The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:04:48

หลักสูตรศิลปะ ม.ปลาย

หลักสูตร ม.ปลาย

1

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัชรวทิ ยา
(ฉบบั ปรับปรุง)
ตวั ชีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนวัชรวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดกาํ แพงเพชร

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั พนื ฐานกระทรวงศึกษาธิการ

2

สารบญั หน้า

คาํ นาํ 1
ส่วนนํา(วิสัยทศั น์ หลกั การ จุดมุงหมาย สมรรถนะ ทีสําคญั คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ความสาํ คญั
7
และคณุ ภาพของผเู้ รียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีวดั ตารางสาระ๘ สาระและตารางส่วนนาํ ) 8
9
โครงสร้างเวลาเรียน 10
ทาํ ไมต้องเรียนศิลปะ 12
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 32
คณุ ภาพผ้เู รียน 34
ตัวชีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ( สาระที 1 ทัศนศิลป์ สาระที ดนตรี สาระที นาฏศิลป์ ) 43
โครงสร้างหลกั สูตรสาระแกนกลาง กลุ่มสาระฯ ศิลปะ ชนั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 73
คาํ อธิบายรายวชิ า ตามโครงสร้างหลกั สูตรสาระแกนกลาง กลมุ่ สาระฯ ศลิ ปะ ม.ปลาย 106
แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ คาํ อธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา สาระที 1 ทศั นศิลป์ 127
แบบบนั ทึกการวิเคราะห์ คาํ อธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า สาระที 2 ดนตรี 132
แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ คาํ อธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา สาระที 3 นาฏศลิ ป์
อภิธานศัพท์
คณะผู้จดั ทํา

3

คํานํา

โรงเรียนวชั รวทิ ยา อาํ เภอเมือง จงั หวดั กาํ แพงเพชร เป็นโรงเรียนทีเปิ ดสอนระดบั ชนั มธั ยมศึกษา ตงั อยู่
ในเขตพืน ที การศึกษ า กําแพ งเพ ชร เขต สังกัดสํานักงาน คณ ะกรรม การการศึกษาขัน พืน ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ไดร้ ับคดั เลือกให้เป็นโรงเรียนดาํ เนินการนาํ ร่องการใชห้ ลกั สูตรสาระแกนกลาง เพือการ
เรียนการสอน โดยเริมใชใ้ นปี การศึกษา โดยจะปรับใชใ้ นระดบั ชนั มธั ยมศึกษาปี ที และชนั มธั ยมศึกษาปี
ที ก่อน ทางโรงเรียนไดด้ าํ เนินการปรับใชห้ ลกั สูตรสาระแกนกลางมาอยา่ งตอ่ เนือง ไดม้ ีการจดั ส่งคณะครูเขา้
รับการอบบรมเกียวกบั หลกั สูตรแกนกลางมาโดยตลอดและทางโรงเรียนไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการวชิ าการ
ของโรงเรียน ดาํ เนินการวางแผนการดาํ เนินงาน แต่งตงั คณะทาํ งาน โดยแบ่งความรับผิดชอบตามแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระและอีก กลุ่มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน อนั ประกอบไปดว้ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยสังคมฯ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ การงานพืนฐานอาชีพฯ สุขฯและพละศึกษา ศิลปะ
และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

ในส่วนของกลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะไดด้ าํ เนินการจดั ทาํ หลกั สูตรสถานศึกษาโดยปรับใชจ้ าก
หลกั สูตรสาระแกนกลาง ซึงแบ่งภาระงานตามสาระการเรียนรู้ สาระ ไดแ้ ก่ สาระที ทศั นศิลป์ สาระที
สาระดนตรี สาระที สาระนาฏศิลป์ และหวงั ว่าในการจดั ทาํ หลกั สูตรสถานศึกษาของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะจะสามารถดาํ เนินการจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่ตวั ผเู้ รียน

คณะผทู้ าํ
กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนวชั รวิทยา

4

ชันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวัชรวทิ ยา อาํ เภอเมือง จังหวัดกาํ แพงเพชร

5

ชันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวชั รวทิ ยา อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั กาํ แพงเพชร

6

ชันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนวัชรวทิ ยา อาํ เภอเมือง จังหวัดกาํ แพงเพชร

7

สวนนำ
วสิ ยั ทัศน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกำลังของชาติใหเปนมนุษยท่ีมี
ความสมดุลท้ังดา นรางกาย ความรู คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดม่ันในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจต
คติ ท่จี ำเปนตอ การศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนน ผเู รียนเปนสำคญั บนพ้ืนฐาน
ความเช่อื วา ทกุ คนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเตม็ ตามศักยภาพ

หลกั การ

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน มหี ลักการท่สี ำคัญ ดงั น้ี
1 . เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู เปนเปาหมาย
สำหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเปน ไทยควบคกู ับความ
เปน สากล
2. เปนหลกั สูตรการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร ับการศึกษาอยางเสมอภาค และมคี ณุ ภาพ
3. เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ใหสอดคลองกับ
สภาพและความตอ งการของทองถน่ิ
4. เปน หลกั สตู รการศึกษาท่มี โี ครงสรางยดื หยนุ ท้ังดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัด การเรียนรู
5. เปนหลกั สตู รการศึกษาทเ่ี นน ผูเรียนเปน สำคัญ
6. เปนหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย
สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู และประสบการณ

จดุ หมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มี
ศกั ยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน ดงั นี้
1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม
ของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มคี วามรู ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแกปญหา การใชเ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวถิ ีชีวิตและ การปกครองตาระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ
5. มจี ิตสำนึกในการอนุรักษว ฒั นธรรมและภูมิปญ ญาไทย การอนุรกั ษแ ละพัฒนาสงิ่ แวดลอม มจี ิตสาธารณะทม่ี งุ
ทำประโยชนและสรางสง่ิ ที่ดงี ามในสังคม และอยรู วมกันในสงั คมอยางมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น และ
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคใ นการพัฒนาผเู รียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มุงเนน พัฒนาผูเ รียนให
มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ซง่ึ จะชวยใหผ ูเรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ดังน้ี

8

สมรรถนะสำคัญของผเู รียน

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน มุงใหผูเรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา

ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญหา
ความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใช
วธิ ีการสอื่ สาร ทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ตี อ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรางสรรค การคิดอยา งมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพอ่ื นำไปสูการสรางองคค วามรหู รือสารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆที่เผชิญไดอยา ง
ถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาในความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมกี ารตัดสนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปน ความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชใ นการดำเนิน
ชีวติ ประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการ
สรางเสริมความสัมพันธอ ันดีระหวา งบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง ตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัว
ใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผล
กระทบตอตนเองและผอู น่ื
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทำงาน การ
แกป ญ หาอยา งสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุง พัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถ

อยูรวมกับผูอ ื่นในสังคมไดอยา งมคี วามสขุ ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซ่อื สตั ยสจุ ริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเรยี นรู
5. อยอู ยางพอเพียง
6. มงุ มั่นในการทำงาน
7. รักความเปน ไทย
8. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมใหสอดคลองตามบริบทและ

จดุ เนน ของตนเอง

9

มาตรฐานการเรียนรู

การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน จึงกำหนดใหผ เู รียนเรยี นรู ๘ กลมุ สาระการเรยี นรู ดังนี้

1.ภาษาไทย
2.คณติ ศาสตร
3.วทิ ยาศาสตร

4.สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
5.สุขศึกษาและพลศึกษา
6.ศิลปะ
7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.ภาษาตา งประเทศ
ในแตละกลุมสาระการเรียนรไู ดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ
ผูเ รยี น มาตรฐานการเรียนรรู ะบุส่งิ ที่ผเู รยี นพึงรู ปฏิบัติได มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยม ที่พึงประสงคเ ม่ือจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาทั้ง
ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยา งไร รวมท้งั
เปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมินคุณภาพภายในและการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการ
ตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลาวเปนสงิ่ สำคญั ที่ชว ยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนให
มคี ณุ ภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรูกำหนดเพียงใด

10

ตวั ชี้วัด

ตัวชี้วัดระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้นซึ่งสะทอนถึง
มาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นำไปใช ในการกำหนดเน้ือหา จัดทำหนวยการ
เรยี นรู จดั การเรยี นการสอน และเปน เกณฑส ำคญั สำหรับการวดั ประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผเู รียน

1. ตัวชี้วัดช้ันป เปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนแตละช้ันปในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศกึ ษาปท่ี 1 – มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3)

2. ตวั ชี้วัดชว งชนั้ เปนเปาหมายในการพฒั นาผูเรยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4- 6)

หลักสตู รไดม กี ารกำหนดรหสั กำกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ ละตวั ชีว้ ัด เพื่อความเขาใจและใหสื่อสารตรงกัน
ดงั น้ี

ว 1.1 ป. 1/2 ตวั ชีว้ ดั ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1 ขอที่ 2
สาระที่ 1 มาตรฐานขอ ท่ี 1
ป.1/2
1.1 กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร


ต 2.2 ม.4-6 / 3 ตัวชว้ี ัดชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ขอท่ี 3
สาระท่ี 2 มาตรฐานขอท่ี 2
ม.4-6/3
2.3 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ


11

สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ อันพึง

ประสงค ซงึ่ กำหนดใหผูเรยี นทกุ คนในระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานจำเปนตอ งเรียนรู โดยแบงเปน ๘ กลุมสาระการ

เรยี นรู ดงั นี้ คณติ ศาสตร์ : การนาํ ความรู้ วทิ ยาศาสตร์ : การนาํ ความรู้
ทกั ษะและกระบวนการทาง และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ คณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ น ไปใชใ้ นการศกึ ษา คน้ ควา้ หาความรู้
และวฒั นธรรมการใชภ้ าษา การแกป้ ัญหา การดาํ เนินชีวติ และแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ
เพอื การสอื สาร ความชนื ชม และศกึ ษาต่อ การมีเหตมุ ีผล อย่างเป็นเหตเุ ป็นผล คดิ วิเคราะห์
การเห็นคณุ คา่ ภมู ปิ ัญญาไทย และ มเี จตคติทดี ตี ่อคณติ ศาสตร์ คิดสรา้ งสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์
ภมู ิใจในภาษาประจาํ ชาติ พฒั นาการคิดอยา่ งเป็นระบบ

และสรา้ งสรรค์

ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ องคค์ วามรู้ ทักษะสาํ คัญ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม :
ทกั ษะ เจตคติ และวฒั นธรรม และคุณลักษณะ การอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลก
การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการ อยา่ งสนั ตสิ ขุ การเป็นพลเมอื งดี ศรทั ธา
สือสาร การแสวงหาความรู้ ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ในหลกั ธรรมของศาสนา
และการประกอบอาชีพ ขนั พนื ฐาน การเหน็ คณุ ค่าของทรพั ยากรและ
สิงแวดลอ้ ม ความรกั ชาติ และภมู ิใจใน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ศลิ ปะ : ความรูแ้ ละทกั ษะใน ความเป็นไทย
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ การคิดรเิ รมิ จนิ ตนาการ
ในการทาํ งาน การจดั การ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ สุขศกึ ษาและพลศึกษา : ความรู้
การดาํ รงชวี ติ การประกอบอาชพี สนุ ทรียภาพและการเห็น ทกั ษะและเจตคติในการสรา้ งเสรมิ
และการใชเ้ ทคโนโลยี คณุ คา่ ทางศิลปะ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและ
ผอู้ นื การป้องกนั และปฏบิ ตั ิตอ่
สิงตา่ ง ๆ ทีมีผลต่อสขุ ภาพอย่าง
ถกู วิธีและทกั ษะในการดาํ เนินชวี ติ

12

วสิ ัยทัศน์

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คน ซึงเป็นกาํ ลงั ของชาติใหเ้ ป็นมนุษยท์ ีมีความ
สมดุลทงั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสาํ นึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มนั ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีความรู้และทกั ษะพนื ฐาน รวมทงั เจตคติ ทีจาํ เป็นตอ่
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมงุ่ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั บนพนื ฐานความเชือวา่ ทกุ คน
สามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

จุดหมาย

. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏิบตั ิตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มีความรู้อนั เป็นสากลและมีความสามารถในการสือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยีและมี
ทกั ษะชีวติ

. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทดี ี มีสุขนิสยั และรกั การออกกาํ ลงั กาย
. มีความรักชาติ มีจิตสาํ นึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั ในวิถีชีวิตและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
. มีจิตสาํ นึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาสิงแวดลอ้ ม
มีจติ สาธารณะทีม่งุ ทาํ ประโยชนแ์ ละสร้างสิงทีดีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

สมรรถนะสําคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

.ความสามารถในการสือสาร . รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
.ความสามารถในการคิด 2. ซือสตั ยส์ ุจริต
.ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มีวนิ ยั
.ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต . ใฝ่เรียนรู้
.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี . อยอู่ ยา่ งพอเพียง
6. มุ่งมนั ในการทาํ งาน

. รักความเป็นไทย

8. มจี ิตสาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีวดั กล่มุ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ . วิทยาศาสตร์ 1.กิจกรรมแนะแนว
4. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม . สุขศึกษาและพลศึกษา .กิจกรรมนกั เรียน
6. ศิลปะ . การงานอาชีพและเทคโนโลยี . ภาษาต่างประเทศ
. กิจกรรมเพอื สงั คม
และสาธารณประโยชน์

คุณภาพของผ้เู รียนระดบั การศึกษาขนั พนื ฐาน

13

โครงสรา งเวลาเรียน

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กำหนดกรอบโครงสรา งเวลาเรียน ดังน้ี

เวลาเรยี น

กลมุ สาระการเรยี นรู/ ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษา
กิจกรรม ตอนปลาย
ม. 4 – 6
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3
240
 กลุมสาระการเรยี นรู (6 นก.)
240
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 120 120 (6 นก.)
240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240
(6 นก.)
(3 นก.) (3นก.) (3 นก.)
120
วทิ ยาศาสตร 80 80 80 80 80 80 120 120 120 (3นก.)

(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 120
(3 นก.)
สงั คมศกึ ษา ศาสนา 80 80 80 80 80 80 120 120 120
และวัฒนธรรม 120
(3นก.) (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)

สขุ ศึกษาและพล 80 80 80 80 80 80 80 80 80 240
ศกึ ษา (6 นก.)
(2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 1,560
(39นก.)
ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 80 80 80 360

(2นก.) (2 นก.) (2 นก.) ไมนอ ยกวา 1,560
ชว่ั โมง
การงานอาชีพและ 40 40 40 40 80 80 80 80 80
เทคโนโลยี
(2นก.) (2นก.) (2 นก.)

ภาษาตางประเทศ 40 40 40 80 80 80 120 120 120

(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.)

รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) 800 800 800 800 800 800 840 840 840

(21 นก.) (21 นก.) (21 นก.)

 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120 120 120 120

รายวชิ า / กจิ กรรมท่ี
สถานศึกษาจัดเพ่ิมเตมิ
ตามความพรอมและจดุ เนน ปล ะไมเกิน 80 ช่ัวโมง ปละไมเ กิน 240 ชว่ั โมง

รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ไมเ กนิ 1,000 ชัว่ โมง/ป ไมเกนิ 1,200 ชั่วโมง/ป รวม 3 ป
ไมนอ ยกวา
3,600 ชว่ั โมง

14

กลุม สาระการเรียนรูศลิ ปะ

ทำไมตอ งเรียนศลิ ปะ

กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะเปนกลุมสาระท่ชี วยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดรเิ ร่มิ สรา งสรรค มี
จนิ ตนาการทางศลิ ปะ ช่นื ชมความงาม มสี นุ ทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมผี ลตอ คุณภาพชีวิตมนุษย กจิ กรรมทาง
ศลิ ปะชวยพัฒนาผูเรยี นท้งั ดานรา งกาย จิตใจ สตปิ ญญา อารมณ สงั คม ตลอดจน การนำไปสกู ารพฒั นา
สงิ่ แวดลอ ม สง เสริมใหผเู รียนมคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง อนั เปนพน้ื ฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชพี ได

เรียนรอู ะไรในศลิ ปะ

กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะมงุ พัฒนาใหผูเรยี นเกดิ ความรคู วามเขา ใจ มีทกั ษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความ
ซาบซง้ึ ในคุณคาของศลิ ปะ เปดโอกาสใหผ ูเรียนแสดงออกอยา งอสิ ระในศลิ ปะแขนงตาง ๆ ประกอบดวยสาระสำคญั
คอื

 ทศั นศลิ ป มคี วามรูความเขาใจองคป ระกอบศลิ ป ทศั นธาตุ สรางและนำเสนอผลงานทางทัศนศลิ ป
จากจินตนาการ โดยสามารถใชอุปกรณท่ีเหมาะสม รวมท้ังสามารถใชเ ทคนิค วิธีการของศิลปนในการสรางงานได
อยางมีประสทิ ธิภาพ วเิ คราะห วิพากษ วิจารณค ุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพนั ธระหวางทศั นศลิ ป
ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา งานศิลปะทีเ่ ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ภูมิปญ ญาไทย
และสากล ชน่ื ชม ประยุกตใชในชวี ิตประจำวนั

 ดนตรี มคี วามรคู วามเขา ใจองคป ระกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วเิ คราะห
วิพากษ วจิ ารณคุณคาดนตรี ถา ยทอดความรูส กึ ทางดนตรีอยา งอสิ ระ ชื่นชมและประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน
เขาใจความสัมพันธร ะหวา งดนตรี ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา ดนตรี ทเ่ี ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ
ปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล รองเพลง และเลน ดนตรี ในรปู แบบตา ง ๆ แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั
เสียงดนตรี แสดงความรูส กึ ที่มตี อดนตรีในเชิงสนุ ทรยี ะ เขาใจความสมั พนั ธระหวางดนตรีกบั ประเพณีวฒั นธรรม
และเหตกุ ารณใ นประวตั ศิ าสตร

 นาฏศลิ ป มคี วามรูค วามเขาใจองคป ระกอบนาฏศิลป แสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรางสรรค
ใชศ พั ทเ บื้องตน ทางนาฏศลิ ป วิเคราะหว พิ ากษ วจิ ารณค ุณคา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูส กึ ความคิดอยา งอสิ ระ
สรา งสรรคการเคล่ือนไหวในรูปแบบตาง ๆ ประยุกตใ ชนาฏศิลป ในชีวิตประจำวนั เขา ใจความสมั พันธระหวาง
นาฏศิลปก บั ประวตั ศิ าสตร วัฒนธรรม เหน็ คุณคา ของนาฏศลิ ปท ี่เปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญ ญาทองถน่ิ ภมู ิ
ปญ ญาไทย และสากล

15

สาระและมาตรฐานการเรียนรู

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะหวิพากษ วิจารณ
คณุ คางานทัศนศลิ ป ถา ยทอดความรสู กึ ความคดิ ตอ งานศิลปะอยางอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ ชในชีวิตประจำวนั
มาตรฐาน ศ 1.2 เขา ใจความสัมพันธร ะหวา งทัศนศลิ ป ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา งานทัศนศิลปท ี่
เปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญ ญาทองถ่ิน ภมู ปิ ญญาไทย และสากล

สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี
ถายทอดความรูสึก ความคิดตอ ดนตรอี ยางอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใชในชวี ติ ประจำวนั
มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา ของ ดนตรีที่ เปนมรดก
ทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน ภูมปิ ญญาไทยและสากล

สาระที่ 3 นาฏศิลป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคานาฏศิลป
ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวนั
มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคณุ คา ของนาฏศิลปท่ี
เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล

16

คุณภาพผูเ รยี น

จบช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 3

 รแู ละเขาใจเร่ืองทศั นธาตุและหลักการออกแบบและเทคนคิ ท่ีหลากหลายในการสรา งงานทัศนศิลป 2
มิติ และ 3 มิติ เพื่อส่ือความหมายและเร่ืองราวตาง ๆ ไดอยางมีคุณภาพ วิเคราะหรูปแบบเนื้อหาและประเมิน
คุณคางานทัศนศิลปของตนเองและผูอ่ืน สามารถเลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑที่กำหนดขึ้นอยางเหมาะสม
สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ กราฟกในการนำเสนอขอมูลและมีความรู ทักษะท่ีจำเปนดานอาชีพท่ี
เกี่ยวขอ งกันกบั งานทศั นศลิ ป

 รูแ ละเขาใจการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลปของชาติและทองถิ่นแตละยุคสมัย เห็น
คณุ คา งานทัศนศลิ ปที่สะทอนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทศั นศิลปทม่ี าจากยุคสมัยและวัฒนธรรมตา ง


 รูและเขาใจถึงความแตกตางทางดานเสียง องคประกอบ อารมณ ความรูสึกของบทเพลงจาก
วัฒนธรรมตาง ๆ มีทกั ษะในการรอง บรรเลงเคร่ืองดนตรี ทั้งเด่ยี วและเปน วงโดยเนน เทคนิคการรอ งบรรเลงอยา งมี
คุณภาพ มีทักษะในการสรางสรรคบทเพลงอยางงาย อานเขียนโนต ในบันไดเสียงท่ีมีเคร่ืองหมาย แปลงเสียง
เบ้ืองตนได รูและเขาใจถึงปจจัยท่ีมีผลตอรูปแบบของผลงานทางดนตรี องคประกอบของผลงานดานดนตรีกับ
ศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณความรูสึกท่ีมีตอบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงท่ีช่ืน
ชอบไดอยางมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รูถึงอาชีพตาง ๆ ที่
เกย่ี วของกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกจิ บันเทงิ เขา ใจถึงอิทธิพลของดนตรีทีม่ ีตอ บคุ คลและสังคม

 รูและเขาใจท่ีมา ความสัมพันธ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแตล ะวัฒนธรรมในยุคสมัยตาง ๆ วิเคราะห
ปจจัยที่ทำใหง านดนตรไี ดร ับการยอมรับ

 รูและเขาใจการใชนาฏยศัพทหรือศัพททางการละครในการแปลความและสื่อสารผานการแสดง
รวมทั้งพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใชเ กณฑง า ย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง วิจารณเ ปรยี บเทยี บงาน
นาฏศิลป โดยใชความรูเร่ืององคประกอบทางนาฏศิลปรวมจัดการแสดง นำแนวคิดของการแสดงไปปรับใชใน
ชีวติ ประจำวัน

 รูและเขาใจประเภทละครไทยในแตละยุคสมัย ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลปไทย
นาฏศิลปพ้ืนบาน ละครไทย และละครพ้ืนบาน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลปจากวัฒนธรรม
ตาง ๆ รวมท้ังสามารถออกแบบและสรางสรรคอุปกรณ เครื่องแตงกายในการแสดงนาฏศิลปและละคร มีความ
เขาใจ ความสำคญั บทบาทของนาฏศิลปและละครในชวี ติ ประจำวนั

17

จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 6

 รูและเขาใจเก่ียวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใชศัพททาง
ทัศนศิลป อธิบายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณและ
กระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสรางงานทัศนศิลป วิเคราะหเน้ือหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของ
ศิลปนท้ังไทยและสากล ตลอดจนการใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการออกแบบสรางสรรคงานท่ีเหมาะสมกับโอกาส
สถานท่ี รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมดวยภาพลอเลียนหรือการตูน ตลอดจนประเมนิ และวิจารณ
คณุ คา งานทศั นศิลปด วยหลกั ทฤษฎีวจิ ารณศลิ ปะ

 วิเคราะหเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เขาใจอิทธิพลของ
มรดกทางวฒั นธรรมภูมิปญญาระหวางประเทศทีม่ ผี ลตอ การสรางสรรค งานทัศนศลิ ปใ นสงั คม

 รูและเขาใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท และจำแนกรูปแบบของวงดนตรีท้ังไทยและ
สากล เขาใจอิทธิพลของวัฒนธรรมตอ การสรางสรรคด นตรี เปรียบเทียบอารมณและความรูสึกท่ีไดรับจากดนตรี
ทม่ี าจากวฒั นธรรมตางกัน อา น เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจงั หวะตาง ๆ มที ักษะในการรอ งเพลงหรอื
เลนดนตรีเด่ียวและรวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สรางเกณฑสำหรับประเมิน
คุณภาพการประพันธ การเลนดนตรีของตนเองและผูอืน่ ไดอยา งเหมาะสม สามารถนำดนตรไี ประยกุ ตใชในงานอ่ืน


 วิเคราะห เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเดนของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมตาง ๆ เขาใจบทบาท
ของดนตรีที่สะทอนแนวความคิดและคานิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ
สรางแนวทางและมีสวนรวมในการสง เสรมิ และอนุรกั ษดนตรี

 มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคูและเปนหมู
สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบท่ีชื่นชอบ สามารถวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและละครท่ีตองการส่ือ
ความหมายในการแสดง อิทธิพลของเคร่ืองแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานที่ท่ีมีผลตอการแสดง
วิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถ
วเิ คราะหทา ทางการเคลือ่ นไหวของผูคนในชีวิตประจำวนั และนำมาประยุกตใชใ นการแสดง

 เขาใจวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสำคัญในวงการ
นาฏศลิ ปและการละครของประเทศไทยในยคุ สมัยตา ง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนำการแสดงไปใชในโอกาสตาง
ๆ และเสนอแนวคดิ ในการอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทย

18

มาตรฐาน และตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศลิ ปต ามจินตนาการ และความคดิ สรางสรรค วเิ คราะห วพิ ากษ วิจารณ
คณุ คา งานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคดิ ตอ งานศลิ ปะอยางอิสระชื่นชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวนั

ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
ม4- 1.วเิ คราะหการใชท ัศนธาตุ และหลกั การ
6 ออกแบบในการสือ่ ความหมายในรูปแบบ

ตา ง ๆ

2. บรรยายจุดประสงคแ ละเน้ือหาของงาน  ศัพททางทัศนศิลป
ทัศนศลิ ป โดยใชศัพททางทศั นศลิ ป

3.วเิ คราะหการเลือกใชวัสดอุ ุปกรณ และ  วสั ดุ อปุ กรณ และเทคนิคของศลิ ปน ใน
เทคนคิ ของศิลปน ในการแสดงออกทาง การแสดงออกทางทัศนศลิ ป
ทศั นศิลป

19

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง
 เทคนิค วัสดุ อุปกรณ กระบวนการในการ
ม.4- 6 4. มที ักษะและเทคนคิ ในการใชว ัสดุ สรางงานทศั นศลิ ป
อุปกรณ และกระบวนการทส่ี งู ขึ้น
ในการสรา งงานทัศนศิลป  หลกั การออกแบบและการจัดองคประกอบ
ศลิ ปดวยเทคโนโลยี
5. สรา งสรรคง านทัศนศิลปด ว ยเทคโนโลยี
ตาง ๆ โดยเนนหลกั การออกแบบและ  การออกแบบงานทัศนศิลป
การจัดองคป ระกอบศลิ ป
 จุดมุงหมายของศลิ ปน ในการเลือกใชวสั ดุ
6. ออกแบบงานทศั นศลิ ปไดเ หมาะกบั อปุ กรณ เทคนคิ และเน้ือหา ในการสรา งงาน
โอกาสและสถานท่ี ทัศนศลิ ป

7. วิเคราะหและอธิบายจดุ มุงหมาย  ทฤษฎีการวจิ ารณศลิ ปะ
ของศลิ ปนในการเลือกใชว ัสดุ อปุ กรณ
เทคนคิ และเนื้อหา เพ่ือสรา งสรรคงาน  การจดั ทำแฟมสะสมงานทศั นศลิ ป
ทศั นศลิ ป
 การสรางงานทัศนศลิ ปจากแนวคิดและ
8. ประเมนิ และวจิ ารณงานทัศนศลิ ป วธิ ีการของศลิ ปน
โดยใชทฤษฎกี ารวจิ ารณศลิ ปะ
 การวาดภาพลอ เลยี นหรือภาพการตนู
9. จดั กลุมงานทัศนศลิ ปเ พ่อื สะทอน
พฒั นาการและความกาวหนาของตนเอง

10.สรา งสรรคง านทัศนศลิ ปไทย สากล
โดยศึกษาจากแนวคิดและวธิ กี าร
สรา งงานของศลิ ปนท่ีตนช่นื ชอบ

11.วาดภาพ ระบายสเี ปนภาพลอ เลียน
หรือภาพการต ูนเพื่อแสดงความคดิ เหน็
เก่ียวกบั สภาพสังคมในปจจุบนั

20

สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.2 เขา ใจความสัมพันธระหวา งทัศนศลิ ป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา

งานทศั นศิลปทเ่ี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถ่ิน ภมู ปิ ญญาไทย และ
สากล

ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4- 6 1. วเิ คราะห และเปรียบเทียบงานทศั นศลิ ปใน  งานทัศนศิลปร ปู แบบตะวนั ออกและ
ชัน้ รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวนั ตก
ตะวนั ตก

2. ระบงุ านทศั นศิลปของศลิ ปน ทมี่ ีชอื่ เสยี ง และ  งานทัศนศิลปของศิลปนที่มชี อ่ื เสียง
บรรยายผลตอบรบั ของสังคม

3. อภิปรายเกย่ี วกับอทิ ธิพลของวฒั นธรรม  อทิ ธิพลของวฒั นธรรมระหวา งประเทศ
ระหวางประเทศท่ีมผี ลตอ งาน
ทม่ี ีผลตองานทัศนศิลป
ทัศนศิลปในสงั คม

21

สาระท่ี 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรอี ยางสรางสรรค วิเคราะห วพิ ากษวิจารณคณุ คา
ดนตรี ถายทอดความรสู ึก ความคดิ ตอดนตรอี ยา งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใชใ นชีวติ ประจำวัน

ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ม.4-6 1. เปรยี บเทียบรปู แบบของบทเพลงและ วง  การจัดวงดนตรี

ดนตรีแตละประเภท - การใชเ คร่ืองดนตรใี นวงดนตรี

ประเภทตางๆ

- บทเพลงทบ่ี รรเลงโดยวงดนตรี
ประเภทตางๆ

2. จำแนกประเภทและรปู แบบของ  ประเภทของวงดนตรี

วงดนตรที ้งั ไทยและสากล - ประเภทของวงดนตรไี ทย

- ประเภทของวงดนตรีสากล

3. อธิบายเหตผุ ลที่คนตา งวฒั นธรรม  ปจ จัยในการสรา งสรรคผลงานดนตรี

สรางสรรคงานดนตรีแตกตา งกัน ในแตละวัฒนธรรม

- ความเช่ือกับการสรางสรรคง าน
ดนตรี

- ศาสนากับการสรา งสรรคงานดนตรี
- วถิ ชี ีวิตกบั การสรา งสรรคง านดนตรี
- เทคโนโลยกี บั การสรางสรรคงาน
ดนตรี

4. อาน เขยี น โนตดนตรีไทยและสากล  เคร่อื งหมายและสญั ลักษณทางดนตรี

ในอัตราจงั หวะตาง ๆ - เครือ่ งหมายกำหนดอตั ราจังหวะ

- เครือ่ งหมายกำหนดบนั ไดเสยี ง
 โนต บทเพลงไทยอตั ราจงั หวะ 2 ชัน้ และ

3 ชั้น

22

ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง
ม.4-6 5. รอ งเพลง หรือเลน ดนตรเี ดี่ยวและ  เทคนคิ และ การถายทอดอารมณเ พลง
ดว ยการรอง บรรเลงเครื่องดนตรเี ดย่ี วและ
รวมวงโดยเนน เทคนคิ การแสดงออก รวมวง
และคณุ ภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสำหรับประเมินคณุ ภาพ  เกณฑในการประเมินผลงานดนตรี
การประพันธและการเลน ดนตรี - คุณภาพของผลงานทางดนตรี
ของตนเองและผอู ื่นไดอยา งเหมาะสม - คณุ คา ของผลงานทางดนตรี

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูส กึ  การถายทอดอารมณ ความรสู ึกของงาน
ทไ่ี ดรับจากงานดนตรีท่มี าจากวัฒนธรรม ดนตรจี ากแตละวฒั นธรรม
ตา งกนั

8. นำดนตรไี ปประยุกตใชในงานอน่ื ๆ  ดนตรีกบั การผอนคลาย
 ดนตรกี บั การพฒั นามนุษย
 ดนตรกี บั การประชาสมั พนั ธ
 ดนตรกี ับการบำบัดรักษา
 ดนตรีกับธรุ กจิ
 ดนตรกี ับการศกึ ษา

23

สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพนั ธระหวา งดนตรี ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา

ของดนตรีท่เี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
ม.4-6 1. วิเคราะหร ปู แบบของดนตรไี ทยและ
 รูปแบบบทเพลงและวงดนตรีไทยแตล ะยุค
ดนตรสี ากลในยุคสมัยตาง ๆ สมัย
 รูปแบบบทเพลงและวงดนตรสี ากลแตล ะ
ยคุ สมยั

2. วเิ คราะหสถานะทางสังคมของ  ประวัตสิ ังคีตกวี
นักดนตรใี นวัฒนธรรมตา ง ๆ

3. เปรียบเทยี บลักษณะเดนของดนตรี  ลกั ษณะเดน ของดนตรีในแตละวัฒนธรรม

ในวัฒนธรรมตางๆ - เคร่อื งดนตรี
- วงดนตรี
- ภาษา เนือ้ รอง
- สำเนยี ง
- องคป ระกอบบทเพลง
-
4. อธิบายบทบาทของดนตรใี นการสะทอ น  บทบาทดนตรใี นการสะทอนสงั คม
- คานยิ มของสังคมในผลงานดนตรี
แนวความคิดและคานยิ ม - ความเชอ่ื ของสังคมในงานดนตรี

ทเี่ ปลี่ยนไปของคนในสงั คม

-
5. นำเสนอแนวทางในการสง เสริมและ  แนวทางและวธิ กี ารในการสงเสริมอนุรกั ษ
อนุรกั ษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ
ดนตรีไทย

24

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรางสรรค วเิ คราะห วิพากษว ิจารณ

คณุ คานาฏศลิ ป ถา ยทอดความรูส กึ ความคิดอยา งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใช

ในชวี ิตประจำวัน

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ม.4- 6 1. มที ักษะในการแสดงหลากหลายรปู แบบ  รปู แบบของการแสดง

- ระบำ รำ ฟอ น
- การแสดงพืน้ เมืองภาคตา ง ๆ
- การละครไทย
- การละครสากล

2. สรางสรรคละครสนั้ ในรูปแบบ  ละครสรางสรรค

ทชี่ ่นื ชอบ - ความเปน มา

- องคป ระกอบของละครสรา งสรรค
- ละครพดู
o ละครโศกนาฏกรรม

o ละครสขุ นาฏกรรม

o ละครแนวเหมือนจริง

o ละครแนวไมเ หมือนจรงิ

3. ใชค วามคิดรเิ ร่ิมในการแสดงนาฏศิลปเปน คู  การประดิษฐทารำทเี่ ปนคูแ ละหมู

และหมู - ความหมาย
- ประวตั คิ วามเปนมา
- ทา ทางท่ีใชในการประดษิ ฐท ารำ
- เพลงทใี่ ช

4. วิจารณการแสดงตามหลกั นาฏศลิ ป และ  หลักการสรา งสรรคและการวิจารณ

การละคร  หลักการชมการแสดงนาฏศลิ ปแ ละละคร

5. วเิ คราะหแ กน ของการแสดงนาฏศลิ ปและ  ประวตั ิความเปนมาของนาฏศิลป

การละครท่ตี องการสื่อความหมาย ในการแสดง และการละคร

- ววิ ัฒนาการ
- ความงามและคุณคา

6. บรรยาย และวิเคราะห อทิ ธพิ ลของ  เทคนิคการจัดการแสดง

เครอ่ื งแตงกาย แสง สี เสยี ง ฉากอุปกรณ - แสงสีเสียง -อปุ กรณ

และสถานท่ีท่มี ผี ลตอ การแสดง - ฉาก -สถานท่ี

25

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ม.4- 6 7. พฒั นาและใชเกณฑการประเมนิ ในการ  การประเมนิ คุณภาพของการแสดง
ประเมนิ การแสดง - คุณภาพดา นการแสดง
- คณุ ภาพองคป ระกอบการแสดง

8. วิเคราะหทา ทาง และการเคล่อื นไหว  การสรางสรรคผลงาน
ของผคู นในชีวติ ประจำวนั และนำมา - การจัดการแสดงในวนั สำคัญ
ประยกุ ตใชในการแสดง ของโรงเรยี น
- ชุดการแสดงประจำโรงเรยี น

26

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป เขาใจความสัมพนั ธระหวา งนาฏศิลป ประวตั ศิ าสตรแ ละวัฒนธรรม
มาตรฐาน ศ 3.2 เหน็ คุณคา ของนาฏศลิ ปทเ่ี ปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ
ภูมิปญญาไทยและสากล

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง
 การแสดงนาฏศลิ ปใ นโอกาสตา งๆ
ม.4- 6 1. เปรียบเทียบการนำการแสดงไปใชใ น
โอกาสตา ง ๆ

2. อภิปรายบทบาทของบุคคลสำคญั  บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศลิ ปและ
ในวงการนาฏศิลปแ ละการละคร การละครของไทยในยคุ สมัยตาง ๆ
ของประเทศไทยในยคุ สมยั ตางๆ

3. บรรยายววิ ัฒนาการของนาฏศลิ ปและ  วิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละคร
การละครไทย ตัง้ แตอดีตจนถึงปจจบุ นั ไทยตงั้ แตอ ดีตจนถงึ ปจ จบุ ัน

4. นำเสนอแนวคิดในการอนรุ ักษ  การอนุรักษน าฏศลิ ป ภูมิปญ ญาทองถ่ิน
นาฏศิลปไทย

27

โครงสรางหลกั สูตรสาระแกนกลาง

กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

โรงเรียนวัชรวทิ ยา อำเภอเมอื ง จังหวดั กำแพงเพชร

28

โครงสรางหลกั สตู รสาระแกนกลาง

กลมุ สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา สพท.กพ.1
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
สาระพน้ื ฐาน

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 1 ชัว่ โมง/สัปดาห , 20 ชวั่ โมง/ภาคเรียน
1 ช่วั โมง/สัปดาห , 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น
ศ 31101 ศลิ ปะพื้นฐาน (ดนตร)ี
ศ 31102 ศิลปะพืน้ ฐาน (ดนตร)ี

ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 5
ศ 32101 ศลิ ปะพืน้ ฐาน (นาฏศลิ ป) 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห , 20 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
ศ 32102 ศลิ ปะพื้นฐาน (นาฏศิลป) 1 ช่วั โมง/สัปดาห , 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 6
ศ 33101 ศิลปะพ้ืนฐาน (ทัศนศลิ ป) 1 ชั่วโมง/สัปดาห , 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน
ศ 33102 ศิลปะพื้นฐาน (ทัศนศิลป) 1 ชว่ั โมง/สัปดาห , 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน

สาระเพิม่ เตมิ

ศ 30210 การออกแบบ 1.0 หนวย , 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น
ศ 30202 จิตรกรรม 1.0 หนวย , 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น
ศ 30203 ดนตรสี ากล 1 1.0 หนวย , 40 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
ศ 30204 ดนตรไี ทย 1.0 หนวย , 40 ช่วั โมง/ภาคเรยี น
ศ 30205 นาฏศลิ ป 1.0 หนวย , 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน
ศ 30206 ศิลปะประยุกต 1.0 หนวย , 40 ชัว่ โมง/ภาคเรยี น
ดนตรีสากล 2 1.0 หนวย , 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น
ศ 30207

29

คำอธิบายรายวชิ า

ตามโครงสรา งหลักสตู รสาระแกนกลาง

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
กลุม สาระการเรียนรูศิลปะ โรงเรียนวัชรวทิ ยา

30

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

ศลิ ปะพนื้ ฐาน ศ 31101, ศ31102 (ดนตร)ี กลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1/2 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว ยกิต
******************************************************************************

ศึกษา รูและเขาใจประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของดนตรีไทยและสากล ในยุคสมัยตางๆ เห็น
คุณคาภูมิปญญาไทย ภูมิปญญานานาชาติ คิด วิเคราะหบทเพลง ตีความหมายของบทเพลงความไพเราะของ
ผลงานดนตรีตามหลักวิชาการทางดนตรี นำความรูและหลักการทางดนตรีมาประยุกตใชกับวิชาอื่นๆและ
ชีวิตประจำวัน

โดยใชกระบวนการฝกทกั ษะ แสวงหาความรู รวมท้ังศึกษาคนตรีพื้นบานในทองถิ่นอยางมุง มนั่ ต้ังใจและมี
วินยั ในการฝกปฏิบัติ และสามารถนำความรู ความคิด และจินตนาการไปประยุกตใ ชในชีวิตประจำวันไดอยางชื่น
ชมและเหน็ คุณคา

เลือกปฏิบัติเคร่ืองดนตรี 1 ชนิดสามารถปรับแตงเสียง ถอดประกอบ จัดต้ังสื่อความหมายของโนตและ
สัญลักษณ ลีลา จังหวะ ฟงและปฏิบัติตามหลักการทางดนตรีและเทคนิคตามลำดับความยากงายของบทฝก
ปฏิบตั ิเลนเดี่ยวและรวมวง เก็บรักษาและทำความสะอาดดูแลรักษาเครอ่ื งดนตรี (เพื่อความพอเพียง)และมีทกั ษะ
ในการปฏิบตั ิเครอื่ งดนตรี ประกอบการรวมวงและสามารถนำไปแสดงตามโอกาสตางๆไดอยางเหมาะสม

รหสั ตัวชี้วดั
ศ 2.1 ม.4-6/1, ศ 2.1ม.4-6/2, ศ 2.1 ม.4-6/3, ศ 2.1 ม.4-6/4, ศ 2.1 ม.4-6/5,
ศ 2.1 ม.4-6/6, ศ 2.1 ม.4-6/7, ศ 2.1 ม.4-6/8
ศ 2.2 ม.4-6/1, ศ 2.2 ม.4-6/2, ศ 2.2 ม.4-6/3, ศ 2.2 ม4-6/4, ศ 2.2 ม.4-6/5,
รวม 9 ตวั ชวี้ ดั

31

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ศิลปะพืน้ ฐาน ศ 32101, ศ 32102 (นาฏศลิ ป) กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว ยกิต

ศกึ ษา รแู ละเขา ใจ มีทักษะในการแสดงหลากหลายรปู แบบ สรางสรรคล ะครสั้นในรูปแบบ ท่ีชื่น
ชอบและเสริมความพอเพียงในการแสดงและ คิดรเิ ร่ิมในการแสดงนาฏศิลปเปนคู และหมู วิจารณการ
แสดงตามหลักนาฏศิลป และกาละครวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละครท่ีตองการส่ือ
ความหมาย ในการแสดง บรรยาย และวิเคราะห อิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ
และสถานท่ีท่ีมีผลตอการแสดง ศึกษาพัฒนาและใชเ กณฑก ารประเมินในการประเมนิ การแสดง วิเคราะห
ทาทาง และการเคล่ือนไหวของผูคนในชีวิตประจำวันและนำมาประยุกตใชในการแสดง มีทักษะ
กระบวนการในการสรา งสรรค

โดยใชกระบวนการในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยา งมงุ มั่นตั้งใจ เห็นคุณคาของการนำ
ความรู ความคิด ไปสรางสรรคและปรับใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจำวัน มีแนวทางในการนำไป
ประกอบอาชีพอยางเหมาะสมมีสนุ ทรียภาพ เกิดความภาคภูมิใจ

เห็นคุณคา ช่ืนชม การแสดงใชในโอกาสตาง ๆ บทบาทบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปและการ
ละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆรวมทั้งศึกษานาฏศิลปประเทศอาเซียน บรรยายวิวัฒนาการของ
นาฏศิลป ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันและศึกษานาฏศิลปพ้ืนบานประจำทองถ่ินและ สรางสรรคนำเสนอ
ผลงานเร่ืองการอนุรักษ นาฏศิลปไทยและการแสดงพ้ืนบานของไทยโดยใชความสามารถทางดาน
เทคโนโลยเี ขามาชว ยในการสรา งสรรค

รหัสตวั ช้ีวดั
ศ 3.1 ม.4-6/1, ศ 3.1 ม.4-6/2, ศ 3.1ม.4-6/3, ศ 3.1 ม.4-6/4,
ศ 3.1 ม.4-6/5, ศ 3.1 ม.4-6/6, ศ 3.1 ม.4-6/7, ศ 3.1 ม.4-6/8
ศ 3.2 ม.4-6/1 ศ 3.2 ม.4-6/2, ศ 3.2 ม.4-6/3, ศ 3.2 ม.4-6/4,ท

รวม 13 ตวั ชีวัด

32

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ศิลปะพนื้ ฐาน ศ 33101, ศ 33102 (ทศั นศลิ ป) กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1/2 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนวยกิต
****************************************************************************
ศกึ ษา รู และเขาใจ วิเคราะห การใชท ัศนธาตุ หลกั การออกแบบ การสอ่ื ความหมายในรูปแบบ
ตาง ๆ บรรยายจุดประสงคและเน้ือหาของงานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป การเลือกใชวัสดุ-
อปุ กรณ และเทคนคิ ของศลิ ปน ในการแสดงออกทางทศั นศิลป มีทกั ษะและเทคนิคในการใชวสั ด-ุ อุปกรณ
ในทองถิ่นหรือพ้ืนบานในการสรางสรรคงาน และกระบวนการท่ีสูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป
สรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนนหลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป
ออกแบบงานทัศนศิลปไดโดยใชวัสดุอุปกรณท่ีเหมาะสมและประหยัด(เพ่ือความพอเพียง) เหมาะกับ
โอกาสและสถานท่ีวิเคราะหและอธิบายจุดมุงหมายของศลิ ปนในการเลือกใชวสั ดุ- อุปกรณ เทคนคิ และ
เนื้อหา เพ่ือสรางสรรคงานทัศนศิลป ประเมินและวิจารณงานทัศนศิลป โดยใชทฤษฎีการวิจารณศิลปะ
จดั กลุม งานทัศนศิลป
เพ่ือสะทอนพัฒนาการและความกาวหนาของตนเอง สรางสรรคงานทัศนศิลปไทยและ สากล
จากแนวคิดและวิธีการ สรางงานของศิลปนที่ตนช่ืนชอบ วิเคราะห และเปรียบเทียบงานทัศนศิลปใน
รูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ระบุงานทัศนศิลปของศิลปนท่ีมีช่ือเสียง และบรรยายผลตอบรับ
ของสังคม อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตองานทัศนศิลปในสังคม ฝก
ปฏิบัติวาดภาพ ระบายสี เปนภาพลอเลียนหรือภาพการตูนเพื่อสื่อความคิดผานทางผลงานของสภาพ
สังคมในปจ จุบันสสู าธารณะชน
โดยใชก ระบวนการทางศลิ ปะสรา งสรรคแ ละสอ่ื สารผานผลงาน อยางมุง มั่นต้ังใจ มเี หตุผล และมี
วินัยในการศึกษา สังเกต แสวงหาความรูและการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความคิด และความเขา ใจใน
ดานเทคนิค วิธีการในการเลือกใชส่ือ และวัสดุ-อุปกรณ จากธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดแรง
บันดาลใจในการสรางสรรคผลงานอยางมีจินตนาการ เห็นคุณคาในงานศิลปะและสามารถนำไป
ประยกุ ตใชในชีวิตประจำวนั ไดอ ยางช่ืนชม และภาคภูมใิ จ

รหัสตวั ชี้วัด
ศ 1.1 ม.4-6/1, ศ 1.1 ม.4-6/2, ศ 1.1 ม.4-6/3, ศ 1.1 ม.4-6/4, ศ 1.1 ม.4-6/5,ศ 1.1 ม.4-6/6, ศ 1.1
ม.4-6/7, ศ 1.1 ม.4-6/8, ศ 1.1 ม.4-6/9, ศ 1.1 ม.4-6/10,ศ 1.1 ม.4-6/11,
ศ 1.2 ม.4-6/1, ศ 1.2 ม.4-6/2, ศ 1.2 ม.4-6/3
รวม 14 ตัวชีวัด

33

คำอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เตมิ
ศลิ ปะเพ่มิ เติม ศ 30201 (การออกแบบ) กลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ช้ันมธั ยมศึกษาปที่4/5/ 6 ภาคเรยี นที่ 1/2 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 2.0 หนวยกิต

(สาระท่ี 1 ทศั นศิลป)

ศึกษา รูและเขาใจ โดยเนนการฝกปฏิบัติ การใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การสื่อ
ความหมายในรูปแบบตาง ๆ การออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป ออกแบบงานทัศนศิลปได
เหมาะกบั โอกาสและสถานที่ แนวคดิ และเทคนคิ วธิ กี ารสรา งงานของศลิ ปน ทตี่ นชนื่ ชอบ

เห็นคุณคา ชื่นชม งานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตกและงานทัศนศิลปของ
ศลิ ปน ทม่ี ชี ือ่ เสยี ง ทีม่ ีผลตอบรบั ของสงั คม

โดยใชกระบวนการทางทักษะแสวงหาความรู ส่ือความคิด และสามารถนำความรูในเร่ือง
สุนทรียภาพของงานศิลปะไปสรางสรรคผลงานทางศิลปะไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอยาง
เหมาะสมและเหน็ คุณคา

รหสั ตัวชี้วดั
ศ 1.1 ม.4-6/ 1, ศ 1.1 ม.4-6/5, ศ 1.1 ม.4-6/6, ศ 1.1 ม.4-6/10
ศ 1.2 ม.4-6/ 1, ศ 1.2 ม.4-6/2
รวม 6 ตัวชวี้ ดั

34

คำอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ
ศลิ ปะเพ่มิ เตมิ ศ 30202 (จติ รกรรม) กลุม สาระการเรียนรูศิลปะ

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4/5/ 6 ภาคเรียนที่ 1/2 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 2.0 หนว ยกิต

(สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป)

ศึกษา รูและเขาใจ ฝกปฏิบัติ ศัพททางทัศนศิลป ในการเลือกใชวัสดุอุปกรณ และเทคนิคของ
ศลิ ปน ในการแสดงออกทางทัศนศิลป เทคนิคในการใชวสั ดุอุปกรณ และกระบวนการทสี่ ูงขึ้นในการสรา ง
งานทัศนศิลป จุดมุงหมาย ของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิคและเน้ือหา เพ่ือสรางสรรค
งานทัศนศลิ ป การวาดภาพลอเลียนหรอื ภาพการตูน

เห็นคุณคา และชื่นชม งานทัศนศิลปของศิลปนท่ีมีช่ือเสียง บรรยายผลตอบรับของสังคมอิทธิพล
ของวัฒนธรรมระหวางประเทศท่ีมผี ลตอ งานทัศนศลิ ป

โดยใชกระบวนการทางทักษะแสวงหาความรู สื่อความคิด และสามารถนำความรูในเร่ือง
สุนทรียภาพของงานศิลปะไปสรางสรรคผลงานทางศิลปะไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอยาง
ภาคภูมิใจและเหน็ คุณคา

รหสั ตัวชี้วดั
ศ 1.1 ม.4-6/ 2,ศ 1.1 ม.4-6/3,ศ 1.1 ม.4-6/4,ศ 1.1 ม.4-6/7,ศ 1.1 ม.4-6/11
ศ 1.2 ม.4-6/2,ศ 1.2 ม.4-6/3
รวม 7 ตัวช้วี ดั

35

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ศิลปะเพม่ิ เติม ศ 30203 (ดนตรสี ากล 1) กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4/5/ 6 ภาคเรยี นท่ี 1/2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หนวยกติ

สาระที่ 2 ดนตรี

ศึกษา ปฏิบัติ ในการเปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท จำแนก
ประเภทและรูปแบบของ วงดนตรสี ากล อาน เขียน โนตดนตรีสากลในอัตราจังหวะตาง ๆ รองเพลง หรือ
เลนดนตรีเด่ียวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดงสรางเกณฑสำหรับ
ประเมินคณุ ภาพการประพนั ธแ ละการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่นื ไดอยางเหมาะสม

เห็นคุณคา ช่ืนชมในการนำดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่น ๆ วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นัก
ดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ ท้ังวัฒนธรรมไทย สากล อาเซียน อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะทอน
แนวความคดิ และคา นยิ มท่เี ปลยี่ นไปของคนในสังคม

โดยใชกระบวนการฝกทักษะ แสวงหาความรู อยางมีเหตุผล มุงมั่นต้ังใจและมีวินัยในการฝก
ปฏิบัติ และสามารถนำความรู ความคิด และจินตนาการไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดอยางช่ืนชม
และเหน็ คุณคา

รหสั ตัวชวี้ ัด
ศ 2.1 ม.4-6/1, ศ 2.1 ม.4-6/2, ศ 2.1 ม.4-6/4, ศ 2.1 ม.4-6/5, ศ 2.1 ม.4-6/6,
ศ 2.1 ม.4-6/8, ศ 2.2 ม.4-6/2, ศ 2.2 ม.4-6/4
รวม 8 ตัวชว้ี ัด

36

คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ศิลปะเพ่มิ เติม ศ 30204 (ดนตรไี ทย) กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะ

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 4/5/ 6 ภาคเรียนท่ี 1/2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 2.0 หนวยกิต

สาระท่ี 2 ดนตรี
ศึกษา ปฏิบัติ ในการเปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแตละประเภท จำแนก

ประเภทและรปู แบบของ วงดนตรีไทย อาน เขียน โนตดนตรีไทยในอัตราจังหวะตาง ๆ รอ งเพลง หรือเลน
ดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดงสรางเกณฑสำหรับ
ประเมนิ คุณภาพการประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอืน่ ไดอยา งเหมาะสม วิเคราะหสถานะ
ทางสังคมของ นกั ดนตรีในวัฒนธรรมตา ง ๆ รวมถงึ วฒั นธรรมทางดนตรขี องประเทศอาเซยี น

เห็นคุณคา ช่ืนชมในการนำดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่น ๆอธิบายบทบาทของดนตรีในการ
สะทอนแนวความคิดและคานิยม ที่เปล่ียนไปของคนในสงั คมนำเสนอแนวทางในการสงเสริมและอนรุ กั ษ
ดนตรใี นฐานะมรดกของชาติ

โดยใชกระบวนการฝกทกั ษะ แสวงหาความรู อยางมุงมั่นตั้งใจและมีวินัยในการฝกปฏิบัติ และ
สามารถนำความรู ความคดิ และจินตนาการไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวันไดอยางชื่นชมและเห็นคุณคา

ตวั ช้ีวัดชั้นป
ศ 2.1 ม.4-6/1, ศ 2.1 ม.4-6/2, ศ 2.1 ม.4-6/4, ศ 2.1 ม.4-6/5, ศ 2.1 ม.4-6/6
ศ 2.1 ม.4-6/8, ศ 2.2 ม.4-6/2, ศ 2.2 ม.4-6/4, ศ 2.2 ม.4-6/5
รวม 9 ตัวช้ีวดั

37

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ศลิ ปะเพิม่ เติม ศ 30205 (นาฏศิลป )กลุม สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4/5/6 ภาคเรยี นที่ 1/2 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 2.0 หนวยกิต

สาระที่ 3 นาฏศิลป

ศกึ ษา รูและเขาใจ นาฏศิลปและละครในรูปแบบตางๆ องคประกอบของละคร โครงสรา ง และ
ประวัติความเปนมา การออกแบบและสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพ่ือการแสดงละครพูด
ประเภทละครโศกนาฏกรรม ละครสุขนาฏกรรม ละครแนวเหมอื นจริง และละครแนวไมเหมอื นจริง ฝก
ทักษะกระบวนการการทำงานเปนกลุม กระบวนการคดิ ผลิตสรางสรรคการแสดงละครการสรางสรรค
ผลงานการจัดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรียน ชุดการแสดงประจำโรงเรียน และชุดการแสดงประจำ
ทองถ่ิน

เห็นคุณคาความสำคัญในบทบาทของนาฏศิลปและการละครท่ีมีอิทธิพลในวิถีการดำเนิน
ชีวติ ประจำวันของมนุษย สามารถตอยอดเพื่อนำไปประกอบอาชพี ทางดานนาฏศลิ ปไ ทยได

โดยใชกระบวนการในการแสวงหาความรูและฝกปฏบิ ัติ อยา งมงุ ม่ันตั้งใจ เห็นคณุ คาของการนำ
ความรู ความคิด ไปสรางสรรคและปรับใชในชีวิตประจำวันอยางชื่นชม ท้ังนาฏศิลปไทย นาฏศิลป
นานาชาติ และศลิ ปะการแสดงพืน้ บานในทอ งถนิ่ ของตนเอง เชน ระบำคลอ ง หรือ ระบำชากังราว

รหสั ตัวช้ีวดั
ศ 3.1 ม.4-6/1, ศ 3.1 ม.4-6/2, ศ 3.1 ม.4-6/8, ศ 3.2 ม.4-6/5, ศ 3.2 ม.4-6/ท
รวม 5 ตวั ช้ีวดั

38

คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
ศลิ ปะเพิ่มเติม ศ 30206 (ศลิ ปะประยกุ ต) กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4/5/ 6 ภาคเรียนท่ี 1/2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หนวยกติ
……………………………………………………………………

ศึกษาและ ประยุกตใชทัศนธาตุ ตามกระบวนการทางศิลปะ เขาใจการออกแบบและ
ววิ ัฒนาการการออกแบบทัศนศลิ ป สามารถใชเทคโนโลยรี ูปแบบใหม ๆ ในการออกแบบและพัฒนางาน
ออกแบบทศั นศลิ ปต ามความถนัดไดอยางเหมาะสมและมีความรับผิดชอบ

เห็นคุณคา รักและภาคภูมิใจในงานศิลปะอันเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน และ
ภูมปิ ญญาไทย

สามารถ ประยุกตใชทัศนธาตุ ตามกระบวนการทางศิลปะรูและเขาใจการออกแบบและ
วิวฒั นาการการออกแบบทัศนศิลป สามารถใชเ ทคโนโลยรี ูปแบบใหม ๆ ในการออกแบบและพัฒนางาน
ออกแบบทศั นศลิ ปต ามความถนดั ไดอยางเหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวดั
ศ 1.1 ม.4-6/ 1, ศ 1.1 ม.4-6/5, ศ 1.1 ม.4-6/6, ศ 1.1 ม.4-6/10
ศ 1.2 ม.4-6/ 1, ศ 1.2 ม.4-6/2
รวม 6 ตัวชีว้ ดั

39

คำอธิบายรายวชิ าเพิม่ เตมิ
ศิลปะเพมิ่ เติม ศ 30207 (ดนตรสี ากล 2 ) กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะ

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4/5/ 6 ภาคเรียนที่ 1/2 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 2.0 หนว ยกิต

สาระที่ 2 ดนตรี
ศึกษา จำแนกและเปรียบเทียบรูปแบบการจัดวงดนตรสี ากล ฝกอานเขียนเครื่องหมายกำหนด

บันไดเสียง วิเคราะหปจจัยในการสรางสรรคผลงานดนตรีในแตละวัฒนธรรม รวมทั้งการนำดนตรีไป
ประยุกตใ ชในงานตา ง ๆ สรางเกณฑใ นการประเมนิ ผลงานทางดนตรี

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใชความคิดริเร่ิมในการแสดงนาฏศิลปเปนคูและหมู หลักการ
สรางสรรคและการวิจารณละคร หลักการชมการแสดงละคร วิวัฒนาการของนาฏศิลปสากล ความงามและ
คุณคาของนาฏศิลปสากล การประเมินคุณภาพของการแสดง วิเคราะหทาทางและการเคลื่อนไหวของผูคน
ในชีวติ ประจำวัน และนำมาประยุกตใชใ นการแสดง การนำการแสดงนาฏศิลปไปใชใ นโอกาสตาง ๆ และ
การอนรุ ักษน าฏศลิ ปและภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ ไทย

กิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนสังเกตภาพ ศึกษาใบความรู โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห
วพิ ากษว ิจารณจำแนกประเภท อธบิ าย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตาง การสรุปความรูและ
การจัดระบบความคิดเปนแผนภาพเพื่อใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ สรางและนำเสนอผลงานดาน
ดนตรี และนาฏศิลปใหไดผลตามท่ีตองการ สามารถส่ือสารใหผูอื่นเขาใจความคิด ความรูสึกของตนเอง
เขา ใจความไพเราะและงดงามของดนตรีและนาฏศลิ ป บรรยายและอธบิ ายเก่ียวกับดนตรแี ละนาฏศลิ ปได
สมั พันธและเชอื่ มโยงกับประวตั ิศาสตรและวฒั นธรรมประเพณีของชาติ

เห็นความสำคัญและคุณคาของดนตรีนาฏศิลปไทยและสากลสามารถนำความรูดานดนตรีและ
นาฏศิลปไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันและประกอบการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆตลอดจน
สรา งสรรคงานนาฏศิลปเชื่อมั่นภาคภูมิใจในการแสดงออกรบั ผิดชอบมงุ ม่ันในการปฏบิ ัติงานรว มกับผูอ่ืน
และเหน็ คณุ คา ของนาฏศลิ ปทเี่ ปน มรดกและเปนเอกลกั ษณข องชาติ

รหสั ตัวชีว้ ัด
ศ 2.1 ม.4-6/1, ศ 2.1 ม.4-6/2, ศ 2.1 ม.4-6/4, ศ 2.1 ม.4-6/5, ศ 2.1 ม.4-6/6,
ศ 2.1 ม.4-6/8, ศ 2.2 ม.4-6/2, ศ 2.2 ม.4-6/4
รวม 8 ตวั ชวี้ ดั

40

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะหต ัวชว้ี ดั
คำอธบิ ายรายวิชา
โครงสรางรายวิชา

สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รายวชิ า ศิลปะพ้นื ฐาน

3

แบบ

การวิเคราะหเ พอื่ จดั ทำคำอธิบายร

กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะ รายวชิ าศลิ ปะพ้นื ฐาน (ทัศ

สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทศั นศลิ ปตามจินตนาการ และความคดิ สรา งสรรค วิเ

ศิลปะอยา งอิสระชื่นชม และประยกุ ตใชในชีวติ ประจำวัน

สาระการเรยี น

ตวั ช้วี ดั ชั้นป/ผลการเรียนรู

K ความรู P ทกั ษะกระบ

1. วเิ คราะหการใชท ัศนธาตุ และ วิเคราะหการใชท ัศนธาตุ ความสารถในกา

หลักการออกแบบในการสื่อ และหลกั การออกแบบ ความสามารถใน

ความหมายในรูปแบบตาง ๆ ในการสอ่ื ความหมายใน

รูปแบบตาง ๆ

2. บรรยายจุดประสงคแ ละเน้ือหาของ บรรยายจุดประสงคแ ละ ความสามารถใน

งานทศั นศิลป โดยใชศ ัพททาง เน้อื หาของงานทศั นศลิ ป ความสารถในกา

ทศั นศิลป โดยใชศัพททาง แกปญหา

ทัศนศลิ ป

35

บบันทึก

รายวิชาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ศนศลิ ป) รหัสวิชา ศ 33101, ศ 33102 ระดับชน้ั ม.6

เคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองาน

นรแู กนกลาง/ทองถิ่น

บวนการ A คณุ ลักษณะ สาระสำคญั ทองถน่ิ /อาเซียน/
พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

ารส่ือสาร ใฝเ รียนรู  ทัศนธาตุและ
นการคิด มงุ ม่ันในการทำงาน หลักการออกแบบ

นการคดิ ใฝเ รียนรู  ศัพททาง
าร มงุ มั่นในการทำงาน ทศั นศิลป

3

สาระที่ 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคง านทศั นศลิ ปตามจินตนาการ และความคดิ สรา งสรรค วิเ
ศิลปะอยา งอิสระชื่นชม และประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจำวัน

ตัวชวี้ ัดชั้นป/ผลการเรียนรู

K ความรู P ทักษะกระบ

3. วิเคราะหการเลือกใชวสั ดอุ ุปกรณ วิเคราะหการเลือกใช ความสารถในกา
และเทคนิคของศิลปน ในการ วัสดอุ ุปกรณ และเทคนิค ความสามารถใน
แสดงออกทางทัศนศลิ ป ของศิลปน ในการ
แสดงออกทางทัศนศิลป

36

เคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองาน

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถน่ิ

บวนการ A คณุ ลกั ษณะ สาระสำคัญ ทองถ่ิน/อาเซียน/
พอเพียง/พระบรมรา

โชบาย

ารส่อื สาร ใฝเรยี นรู  วัสดุ อุปกรณ
นการคดิ มงุ ม่นั ในการทำงาน และเทคนคิ ของ
ศลิ ปน ในการ
แสดงออกทาง
ทัศนศิลป

3

สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคงานทศั นศลิ ปต ามจนิ ตนาการ และความคดิ สรา งสรรค วิเ
ศลิ ปะอยางอสิ ระชนื่ ชม และประยกุ ตใชในชวี ติ ประจำวัน

ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

K ความรู P ทักษะกระบ

4. มีทกั ษะและเทคนคิ ในการใชวัสดุ มีทกั ษะและเทคนคิ ในการ ความสามารถใ
อุปกรณ และกระบวนการทส่ี งู ขึ้น ใชวัสดอุ ุปกรณ และ คิด
ในการสรางงานทศั นศิลป กระบวนการท่ีสูงขึน้ ใน ความสารถในก
การสรา งงานทัศนศิลป แกปญ หา

5. สรางสรรคงานทัศนศิลปด ว ย สรา งสรรคงานทัศนศิลปดวย ความสามารถใ

เทคโนโลยีตาง ๆ โดยเนน หลกั การ เทคโนโลยีตา ง ๆ โดยเนน คิด

ออกแบบและการจัดองคป ระกอบศลิ ป หลักการออกแบบและการ ความสารถในก

จดั องคป ระกอบศลิ ป แกปญ หา

37

เคราะห วพิ ากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองาน

สาระการเรียนรแู กนกลาง/ทองถ่นิ

บวนการ A คุณลกั ษณะ สาระสำคญั ทองถ่ิน/อาเซียน/
พอเพยี ง/
ในการ ใฝเรยี นรู  เทคนคิ วัสดุ อปุ กรณ
มงุ ม่นั ในการทำงาน กระบวนการในการสราง พระบรมราโชบาย
งานทศั นศลิ ป
การ ใชว ัสดอุ ุปกรณข อง
ทองถ่นิ สรา งสรรค
ผลงาน

ในการ ใฝเ รียนรู  หลกั การออกแบบและ
มุง มนั่ ในการทำงาน การจัดองคประกอบศิลป
ดวยเทคโนโลยี
การ

3

สาระที่ 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคง านทศั นศลิ ปตามจินตนาการ และความคดิ สรางสรรค วิเ
ศลิ ปะอยางอิสระชนื่ ชม และประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจำวัน

ตัวช้ีวัดชั้นป/ผลการเรียนรู

K ความรู P ทกั ษะกระบว

6. ออกแบบงานทัศนศลิ ปไดเหมาะ ออกแบบงานทศั นศิลป ความสามารถใน
กับโอกาสและสถานท่ี ไดเหมาะกับโอกาสและ ความสารถในกา
สถานท่ี แกป ญหา

38

เคราะห วพิ ากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองาน

สาระการเรยี นรูแกนกลาง/ทองถน่ิ

วนการ A คณุ ลกั ษณะ สาระสำคัญ ทอ งถ่ิน/อาเซยี น/
พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

นการคดิ ใฝเ รียนรู การออกแบบงาน
าร มงุ มั่นในการทำงาน ทัศนศิลป

3

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคง านทศั นศิลปตามจนิ ตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเ
ศลิ ปะอยา งอิสระช่ืนชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวัน

ตัวชีว้ ัดชน้ั ป/ ผลการเรียนรู

K ความรู P ทกั ษะกระบว

7. วิเคราะหและอธิบายจุดมงุ หมาย วเิ คราะหและอธิบาย ความสามารถใน
ของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อปุ กรณ จุดมุงหมาย ของศิลปน ความสารถในกา
เทคนคิ และเน้ือหา เพื่อสรางสรรคง าน ในการเลือกใชว ัสดุ แกป ญหา
ทัศนศลิ ป อปุ กรณ เทคนคิ และ
เน้ือหา เพ่ือสรา งสรรค
งานทศั นศลิ ป

39

เคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทองถิ่น

วนการ A คุณลักษณะ สาระสำคัญ ทอ งถิ่น/อาเซยี น/

พอเพยี ง/

พระบรมราโชบาย

นการคดิ ใฝเรียนรู  จุดมุง หมายของศลิ ปน ใชว ัสดอุ ปุ กรณอยาง

าร มงุ ม่นั ในการทำงาน ในการเลอื กใชวัสดุ เหมาะสม ประหยดั เพื่อ
อุปกรณ เทคนคิ และ ความพอเพียง

เนอื้ หา ในการสรา งงาน

ทัศนศลิ ป


Click to View FlipBook Version