The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book รัชนีกร จีนบวช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัชนีกร จีนบวช, 2020-06-06 18:16:55

E-book รัชนีกร จีนบวช

E-book รัชนีกร จีนบวช

G

ตสน้ั









3. การชอ็ คด้วยไฟฟา้

เป็นการปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านเขา้ กล้ามเนอื้ ห
อย่างปกติ โดยใช้เครอ่ื งกระต้นุ หวั ใจด้วยไฟฟา้
การช็อคด้วยไฟฟา้ มี 2 วธิ ี คอื
1. Cardioversion or Synchronize cardio
2. Defibrillation มักทาในรายทีม่ ี VF, VT

หัวใจ มผี ลให้ SA node กลบั มาทาหนา้ ท่ใี หม่ได้
า (Defibrillator or Cardiovertor) ชนดิ ของ

oversion มักทาใน AF, SVT

4. การใสเ่ คร่ืองกระตุน้ จังหวะหัว

ใส่ในผูป้ ่วยท่ีหัวใจเต้นช้ามาก และไมต่ อบสนอง
การรกั ษาด้วยยา เช่น CAVB
เครอื่ งกระตุน้ หัวใจมอี งค์ประกอบ 2 สว่ นคอื
1. ตวั เครือ่ งกระตนุ้ จังหวะหวั ใจ (Pacemaker
genarator)
2. สายสอ่ื (Electrode)

1.เครื่องกระตนุ้ จงั หวะหัวใจด้วยไฟฟ้าชนิดชั่วคราว
(External/ Temporary pacemaker)

วใจด้วยไฟฟ้า

งต่อ

r

2.เครื่องกระต้นุ จงั หวะหวั ใจด้วยไฟฟา้
ชนิดถาวร (Permanent pace maker)

วิธกี ารใส่เครอ่ื งกระต้นุ หวั ใจ
-ทาไดท้ ้ังท่ีหอ้ งผา่ ตดั หรือห้องสวนหวั ใจ ที่มเี คร
การผา่ ตัดเลก็
ใช้เพียงยาชาเฉพาะที่
-มกั ใสส่ ายเข้าทางหลอดเลอื ดดาบริเวณใต้กระด
แขนซ้าย
-ตัวเคร่อื งฝังไว้ใตช้ นั้ ไขมันฝง่ั เดยี วกัน

Pacemaker vs AIC

รื่องเอ็กซเรย์พิเศษ ( Fluoroscope)เพราะเป็น
ดูกไหปลารา้ ฝั่งของแขนข้างทไี่ ม่ถนัด เช่น

CD

การพยาบาล
-Monitor EKG ใน 24 ชม.แรก
-จัดท่าใหผ้ ู้ปว่ ยนอนหงายหรอื นอนตะแคงขา้ งซา้ ย หา้ มยก
จากตาแหน่งท่ีฝงั ไว้ได้
-ตดิ ตามวดั สัญญาณชีพโดยเฉพาะการจับชีพจร หรือการฟ
อัตราของเครื่องท่ีต้ังไว้ โดยปกติจะไมต่ ่ากว่าเครือ่ งท่ีต้ังไว
-ถา้ เป็นเครื่องกระตุ้นหัวใจชนิดช่ัวคราว เครือ่ งจะอย่ขู า้ งน
การเล่อื นหลดุ ของสาย
-ถา้ เปน็ ชนดิ ถาวร ควรใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั การดแู ลตนเอง
-หลกี เลยี่ งอันตรายจากกระแสไฟฟา้ แรงสูง
-ถ้าไปพบทันตแพทยต์ อ้ งบอกวา่ ใส่เครอื่ งกระตนุ้ จังหวะหัว
-มาพบแพทยต์ ามนดั เพื่อประเมนิ สภาพเปน็ ระยะ
-ต้องมีบตั รประจาตวั ที่ระบุโรค เครอื่ งกระต้นุ จงั หวะหัวใจ
-สอนการจบั ชพี จร ถา้ จบั ได้ต่ากวา่ ที่เคร่อื งตั้งไว้ หรอื หัวใจ
ลม ให้รีบมาพบแพทย์
-เมือ่ จะเดินทางผา่ นเครอ่ื งตรวจจบั โลหะในสนามบนิ ต้อง
หวั ใจ
-ไม่อนญุ าตให้ใช้เครอื่ งตรวจสมองแบบ MRI เพราะเครอื่ ง
เสียหายได้

กแขนขา้ งทที่ า อาจทาให้สายส่อื หลุด
ฟงั อตั ราการเตน้ ของหัวใจเทียบกบั
ว้
นอก ระวังเร่ืองการติดเชื้อ การทาแผล

วใจ
จด้วยไฟฟ้า วันทีท่ า รายละเอียดอื่นๆ
จเต้นเรว็ ผิดปกติ ใจสัน่ หนา้ มดื เป็น
งแสดงบัตรประจาตัวผู้ใสเ่ ครอื่ งกระตนุ้
งจะถูกแรงแม่เหล็กเหนีย่ วนา ทาให้

การตรวจตดิ ตามการทางานของ Pac

cemaker

5. การจด้ี ้วยไฟฟ้าผ่านคลนื่ เสียง
Physiologic Study and Radi
RFCA)

งความถี่สงู (Electro
iofrequency Ablation:

ขอ้ วินิจฉยั ทางการพยาบาลและห

• เสี่ยง/มีภำวะชอ็ คจำก CO ลดลง
• เสี่ยง/มภี ำวะหัวใจหยดุ เตน้
• เส่ยี ง/มีภำวะหัวใจลม้ เหลว
• เส่ียง/มีภำวะพรอ่ งออกซเิ จน
• วติ กกงั วล
• ควำมทนตอ่ กจิ กรรมลดลง
• แบบแผนกำรนอนหลับเปลย่ี นแปลง
• มคี วำมพรอ่ งในกำรดูแลตนเองเนอ่ื ง
• ญำติผู้ป่วยมคี วำมวติ กกงั วล

หลกั การพยาบาล


งจำกถกู จำกัดกจิ กรรม

หลักการพยาบาล

1.เพ่อื ใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ ับออกซเิ จนอย่างเพียงพอ
จากดั กิจกรรม
ดแู ลใหพ้ ักผ่อน
ดแู ลให้ได้รบั ออกซเิ จนตามแผนการรักษา
สง่ เสรมิ ให้มกี ารแลกเปล่ียนก๊าซอยา่ งเพยี งพอ เช่น กา
2.ส่งเสรมิ การทางานของหัวใจ และเฝา้ ระวงั การเกิดภ
เฝา้ ระวังการเปลย่ี นแปลงอยา่ งใกล้ชิด วดั สญั ญาณชพี
เฝา้ ระวงั การเปลย่ี นของคลน่ื ไฟฟ้าหัวใจอย่างใกล้ชิด
เฝ้าระวงั การเปลย่ี นแปลงของระบบไหลเวยี นในผปู้ ่วย
ดูแลใหไ้ ดร้ ับยา antiarrythmic, inotropic drug ตา
ขา้ งเคยี ง
3. รกั ษาความสมดุลของนา้ และ อิเล็คโตรลัยท์ โดยเฉ
4. ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารอาหารอย่างเพียงพอ
5. ลดความวิตกกังวลของผูป้ ่วยและญาติ
6. กรณีทผ่ี ู้ปว่ ยจาเปน็ ตอ้ งได้รับการรักษาด้วยการชอ็ ค
ควรใหค้ วามม่นั ใจ และดแู ลใหผ้ ้ปู ว่ ยได้รบั ยากลอ่ มประ
ไฟฟา้ ต้องเฝ้าระวังการเปล่ยี นแปลงของคลนื่ ไฟฟา้ อยา่

ารจัดทา่ การดแู ลทางเดินหายใจ
ภาวะวิกฤตจากหัวใจ
พ ทุก 1 ชม.

ยทมี่ ี invasive monitoring
ามแผนการรักษา รวมทง้ั ตดิ ตามอาการ

ฉพาะในรายทีไ่ ดร้ บั ยาขบั ปัสสาวะ

คไฟฟ้า และผู้ปว่ ยรูส้ ึกตัวดี พยาบาล
ะสาทตามแผนการรักษา หลังการชอ็ ค
างใกลช้ ิด





ภาวะหวั ใจล้มเหลว ( Heart Failure ) คอื ภาวะทห่ี วั ใจไมส่ ูบฉดี โลหิตไปเล้ยี งส่วนตา่ งๆ ของร่างกายได้เพยี งพอ
กบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย
สาเหตุ
กล้ามเนอ้ื หัวใจทางานหนัก

Increased afterload HT

AS

CS

COPD

Increased preload MR

TR

AR

Contractility ลด MI

ร่างกายตอ้ งการพลงั งานเพิม่ ข้ึน

ชนดิ ของหวั ใจลม้ เหลวแบง่ ตามการทางานของกลา้ มเนอ้ื หวั ใจ
1.Systolic heart failure หรอื Heart failure with reduced EF [HFREF หัวใจลม้ เหลวตอนหัวใจหอ้ งล่างซา้ ย
บีบตัว คา่ EF<รอ้ ยละ40 ไม่มแี รงบบี ตัวส่งเลอื ดไปเล้ยี งสว่ นต่างๆของร่างกาย
2. Diastolic heart failure หวั ใจลม้ เหลวตอนหวั ใจห้องลา่ งซ้ายคลายตัว ค่าEF>ร้อยละ40-50 EF ดี แต่COไม่
เพยี งพอ

แบ่งตามระยะเวลาการเกดิ
1.New Onset : เกิดขน้ึ ครงั้ แรก
2.Transient : เกิดข้นึ ชว่ั ขณะแลว้ ดขี ึ้น
3.ภาวะหวั ใจลม้ เหลวเฉียบพลนั Acute heart failure : เกดิ ข้นึ ใหม่อย่างรวดเรว็ หรอื มอี าการคงทแ่ี ต่กลับแยล่ งใน
เวลาไม่นาน
4.ภาวะหวั ใจลม้ เหลวเรอื้ รงั Chronic heart failure :เป็นคงอยเู่ วลานาน

แบง่ ตาม CO
1.Hight output failure : หวั ใจลม้ เหลวขณะทที่ างานมากข้นึ จนถึงจดุ สูงสดุ และไมส่ ามารถทางานตอ่ ไปได้
2.Low output failure : หวั ใจลม้ เหลวท่ที าให้ CO ลดลง(หัวใจไมม่ แี รงบบี ตวั )

แบ่งตามอาการ
1.Left-site heart failure
หอบเหนื่อย หายใจลาบากนอนราบไมไ่ ด้ เปน็ ผลจาการคงั่ ของสารน้าทป่ี อด Pulmonary congestion ถา้ มีมาก
จะมอี าการนา้ ท่วมปอดเฉียบพลนั Acute Pulmonary edema หายใจหอบเหนอ่ื ย เหงอ่ื แตกเขียว เสมหะสชี มพู
2.Right – side heart failure บวมกดบมุ๋ ความอยากอาหารลดลง หลอดเลือดดาทค่ี อโปง่ น้าหนักเพ่มิ จากนา้ ค่ัง
ตับโต ท้องมาร

อาการของภาวะหัวใจลม้ เหลว
Dyspnea

หายใจเรว็ [Tachypnea] และต้ืน [Short of breath: SOB]
หายใจลาบากเม่อื ออกกาลงั กาย[Dyspnea on exertion: DOE]
เมื่อมีอาการมากข้นึ ผปู้ ว่ ยจะหายใจลาบากแม้ในขณะพกั
Orthopnea
หายใจลาบากนอนราบไม่ได้
ตอนนอน เลือดไหลกลับเขา้ สหู่ วั ใจ หัวใจบีบตวั สง่ เลอื ดไปเล้ียงสว่ นต่างๆไมไ่ ด้ เลือดทสี่ ง่ จากหัวใจห้องลา่ งซา้ ย
ค่งั ทปี่ อด
อาการดีขึน้ เพม่ิ พ้นื ทกี่ ารขยายตัวของปอด กะบังลมลดตัวลง เมอื่ น่ังปอดขยายตัวลาบาก
Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND
หายใจลาบากเปน็ พกั ๆในตอนกลางคืน จะตน่ื ขึ้นดว้ ยอาการหายใจไม่ออกรุนแรงจนต้องลกุ นงั่ ร่วมกบั มีอาการไอ
ปอดมีเสียง wheezing
นอนหลบั เลอื ดค่ังในปอด มกี ารกดศนู ยห์ ายใจในสมอง

Cheyne – stoke respiration or periodic
การหายใจเป็นวงจรโดยหายใจชา้ ลงเรอ่ื ยๆ หยุดหายใจ เรม่ิ หายใจใหม่
เกิดจากการผดิ ปกตขิ องศูนย์ควบคมุ การหายใจ + เลือดมาเลย้ี งสมองช้า
Fatigue and weakness [กลา้ มเนื้ออ่อนแรง]
กลา้ มเน้อื ได้รบั เลอื ดไม่เพยี งพอ
Urinary Symptom
ชว่ งแรกปสั สาวะตอนกลางคืน>กลางวัน
หัวใจลม้ เหลวมาก เลือดไปเลี้ยงไตนอ้ ย ปัสสาวะน้อยลง
Cerebral Symptom
ภาวะหวั ใจล้มเหลว+เส้นเลือดในสมองตีบ
อาการท่ีพบ
สบั สน
ความจาเสอื่ ม
กระวนกระวาย
มึนงง
ปวดศีรษะ
นอนไม่หลบั
Gastrointestinal symptom

ตับโต เจบ็ ซโี่ ครงขวา
เบื่ออาหาร คล่ืนไส้

บทท่ี 10 ระบบประสาท













สรุป การพยาบาลผปู้ ว่ ยระบบทางเดนิ
ปัสสาวะในระยะวกิ ฤต

น.ส.รัชนีกร จนี บวช เลขที่ 36 ห้อง
รหสั 6117701001068

1.Acute kidney injury (AKI) เกิดการลม้ เหลวการทางานของไตเฉียบพลนั หรอื จากบาดเจ็บใช้

เวลาแคไ่ ม่กีช่ ัว่ โมง หรอื ไม่กี่วัน ยังสง่ ผลตอ่ วัยวะอื่นๆเสียหน้าที่
สัญญาณหรืออาการแสดง

- Hypovolemia blood volum ต่าลง
- เส้นเลอื ดบรเิ วณคอโป่ง ,พบเสียง crepitation
- ตอ่ มลูกหมากโต กระเพาะปสั สาวะเต็ม พบกอ้ นอ้งุ เชงิ กรานหรือท้องนอ้ ย
- พบนาในช่องทอ้ ง
***บางเคสไมแ่ สดงอาการ
สาเหตุ
- ความดนั โลหิตตา่ เลอื ดไปเลยี งไตนอ้ ยสูญเสียหน้าท่ี
- อุบตั เิ หตสุ ญู เสียเลือด ถา่ ยเหลวมากสญู เสียนา
- Heart attack, heart failure เลือดสง่ ไปส่วนตา่ งๆนอ้ ย
- ใช้ NSAIDs เยอะส่งผลต่อการทางานไต
- แพร้ นุ แรงเกิดหลอดเลอื ดหดรดั ตัวไปเลยี งไตน้อย
- Burns มีการคั่งของนาใน cell และนอก cell มปี ญั หา blood volum ต่าลง
- ผา่ ตัดมีผลต่อการสูญเสยี เลือด
สาเหตหุ ลกั
1 . Pre Kidney : เลือดมาเลียงไตลดลง เช่น Congestive heart failure)
2 . Post Kidney : การอุดตนั ของระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
3. Intrinsic Kidney Injury จากพยธสิ รีภาพทไี่ ตทาใหอ้ ตั ราการกรองลดลง
3.1 Acute tubular necrosis (ATN) พยาธขิ อง Renaltubular
3.2 Acute interstitial nephritis (AIN) การอกั เสบของเนอื ไตส่วน interstitial
3.3 Acute glomerulonephritis (AGN) การอกั เสบของ glomeruli
3.4 Renal vascular diseases พยาธิท่ีหลอดเลือดไต (Plug เนอื งอก)
3.5 Intratubular crystal obstruction การอดุ ตันของ renal tubule

สง่ ผลกระทบโดยตรง
โรคจะทาใหเ้ กิดการสูญเสียหน้าทนี่ าไปสู่ AKI ได้แก่

-sepsis ส่งผลตอ่ ระบบไหลเวียนของการซึมผ่านนาระหว่างเซลล์
- multiple myeloma เป็นมะเรง็ เจริญเติบโตในสว่ นตา่ งๆ มีผลต่อ blood flow ไปไต
-interstitial nephritis การอักเสบของเนอื ไต
-scleroderma ปัญหากับเกย่ี วกับเนือเยอ่ื เก่ียวพนั แข็งตัว ยดื หย่นุ ไดไ้ มด่ ี เกดิ การบาดเจบ็ อวยั วะของไต -
tubular necrosis glomerulnephritis หน่วยกรองเกดิ การอักเสบ จากเชือ ยา สง่ ผลตอ่ ไต
การอุดกนั ทางเดนิ ปสั สาวะ
- กอ้ นน่วิ กอ้ นไต เป็นที่ blader ,prostate ต่อมลูกหมากโตขนึ เซลล์
- ระบบประสาท การเต่งตวั ขยายตัวของ blader ผดิ ปกติ
- กอ้ นนิว่ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ หลอดเลอื ดฝอยฉกี ขาด เกดิ blood clots อดุ ซา
ตรวจพบ
-ขนึ อยกู่ บั สาเหตุ ซกั ประวัติเพ่ิมเตมิ ตรวจพิเศษ อลั ตรา้ ซาวด์ ให้เร็ว
-ตรวจปรมิ าณสารนาทางปสั สาวะ ลดลงเฉียบพลนั
-urine test เช่น WBC แบคทีเรยี
-blood tese เชน่ BUN Cr ดูการทางานของไต
-GFR ดอู ตั ราการกรองของไต
- Imaging test เชน่ อัลตร้าซาวด์ เอกซเรย์
-kidney biopsy ตรวจชินเนือ ดูมะเรง็ เกิดขนึ หรือไม่
แบง่ ระดับการสญู เสียหน้าท่ีของไต

กลไกการเกิดไตวายเฉยี บพลนั
-ระยะปัสสาวะนอ้ ย หลอดฝอยไตเสื่อม

หนา้ ที่ ปสั สาวะไม่เกนิ 400 ซีซีตอ่ วนั พบได้ในภาวะ Shock
กลไก

 แคททโี คลามนี หลงั่ เขา้ กระแสเลือดมากขึน หลอดเลือดแดงหดรดั ตวั ทาให้เลอื ดเลยี งไตลดลง
 เรนินเข้ากระแสเลือดทาให้แองจิโอเทนซิโนเจน เป็น แองจิโอเทนซิน แลว้ เปลีย่ นเป็น 2ทาให้

หลอดเลือดหดตวั เลือดเลยี งไตลดลง
 เกิดการไหลลดั ของเลือดจากผิวไตเขา้ สแู่ กนไต
 เกิดลิม่ เลือดในหลอดเลือด
 การลดการทางานที่ไต
 การอดุ กันของหลอดฝอยไต
 การเสยี สมดุลของนาและโซเดียม ความดันต่า ชพี จรเบาเรว็ ขบั น้าออกลดลง สับสน ซมึ
 เสยี สมดลุ กรดด่าง เกดิ ภาวะกรดเกิน ไตดูดกลับ HCO 3 ได้น้อย จึงหายใจเร็ว เกร็งกระตกุ
 เสียสมดลุ โปแตสเซียม ทาให้ K ในเลอื ดสงู เกดิ อาการอ่อนแรง หายใจลาบาก กน.ออ่ นแรง ส่งผล

ต่อ EKG เปลย่ี น
 เสียสมดลุ Ca, P, Mg สญู เสียการขับ อิเล็คโทรไลต์ P, Mg
 ในเลอื ดสงู Ca ตกตะกอนในเนือเยือ่ ต่างๆ ทาให้ CaCaในเลอื ดต่า
 การคง่ั ของยูเรียไปสมองเกิดคลนื่ ไส้อาเจยี น
 การติดเชือ
-ระยะท่ี 2 ปสั สาวะมาก (DIURESIS)
ปสั สาวะมากกว่าวันละ 400 cc จนมากกว่า 1,500 cc ไตเร่ิมฟน้ื ตัว
กลไก
อตั ราการกรองเพ่ิมขนึ ขบั นาแตไ่ มข่ บั ของเสยี หลอดฝอยไตอยใู่ นระยะซ่อมแซม ปัสสาวะมาก มากกวา่
1500 CC/ วนั การกรองเกอื บปกติ หลอดฝอยไตทาหน้าทไ่ี ด้ แตส่ ว่ นต้นยงั ไม่สมบูรณ์ ปสั สาวะมาก
สญู เสีย NA ,K (ดEู KG,RR)

อาการ

ขาดนา ,Na ในเลือดต่า ผวิ แหง้ เป็นตะคริว, K ต่า กลา้ มเนืออ่อนแรง อาเจียน หายใจลาบาก
-ระยะท่ไี ตฟื้นตัว
หลอดเลอื ดอยใู่ นเกณฑป์ กติ หลอดฝอยไตยังไม่สมบูรณ์ ปัสสาวะเข้มข้น และเปน็ กรด ใชเ้ วลา 6-12 เดือน
ภาวะแทรกซ้อน
ของเสยี คง่ั นาเกิน ความดนั โลหิตสูง เลอื ดเป็นกรด สมดุลกรดด่าง หัวใจล้มเหลว
การดแู ลรกั ษา
1.การควบคุมให้เลอื ดมาเลยี งไต MAP สงู กวา่ 80 mmHg
2.หลีกเล่ียงการใชย้ าที่เปน็ พิษต่อไต เชน่ Aminoglycoside
3.ให้สารอาหารทเ่ี พียงพอ (25-30 kcal/Kg/d) โปรตนี 40 g/day
4.ป้องกัน volume overload
5.ป้องกัน hyperkalemia คมุ K น้อยกว่า 2 g/day
6.ปอ้ งกัน hyponatremia คุมนา้ ด่มื ช่งั นา้ หนกั
7.ปอ้ งกันการเกดิ metabolic acidosis ให้ sodium bicarbonate หรือ Sodamint
8.ป้องกัน hyperphosphatemia คมุ ฟอสฟอรัสในอาหารน้อยกว่า 800 mg ให้ยา เช่น ca carbonate
9.การลา้ งไต

2.ไตวายเรือรงั (CHRONIC KIDNEY DISEASE/CHRONIC RENAL FAILURE FAILURE)

ภาวะที่ไตถูกทาลายจนส่วนท่ีเหลือไมส่ ามารถทางานชดเชยได้
สาเหตุ
-พยาธิสภาพที่ไต Chronic Glomerulonephritis หน่อยกรองอักเสบเวลานาน
-โรคของหลอดเลอื ด renal ARTERY ตีบแคบ ความดนั โลหิตสงู
-การติดเชือ กรวยไตอักเสบ
-ความผดิ ปกติแต่กาเนิด
-โรคอ่ืนๆ เบาหวาน (เลอื ดหนดื ผนังหลอดเลอื ดมีปญั หา เลอื ดเลี่ยงไตน้อย) SLE เนอื เยอ่ื ทีไ่ ตมีปัญหา
-ขาด K เรอื รัง

เกณฑ์การวินิจฉัย
1. ไตผิดปกตินานเกิน 3เดือน
1.1 พบ Albumin ใช้คา่ Albumin excretionrate (AER) หรอื Albumin to creatinine ratio
มากกวา่ 30 มก/ 24 ชม. หรือ
1.2 พบ Hematuria หรอื
1.3 Electrolyte imbalance จากท่อไตผิดปกติ หรือ
1.4 มปี ระวัตกิ ารการผ่าตดั ปลกู ถ่ายไต หรอื
2 eGFR น้อยกวา่ 60มล/นาที/1.73ตร.เมตร นานตดิ ตอ่ กัน เกิน 3เดอื น
การแบง่ โรคไตเรอื รงั ตามแบบ GFR Categories

พยากรณโ์ รคไตเรือรงั ตามความสัมพันธ์ของ GFR และระดบั อลั บูมินในปสั สาวะ

การตรวจคัดกรองโรคไตวายเรือรัง

อาการและอาการแสดง
- อาการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ซมึ มนึ งง คันตามตัว เบือ่ อาหาร คลื่นไสอ้ าเจียน นา้ หนักลด มาจากยเู รยี คงั่
อาการเตอื นท่ีสาคญั
1. ปัสสาวะบอ่ ยกลางคนื หรือปสั สาวะนอ้ ย
2. ปัสสาวะขดั สะดุด
3. ปสั สาวะมเี ลือดปน
4. บวม ใบหนา้ หลังเท้า
5. ปวดบันเอว หรือหลงั
6. ความดนั โลหติ สงู
ผลกระทบจากไตวายเรือรงั
1. ระบบและหลอดเลอื ดหวั ใจ ภาวะความดนั โลหิตสูง ภาวะหัวใจลม้ เหลว ภาวะเยื่อหุ้มหวั ใจอักเสบ
2.ระบบทางเดินหายใจ นา้ ทว่ มปอด รว่ มกับหัวใจล้มเหลว
3.ระบบประสาท อาการคัง่ ของเสียส่งผลตอ่ อาการทางระบบประสาท
4.ระบบทางเดนิ อาหาร ภาวะยรู เี มีย สง่ ผลให้ คลื่นไส้อาเจยี น เบือ่ อาหาร
5.ระบบเลือด โลหิตจาก ผลจากการสรา้ ง Erythropoietin ลดลง เมด็ เลอื ดแดงอายสุ ัน จากภาวะกรดใน
ร่างกาย และการหลัง่ พาราธัยรอยม์ ากจากการขาดแคลเซย่ี ม สง่ ผลใหไ้ ขกระดูกฝอ่ กระทบการสรา้ งเมด็
เลือดแดง
6.ภาวะภมู ติ ้านทานต่า

7. ระบบกล้ามเนอื กระดกู การสังเคราะห์ vit D ลดลง ส่งผลต่อกระดกู
8. ระบบผิวหนงั ผิวแห้ง
9. ความไมส่ มดุลของอเิ ลค็ ดตรไลต์
10. ต่อมไร้ทอ่ ธยั รอย พาราธยั รอยด์ผิดปกติ

3.Continuous AmbulatoryPeritoneal Dialysis : CAPD ลา้ งไตทางหนา้ ทอ้ ง

ขอ้ บง่ ชี
-ผู้ป่วยCKD ระยะที่ 5
-มีอาการของ Uremia
-ภาวะนาเกินทีร่ ักษาไมไ่ ดด้ ว้ ยการกาจัดน้าและเกลอื หรอื ยาขบั ปสั สาวะ
-ภาวะทุพโภชนาการ (Serum albumin < 3.5 g/dl)***
-ตอ้ งการทา CAPD
-ไม่สามารถทาทางออกของเลอื ดเพอื่ ทา HD ได้
-ผูป้ ่วยที่ทนการทา HD ไมไ่ ด้ เชน่ CHF, CAD
-ผ้ปู ่วยเดก็
ขอ้ หา้ มในการทา CAPD
-มพี งั ผืดภายในชอ่ งท้องไมส่ ามารถวางสายได้
-มสี ภาพจติ บกพรอ่ งอยา่ งรุนแรง ซง่ึ อาจกระทบตอ่ การรกั ษาดว้ ยวธิ ี CAPD
-มสี งิ่ แปลกปลอมในชอ่ งท้อง เช่น Vascular graft, Ventriculos
-Peritoneal shunt(รอ 4เดอื น)
-ไสเ้ ลือ่ น (รอ 6สปั ดาห)์ ช่องตดิ ต่อระหว่าง
-ช่องท้องกับอวัยวะนอกชอ่ งท้อง
-นาหนกั มากกวา่ 90 กก. หรือ BMI > 35
-มีขอ้ จากดั ดา้ นรูปรา่ ง
-โรคลาไสอ้ ักเสบเรือรงั
-การตดิ เชอื ท่ผี นังชอ่ งท้องและผิวหนังบรเิ วณตาแหน่งทีจ่ ะทาการวางสาย Tenckhoff

-Recurrent diverticulitis diverticulitis(ลาไสใ้ หญท่ ะลซุ า้ )
-Gastrostomy การใหอ้ าหารทางสายทใี่ สผ่ ่านหนา้ ทอ้ ง,
-Colostomy
-เปน็ ทวารเทยี มชนิดลาไส้ใหญ่, Ileostomy เปน็
-ทวารเทยี มชนดิ ลาไสเ้ ล็ก
-ภาวะทุพโภชนาการรุนแรง
-ไม่สามารถทนการใสน่ า้ ยาในชอ่ งท้องได้

Two types of Peritoneal Dialysis มี 2 แบบ

-Continuous Ambulatory Peritoneal DialysisDialysis (CAPDCAPD) ลดคา่ ใชจ้ า่ ยควบคมุ เอง

Automated Peritoneal DialysisDialysis (APDAPD) ยงุ่ ยาก คา่ ใชจ้ า่ ยสูง

หลกั การทาของ CAPD

ทงิ ไวเ้ พื่อมกี ารดดู ซบั ใชค้ วามเข้มข้นในการดูดสารพษิ ในหลอดเลอื ดกับเซลล์
และช่องท้อง ปล่อยให้สารพษิ เข้ามาอยใู่ นสารนากบั membrane ซึมผ่าน

กลไกของ Solute Transport ดึงสารตา่ งๆเขา้ สนู่ าท่ีใชใ้ นการล้างไต
-Osmosis (การซึมผา่ น) คือ การเคลอื่ นที่ของตัวทาละลายจากทที่ ีม่ คี วามเขม้ ข้นน้อยไปที่ทม่ี คี วาม
เขม้ ข้นมาก
-Diffusion (การแพรผ่ ่าน) คอื การเคลอื่ นทข่ี องสารละลายจากทีท่ มี่ คี วามเขม้ ข้นมากไปทที่ ่มี คี วาม
เข้มข้นน้อย
-Convection (การนาพา) คือ การนาสารออกจากรา่ งกาย โดยอาศัยคุณสมบตั ิในการละลายของสารนัน
ในตวั ทาละลาย
-Ultrafiltration (การกรองนา) คือ การดงึ นา้ ส่วนเกนิ ออกจากร่างกายผา่ นทางเย่ือบชุ ่องทอ้ งโดยอาศัย
สารที่มีคณุ สมบตั ิในการดูดนา

Peritoneal cathetercatheterสาหรับ CAPD
-Tenc kh off catheter
-แบบตรง
-แบบโค้ง

ลกั ษณะของสาย catheter และ cuff

การผา่ ตดั วางสาย Tenckhoff

ขันตอนการล้างไตทางชอ่ งทอ้ งแบบตอ่ เนื่อง
ผ้ปู ่วยทาการลา้ งวนั ละ 3-6ครัง โดยการเปลี่ยนถ่ายนายา 3ขันตอน ทาต่อเนื่องเป็นวงจร
1. ขันถา่ ยนายาออก (Drain) ถ่ายนายาค้างไวใ้ นชอ่ งท้อง 20นาที
2. ขนั เติมนายาใหม่ (fill) ขนั เติมนายาใหมแ่ ทนทข่ี องเดมิ นาน 10-15นาที
3.ขนั การพกั ท้อง (repression) การคงค้างนายา เพอ่ื ให้เกดิ การฟอก 4-6ชม

การลา้ งไตทางช่องท้องโดยการใช้เคร่ืองอัตโนมตั ิ (automated peritoneal dialysis:PAD
- เป็นการเปลย่ี นถา่ ยนา้ ยา 3ครงั โดยใช้เครือ่ งอตั โนมตั แิ ทนผู้ปว่ ย

การเปลี่ยนถงุ นายา
ปกติแพทย์สัง่ ทา 4-5 ครงั ต่อวนั โดยเริม่ 6.00น 12.00 น. 18.00 น. 22.00 น. หากทาเกิน 5 ครงั ให้
เร่ิม ท่ี 6.00 น. และทาจนครบตามแผนการรกั ษา สามารถทาท่ีบ้าน ในพืนที่สะอาด ไม่เส่ยี งต่อการตดิ เชือ
เปลีย่ นถุงนายา ใชเ้ วลา 30 นาที /ครัง

การพยาบาล
-ระยะพกั ท้อง (1-2สปั ดาห)์

 ไมใ่ หแ้ ผลโดนนา้
 หา้ มเปดิ แผลเอง
 ลดกิจกรรมท่ีทาใหเ้ หงอื่ ออก
 งดใสเ่ สอื ผา้ รักเกินไป

 หาก ปาก บวม มไี ข้ หรือ บวมส่วนต่างๆของร่างกาย ให้ไปพบแพทย์
 จากดั นา้ ด่มื
 เลี่ยงกจิ กรรมทเ่ี พมิ่ แรงดันในชอ่ งทอ้ ง
 ตัดไหม 7-10วัน
 หากมีเลอื ดออก นารว่ั ซึมใหพ้ บแพทย์
 หม่ันตรวจสอบสาย ทาความสะอาด
 ต้องไดร้ บั การยืนยนั จากแพทย์ว่าแผลแหง้ สนิท ถึงจะอาบนาได้
 ห้ามโดยแป้งทาครีมบรเิ วณช่องทางออกของสาย
 ตดิ พลาสเตอรเ์ พื่อกันการดงึ รัง
- ระยะลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง
 มกั เริม่ ลา้ งในสปั ดาหท์ ี่ 4
 เน้นการล้างมือ Medical hand washing
 ประเมินนายาและจดบนั ทกึ
 รักษาความสะอาดสง่ิ แวดลอ้ ม
 เฝา้ ระวังอาการแทรกซอ้ น น้าออกนอ้ ย น้าเกิน ติดเชือ ความดนั โลหติ ตา่ บวม
 ออกกาลงั กาย รับประทานอาหาร พักผอ่ น พบแพทย์ตามนัด
 แนะนาช่งั น้าหนักทกุ วัน ไมค่ วรขึนเกิน 0.5กก/วัน ***
 ห้ามยกของหนัก เกิน 6 กก.
การประเมินลักษณะแผล EXIT SITE

Perfect exit site
-สเี ดยี วกับผิวหนังหรอื อาจมสี ีคล้าขึน
-อาจพบคราบนาเหลือง (crust)
ปริมาณเลก็ น้อยหลุดลอกง่ายนอ้ ยกวา่ สัปดาห์ละครงั

Good exit site
-Exit site มีสเี ดียวกบั ผวิ หนงั หรือสคี ล้าหรอื สีชมพอู ่อนความกว้างประมาณ1-2 มม.
-อาจพบคราบน้าเหลืองเกิดขึนไม่เกิน3 ครงั สปั ดาห์
-ไมม่ ีอาการปวด, บวม, แดง และไม่มี external exudates

Equivocal exit site
-Exit site มีสชี มพเู ขม้ หรือสแี ดงความกว้างประมาณ 2-3มม. แตไ่ มเ่ กนิ 13 มม.
-อาจพบคราบน้าเหลืองทกุ 1-2วนั หรือมสี ะเกด็ นา้ เหลอื งที่บางครงั ยากต่อการลอก
-ไมม่ ีอาการปวด, บวม, หรอื หนองไหลออกจากแผล

Acute infection exit site
-มีอาการปวด บวม ร้อน ผิวหนังมีสีแดงเส้นผา่ ศูนย์กลางมากกวา่ 13มม.
-ผวิ หนงั คลุม sinus นอ้ ยกวา่ 25 %
-อาจพบคราบเลือดหรอื หนองไหลออกมาเองตดิ บนผ้ากอ๊ ซหรือกดออกมาได้
มคี ราบนา้ เหลืองติดแนน่ ลอกยาก
-อาจมตี ่ิงเนอื ยื่นออกมานอก sinus

-ระยะเวลาในการตดิ เชอื นอ้ ยกวา่ 4 สัปดาห์

Chronic infection exit site
-ระยะเวลาเป็นนานกวา่ 4 สปั ดาห์
-อาจจะมอี าการปวดหรอื ไมป่ วดก็ได้
-ผวิ หนงั มีสแี ดงคล้าย acute exitsite infection แต่สจี างกว่า
-ถ้ามอี าการปวด, บวม, แดงแสดงวา่ มภี าวะ acute infection รว่ มดว้ ย


Click to View FlipBook Version