The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 04:04:48

หลักสูตรศิลปะ ม.ปลาย

หลักสูตร ม.ปลาย

95

แบบบ

การวิเคราะหเพื่อจดั ทำคำอธิบายรา

กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ รายวชิ า ศิลปะพ้ืนฐาน (นาฏ

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพา

และประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจำวนั

ตัวช้ีวัดชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

K ความรู P ทักษะ

กระบวนการ

1. มที ักษะในการแสดง การแสดงหลากหลาย ความสามารถใน ใ
หลากหลายรปู แบบ รปู แบบ การใชทักษะชีวติ ม


2. สรางสรรคละครส้นั ใน ละครสรางสรรค ความสามารถใน ใ
รปู แบบ ทีช่ ่นื ชอบ การคดิ ม
ความเปน มา องคป ระกอบ ความสามารถใน
ของละครสรา งสรรค การแกป ญหา
ละครพดู

*ละครโศกนาฏกรรม

*ละครสขุ นาฏกรรม

*ละครแนวเหมอื นจริง

*ละครแนวไมเ หมือนจรงิ

5

บันทึก

ายวิชาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ฏศลิ ป) รหสั วิชา ศ 32101 , ศ 32102 ระดับช้นั ม.5

ากษวจิ ารณคณุ คานาฏศลิ ป ถา ยทอดความรสู ึก ความคิดอยา งอิสระ ชนื่ ชม

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถ่นิ

A คณุ ลกั ษณะ สาระสำคัญ ทองถ่ิน/อาเซยี น/
พอเพยี ง/
ใฝเ รยี นรู  รูปแบบของการแสดง
มวี ินยั - ระบำ รำ ฟอน - การแสดง พระบรมราโชบาย
มงุ มัน่ ในการทำงาน พ้นื เมืองภาคตาง ๆ จัดการแสดง
- การละครไทย - การละครสากล สรางสรรคเ ก่ียวกับ
ใฝเรียนรู อาเซียน
มุงมนั่ ในการทำงาน  ละครสรางสรรค
- ความเปน มา สรางละครแนวใดก็ได
- องคป ระกอบของละครสรางสรรค แตใชหัวขอท่ีเก่ียวกับ
- ละครพดู ความพอเพียง
o ละครโศกนาฏกรรม

o ละครสขุ นาฏกรรม

o ละครแนวเหมอื นจริง

o ละครแนวไมเ หมือนจรงิ

96

3. ใชความคดิ ริเรม่ิ ในการ การประดิษฐทา รำท่ีเปน คู ความสามารถใน ใ
แสดงนาฏศลิ ปเปน คู และหมู และหมู ความหมาย การสอ่ื สาร ร
ประวัตคิ วามเปนมา ความสามารถใน
4. วจิ ารณก ารแสดงตาม ทาทางท่ีใชในการประดิษฐ การคดิ ใ
หลักนาฏศิลป และการละคร ทารำ เพลงทใี่ ช ความสามารถใน ม
หลักนาฏศิลป และการ การแกปญหา ม
5. วเิ คราะหแกนของการ ละคร ความสามารถใน ใ
แสดงนาฏศลิ ปและการ การสอ่ื สาร ม
ละครท่ตี อ งการสื่อ แกน ของการแสดง ความสามารถใน
ความหมาย ในการแสดง นาฏศลิ ปและการละครที่ การแกปญหา ใ
6. บรรยาย และวเิ คราะห ตองการส่อื ความหมาย ใน ความสามารถใน ม
อิทธิพลของเครื่องแตงกาย การแสดง การส่อื สาร ม
แสง สี เสยี ง ฉากอุปกรณ ความสามารถใน
และสถานท่ีท่มี ีผลตอ การ อทิ ธิพลของเครอื่ งแตงกาย การคดิ
แสดง แสง สี เสยี ง ฉากอปุ กรณ
และสถานท่ีที่มีผลตอ การ ความสามารถใน
แสดง การส่ือสาร
ความสามารถใน
การคดิ

6

ใฝเ รียนรู  การประดิษฐทารำที่เปน คูและหมู
รกั ความเปน ไทย - ความหมาย
- ประวัตคิ วามเปนมา
ใฝเ รยี นรู - ทาทางทใี่ ชใ นการประดิษฐทารำ
มวี ินยั - เพลงที่ใช
มงุ มั่นในการทำงาน
 หลักการสรา งสรรคและการวิจารณ
 หลักการชมการแสดงนาฏศลิ ปและละคร

ใฝเรยี นรู  ประวตั คิ วามเปน มาของนาฏศิลป และ -
มงุ ม่นั ในการทำงาน การละคร

ใฝเรยี นรู - ววิ ัฒนาการ
มีวินยั - ความงามและคณุ คา
มงุ มั่นในการทำงาน
 เทคนคิ การจดั การแสดง
- แสงสเี สียง
- ฉาก
- อุปกรณ
- สถานที่
- เคร่อื งแตง กาย

97

7. พัฒนาและใชเ กณฑการ เกณฑการประเมนิ ในการ ความสามารถใน ม
ประเมนิ ในการประเมินการ ประเมินการแสดง การส่ือสาร ใ
แสดง ความสามารถใน ม
การใชเทคโนโลยี

8. วเิ คราะหทา ทาง และ ทาทาง และการ ความสามารถใน ใ
การเคล่ือนไหวของผูคนใน เคลื่อนไหวของผูคนใน การคดิ ม
ชีวิตประจำวันและนำมา ชวี ิตประจำวนั และนำมา ความสามารถใน ม
ประยุกตใชใ นการแสดง ประยุกตใ ชใ นการแสดง การใชท ักษะชวี ติ

7

มีวนิ ัย  การประเมนิ คุณภาพของการแสดง
ใฝเ รียนรู - คุณภาพดานการแสดง
มจี ติ สาธารณะ - คุณภาพองคป ระกอบการแสดง

ใฝเรียนรู  การสรา งสรรคผ ลงาน
มีวนิ ยั - การจดั การแสดงในวนั สำคญั ของ
มุงมน่ั ในการทำงาน โรงเรียน
- ชดุ การแสดงประจำโรงเรยี น

98

สาระท่ี 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสมั พันธระหวางนาฏศลิ ป ประวัติศาสตรแ ละวฒั

ภมู ิปญญาไทยและสากล

ตัวชว้ี ดั ชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

K ความรู P ทกั ษะกระบวนกา

1. เปรียบเทียบการนำการ การแสดงไปใชในโอกาสตาง ความสามารถในการค
แสดงไปใชใ นโอกาสตา ง ๆ ๆ ความสามารถในการ

แกป ญหา

2. อภิปรายบทบาทของ บทบาทของบุคคลสำคญั ใน ความสามารถในการ
บคุ คลสำคัญในวงการ วงการนาฏศิลปและการ สื่อสาร
นาฏศลิ ปแ ละการละคร ละคร ของประเทศไทยใน
ของประเทศไทยในยุคสมัย ยุคสมัยตาง ๆ
ตางๆ

8

ฒนธรรม เหน็ คณุ คา ของนาฏศิลปทเ่ี ปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น

สาระการเรียนรแู กนกลาง/ทองถิน่

าร A คณุ ลักษณะ สาระสำคญั ทองถ่นิ /อาเซียน/
พอเพียง/

พระบรมราโชบาย

คิด มวี นิ ยั  การแสดงนาฏศิลปในโอกาส
ใฝเ รียนรู ตา งๆ

ใฝเรียนรู  บคุ คลสำคญั ในวงการ
รักความเปน ไทย นาฏศลิ ปแ ละการละครของไทย
ในยุคสมัยตาง ๆ

99

3. บรรยายวิวัฒนาการของ วิวัฒนาการของนาฏศลิ ป ความสามารถในการ
นาฏศลิ ปและการละครไทย และการละครไทย ตั้งแต แกป ญหา
ตัง้ แตอ ดีตจนถงึ ปจ จบุ ัน อดีตจนถึงปจ จุบัน ความสามารถในการใช
เทคโนโลยี

4. นำเสนอแนวคดิ ในการ นำเสนอผลงานเรื่องการ ความสามารถในการ
อนรุ กั ษ นาฏศิลปไทย อนรุ ักษ นาฏศลิ ปไทยและ สอื่ สาร
การแสดงพืน้ บา นของไทย ความสามารถในการค
ความสามารถในการใช
เทคโนโลยี

9

ใฝเรยี นรู  วิวัฒนาการของนาฏศลิ ป
มุง มัน่ ในการทำงาน และการละครไทยตัง้ แตอ ดตี
ช จนถงึ ปจ จบุ ัน

ใฝเรียนรู  การอนุรักษนาฏศลิ ป ภมู ิ
มงุ ม่นั ในการทำงาน ปญ ญาทองถ่ิน
คดิ รกั ความเปนไทย
ช

100

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ศิลปะพื้นฐาน ศ 32101, ศ 32102 (นาฏศลิ ป) กลุมสาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1/2 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว ยกิต

สาระท่ี 3 นาฏศิลป
ศกึ ษา รูและเขา ใจ มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สรางสรรคล ะครสั้นในรูปแบบ ท่ีช่ืน

ชอบและเสริมความพอเพียงในการแสดงและ คิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคู และหมู วิจารณการ
แสดงตามหลักนาฏศิลป และกาละครวิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละครที่ตองการส่ือ
ความหมาย ในการแสดง บรรยาย และวิเคราะห อิทธิพลของเคร่ืองแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอุปกรณ
และสถานที่ท่ีมีผลตอ การแสดง ศึกษาพัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการประเมินการแสดง วิเคราะห
ทาทาง และการเคล่ือนไหวของผูคนในชีวิตประจำวันและนำมาประยุกตใชในการแสดง มีทักษะ
กระบวนการในการสรา งสรรค

โดยใชกระบวนการในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยา งมุงม่ันตั้งใจ เห็นคณุ คาของการนำ
ความรู ความคดิ ไปสรา งสรรคและปรับใชใหเ กดิ ประโยชนในชีวติ ประจำวันอยา งเหมาะสมมีสุนทรยี ภาพ
เกิดความภาคภูมิใจ

เห็นคุณคา ช่ืนชม การแสดงใชในโอกาสตาง ๆ บทบาทบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปและการ
ละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆรวมท้ังศึกษานาฏศิลปประเทศอาเซียน บรรยายวิวัฒนาการของ
นาฏศิลป ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบันและศึกษานาฏศิลปพื้นบานประจำทองถ่ินและ สรางสรรคนำเสนอ
ผลงานเรื่องการอนรุ ักษ นาฏศลิ ปไทยและการแสดงพื้นบานของไทยโดยใชความสมารถทางดานเทคโนโลยี
เขามาชวยในการสรางสรรค

รหัสตัวชี้วัด
ศ 3.1 ม.4-6/1, ศ 3.1 ม.4-6/2, ศ 3.1 ม.4-6/3, ศ 3.1 ม.4-6/4, ศ 3.1 ม.4-6/5, ศ 3.1 ม.4-6/6,
ศ 3.1 ม.4-6/7, ศ 3.1 ม.4-6/6
ศ 3.2 ม.4-6/1, ศ 3.2 ม.4-6/2, ศ 3.2 ม.4-6/3, ศ 3.2 ม.4-6/4,ท
รวม 12 ตัวชี้วดั

1

ลำดับ โครงสรา
ท่ี ชอื่ หนวยการเรียนรู
รายวชิ าศลิ ปะพน้ื ฐาน (นาฏศลิ ป) รหสั วิชา ศ
1 นาฏศิลปศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1/2 เวลา 40 ช่วั โ

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศิลปอยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คุณคา นาฏศลิ ป ถายทอดความรสู กึ ความคดิ อยา ง
อิสระ ชนื่ ชม และประยุกตใ ชใ นชีวิตประจำวัน

1.1 ละคร ตวั ชวี้ ัดช้ันป
1. มที กั ษะในการแสดงหลากหลายรปู แบบ

101

างรายวิชา เวลา น้ำหนัก
(ชวั่ โมง) คะแนน
ศ 32101, ศ 32102 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ม. 5
โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาคเรยี น 20 100

เนอื้ หาสาระ (8) (20)

ศกึ ษา รแู ละเขา ใจ มีทักษะในการแสดงหลากหลาย
รูปแบบ สรางสรรคล ะครส้นั ในรปู แบบ ท่ีช่ืนชอบ คิดริเริม่ ในการ
แสดงนาฏศิลปเ ปนคู และหมู วจิ ารณก ารแสดงตามหลกั นาฏศลิ ป
และการละคร วิเคราะหแ กนของการแสดงนาฏศิลปและการ
ละครท่ีตองการสอ่ื ความหมาย ในการแสดง บรรยาย และ
วเิ คราะห อทิ ธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉากอปุ กรณ
และสถานที่ท่มี ผี ลตอการแสดง พัฒนาและใชเ กณฑการประเมิน
ในการประเมินการแสดง วิเคราะหท า ทาง และการเคล่ือนไหว
ของผคู นในชวี ิตประจำวันและนำมาประยกุ ตใชในการแสดง เห็น
คณุ คา ชนื่ ชม การแสดงใชใ นโอกาสตา ง ๆ บทบาทบุคคลสำคญั
ในวงการนาฏศลิ ปแ ละการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตา งๆ
บรรยายวิวฒั นาการของนาฏศิลปและการละครไทย ต้งั แตอดีต
จนถงึ ปจจบุ ัน สรางสรรคน ำเสนอผลงานเร่ืองการอนุรกั ษ
นาฏศลิ ปไ ทยและการแสดงพ้ืนบานของไทย

 รปู แบบของการแสดง
- ระบำ รำ ฟอน

1

สรางสรรค 2. สรา งสรรคล ะครสน้ั ในรปู แบบ ที่ชนื่ ชอบ

102

- การแสดงพืน้ เมอื งภาคตา ง ๆ
- การละครไทย
- การละครสากล
 ละครสรา งสรรค
- ความเปน มา
- องคป ระกอบของละครสรางสรรค
 ละครพูด
- ละครโศกนาฏกรรม
- ละครสขุ นาฏกรรม
- ละครแนวเหมอื นจริง
- ละครแนวไมเ หมือนจรงิ

1

1.2 วิจารณงาน มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
นาฏศลิ ป นาฏศิลปอยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คุณคา นาฏศิลป ถายทอดความรสู ึก ความคิดอยาง
อสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจำวนั

ตวั ช้วี ดั ช้นั ป
3. ใชความคดิ ริเริม่ ในการแสดงนาฏศลิ ปเปนคู และ
หมู
4.วิจารณการแสดงตามหลกั นาฏศลิ ป และการละคร

103

 การประดิษฐทา รำท่เี ปน คแู ละหมู (4) (20)
- ความหมาย
- ประวัติความเปน มา
- ทาทางท่ีใชในการประดิษฐทารำ
- เพลงทใ่ี ช
 หลกั การสรา งสรรคแ ละการวิจารณ และการชมการแสดง
นาฏศลิ ปแ ละละคร

1

1.3 นาฏศลิ ป มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง
สากล นาฏศิลปอ ยา งสรางสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรสู ึก ความคดิ อยา ง
อสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำวัน

ตวั ชี้วดั ชั้นป
5.วิเคราะหแกน ของการแสดงนาฏศลิ ปและการ
ละครทตี่ อ งการสอื่ ความหมาย ในการแสดง

6. บรรยาย และวเิ คราะห อทิ ธพิ ลของเคร่ืองแตง กาย

แสง สี เสยี ง ฉากอปุ กรณ และสถานที่ท่มี ีผลตอการ

แสดง

2 มาตรฐาน ศ 3.1 เขา ใจ และแสดงออกทาง

นาฏศลิ ปอยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คุณคา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูสกึ ความคดิ อยา ง

104

 ประวตั คิ วามเปนมาของนาฏศิลปสากล และนาฏศิลป (4) (20)
นานาชาติ (4) (20)

- ววิ ัฒนาการ
- ความงามและคณุ คา

 เทคนคิ การจดั การแสดง
- แสงสเี สียง
- ฉาก
- อปุ กรณ
- สถานท่ี
- เคร่อื งแตง กาย

20 (100)

1

นาฏศลิ ปก บั วถิ ี อสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ ชในชวี ิตประจำวัน
ชุมชน
ตวั ชี้วดั ช้ันป
2.1พัฒนาและ 7. พัฒนาและใชเกณฑการประเมนิ ในการประเมนิ การ
สรา งสรรค แสดง
8.วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหวของผูคนใน
ชีวิตประจำวันและนำมาประยุกตใชใ นการแสดง

มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสมั พันธระหวาง
นาฏศิลป ประวัตศิ าสตรและวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา
ของนาฏศลิ ปท่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทอ งถิ่น ภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตวั ชวี้ ดั ช้ันป
1.เปรียบเทยี บการนำการแสดงไปใชในโอกาสตา ง ๆ

105 (8) (40)

 การประเมนิ คุณภาพของการแสดง
- คุณภาพดานการแสดง
- คณุ ภาพองคป ระกอบการแสดง

 การสรางสรรคผลงาน
- การจดั การแสดงในวนั สำคญั ของโรงเรียน
- ชุดการแสดงประจำโรงเรยี น

(6) (20)

1

2.2ววิ ัฒนาการ 2.อภปิ รายบทบาทของบคุ คลสำคญั ในวงการ
นาฏศลิ ป นาฏศิลปแ ละการละคร ของประเทศไทยในยคุ สมยั
ตา งๆ
3.บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปแ ละการละคร
ไทย ตง้ั แตอ ดีตจนถงึ ปจจบุ ัน

มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวาง
นาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา
ของนาฏศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทอ งถ่นิ ภูมิปญญาไทยและสากล

ตวั ชวี้ ดั ชั้นป
4.นำเสนอแนวคดิ ในการอนรุ กั ษ นาฏศลิ ปไ ทย

2.3 นาฏยานรุ ักษ

106

 การแสดงนาฏศิลปใ นโอกาสตางๆ
 บุคคลสำคญั ในวงการนาฏศิลปและการละครของไทยในยุค
สมัยตาง ๆ
 วิวฒั นาการของนาฏศิลปและการละครไทยตงั้ แตอดีตจนถึง
ปจ จุบนั

(6) (20)

1

107

 การอนรุ ักษนาฏศลิ ป ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ
- ระบำคลองชาง
- ระบำชากังราว

108

แบบบันทึกการวเิ คราะหตัวชวี้ ัด
คำอธิบายรายวิชา
โครงสรา งรายวชิ า

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4-6

รายวิชา ศลิ ปะเพ่ิมเติม

109

แบบบนั ทกึ

การวิเคราะหเ พื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย

กลุม สาระการเรียนรูศิลปะ รายวชิ าศิลปะเพิ่มเตมิ (นาฏศิลป) ศ 30205 ระดบั ชน้ั ม.4/

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยา งสรา งสรรค วเิ คราะห วิพากษว จิ ารณคณุ คานาฏศิลป ถายทอดความร

และประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจำวัน

ตัวช้วี ดั ชั้นป/ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรูแกนกลาง/ทองถิ่น

K ความรู P ทักษะ A คุณลกั ษณะ ส

กระบวนการ

1. มที กั ษะในการแสดง การแสดงหลากหลายรปู แบบ ความสามารถใน ใฝเรยี นรู  รปู แบบ
หลากหลายรปู แบบ การใชท ักษะชวี ิต มวี นิ ยั - ระบำ
ท้ังนาฏศิลปไทยและ
มงุ มัน่ ในการทำงาน พนื้ เมือ
นาฏศิลปส ากล รักความเปน ไทย - การละ

สากล

2. สรางสรรคล ะครส้ันใน ความเปน มา องคป ระกอบ ความสามารถใน ใฝเรียนรู  ละครส
รูปแบบ ทช่ี น่ื ชอบ ของการละครส้ัน ละครพูด การคดิ มุงมัน่ ในการทำงาน
ประเภทตางๆ เชน มวี ินยั - ความเ
*ละครโศกนาฏกรรม รกั ความเปน ไทย
*ละครสุขนาฏกรรม - องคป ร
 ละครพ
- ละครโศ

11

*ละครแนวเหมอื นจริง
*ละครแนวไมเหมือนจริง

8. วิเคราะหทา ทาง และ ทา ทาง และการเคล่อื นไหว ความสามารถใน ใฝ
การเคลอ่ื นไหวของผูคนใน ของผคู นในชวี ิตประจำวัน การคดิ ม
ชีวิตประจำวันและนำมา และนำมาประยุกตใชในการ ความสามารถใน
ประยุกตใ ชในการแสดง แสดง การใชท ักษะชีวิต

10 ละครสขุ นาฏกรรม
- ละครแนวเหมอื นจรงิ -
ฝเ รยี นรู
มุงมั่นในการทำงาน ละครแนวไมเ หมือนจริง

 การสรา งสรรคผ ลงาน
- การจดั การแสดงในวนั สำคญั

ของโรงเรยี น
- ชุดการแสดงประจำโรงเรียน

11

มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพนั ธร ะหวางนาฏศิลป ประวตั ิศาสตรและวฒั
ภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตวั ชว้ี ัดชัน้ ป/ ผลการเรียนรู

K ความรู P ทักษะกระบวนการ

4.นำเสนอแนวคิดในการ ความสามารถในการ
อนุรกั ษ นาฏศิลปไทย คดิ
ความสามารถในการใช
ทกั ษะชวี ิต
ความสามารถในการ
สอื่ สาร

11

ฒนธรรม เหน็ คุณคา ของนาฏศิลปท่เี ปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทอ งถ่ิน

สาระการเรยี นรแู กนกลาง/ทองถิ่น

ร A คุณลกั ษณะ สาระสำคัญ ทอ งถน่ิ /พอเพยี ง/

อาเซยี น/

พระบรมราโชบาย

ใฝเรยี นรู  การอนรุ ักษนาฏศลิ ป นำเสนอวธิ ีการอนรุ ักษ

มวี นิ ยั ภูมิปญ ญาทองถน่ิ นาฏศลิ ปและภมู ปิ ญญา
ช มงุ มน่ั ในการทำงาน *ระบำชากงั ราว ทอ งถน่ิ

รกั ความเปน ไทย *ระบำคลองชาง

112

คำอธิบายรายวชิ า
รายวิชา ศลิ ปะเพิ่มเติม (นาฏศิลป) รหัสวชิ า ศ 30205 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4/5/6

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ เวลา 40 ชว่ั โมง

(สาระที่ 3 นาฏศลิ ป)

คำอธิบายรายวิชาเพมิ่ เตมิ

ศิลปะเพ่มิ เติม ศ 30205 (นาฏศิลป )กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4/5/6 ภาคเรยี นท่ี 1/2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หนวยกิต

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป

ศกึ ษา รูและเขาใจ นาฏศิลปและละครในรูปแบบตางๆ องคประกอบของละคร โครงสราง และ
ประวัติความเปนมา การออกแบบและสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพ่ือการแสดงละครพูด
ประเภทละครโศกนาฏกรรม ละครสขุ นาฏกรรม ละครแนวเหมอื นจริง และละครแนวไมเหมือนจริง ฝก
ทักษะกระบวนการการทำงานเปนกลุม กระบวนการคดิ ผลิตสรางสรรคการแสดงละครการสรางสรรค
ผลงานการจัดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรียน ชุดการแสดงประจำโรงเรียน และชุดการแสดงประจำ
ทองถ่นิ

เห็นคุณคาความสำคัญในบทบาทของนาฏศิลปและการละครท่ีมีอิทธิพลในวิถีการดำเนิน
ชวี ิตประจำวันของมนษุ ย สามารถตอยอดเพื่อนำไปประกอบอาชีพทางดา นนาฏศิลปไ ทยได

โดยใชกระบวนการในการแสวงหาความรูและฝกปฏิบัติ อยางมงุ มั่นตั้งใจ เห็นคณุ คาของการนำ
ความรู ความคิด ไปสรางสรรคและปรับใชในชีวิตประจำวันอยางชื่นชม ท้ังนาฏศิลปไทย นาฏศิลป
นานาชาติ และศิลปะการแสดงพ้ืนบานในทอ งถ่ินของตนเอง เชน ระบำคลอ ง หรือ ระบำชากังราว

รหัสตวั ชี้วดั
ศ 3.1 ม.4-6/1, ศ 3.1 ม.4-6/2, ศ 3.1 ม.4-6/8, ศ 3.2 ม.4-6/5, ศ 3.2 ม.4-6/ท
รวม 5 ตัวชว้ี ดั

1

ลำดบั โครงสรา
ท่ี ชื่อหนวยการเรยี นรู
รายวชิ าศลิ ปะเพ่มิ เตมิ (นาฏศลิ
1 สรรคส ราง ภาคเรียนที่ 1/2 เวลา
นาฏศิลป
มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชี้วดั

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศลิ ปอยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษว ิจารณ
คณุ คา นาฏศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดอยา ง
อิสระ ชื่นชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวัน

113

างรายวชิ า เวลา นำ้ หนัก
(ชัว่ โมง) คะแนน
ลป) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ม.4/5/6
40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกติ 40 100

เนอ้ื หาสาระ

ศึกษา รูและเขาใจ นาฏศิลปและละครในรูปแบบตางๆ
องคป ระกอบการละคร โครงสรา ง ประวัติความเปนมา ฝกทักษะ
กระบวนการการทำงานเปนกลุมในกระบวนการผลิตการแสดง
ละคร

การออกแบบและสรางสรรคอุปกรณและเคร่ืองแตง
กายเพ่อื การแสดงละครพูด ละครโศกนาฏกรรมและละคร
สุขนาฏกรรมละครแนวเหมอื นจรงิ ละครแนวไมเ หมอื นจริง

เห็นคุณคาความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป
และการละครในชีวิตประจำวัน

1

1.1 ละครคือชีวติ ตัวช้วี ัดชั้นป
1. มีทกั ษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ
2. สรางสรรคละครสน้ั ในรปู แบบ ท่ีช่ืนชอบ

114 (30) (60)

 รูปแบบของการแสดง
- ระบำ รำ ฟอน
- การแสดงพื้นเมอื งภาคตา ง ๆ
- การละครไทย
- การละครสากล

 ละครสรางสรรค
- ความเปนมา
- องคป ระกอบของละครสรางสรรค

 ละครพดู
- ละครโศกนาฏกรรม
- ละครสุขนาฏกรรม
- ละครแนวเหมอื นจรงิ
- ละครแนวไมเ หมือนจริง

1

1.2 การอนุรักษ มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทาง
นาฏศลิ ปไทย นาฏศลิ ปอยา งสรา งสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณ
คณุ คา นาฏศลิ ป ถายทอดความรูส กึ ความคิดอยาง
อสิ ระ ชืน่ ชม และประยุกตใชในชีวิตประจำวนั

ตัวชี้วัดช้ันป

8.วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหวของผูคนใน
ชวี ิตประจำวนั และนำมาประยกุ ตใ ชใ นการแสดง
4.นำเสนอแนวคิดในการอนรุ ักษ นาฏศิลปไทย

115

 การสรา งสรรคผ ลงาน (10) (40)
- การจดั การแสดงในวนั สำคญั ของโรงเรยี น
- ชุดการแสดงประจำโรงเรียน

 การอนุรกั ษน าฏศลิ ป ภมู ิปญ ญาทองถ่ิน
*ระบำชากังราว
*ระบำคลอ งชา ง

116

อภธิ านศพั ท

 ทัศนศิลป

โครงสรางเคล่ือนไหว (Mobile)
เปนงานประติมากรรมท่ีมีโครงสรางบอบบางจัดสมดุลดวยเสนลวดแข็งบาง ๆ ท่ีมีวัตถุรูปราง

รูปทรงตาง ๆ ทีอ่ อกแบบเชื่อมติดกับเสนลวด เปน เครือ่ งแขวนทเี่ คลื่อนไหวไดดวยกระแสลมเพียงเบา ๆ

งานสื่อผสม (Mixed media)
เปนงานออกแบบทางทัศนศิลปท่ีประกอบดวยหลายสื่อโดยใชวัสดหุ ลาย ๆ แบบ เชน กระดาษ

ไม โลหะ สรา งความผสมกลมกลนื ดวยการสรา งสรรค

จังหวะ (Rhythm)
เปนความสัมพันธของทัศนธาตุ เชน เสน สี รูปราง รูปทรง น้ำหนักในลักษณะของการซ้ำกัน

สลับไปมา หรือลักษณะลนื่ ไหล เคล่ือนไหวไมขาดระยะจังหวะทม่ี ีความสัมพันธตอ เน่ืองกันจะชวยเนนให
เกิดความเดน หรือทางดนตรีก็คือการซ้ำกันของเสียงในชวงเทากันหรือแตกตางกันจังหวะใหความรูสึก
หรอื ความพอใจทางสุนทรียภาพในงานศลิ ปะ

ทศั นธาตุ (Visual elements)
สิ่งทเี่ ปน ปจจัยของการมองเห็นเปนสวนตา ง ๆ ที่ประกอบกนั เปนภาพ ไดแ ก เสน น้ำหนกั ท่ี

วา ง รูปราง รูปทรง สี และลกั ษณะพ้นื ผิว

ทัศนยี ภาพ (Perspective)
วธิ เี ขียนภาพของวัตถุใหมองเหน็ วา มีระยะใกลไ กล

ทศั นศลิ ป (Visual art)
ศลิ ปะที่รับรไู ดดวยการเหน็ ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ และงานสรา งสรรคอ ่ืน ๆ ท่ี

รบั รูด วยการเห็น

ภาพปะติด (Collage)
เปนภาพท่ีทำข้ึนดวยการใชวัสดุตา ง ๆ เชน กระดาษ ผา เศษวัสดุธรรมชาติ ฯลฯ ปะติดลง

บนแผน ภาพดว ยกาวหรือแปง เปย ก

วงสธี รรมชาติ (Color circle)
คือวงกลมซึ่งจัดระบบสีในแสงสีรุงท่ีเรียงกันอยูในธรรมชาติ สีวรรณะอุน จะอยูในซีกท่ีมีสีแดง

และเหลอื ง สว นสีวรรณะเยน็ อยใู นซีกทมี่ ีสีเขียว และสมี ว ง สีคูต รงขามกนั จะอยตู รงกันขา มในวงสี
วรรณะสี (Tone)

ลักษณะของสีท่ีแบงตามความรูสึกอุนหรือเย็น เชน สีแดง อยูในวรรณะอุน (Warm tone)
สเี ขียวอยใู นวรรณะเยน็ (cool tone)

สีคตู รงขา ม (complementary colors)
สีที่อยูตรงกันขามกันในวงสีธรรมชาตเิ ปนคูสีกัน คือ สีคูที่ตัดกันหรือตางจากกันมากท่ีสดุ เชน

สีแดงกบั สีเขยี ว สเี หลืองกบั สมี ว ง สนี ำ้ เงนิ กบั สสี ม

117

องคประกอบศลิ ป (Composition of art)
วชิ าหรอื ทฤษฎที เี่ กี่ยวกับการสรางรูปทรงในงานทศั นศลิ ป

 ดนตรี

การดำเนนิ ทำนอง (Melodic progression)
1. การกา วเดินไปขางหนา ของทำนอง
2. กระบวนการดำเนินคอรด ซึ่งแนวทำนองขยับทีละข้ัน

ความเขมของเสียง (Dynamic)
เสียงเบา เสยี งดงั เสยี งท่ีมีความเขม เสียงมากกย็ ิ่งดงั มากเหมือนกบั Loudness

ดน สด
เปนการเลนดนตรีหรือขับรอง โดยไมไดเตรียมซอมตามโนตเพลงมากอน ผูเลนมีอิสระในการ

กำหนดวิธีปฏิบัติเครื่องดนตรีและขับรอง บนพ้ืนฐานของเน้ือหาดนตรีที่เหมาะสม เชน การบรรเลง
ในอตั ราความเรว็ ท่ียืดหยุน การบรรเลงดว ยการเพิ่มหรือตดั โนตบางตัว
บทเพลงไลเลียน (Canon)

118

แคนอน มาจากภาษากรกี แปลวา กฎเกณฑ หมายถึงรูปแบบบทเพลงที่มีหลายแนวหรือดนตรี
หลายแนว แตละแนวมีทำนองเหมือนกัน แตเร่ิมไมพรอมกันแตละแนว จึงมีทำนองที่ไลเลียนกันไปเปน
ระยะเวลายาวกวาการเลียนทั่วไป โดยท่ัวไปไมควรต่ำกวา 3 หอง ระยะข้ันคูระหวางสองแนว
ท่ีเลียนกันจะหางกันเปนระยะเทาใดก็ได เชน แคนอนคูสอง หมายถึง แคนอนท่ีแนวทั้งสอง
เริ่มที่โนตหางกันเปนระยะคู 5 และรักษาระยะคู 5 ไปโดยตลอดถือเปนประเภทของลีลาสอดประสาน
แนวทำนองแบบเลียนท่มี กี ฎเกณฑเขม งวดที่สุด

ประโยคเพลง (Phrase)
กลมุ ทำนอง จังหวะท่ีเรยี บเรียงเช่ือมโยงกนั เปน หนว ยของเพลงทมี่ ีความคดิ จบสมบูรณในตัวเอง

มักลงทายดวยเคเดนซ เปนหนว ยสำคญั ของเพลง

ประโยคเพลงถาม - ตอบ
เปนประโยคเพลง 2 ประโยคที่ตอเนื่องกันลีลาในการตอบรับ – สงลอ – ลอเลียนกัน

อยา งสอดคลอง เปน ลักษณะคลายกันกับบทเพลงรูปแบบ AB แตเปน ประโยคเพลงส้ัน ๆ ซ่งึ มกั จะมอี ัตรา
ความเรว็ เทา กนั ระหวา ง 2 ประโยค และความยาวเทา กัน เชน ประโยคเพลงท่ี 1 (ถาม) มีความยาว
๒ หองเพลง ประโยคเพลงท่ี 2 (ตอบ) ก็จะมีความยาว 2 หองเพลง ซึ่งจะมีลีลาตางกัน แตสอดรับ
กันไดกลมกลืน
ผลงานดนตรี

ผลงานทสี่ รา งสรรคขนึ้ มาโดยมคี วามเกีย่ วของกบั การนำเสนองานทางดนตรี เชน บทเพลง
การแสดงดนตรี

เพลงทำนองวน (Round)
เพลงที่ประกอบดวยทำนองอยางนอย 2 แนว ไลเลียนทำนองเดียวกัน แตตางเวลาหรือจังหวะ

สามารถไลเลยี นกนั ไปไดอยา งตอเนือ่ งจนกลบั มาเร่มิ ตน ใหมไ ดอีกไมม ีวนั จบ

รปู รางทำนอง (Melodic contour)
รูปรางการข้ึนลงของทำนอง ทำนองทส่ี มดลุ จะมที ศิ ทางการขึน้ ลงทเี่ หมาะสม

สสี นั ของเสียง

ลักษณะเฉพาะของเสียงแตละชนิดท่ีมีเอกลักษณเฉพาะตางกัน เชน ลักษณะเฉพาะของสีสัน
ของเสียงผูชายจะมีความทุมต่ำแตกตางจากสีสันของเสียงผูหญิง ลักษณะเฉพาะของสีสันของเสียง
ของเดก็ ผูชายคนหนึ่งจะมคี วามแตกตางจากเสียงเด็กผูชายคนอืน่ ๆ

องคป ระกอบดนตรี (Elements of music)
สวนประกอบสำคัญที่ทำใหเกิดเสียงดนตรี ไดแกทำนอง จังหวะ เสียงประสาน สีสันของเสียง

และเนอื้ ดนตรี

อตั ราความเรว็ (Tempo)
ความชา ความเร็วของเพลง เชน ฮงั เลโก( Allegro) เลนโต (lento)

ABA
สัญลักษณบอกรูปแบบวรรณกรรมดนตรแี บบตรบี ท หรือเทอรนารี (Ternary)

Ternary form

119

สงั คีตลกั ษณส ามตอน โครงสรา งของบทเพลงทมี่ ีสวนสำคัญขยบั ทลี ะขัน้ อยู 3 ตอน ตอนแรกและ
ตอ น ที่ 3 คื อ ตอ น A จ ะเห มื อน ห รือ ค ล าย คลึ งกั น ทั้ งใน แงข องท ำน องแ ละกุญ แ จเสีย ง
สวนตอนท่ี 2 คือ ตอน B เปนตอนท่ีแตกตางออกไป ความสำคัญของสังคีตลักษณน้ี คือ การกลับมา
ของตอน A ซ่งึ นำทำนองของสวนแรกกลับมาในกุญแจเสียงเดิมเปนสังคีตลกั ษณท่ีใชมากที่สุดโดยเฉพาะ
ในเพลงรอง จึงอาจเรียกวา สังคีตลกั ษณเพลงรอ ง (song form) ก็ได

 นาฏศิลป

การตบี ท
การแสดงทารำตามบทรอ ง บทเจรจาหรอื บทพากยควรคำนึงถงึ ความหมายของบท แบง เปนการ

ตบี ท ธรรมชาติ และการตีบทแบบละคร
การประดิษฐท า

การนำภาษาทา ภาษานาฏศิลป หรือ นาฏยศัพทม าออกแบบ ใหสอดคลอ งสัมพันธกับจังหวะ
ทำนอง บทเพลง บทรอง ลลี า ความสวยงาม
นาฏยศัพท

ศพั ทเฉพาะทางนาฏศิลป ทใ่ี ชเก่ียวกับการเรียกทารำ กิรยิ าทแ่ี สดงมีสวนศีรษะใบหนาและไหล
สวนแขนและมอื สวนของลำตวั สวนขาและเทา
บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศลิ ป

เปนผูเชีย่ วชาญทางนาฏศลิ ป และภูมิปญญาทอ งถิ่นทส่ี รา งผลงาน
ภาษาทา

การแสดงทา ทางแทนคำพดู ใชแสดงกริ ิยาหรืออริ ิยาบถ และใชแ สดงถึงอารมณภ ายใน
สวนขาและเทา

กิริยาแสดง เชน กระทบ ยืดยุบ ประเทา กระดกเทา กระทุง จรด ขยับ ซอย วางสน ยกเทา
ถดั เทา
สว นแขนและมือ

กริ ยิ าท่แี สดง เชน จีบ ต้งั วง ลอ แกว มวนมือ สะบดั มือ กรายมอื สายมือ
สว นลำตัว

120

กิรยิ าท่แี สดง เชน ยกั ตัว โยต ัว โยกตวั

สว นศีรษะใบหนาและไหล
กิริยาที่แสดง เชน เอียงศรี ษะ เอียงไหล กดไหล กลอมไหล กลอ มหนา

สงิ่ ทีเ่ คารพ
ในสาระนาฏศลิ ปมีส่ิงท่เี คารพสืบทอดมา คือ พอแก หรือพระพรตฤษี ซ่ึงผเู รียนจะตอ ง แสดง

ความเคารพ เมื่อเรม่ิ เรยี นและกอ นแสดง

องคป ระกอบนาฏศลิ ป
จังหวะและทำนองการเคลื่อนไหว อารมณและความรูสึก ภาษาทา นาฎยศพั ท รูปแบบของการ

แสดง การแตง กาย
องคป ระกอบละคร

การเลือกและแตงบท การเลือกผูแสดง การกำหนดบุคลิกของผูแสดง การพัฒนารูปแบบของ
การแสดง การปฏบิ ัติตนของผูแสดงและผูช ม

121

คณะผูจัดทำ

คณะผูพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ โรงเรยี นวัชรวิทยา

1. นางสาวณัฎธยาน ภุมมา ครู ค.ศ.2 โรงเรียนวัชรวทิ ยา
2. นายสุดใจ จารุจติ ร ครู ค.ศ.2 โรงเรียนวัชรวทิ ยา
3 นายมนตชัย เชาวลติ โรจน ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นวัชรวทิ ยา
4. นายไพโรจน ยง่ิ คดิ ครู ค.ศ.2 โรงเรยี นวัชรวทิ ยา
5. นายเอกลกั ษณ ผลพระ ครู ค.ศ.2 โรงเรียนวชั รวิทยา
6 นายเกรยี งศกั ด์ิ ศริ พิ รชยั กลุ ครูอัตราจา ง โรงเรียนวัชรวิทยา
7. นางสาวบุญลกั ษณ อึง้ ชัยพงษ ศึกษานเิ ทศก ชำนาญการพิเศษ สพท. กำแพงเพชร เขต 1


Click to View FlipBook Version