVF)
-Arteriovenous graft (AVG)
-AVF และ AVG นิยมทาท่แี ขนท่อนบน ท่อนล่าง และต้นขา

ข้อดขี อ้ เสียของการฟอกเลอื ดดว้ ยไตเทยี ม

คณุ สมบัตขิ องการปลกู ถา่ ยไต

การพยาบาล กอ่ น และหลงั ผ่าตดั ตามมาตรฐานการพยาบาล การดแู ลใหไ้ ด้รบั ยากดภมู ติ า้ นทานของ
รา่ งกายเพื่อป้องกนั การปฏเิ สธไตท่ปี ลูกถา่ ย และ Antibiotic

น.ส.รชั นีกร จีนบวช เลขท่ี 36 หอ้ ง
รหสั 6117701001068

หนว่ ยที่ 12 การพยาบาลผู้ปว่ ยที่มภี าวะช็อกและอวยั วะลม้ เหลวหลายระบบ



































การพยาบาลผปู้ ว่ ย Cardiogenic shock
1. การดแู ลใหม้ ีการคงไวซ้ งึ่ สภาวะออกซิเจน ระบบไหลเวียนเลือดที่เพียงพอกับความต้องการของ
ร่างกาย เพอื่ ปอ้ งกันและลดอันตรายท่อี าจเกดิ ข้ึนจากภาวะแทรกซ้อนของภาวะ shock
2. การบรรเทา ความกลัว ความวิตกกังวล จากภาวการณ์เจ็บปว่ ยของผู้ป่วยและญาติ

กิจกรรมพยาบาล
1. ประเมนิ ตรวจวดั บันทึกสัญญาณชีพอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังการเฝา้ ระวัง Invasive hemodynamic
pressure monitoring
2. ประเมนิ สภาวะการกาซาบของเลอื ดไปยังเน้ือเยือ่ อวัยวะต่างๆ โดยอาการและอาการแสดงทบ่ี ่งชีว้ า่
เนือ้ เย่ือมีการกาซาบของเลือดลดลง
3. ประเมินตดิ ตามค่าความเขม้ ข้นของออกซเิ จนในเลอื ดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และดูแลใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ บั
ออกซเิ จนโดยให้ค่า SpO2 มากกวา่ 90%, PaO2 มากกวา่ 60 มลิ ลิเมตรปรอท หรือตามแผนการรักษา
ของ
แพทย์
4. ดแู ลระบบหายใจ จัดให้ผปู้ ่วยนอนศรี ษะสงู หรอื ในท่าทท่ี างเดนิ หายใจเปิดโลง่ และปอดมกี ารขยาย
อยา่ งเตม็ ที่
5. ดแู ลให้ absolute bed rest ช่วยเหลือในการท ากิจกรรมต่างๆเกย่ี วกับกิจวัตรประจาวันของผูป้ ่วย
6. ดูแลใหส้ ารน้าและยากระตนุ้ ความดนั โลหิตตามแผนการรกั ษา
7. เตรียมความพร้อมของอุปกรณแ์ ละดแู ลชว่ ยแพทยท์ าหตั ถการตา่ งๆ เพ่อื ประเมนิ ระบบการ
ไหลเวียนโลหิตอยา่ งต่อเน่ือง ได้แก่ การใส่สายสวนเพอ่ื วัดความดนั โลหิตอยา่ งตอ่ เนื่อง เช่น CVP , A –
line
8. ติดตามผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ
9. การเฝ้าระวัง arrhythmia ทีอ่ าจเกิดข้ึน เชน่ PCV,VT,heart block เป็นต้น โดยการตดิ ตามบนั ทึก
คลืน่ ไฟฟ้าหัวใจตอ่ เนอ่ื งและเตรียมพรอ้ มใหก้ ารช่วยเหลอื ได้ทันที
10. การเฝ้าระวังอาการขา้ งเคียงท่อี าจเกิดขนึ้ ในผู้ปว่ ยทไ่ี ด้รบั ยากระต้นุ ความดนั ทงั้ ในกลมุ่ inotropic
และ vasopressure

11. ผปู้ ว่ ยท่ใี ส่ IABP ตอ้ งมีการสงั เกตแผลบรเิ วณที่ใสว่ ่ามี bleeding, hematoma, sign infection
หรอื ไม่ รว่ มกบั การประเมนิ บันทกึ และสังเกตการณ์ไหลเวยี นของเลอื ดของขาทง้ั 2 ขา้ งโดยการประเมนิ
ความ
แรงของ dorsalispedis pulse
12. เตรียมอปุ กรณใ์ นการชว่ ยชีวติ และรถฉกุ เฉนิ ใหพ้ รอ้ มใช้

หลกั การพยาบาลผปู้ ่วยท่มี ภี าวะช็อกจากตดิ เชื อ
กจิ กรรมการพยาบาล
1. ประเมินความรนุ แรงและความเส่ยี งของการเกิดภาวะชอ็ กจากการติดเชือ้ ในผ้ปู ่วยที่ยังไมเ่ ข้าสู่
ภาวะชอ็ ก เพื่อใชใ้ นการวางแผนการพยาบาลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและทนั ทว่ งที
2. เฝา้ ระวงั ติดตามดแู ลอยา่ งใกล้ชิดในผู้ปว่ ยท่เี กดิ ภาวะช็อก เพ่อื ป้องกันอันตรายที่อาจเกดิ จาก
ภาวะแทรกซ้อนของช็อกตอ่ อวยั วะทส่ี าคญั ของร่างกาย
3. การช่วยแพทย์ควบคมุ หรือกาจัดแหล่งการตดิ เชื้ออยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. การสง่ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
5. การดแู ลชว่ ยแพทยใ์ สส่ ายสวนหลอดเลอื ดดาสว่ นกลาง หรอื สายสวนในหลอดเลอื ดแดงปอดเพอ่ื
ประเมินปริมาณสารน้าในร่างกาย และการบันทกึ ค่า CVP, PCWP อย่างถูกตอ้ ง
6. การให้ยาเพ่มิ ระดบั ความดนั โลหิตเพอื่ ให้หลอดเลือดส่วนปลายหดตวั โดยการบริหารยาผา่ นหลอด
เลือดดาโดยใช้ infusion pump ในระหว่างการให้ยาท่ีมคี วามเสย่ี งสงู
7. การดแู ลให้ผู้ปว่ ยไดร้ บั ออกซิเจนอยา่ งเพียงพอตามแผนการรักษา รวมทง้ั การใช้เครือ่ งชว่ ยหายใจ
8. การดแู ลให้ผปู้ ่วยได้รับความสขุ สบาย เมอื่ มไี ขด้ แู ลใหไ้ ดร้ บั ยาลดไข้
9. การเฝา้ ระวงั การติดเช้ือในโรงพยาบาล สง่ เสรมิ การลา้ งมอื กอ่ นหลงั การสัมผสั ผปู้ ่วย เพื่อป้องกัน
การแพรก่ ระจายเช้อื ตดิ ตามอาการและอาการแสดงของภาวการณต์ ิดเช้อื อย่างตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะกลุ่ม
ผปู้ ่วยท่ี
มีความเสยี่ ง เพอ่ื ปอ้ งกันอันตรายทีเ่ กดิ จากการติดเช้อื แทรกซ้อน
10. ร่วมมอื กบั แพทยใ์ นการรักษาภาวะช็อก โดยการใหย้ าท่มี ีผลต่อหลอดเลือด ยาเพม่ิ แรงบีบตวั ชอง
หัวใจ ยาที่ชว่ ยเพิ่มปริมาณเลือดทไี่ ปเลีย้ งหวั ใจ และยาปฏิชวี นะ
11. ป้องกันภาวะโภชนาการและเสียสมดุลไนโตรเจน
12. ลดความรู้สึกกลวั และวิตกกงั วลของผปู้ ว่ ยและครอบครัว
13. ดแู ลให้ได้รบั ยาปฏชิ ีวนะและสงั เกตผลขา้ งเคียงของยา
14. ส่งตรวจและติดตามผลเพาะเชือ้ ของเลือด ปสั สาวะ เสมหะ และสารคดั หลั่งต่างๆ
15 ใช้หลัก aseptic technique เมอ่ื มีการสอดใส่สายตา่ งๆ เชน่ central line หรือ PA catheter,
urinary catheter ส่งิ ท่ีสาคญั คือการพยาบาลดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ อย่าให้เกิดการตดิ เชือ้ ท่ีสายและการเอา
สายcatheter ออก เมื่อหมดขอ้ บง่ ชแี้ ล้ว

คานิยามของภาวะลม้ เหลวในการท างานของระบบอวัยวะหนง่ึ ในร่างกาย
1. ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด อาการแสดงทางคลินกิ มีอาการหน่งึ อาการหรอื มากกวา่ หน่ึงอาการ
- อัตราการเตน้ ของหัวใจ≤50 ครง้ั /นาที
- ความดนั เลือดเฉล่ยี ≤49 มม.ปรอท
- มภี าวะหัวใจล้มเหลวร่วมกับการตรวจภาพรงั สปี อดและอาการทางคลนิ กิ บ่งบอกว่ามปี อดบวมน้ า
- มีการแสดงของภาวะทเี่ ลอื ดไปเลีย้ งอวยั วะตา่ งๆไมเ่ พียงพอ คือ pH ของเลอื ด นอ้ ยกว่า 7.24
- มีหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ VT หรือ VF
- ต้องการใช้ยา vasopressor เช่น norepinephrine, phenylephrine, epinephrine หรอื
dopamine มากกว่า 6 ไมโครกรมั /กก./นาที
2. ระบบหายใจ อาการแสดงทางคลนิ ิก มีอาการหนง่ึ อาการหรือมากกว่าหนึ่งอาการ
- อัตราการหายใจ<5 หรอื ≥49 ครัง้ /นาที
-PaCO2 ≥50 มม.ปรอท ในขณะที่ pH <7.35
- ตอ้ งใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจ หรือ CPAP มากกวา่ 3 วนั
3. ไต มอี าการหนึ่งอาการหรอื มากกว่าหนง่ึ อาการ
- คา่ creatinin ≥ 3.5 mg/dl
- คา่ BNU ≥ 100 mg/dl
- มกี ารเพ่ิมขน้ึ ของคา่ creatinin>2 mg% โดยเฉพาะผ้ปู ่วยท่ีมไี ตวายเรือ้ รงั
- มีความจ าเป็นตอ้ งใชก้ ารฟอกเลือด
- ปัสสาวะ ≤479 มล./วัน หรือ ≤159 มล./8 ชม.
4. ตับ มีค่า prothrombin time สูงข้ึน โดยไม่เกยี่ วขอ้ งกับการขาดวติ ามนิ K หรือ Disseminated
intravascular coagulation (DIC) รว่ มกบั มีค่า total bilirubin เพิม่ ขนึ้ อยา่ งนอ้ ย 2 เทา่ และค่า AST
เพ่ิมขน้ึ
5. เลือด
- จานวนเมด็ เลือดขาว ≤1,000 /ul
- เกล็ดเลือด ≤20,000/ul
- Hematocrit ≤ 20%
- มภี าวะเลือดออก
6. ระบบประสาท
- ระดับ Glasgow coma score ≤ 6
- มี polyneuropathy
- มี encephalopathy
7. ระบบทางเดินอาหาร มีอาการหน่งึ อาการหรอื มากกวา่ หน่ึงอาการ
- มี stress ulceration

- มี acalculouscholecystitis
สาเหตแุ ละปัจจัยเสยี่ งให้เกิดภาวะอวยั วะล้มเหลวหลายระบบ
สาเหตแุ ละปัจจยั เสีย่ งให้เกิดภาวะอวัยวะลม้ เหลวหลายระบบจากภาวะท่ีเกิดตามหลงั การอักเสบและ
มีการทาลายเซลลห์ ลายระบบ

ปัจจัยเสีย่ งโดยตรง เปน็ ความผดิ ปกตขิ องผู้ป่วยเองหรือผู้ปว่ ยเป็นมากอ่ น ไดแ้ ก่ อายมุ ากกวา่ 65
ปี มโี รคเรอ้ื รังหรือความผดิ ปกติของการท างานของอวัยวะสาคัญ เชน่ โรค COPD, โรคล้นิ หัวใจ,
โรคหวั ใจลม้ เหลวเร้อื รัง โรคตับแข็ง

ปัจจยั ร่วม ได้แก่ มีการท างานของระบบอวัยวะบกพร่อง ไดร้ บั การผา่ ตดั ใหญ่ ไดร้ ับภยันตราย
รนุ แรงแผลไฟไหม้รุนแรง

ปจั จัยอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ การใส่ทอ่ ช่วยหายใจและใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจ การใส่ invasive monitor การ
ได้รับยาปฏิชวี นะ
พยาธิสรรี วทิ ยาของการเกิดภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบจากการตดิ เช้ือ

เมื่อเช้ือโรคเขา้ สรู่ า่ งกายแล้วปล่อย endotoxin รา่ งกายจะกระตุ้นกระบวนการอักเสบ ระบบแรก
ทถี่ กู กระตุน้ คอื เม็ดเลือดขาว นวิ โทรฟลิ เกิด phagocytosis เพือ่ กาจดั เชือ้ และกระต้นุ การหลัง่ สารคดั
หลง่ั (mediator) ได้แก่ histamine, B cell,T cell, coagulation factor และ oxygen free radicals
เป็นกระบวนการทเี่ กิดจากการเผาผลาญออกซเิ จนทาใหอ้ อกซิเจนเข้าไปใน lipid ทาใหเ้ กดิ การทาลาย
cellmembrane มีการทาลาย DNA กระบวนการน้ีจะเกิดหลงั จากเซลล์ใช้ antioxidant ซึ่งเปน็ กลไก
การป้องกันเซลล์ถูกทาลายจนหมด ระบบฮอรโ์ มนถูกกระต้นุ เป็นลาดับท่ีสอง ของการอักเสบโดย
bradykininและ reninangiotensin aldosterone และการกระตุน้ ระบบประสาท sympathetic หลงั่
catecholamineนอกจากนั้นกระตุ้นการแขง็ ตัวของหลอดเลอื ดทาใหเ้ กิด hypercoagulapathy และ
microemboliformation ทาใหเ้ กิด Disseminated intravascular coagulation (DIC)
การรกั ษา
1. การคน้ หาสาเหตแุ ละปัจจัยเสย่ี ง แลว้ ใหก้ ารแกไ้ ขโดยรบี ดว่ น เพ่อื ควบคุมสาเหตแุ ละกาจดั ส่ิง
กระทบต่อผู้ปว่ ยที่จะเจบ็ ปว่ ยกะทันหัน
2. การรกั ษาและทดแทนอย่างต่อเนื่อง โดยประคับประคองใหเ้ ลอื ดไปเลี้ยงอวยั วะตา่ งๆไดอ้ ย่าง
เพยี งพอ โดยให้มีระยะเวลาของการขาดเลอื ด หรือมเี ลอื ดไปเลยี้ งไมเ่ พียงพอ หรอื ขาดออกชิเจนใหส้ นั้
ทส่ี ดุ
3. การปอ้ งกนั ระบบอวัยวะอนื่ ๆ ไมใ่ หเ้ กดิ ภาวะแทรกซ้อน หรอื ล้มเหลวตามมา
4. การเสรมิ สรา้ งการซ่อมแซมอวัยวะตา่ งๆ เชน่ การใหส้ ารอาหารทเี่ หมาะสมและเพียงพอ
การพยาบาล
1.กิจกรรมการพยาบาลเปน็ การสง่ เสรมิ ใหม้ ีการไหลเวียนเลือดอยา่ งเพียงพอ
1.1 เฝ้าระวงั อย่างใกล้ชดิ ถึงความเพยี งพอของเลอื ดทีไ่ ด้ถกู สง่ ไปเล้ยี งสว่ นตา่ งๆของรา่ งกาย
1.2 ดูแลใหไ้ ดร้ ับสารนา้ ด้วยเครอื่ งควบคมุ การไหล ระวังภาวะน้าเกนิ

1.3 ดูแลใหไ้ ด้รับยา vasopressor และ inotropic drug ในการให้ยาทงั้ สองชนดิ อาจมีผลตอ่
ภาวะการเต้นของหัวใจทผ่ี ิดจังหวะ
1.4 ดูแลการได้รับ sodium bicarbonate เพ่อื รักษาภาวะความเป็นกรดของร่างกาย
2.กจิ กรรมพยาบาลเพอื่ ชว่ ยให้เนือ้ เย่ือได้รบั ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.1 ดแู ลใหไ้ ด้รบั ออกซเิ จน ดแู ลทางเดินหายใจให้โลง่ ฟงั เสียงปอดทุก 2 ช่ัวโมงเพือ่ เฝ้าระวังความ
ผิดปกติทางเดินหายใจ
2.2 ติดตามผลภาพถ่ายรงั สที รวงอกเพอ่ื ประเมินความผิดปกติ
2.3 ดูแลให้ได้รบั ยาขยายหลอดเลือด

หนว่ ยท่ี 13 การชว่ ยฟื้น
คืนชีพ

ห่วงโซ่การรอดชีวติ แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ห่วงโซ่การรอดชีวติ ในโรงพยาบาล

2.ห่วงโซ่การรอดชีวติ นอกโรงพยาบาล

1 การรับรู้และขอความช่วยเหลอื จากระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน
2 การช่วยชีวติ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพทนั ที
3 การช็อกไฟฟ้าหวั ใจอยา่ งรวดเร็ว
4 การช่วยชวี ิตข้นั สูงอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
5 การดูแลหลงั ภาวะหลงั หวั ใจหยดุ แบบสหสาขาวชิ าชีพ

การช่วยชีวติ ข้นั พืน้ ฐาน (Basic Life Support : BLS)
CPR ทาอย่างไร

D > Danger = ในการช่วยเหลอื ผชู้ ่วยเหลอื +ผปู้ ่ วย ตอ้ งปลอดภยั
R > Response = ผปู้ ่ วยมีการเคลื่อนไหวหรือไม่
C > Call for help and & start Chest compression = ขอความช่วยเหลอื และเคร่ือง AED แลว้ เร่ิมกด
นวดหวั ใจ
ข้ันตอนการทา BLS : C >A >B
C : Circulation
นง่ั คุกเข่าขา้ งผปู้ ่ วย > คลา carotid pulse 10 sec (ยกเวน้ Hypothermia 30-60 sec) > เริ่มทา CPR
การทา CPR
1.วางสนั มอื ตรงขา้ งหนา้ อกผปู้ ่ วยบริเวณคร่ึงลา่ งของกระดกู หนา้ อก (ที่ตาแหน่ง ventricle)

2. แขน 2 ขา้ งเหยยี ดตรงในแนวดิ่ง กดหนา้ อกลกึ ประมาณ 5 cm แต่ไม่เกิน 6 cm
3.กดดว้ ยอตั ราเร็ว 100-120 คร้ังต่อนาที
4.สลบั คนปั๊มตอนที่ครบ 5 cycle ตอ้ งใหส้ ญั ญาณและประเมนิ ชีพจร
ในหญิงต้งั ครรภ์ >> โกยทารกจากดา้ นขวาไปดา้ นซา้ ยของผปู้ ่ วย >> จดั ท่าเฉียงข้นึ 30 องศาไปทางดา้ นซา้ ย
***ทุกคร้ังที่กดหนา้ อก เม่ือปล่อยแรงกด อยา่ ใหม้ อื ลอยจากกระดูกหนา้ อก***

A: Airway
 ผปู้ ่ วย Trauma >> ท่า Jaw thrust
 Non-Trauma >> Head tilt chin lift

Jaw thrust Head tilt chin lift

B:Breathing
เป่ าลมเขา้ ปอดท้งั สองขา้ ง มองจากการเคลอ่ื นข้ึนลงของหนา้ อก ใชเ้ วลา 1 วินาทีต่อคร้งั
อตั ราการกดหนา้ อก : การชว่ ยหายใจ 30:2

เครื่องกระตุกหวั ใจไฟฟ้าชนดิ อตั โนมตั ิ (Automatic External Defibrillator : AED)
5 ป : เปิ ด – แปะ – แปล – เปร้ียง – ปั๊ม
ข้นั ตอนการทา AED
1.ทนั ทีท่ี AED มาถึงใหเ้ ร่ิมเปิ ดสวิชตท์ นั ที
2.ติดแผน่ กระตกุ หวั ใจที่หนา้ อกผปู้ ่ วย
3.เคร่ืองแนะนาใหช้ อ็ ค กดป่ ุมชอ็ ค
4.เครื่องไม่แนะนาใหช้ อ็ คใหก้ ดหนา้ อกต่อ
***แน่ใจว่าไมม่ ใี ครสมั ผสั ผปู้ ่ วย ขณะเคร่ืองทาการวิเคราะห์หวั ใจ หรือกดป่ ุมชอ็ ค***

การช่วยชีวติ ข้นั สูง(Advanced cardiovascular life support : ACLS)
จะประกอบดว้ ย 2 ส่วนหลกั คือ
ส่วนแรก เกี่ยวกบั การช่วยชีวติ เบ้ืองตน้ หรือข้นั พ้นื ฐาน
ส่วนทสี่ อง ทีต่ อ้ งทาตามแนวทาง (algorithm) แยกตามปัญหาของผปู้ ่ วยซ่ึงจะมี 3 แบบ
–หวั ใจหยดุ เตน้ (pulseless arrest)
–หวั ใจเตน้ เร็วแต่ยงั คลาชีพจรได้ (tachycardia with pulse)

–หวั ใจเตน้ ชา้ แต่ยงั คลาชีพจรได้ (bradycardia with pulse)
***ACLS จาเป็นตอ้ ง monitor EKG เพอ่ื ดูคล่นื ไฟฟ้าหวั ใจขณะท่ีหวั ใจสูบฉีดเลือด***

คลื่นไฟฟ้าหวั ใจที่สามารถ Shockable ได้

คลนื่ ไฟฟ้าหวั ใจท่ีไม่สามารถ Shockable ได้

ยาทีใ่ ช้สาหรับช่วยฟื้ นคืนชีพ
Adrenaline รูปแบบยา 1mg/ml

กลไกการออกฤทธิ์
1.กระต้นุ α-adrenergic receptor
มีผลเพมิ่ ความดนั โลหติ จากการหด
ตัวของหลอดเลอื ด
2.กระตนุ้ ß-adrenergic receptor
มีผลการกระตุน้ การบบี ตัวของหัวใจ
และกระต้นุ อัตราการเตน้ ของหวั ใจ
ผลข้างเคยี ง
Hypertension Tachycardia Supraventricular tachycardia
การให้
- Cardiac arrest (asystole, PEA)
ให้ 2 cycle : Adrenaline 1
• IV 1mg push ทกุ 3-5 นาที (push NSS ตาม 10ml และยกแขนสูง )
• Intratracheal 2-3 mg +NSS 10 ml
- Symptomatic sinus bradycardia (น้อยกว่า 60 เห็น P,T wave)
• ใชเ้ มอ่ื ไมต่ อบสนองตอ่ atropine กระตุ้น
• 10mg + 5%D/W 100 ml (1:10) IV 5-20 ml/hr
- Anaphylaxis Angioedema
• 0.5 mg IM +load IV NSS
• กรณีไม่ตอบสนองตอ่ การรักษาใหซ้ า้ 0.5 mg IM ทุก 10-15 นาที 2-3 คร้งั หรืออาจพจิ ารณาcontinuous IV
drip

- Cordarone รูปแบบยา 150mg/3ml

กลไกการออกฤทธิ์
antiarrhythmic drugโดยลด automaticity ของ sinus node ทาให้หวั ใจเตน้ ชา้ ลง

ขอ้ บง่ ใช้
ทไ่ี ม่ตอบสนองต่อ defibrillation และยา adrenaline

ขนาดยา :300mg + 5%D/W 20 ml IV slow push ใน 3นาที อาจพจิ ารณาใหซ้ า้ 150 mg อกี 5นาทีต่อมา
ขอ้ หา้ มใช้

ขอ้ ควรระวัง
1.ขณะdripไมค่ วรได้รบั ยา

เพิ่ม risk bradycardia, AV block
เพิ่ม risk bleeding
2.การให้ยาต้องไม่เกนิ 2,200 mg in 24 ช่ัวโมง
3.ระดบั K และ Mg ตอ้ งอยใู่ นเกณฑป์ กติ เน่ืองจากอาจเกิด arrhythymia
- 7.5% Sodium bicarbonate
รปู แบบยา HCO3 8.92 mEq/50 ml

เปน็ สารละลายมีฤทธ์เิ ปน็ ดา่ ง มสี ว่ นประกอบคอื โซเดยี ม และไบคารบ์ อเนต
เม่อื เข้าสู่รา่ งกายจะทาหนา้ ทเี่ พมิ่ ความเปน็ ด่างในรา่ งกายเพ่ิมปริมาณโซเดยี มและไบคาร์บอเนต
เสรมิ กบั ไบคารบ์ อเนตซง่ึ ร่างกายสรา้ งขน้ึ ท่ไี ต
โซเดยี มไบคาร์บอเนตมกี ารขบั ออกทางปสั สาวะ ทาใหป้ สั สาวะมคี วามเปน็ ดา่ งมากขึ้น

ขอ้ บ่งใช้
Severe metabolic acidosis (PH <7.15)

ซา้ ไดท้ ุก 30 นาที
หรือ Continuous drip โดยใน
Septic shock : rate 20-50 ml/hr โดยไมต่ ้องผสมกบั สารน้าอืน่
DKA : 100 ml + 5%D/W 400 ml IV rate 250 ml/hr
*หยุดให้เมอื่ blood PH > 7.2





2.หวั ใจเต้นเร็วแต่ยงั คลาชีพจรได้ (tachycardia with pulse)

3.หวั ใจเต้นช้าแต่ยงั คลาชีพจรได้ (bradycardia with pulse)


Click to View FlipBook Version