The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poopae.natthanun, 2021-03-24 10:13:14

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

**ฉบบั วนั ท่ี 16 มนี าคม 2564**

คมู่ อื การประเมนิ ตวั ช้ีวดั
ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คมู่ อื การประเมินตวั ชวี้ ดั
ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร
* ฉบบั วันท่ี 16 มนี าคม 2564

พมิ พ์คร้ังท่ี 1 : พ.ศ. 2564

กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี 15 กันยายน 2563 มีมติเห็นชอบตามที่สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) เสนอกรอบและแนวทางการประเมินส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 โดยมอบให้สานักงาน ก.พ.ร. เป็นผู้ประเมินส่วนราชการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบ
การดาเนินงานของส่วนราชการในการขับเคล่ือนภารกิจสาคัญของรัฐบาล การแก้ไขปัญหาและการอานวย
ความสะดวกแก่ประชาชน และเพื่อเพ่ิมศักยภาพของส่วนราชการในการสนับสนุนการพัฒนาประเทศ รวมท้ังใช้
เป็นข้อมูลเพ่ือประกอบการให้คุณให้โทษต่อหน่วยงานและผู้บริหารซึ่งเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนภารกิจ
ที่สาคัญของรัฐบาลและการดาเนนิ ตามภารกจิ หนว่ ยงานของรฐั

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นส่วนราชการท่ีต้องได้รับการประเมินตามมาตรการฯ
จึงได้จัดทาคู่มือการประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือให้สานักในส่วนกลาง และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ใช้เป็นคู่มือในการดาเนินงานการปฏิบัติราชการตามมาตรการฯ ซึ่งจะช่วยให้ส่วนราชการมีความเข้าใจเกี่ยวกับ
กรอบและแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการมากยิ่งขึ้น และจะส่งผลให้การประเมินผล
การปฏบิ ัตริ าชการตามมาตรการฯ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และบงั เกิดประสทิ ธิผลตอ่ ไป

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทางาน ผู้รับผิดชอบตัวช้ีวัด รวมท้ัง
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีได้ร่วมกันจัดทาคู่มือการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้เสร็จสมบูรณ์
และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วน เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทาง
ในการพัฒนาระบบราชการให้มีความเข้มแข็ง ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัด ผู้รับบริการทุกระดับ
มีความพึงพอใจและส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาข้นั พืน้ ฐานให้สงู ขึน้ ต่อไป

กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

16 มีนาคม 2564

สารบัญ

หน้า

1. หลกั การและที่มา 1

2. กรอบการประเมินสว่ นราชการประจาปี พ.ศ. 2564 4

3. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 12

4. การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการ 14

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

5. การประเมนิ ตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ 16

สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

6. หลักเกณฑ์การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ 25

ของสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

7. ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ 25

8. ปฏทิ ินการดาเนนิ งานการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติราชการ 30

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

9. การรายงานผลตวั ช้ีวดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ 32

สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดตัวช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ

ตวั ชว้ี ัดท่ี 1 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนินโครงการสง่ เสริมผู้เรยี นให้มีคณุ ลักษณะและทักษะ 35

การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21

ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 ระดบั คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา 50

ตัวชีว้ ดั ที่ 3 การพัฒนาองค์การสู่ดิจทิ ลั Data Catalogue

3.1 ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การจัดเก็บข้อมลู นักเรียนทมี่ ีอย่จู รงิ 53

ในโรงเรียนด้วยระบบ DMC (Data Management Center)

3.2 รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การจดั เกบ็ ข้อมลู ครูและบคุ ลากร 56

ทางการศกึ ษารายคน ด้วยระบบ HRMS (Human Resource Management System)

ตวั ชีว้ ัดที่ 4 การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 64

ตวั ชี้วดั ที่ 5 การลดพลังงาน

5.1 พลังงานไฟฟา้ 73

5.2 พลังงานดา้ นน้ามนั เชือ้ เพลิง 73

ตัวชว้ี ัดที่ 6 มาตรการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอยในหน่วยงานภาครฐั 75

ตวั ช้วี ัดที่ 7 การกากับดแู ลการทจุ รติ 79

ตัวชี้วดั ท่ี 8 ระบบติดตามการปฏบิ ัตงิ านเพอ่ื การบริหารงานขององค์การ 82

หนา้

ตวั ชว้ี ัดที่ 9 การส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ในองคก์ าร 86
ตวั ช้ีวัดท่ี 10 9.1 ความมน่ั คงปลอดภยั ในไซเบอร์ (Cyber) 90
9.2 การขบั เคล่ือนระบบคลงั สอ่ื การเรียนรูเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ตวั ชว้ี ัดท่ี 11 การสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในองค์การ 94
10.1 การตรวจสอบทางการเงินและบญั ชีของสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา 107
10.2 โครงการพฒั นาระบบรายงานข้อมลู การเงินด้านการศึกษาของสถานศึกษา
110
(ระบบบญั ชกี ารศึกษาข้นั พืน้ ฐาน)
10.3 ระดับความสาเรจ็ ของการตรวจสอบด้านการตรวจสอบการดาเนนิ งาน 133
146
“โครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาตั้งแต่ระดับอนบุ าล 158
จนจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของสถานศึกษา สงั กัด สพฐ.”
10.4 ระดับความสาเรจ็ การดาเนนิ งานโรงเรียนวิถีพทุ ธ
10.5 ระดับความสาเรจ็ ของการจดั ทาบญั ชีตน้ ทุนต่อหน่วยผลผลติ
ความคิดเหน็ ของผใู้ ต้บงั คับบัญชาท่มี ีตอ่ ผูบ้ งั คับบญั ชา

ภาคผนวก เว็บไซต์ระบบรายงานผลตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ 162
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ภาคผนวก ค
ภาคผนวก ง ตารางสรุปสานกั /กลุ่ม/ศนู ย์ รับผิดชอบตวั ชวี้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพ 164

ภาคผนวก จ ในการปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564

คาส่ังคณะทางานจดั ทาคูม่ ือตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ 168

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ 173

ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เฉพาะส่วนกลาง)

แนวทางการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 186

แนวทางการประเมนิ ตัวชว้ี ัด
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 หลักการและท่ีมา

รัฐบาลมีนโยบายปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ เพ่ือให้ส่วนราชการมีการปรับปรุงและ
ยกระดับคุณภาพการบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจึงต้องมี
การดาเนินงานตามแผนงานโครงการท่ีสอดรับกับนโยบายท่ีสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ยุทธศาสตร์และเป้าหมาย
ของประเทศไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนมีการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ทีร่ ฐั บาลกาหนด ดังนี้

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 บัญญัติว่า
“การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ
ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น
การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวกและการ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการจึงเป็น
แนวทางหน่ึงท่ีจาเป็นอย่างยิ่งเพ่ือให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองตาม
ความต้องการของประชาชน ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้คานึงถึงความรบั ผิดชอบของผู้ปฏิบตั ริ าชการ การมีสว่ นร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล
การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ท้ังนต้ี ามความเหมาะสมของแต่ละภารกจิ ”

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 12
กาหนดว่า เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนด
มาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทาความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด
เพ่อื แสดงความรบั ผิดชอบในการปฏบิ ัติราชการ และมาตรา 45 กาหนดใหส้ ่วนราชการจดั ให้มีคณะผู้ประเมินอิสระ
ดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ
ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา
ที่ ก.พ.ร. กาหนด

คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 5/2559 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 44
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
โดยความเหน็ ชอบของคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกคาส่ังหวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 5/2559
เร่ือง มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์ในการปฏิรูประบบการบริหารราชการ
แผ่นดิน มผี ลบังคบั ใช้ ณ วันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2559

1

มติคณะรัฐมนตรี 5 เมษายน 2559 เห็นชอบการประเมินโดยแบบประเมินข้าราชการพลเรือน
ในความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารและแบบประเมินส่วนราชการตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ท่ี 5/2559 และให้นาแบบประเมินฯ น้ีไปใช้ในการประเมินข้าราชการและการประเมินส่วนราชการในรอบการ
ปฏบิ ัติงาน ตัง้ แตว่ ันที่ 1 ตุลาคม 2558

ข้อส่ังการในการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2560 ให้ทุกส่วนราชการดาเนินการพัฒนา
และปรับปรุงการทางานภายในหน่วยงานของตนให้มปี ระสิทธภิ าพ

ข้อส่ังการนายกรัฐมนตรีในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง หรือเทียบเท่า ณ วันที่ 29
มิถุนายน 2560 ให้ทุกส่วนราชการพิจารณาเร่งรัดการขบั เคล่อื นปฏิรปู องค์กร (โครงสร้าง/กระบวนการทางาน)

ข้อส่ังการนายกรัฐมนตรีในการรายงานผลการดาเนินการการประเมินหัวหน้าส่วนราชการ (สิงหาคม
2560) โดยสานักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ณ วันท่ี 26 กันยายน 2560 กาหนดแนวทางการประเมินผลผู้นา
องค์การเพ่ิมจากการประเมินปกติประจาปี คือ กาหนดอีก 10 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน ประเมินทุก 6 เดือน
ผู้ถูกประเมิน ได้แก่ ปลัดกระทรวง/เทียบเท่า อธิบดี/เทียบเท่า ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น
กานนั ผใู้ หญบ่ ้าน

มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2561 เห็นชอบการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามท่ีสานักงาน ก.พ.ร. เสนอ
โดยมีกรอบการประเมินใน 5 องค์ประกอบ แบ่งเกณฑ์การประเมินออกเป็น 3 ระดับ โดยพิจารณาจากคะแนน
เฉลีย่ ในภาพรวมทุกองค์ประกอบ รวมทงั้ กาหนดให้ประเมนิ สว่ นราชการและจังหวัดปลี ะ 1 คร้ัง (รอบการประเมิน
ตั้งแต่วันท่ี 1 ตุลาคม ถึงวันท่ี 30 กันยายน ของทุกปี) ซึ่งในอดีตท่ีผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 – 2559
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานกั งาน ก.พ.ร.) ไดใ้ ช้การประเมินส่วนราชการตามคารบั รองการ
ปฏิบัติราชการ และปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน ได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นการประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ

ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 15 กันยายน 2563 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามท่ีสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) เสนอ เห็นชอบกรอบและแนวทางการประเมิน
ส่วนราชการฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยเป็นการนาองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบเดิมตามท่ี
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ (6 พฤศจิกายน 2561) ไว้ มาจัดกลุ่มและจาแนกเป็น 2 องค์ประกอบ ซึ่งมี
รายละเอียด ดงั น้ี

กรอบการประเมิน องค์ประกอบการประเมิน / ประเดน็ การประเมนิ
1. การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) น้าหนักร้อยละ 70 จานวน 3 – 5
ตัวชี้วดั ประกอบด้วย

1.1 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายสาคัญของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี หรือภารกิจ
ท่ไี ด้รับมอบหมายเปน็ พเิ ศษ (Agenda KPI)

1.2 ผลการดาเนนิ งานตามแผนการปฏิรปู ประเทศ (บงั คับส่วนราชการระดบั กรม)

2

1.3 ผลการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญที่เป็นการบรู ณาการการดาเนนิ งานร่วมกันหลายหนว่ ยงาน
(Joint KPIs)

1.4 ผลการดาเนินงานตามภารกิจพ้ืนฐาน งานประจา งานตามหน้าท่ี ความรับผิดชอบหลัก
งานตามกฎหมาย กฎ หรือภารกจิ ในพนื้ ท่ี/ทอ้ งถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กล่มุ จังหวดั (Function KPI / Area KPI)

2. การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) น้าหนักร้อยละ 30 จานวน 1 ตัวช้ีวัด
ผลการพัฒนาศักยภาพองคก์ ารสกู่ ารเป็นระบบราชการ 4.0

2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (น้าหนักร้อยละ 15) เช่น การพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล
(Digitize Data) และการเชือ่ มโยงและแบ่งปันข้อมลู (Sharing Data) เปน็ ต้น

2.2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (Public Sector Management
Quality Award – PMQA 4.0) (น้าหนักรอ้ ยละ 15)

โดยมีเกณฑ์การประเมิน จะพิจารณาจากคะแนนในภาพรวมโดยแบ่งเกณฑ์การประเมินเป็น 3 ระดับ
ดงั นี้ ระดับผลการดาเนินงาน - คะแนนผลการดาเนินงาน (รอ้ ยละ)

ระดับคณุ ภาพ 90.00 – 100.00
ระดับมาตรฐานขน้ั สูง 75.00 – 89.99
ระดับมาตรฐานข้นั ตน้ 60.00 – 74.99
ระดับต้องปรบั ปรงุ ต่ากวา่ 60.00
โดยมี กรอบระยะเวลาการประเมนิ : 1 ตุลาคม – 30 กนั ยายน ของทกุ ปี (ปลี ะ 1 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมายในการประเมิน : ส่วนราชการและจังหวัด (สาหรับส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม
กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และสานักงานตารวจแห่งชาติ ให้นาแนวทางการประเมิน
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฝ่ายบริหารไปประยุกต์ใช้ และส่งผลการประเมินให้สานักงาน
ก.พ.ร. เพื่อรายงานต่อนายกรฐั มนตรีพรอ้ มกบั ส่วนราชการ)
ผู้ทาหน้าท่ีในการประเมิน : เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเป็นผู้ประเมินส่วนราชการ
(ฝ่ายบริหาร) และจังหวัดในเบ้ืองต้น แล้วรายงานผลการประเมินต่อรัฐมนตรีว่าการหรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ
ของหนว่ ยงาน และรายงานนายกรฐั มนตรี รองนายกรัฐมนตรีทกี่ ากบั ดแู ล หรือรฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี
ต่อไป

3

 กรอบการประเมินสว่ นราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

โดยมหี ลกั การและแนวทางในการประเมนิ ดังน้ี
1. ประเมินใน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ Performance Base และ Potential Base โดยกาหนดสัดส่วน

เทา่ กบั 70:30
2. จานวนตัวชี้วัด Performance Base 3 - 5 ตัวช้ีวัด (กรมต้องถ่ายทอดจากกระทรวงอย่างน้อย 1

ตัวชี้วัด) Potential Base 1 ตัวชว้ี ัด
3. เน้นตัวชี้วัดทส่ี ะทอ้ นยุทธศาสตร์ชาติ / แผนแมบ่ ทฯ / แผนฯ 12 / นโยบายรฐั บาล และยดึ ประโยชน์

ทป่ี ระชาชนจะได้รบั
4. ส่วนราชการระดับกรมต้องมีตัวช้ีวัดท่ีสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ อย่างน้อย 1 ตัวช้ีวัด

(1 กรม 1 ปฏริ ปู )
5. เนน้ Joint KPIs ที่สาคญั เพอ่ื บรู ณาการการทางานรว่ มกนั เชน่ อากาศ แหล่งน้า ขยะ
6. เน้นการพฒั นาการพฒั นาองคก์ ารสดู่ จิ ทิ ลั (e-Service, Digitize Data, Digitalize Process, Sharing Data)
7. นาผลการประเมิน PMQA 4.0 มาเป็น ส่วนหนง่ึ ของการประเมนิ Potential Base
8. ตวั ชว้ี ัดทีม่ ีความสาคญั และไม่สามารถวดั ผลไดใ้ นรอบปีถูกกาหนดเป็นตวั ชี้วดั Monitor
4

1. การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) น้าหนักร้อยละ 70 จานวน
3 – 5 ตัวชี้วัด ประกอบดว้ ย

1.1 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายสาคัญของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี หรือภารกิจ
ที่ได้รบั มอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda KPI)

1.2 ผลการดาเนนิ งานตามแผนการปฏิรปู ประเทศ (บังคับส่วนราชการระดบั กรม)
1.3 ผลการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญท่ีเป็นการบรู ณาการการดาเนนิ งานรว่ มกันหลายหน่วยงาน
(Joint KPIs)
1.4 ผลการดาเนินงานตามภารกิจพ้ืนฐาน งานประจา งานตามหน้าท่ี ความรับผิดชอบหลัก
งานตามกฎหมาย กฎ หรือภารกจิ ในพน้ื ที/่ ทอ้ งถน่ิ ภมู ิภาค จงั หวัด กลมุ่ จงั หวัด (Function KPI / Area KPI)
ส่วนราชการระดับกรมต้องมีตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ อย่างน้อย 1 ตัวชี้วัด
(1 กรม 1 ปฏริ ูป) ท้ังนใ้ี นการกาหนดตวั ชีว้ ัดการดาเนินงานตามแผนการปฏริ ูปประเทศ ซึง่ กาหนด 1 กรม 1 ปฏริ ูป
น้ัน ส่วนราชการได้กาหนดตัวชี้วัดการดาเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศ โดยเลือกประเด็นปฏิรูปในส่วนที่
เกยี่ วขอ้ งกบั หน่วยงานตามทไ่ี ดส้ ่งแผน ฯ ใหก้ บั สศช. จานวน 1 ตัวชีว้ ดั

5

ท้ังนี้ตัวช้ีวัดร่วมได้แก่ประเด็นเก่ียวกับ อากาศ แหล่งน้า ขยะ ป่าไม้ การจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการ

ดา้ นการศึกษา ดังน้ี

ประเดน็ Joint KPIs ยทุ ธศาสตรช์ าติ/แผนแม่บท/ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

SCG/International KPIs

1.การจัดการขยะ ร้อยละของปรมิ าณขยะ -ของเสียอนั ตรายตอ่ หวั (สดั ส่วน -กรมควบคุมมลพิษ

มูลฝอยชมุ ชน* มลู ฝอยชมุ ชนไดร้ ับการ ของเสียที่ไดร้ ับการบาบัดของเสยี -กรมส่งเสริมคุณภาพ

จดั การอย่างถกู ต้อง จาแนกตามประเภทการบาบัด ส่ิงแวดล้อม

(SDG) -กรมสง่ เสรมิ การ

-อตั ราการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ ปกครองท้องถน่ิ

(recycling rate)ใน -จงั หวดั ทมี่ ขี ยะจานวน

ระดับประเทศ (จานวนตนั ของ มาก

วสั ดุทีถ่ กู นากลับมาใช้ใหม่(SDG)

2.การแก้ไขปัญหา อนั ดบั ในรายงานประจาปี -รายงานสถานการณก์ ารค้า -สป.พฒั นาสงั คมฯ

การค้ามนุษย์ สถานการณ์การค้ามนุษย์ มนุษย์ ประจาปี Trafficking in -สป.แรงงาน

Persons Report TIP Report -กรมการจัดหางาน

ของสหรัฐอเมริกา -กรมสวัสดกิ ารคุ้มครอง

แรงงาน

3.การลดอัตรา อัตราผเู้ สียชีวติ จาก อัตราผู้เสยี ชวี ติ จากการบาดเจ็บ -สป.สาธารณสุข

ผเู้ สียชีวติ จาก อุบตั เิ หตุทางถนนต่อ จากอบุ ัติเหตุทางถนน(SDG)/ -กรมควบคุมโรค

อุบัตเิ หตทุ างถนน* ประชากรแสนคน (อตั รา แผนฯ12 -สป.คมนาคม

ต่อประชากรแสนคน) -กรมทางหลวง

-กรมทางหลวงชนบท

-กรมการขนส่งทางบก

-กรมปอ้ งกนั ฯ

-จงั หวัดทมี่ ีอุบัตเิ หตุสูง

4.ความยากง่ายใน ความยากงา่ ยในการ การจัดอันดับความยากงา่ ยในการ -สานักงาน ก.พ.ร.

การประกอบธุรกิจ ประกอบธุรกิจตาม ประกอบธุรกิจ (Doing (อันดับภาพรวม/

(Doing Business) รายงานของธนาคารโลก Business) ของธนาคารโลก คะแนน)

ภาพรวม/รายด้าน (แผนฯ12) กรมท่ีเกยี่ วขอ้ งวัดราย

ดา้ น

-กรมพฒั นาธรุ กิจการคา้

-สานักงานประกันสังคม

-กรมสรรพากร

-กรมศุลกากร

-กรมบงั คบั คดี

6

ประเดน็ Joint KPIs ยทุ ธศาสตร์ชาติ/แผนแมบ่ ท/ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
5.คณุ ภาพแหลง่ SCG/International KPIs
นา้ * -ร้อยละของแหลง่ นา้ ทมี่ ี -คณุ ภาพของน้าในแหล่งน้าฯ อยู่ -สป.ทรัพยากรฯ
คณุ ภาพน้าทีด่ ี หรือ ในเกณฑ์เหมาะสมกบั ประเภท -กรมควบคมุ มลพิษ
6.การคุณภาพ -คุณภาพน้าของแม่นา้ ของการใช้ประโยชน์ -กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพ
อากาศ* สายหลักทอ่ี ยใู่ นเกณฑ์ดี (แผนแม่บทฯ) สงิ่ แวดล้อม
เพ่มิ ขึ้น(จานวนแหลง่ น้าท่ี -ร้อยละของนา้ เสียท่ีได้รบั การ -กรมทรัพยากรนา้
7.การลดก๊าซเรือน มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดี บาบดั ได้อย่างปลอดภัย (SDG) -กรมโรงงาน
กระจกในภาค -ร้อยละของแหลง่ นา้ ที่มคี ุณภาพ อุตสาหกรรม+กรม
พลงั งานและ -ระดับค่าเฉล่ยี ท้ังปีของ นา้ โดยรอบทด่ี ี (SDG) สง่ เสรมิ การเกษตร
คมนาคมขนส่ง ฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก -จังหวดั ทม่ี ีแหลง่ น้า
(PM2.5) -ระดบั ค่าเฉลย่ี ท้งั ปขี องฝนุ่ ละออง เสือ่ มโทรม
8.จานวนพื้นที่ -ร้อยละของคุณภาพ ขนาดเลก็ เช่น PM 2.5 PM 10 สป.ทรพั ยากรฯ
ป่าไม*้ อากาศในพืน้ ทีว่ กิ ฤต ในเขตเมืองถว่ งน้าหนักกบั -กรมควบคุมมลพิษ
หมอกควันอย่ใู นระดับ ประชากร (SDG) -กรมส่งเสริมคณุ ภาพ
มาตรฐาน สง่ิ แวดลอ้ ม
การประเมินผลการลด -ปริมาณการลดกา๊ ซเรือนกระจก -กรมขนส่งทางบก
ก๊าซเรอื นกระจกในภาค โดยรวมในสาขาพลงั งานและ -9 จงั หวดั ภาคเหนอื
พลงั งานและคมนาคม ขนส่ง สาขากระบวนการ
ขนส่ง อุตสาหกรรมและการใช้ -สานกั นโยบายและแผน
ผลิตภัณฑ์ และสาขาการจัดการ ทรัพยากรฯ
-จานวนพน้ื ทปี่ ่าไม้ของ ของเสียลดลง (ลา้ นตนั ) -สป.พลงั งาน
ประเทศ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ -สานักนโยบายและแผน
-ภาพถ่ายดาวเทยี ม (แผนแมบ่ ทฯ) พลงั งาน
-จานวนพนื้ ปา่ ทท่ี วงคนื -สดั สว่ นพนื้ ทป่ี า่ ไม้ของประเทศ -องคก์ ารบรหิ ารจดั การ
ได้ (ป่าอนรุ ักษ์ ป่าเศรษฐกิจ ก๊าซเรอื นกระจก
ปา่ ชายเลน พ้ืนท่ีปลกู และฟื้นฟู (องคก์ รมหาชน)
ป่าต้นนา้ (แผนฯ12) -สป.ทรัพยากรฯ
-ร้อยละของพืน้ ท่ีปา่ ไม้ต่อพ้นื ที่ -กรมป่าไม้
ทงั้ หมด (SDG) -กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ
-กรมทรพั ยากร
ทางทะเลฯ
-จงั หวัดท่ีมพี นื้ ทีป่ ่าไม้
ลดลง

7

ประเด็น Joint KPIs ยุทธศาสตร์ชาต/ิ แผนแมบ่ ท/ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

SCG/International KPIs กระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ
9.งานวจิ ยั และ -อนั ดบั ความสามารถ -ขดี ความสามารถในการแข่งขัน นวตั กรรม

นวตั กรรมทางด้าน ทางการแข่งขันด้าน ดา้ นการศึกษาของประเทศไทย -ทุกสว่ นราชการใน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
วิทยาศาสตร์ Scientific จากรายงาน IMD /แผนฯ12

Infrastructure ของ

ประเทศไทยตามการจัด

อันดับของ IMD

10.ความสามารถ อันดับตามรายงานดา้ น -ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละ

ในการแข่งขันดา้ น การศึกษา(Education) วชิ า (แผนฯ12)

การศกึ ษาของ ภาพรวม รายดา้ นในสว่ น

ประเทศไทย ราชการทีเ่ ก่ยี วข้อง

2. การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) นา้ หนักรอ้ ยละ 30 จานวน 1 ตัวชว้ี ัด
ผลการพฒั นาศักยภาพองคก์ ารสกู่ ารเป็นระบบราชการ 4.0 ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื

2.1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล (น้าหนักร้อยละ 15 ) เป็นตัวชี้วัดการพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็น
ดิจิทลั (Digitize data) เพอ่ื นาไปสู่การเปิดเผยข้อมลู ภาครฐั (Open Data) มี 2 แนวทางคือ

1) ตวั ช้วี ดั การสร้างนวัตกรรมในการปรับปรงุ กระบวนงาน (e-Service)
การให้บรกิ ารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) เปน็ การดาเนนิ การเพื่อยกระดับงานบริการ
ของส่วนราชการไปสู่การให้บริการแบบออนไลน์ เพื่อลดภาระการเดินทางมาติดต่อราชการของประชาชน เลือก
งานบริการของหน่วยงาน 1 งานบริการ แนวทางการคัดเลือกงานบริการ คือ เป็นงานบริการที่ยังไม่มีระบบ
ออนไลน์ เป็นงานบริการหลักของหน่วยงาน เป็นงานบริการท่ีจบในหน่วยงาน (Standalone) เป็นงานบริการท่ี
ตอ้ งมีการเช่อื มขอ้ มูลหรอื ธรุ กรรมกับหน่วยงานอืน่ เปน็ งานบรกิ ารทม่ี จี านวนผใู้ ชบ้ ริการมากเป็นลาดับต้นๆ
ของงานบริการทัง้ หมดของงานบรกิ ารท้ังหมดของหน่วยงาน เป็นงานบริการท่ไี มม่ ขี อ้ จากดั ทางกฎหมาย
เปา้ หมายการยกระดับงานบริการ 3 ระดับ ได้แก่
ระดับ 1 (Level 1 : L1) งานบริการท่ียื่นคาขอและเอกสารทเี่ ก่ียวข้องผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
ระดับ 2 (Level 2 : L2) งานบรกิ ารทยี่ ่ืนคาขอและชาระค่าธรรมเนียมผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
หรอื ช่องทางอื่น ๆ และมกี ารออกใบเสร็จรับเงนิ ทางระบบอิเล็กทรอนิกสไ์ ด้
ระดับ 3 (Level 3 : L3) งานบริการที่ย่ืนคาขอชาระค่าธรรมเนียม และออกใบอนุมัติ/ อนุญาต/
เอกสาร ทางราชการได้ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รือการอนมุ ตั ผิ ่านทางชอ่ งทางอิเล็กทรอนกิ ส์

8

2) ตัวช้ีวัดการพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) เพื่อนาไปสู่การเปิดเผยข้อมูล
ภาครัฐ (Open Data)

แนวทางการประเมินตัวชี้วัด กาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทาชุดข้อมูลเปิด (Open Data)
เพ่ือนาไปเผยแพร่ อย่างน้อย 1 ข้อมูล ให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัลว่าด้วยแนวทางการเปิดเผยข้อมูล
เปิดภาครัฐในรูปแบบดิจิทัลต่อสาธารณะ ชุดข้อมูลเปิด (Open Data) ดังกล่าว ต้องเป็นข้อมูลที่ประชาชนหรือ
ผรู้ บั บรกิ ารตอ้ งการและนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

เป้าหมายข้ันต้น (50) เปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ทุกรูปแบบ และสามารถนาข้อมูลไปใช้
ประโยชนไ์ ด้ โดยไมต่ ้องขออนญุ าตจากหนว่ ยงาน เช่น pdf .doc เปน็ ต้น

เป้าหมายมาตรฐาน (75) เปิดเผยข้อมูลในรูปแบบท่ีเคร่ืองสามารถอ่านได้ (Machine Readable)
เชน่ Excel เปน็ ตน้

เป้าหมายขั้นสูง (100) เปิดเผยข้อมูลในรูปแบบมาตรฐานแบบเปิด (Open Format) และไม่
จากัดสทิ ธิ โดยบุคคลใด และเครอ่ื งอา่ นได้

ทงั้ นี้ สานกั งาน ก.พ.ร. ประเมินโดยการเขา้ ถึงของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ผ่านทางเวบ็ ไซต์

9

2.2 การประเมนิ สถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 (นา้ หนักร้อยละ 15)
เพื่อประเมินความสามารถในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานและความพยายามของส่วน

ราชการในการขับเคลื่อนงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน พิจารณาจาก ผลการประเมินสถานะการเป็นระบบ
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยประกอบด้วยองค์ความรู้ 7 หมวด คือ หมวด 1 การนาองค์การ หมวด 2 การ
วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การ
วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ หมวด 7
ผลลัพธ์การดาเนินการ โดย เกณฑ์การประเมินจะพิจารณาจากความสามารถในการพัฒนาการดาเนินงาน
เพ่ือยกระดับผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีเป้าหมายให้ส่วนราชการมี
คะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี จากผลคะแนนในขนั้ ตอนท่ี 1 ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2563 โดยจดั กลุ่มสว่ นราชการตามคะแนนผลการประเมินปี 2563 และกาหนดเกณฑ์การประเมิน (เปา้ หมาย
การเพิม่ คะแนนผลการประเมนิ ) ใหส้ อดคลอ้ งกบั แต่ละกลุม่

10

โดยแบ่งเกณฑ์การประเมินออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 ส่วนราชการที่คะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตา่ กวา่ 350 คะแนน กลุม่ ที่ 2 ส่วนราชการที่มีคะแนนผลการประเมินในขนั้ ตอนที่ 1 ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2563 ตั้งแต่ 350 - 399 คะแนน กลุ่มที่ 3 ส่วนราชการท่ีมีคะแนนผลการประเมินในขั้นตอนที่ 1 ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ต้ังแต่ 400 คะแนนขนึ้ ไป ท้งั น้แี บ่งเปน็ เป้าหมายขั้นตน้ เปา้ หมายมาตรฐาน เปา้ หมายขนั้ สูง ตามเกณฑท์ ี่กาหนด

 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
11

 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ได้กาหนดนโยบาย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดยยดึ หลัก

ของการพัฒนาที่ย่ังยืน และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต และมุ่งสู่ Thailand 4.0
ท่ีสอดคลอ้ งกบั แผนยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 และมีวิสยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และนโยบาย ดังน้ี

- วิสัยทัศน์ สรา้ งคุณภาพทนุ มนษุ ย์ สู่สังคมอนาคตท่ยี ่งั ยืน
- พนั ธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
2. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีความสามารถและมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ เพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผเู้ รียนให้มสี มรรถนะตามหลักสตู รและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่าง
ทั่วถึงและเท่าเทยี ม
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ มีสมรรถนะด้านภาษาและการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล
6. จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) เพ่ือพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากาหนดให้มีการพัฒนาเด็กต้ังแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีดี
สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึง
พหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน
มีทักษะท่ีจาเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล
มวี นิ ัย มีนสิ ัยใฝ่เรียนรู้ อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต รวมทง้ั เปน็ พลเมืองที่รูส้ ิทธิและหน้าท่ี มคี วามรบั ผิดชอบ และมีจติ สาธารณะ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้เป็น
“การศึกษาขั้นพ้ืนฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาส ทางการศึกษาที่มี
คุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกาหนดนโยบายสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565

1. ด้านความปลอดภยั
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และ

สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะท่ีดี
สามารถปรบั ตัวต่อโรคอบุ ตั ิใหม่และโรคอบุ ัติซ้า

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์

สังคม และสตปิ ญั ญา ใหส้ มกับวัย

12

2.2 ดาเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพตาม
มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพตรงตาม
ศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษสู่ความเป็นเลิศ เพ่ือ
เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือป้องกันไม่ให้ออก
จากระบบการศึกษา รวมท้ังช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐาน อย่างเท่า
เทยี มกัน

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะในการ
ดาเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

3. ดา้ นคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจาเป็นของโลกใน

ศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มีทศั นคตทิ ่ถี ูกต้องต่อบา้ นเมือง

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือก
ศึกษาต่อเพื่อการมงี านทา

3.3 ปรับหลักสูตรเปน็ หลักสตู รฐานสมรรถนะ ทีเ่ นน้ การพฒั นาสมรรถนะหลักท่ีจาเปน็ ในแตล่ ะระดับ
จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาเพื่อพัฒนาพหปุ ัญญา พฒั นาระบบการวัดและประเมินผลผ้เู รียนทกุ ระดับ

3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
มีการพฒั นาตนเองทางวิชาชพี อย่างตอ่ เน่ือง รวมท้ังมจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

4. ดา้ นประสิทธิภาพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนบน

ฐานขอ้ มลู สารสนเทศท่ถี ูกตอ้ ง ทนั สมัย และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนท่ี

สามารถดารงอยู่ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ คี ณุ ภาพอย่างย่งั ยนื สอดคลอ้ งกับบริบทของพ้ืนท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3

นอ้ ยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวตั ถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษาที่ต้ัง

ในพน้ื ท่ีลกั ษณะพิเศษ
4.5 สนับสนุนพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพิ่ม

ความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
4.6 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

13

 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนดความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ระดับชาติ พ.ศ. 2561-

2580 ประกอบด้วยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนฯ 12 (ปี พ.ศ. 2560-2564 ) แผนปฏิรูปประเทศ
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายรฐั บาล ทง้ั นส้ี อดคล้องกบั แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2563 - 2565
โดยสอดคล้องกับตัวชว้ี ดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ดังนี้

1. ระดับความสาเร็จของการดาเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21

2. อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านการศึกษา (IMD)
3. คะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานจากการทดสอบระดับชาติ
(O–NET, V–NET, N–NET)

14

ทั้งน้ีตัวชี้วัดระดับกรมของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 1) การประเมิน
ประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base) ร้อยละ 70 และ 2) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน
(Potential Base) ร้อยละ 30

ที่ ประเดน็ การประเมิน ตัวชีว้ ดั หมายเหตุ

1 การประเมินประสิทธิผล 1. ระดบั ความสาเร็จของการ เป็นตวั ช้วี ัด 1 กรม 1 ปฏริ ปู เปน็
การดาเนินงาน ดาเนนิ โครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้ ตวั ช้วี ดั ตามแผนปฏิรปู ดา้ นการศึกษา
(Performance Base) มคี ณุ ลักษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ ตามกิจกรรมปฏิรปู ท่ี 2 การพัฒนาการ
(รอ้ ยละ 70) ใน ศตวรรษท่ี 21 (ร้อยละ 30) จดั การเรียนการสอนสู่การเรียนรฐู้ าน

สมรรถนะ เพื่อตอบสนองการ
เปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 เป็น
การจดั ทาและดาเนนิ โครงการ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ทั้งระบบสกู่ าร
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ
การเตรยี มผู้เรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั
ศตวรรษที่ 21 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 โดยพจิ ารณาจากกิจกรรม
หรือผลผลติ ที่เกิดขนึ้ จริงตามแผน และ
มกี ารใช้จา่ ยเงนิ งบประมาณท่ีไดร้ ับ
การอนมุ ัติ (จากระบบ GFMIS)
ประชาชนจะไดร้ บั ประโยชนจ์ าก
โครงการนี้ คือ เปน็ การยกระดับ
ความสามารถในการแขง่ ขันด้าน
การศกึ ษาของประเทศ สง่ ผลให้
ประชาชนไดร้ ับการศกึ ษาท่ีมีมาตรฐาน
ระดับสากลมากข้ึน

2. ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
ดา้ นการศึกษาของประเทศไทย
จากรายงาน (IMD 2020)
2.1 อนั ดบั ตามรายงานดา้ น
การศึกษา (Education)
2.2 อันดับตามรายงานดา้ นท่ี
เกย่ี วข้องกับบทบาท ภารกจิ ของ
สว่ นราชการ

15

ท่ี ประเด็นการประเมิน ตัวชี้วดั หมายเหตุ

3. ระดบั คะแนนเฉลี่ยผลการ

ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ

(O-NET)

4 การประเมินศักยภาพใน ผลการพัฒนาศักยภาพองคก์ ารสู่

การดาเนนิ งาน การเป็นระบบราชการ 0.4

(Potential Base) (ร้อย การพัฒนาองค์การสู่ดจิ ิทลั (1.4
ละ 30) Data Catalog

การเกบ็ รวบรวมสถิติทางการ

ศกึ ษา

• ขอ้ มูลนักเรียน

• ข้อมูลโรงเรยี น

4.2 ) การประเมินสถานะของ

หน่วยงานในการเปน็ ระบบ

ราชการ 4.0 PMQA

 การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้กาหนดการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ประกอบด้วยตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่เป็นตัวชี้วัดตาม
มาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 4 ตัวช้ีวัด ไดแ้ ก่

1. ระดับความสาเร็จของการดาเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษท่ี 21

2. ระดับคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา
3. การพฒั นาองค์การสดู่ ิจทิ ัล Data Catalogue

3.1 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนนิ การจดั เก็บข้อมลู นักเรียนที่มีอยู่จรงิ ในโรงเรียนดว้ ยระบบ
DMC (Data Management Center)

3.2 รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากรทางการศึกษารายคน
ด้วยระบบ HRMS (Human Resource Management System)

4. การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 PMQA
และตัวชี้วัดผู้บริหารองค์การ ซึ่งเป็นตัวช้ีวัดร่วม ในเรื่อง การลดพลังงาน มาตรการลดและคัดแยกขยะ
มูลฝอยในหน่วยงานภาครฐั การกากับดูแลการทุจริต ระบบติดตามการปฏิบัติงานเพื่อการบริหารงานขององค์การ

16

การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในองค์การ การสร้างคุณธรรม จริยธรรมในองค์การ และ ความคิดเห็นของ
ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาทีม่ ตี ่อผูบ้ ังคบั บญั ชา จานวน 7 ตัวชวี้ ัด ดังนี้

5. การลดพลงั งาน
5.1 พลงั งานดา้ นไฟฟ้า
5.2 พลงั งานดา้ นน้ามันเช้อื เพลิง

6. มาตรการลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยในหน่วยงานภาครัฐ
7. การกากบั ดแู ลการทจุ ริต
8. ระบบตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ านเพือ่ การบรหิ ารงานขององค์การ
9. การสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ในองคก์ าร

9.1 ความมน่ั คงปลอดภัยในไซเบอร์ (Cyber)
9.2 การขบั เคลอื่ นระบบคลังส่อื การเรียนรูเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
10.การสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมในองค์การ
10.1 การตรวจสอบทางการเงนิ และบญั ชขี องสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
10.2 โครงการพฒั นาระบบการรายงานขอ้ มูลการเงนิ ดา้ นการศึกษาของสถานศึกษา

(ระบบบญั ชี การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน)
10.3 ระดับความสาเร็จของการตรวจสอบด้านการตรวจสอบการดาเนินงาน “โครงการสนับสนุน

ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสถานศึกษา
สงั กดั สพฐ.”
10.4 ระดับความสาเรจ็ การดาเนนิ งานโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ
10.5 ระดับความสาเรจ็ ของการจัดทาบญั ชีต้นทุนตอ่ หนว่ ยผลผลติ
11. ความคดิ เหน็ ของผู้ใตบ้ ังคับบัญชาทมี่ ีต่อผู้บงั คับบัญชา

โดยมีรายละเอียด องค์ประกอบ/ประเดน็ การประเมนิ ตวั ชวี้ ดั นา้ หนกั และเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี

องคป์ ระกอบ/ ที่ ตวั ช้วี ดั นา้ หนกั เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ประเดน็ การประเมิน

การประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ

องคป์ ระกอบ 1 1 ระดบั ความสาเร็จของการ 9.090 ระดับ 1 โรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายมีการ

Function Base ดาเนนิ โครงการสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี น ดาเนินกจิ กรรมครบตามที่กาหนดทกุ

ให้มีคุณลักษณะและทักษะการ กจิ กรรม ร้อยละ 100 และผู้เรียนไดร้ ับ

เรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 การพฒั นาให้มีคุณลักษณะและทกั ษะการ

เรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ระหว่างร้อยละ

80 – 84.99

ระดับ 2 โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการ
ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ค ร บ ต า ม ท่ี ก า ห น ด ทุ ก
กิจกรรม ร้อยละ และผู้เรียนได้รับ 100

17

องค์ประกอบ/ ที่ ตัวชว้ี ดั น้าหนัก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเดน็ การประเมิน

องคป์ ระกอบ 1 2 ระดบั คะแนนเฉล่ยี ผลการ การพัฒนาให้มีคุณลักษณะและทักษะการ
Function Base ทดสอบทางการศึกษา 21 เรียนรู้ในศตวรรษท่ีระหว่างร้อยละ
85 - 99.89
องคป์ ระกอบ 1 3 การพฒั นาองค์การสดู่ ิจิทลั ระดับ 3 โรงเรียนกลมุ่ เป้าหมายมกี าร
Function Data Catalogue ดาเนนิ กจิ กรรมครบตามทก่ี าหนดทุก
3.1 ระดับความสาเรจ็ ของการ กิจกรรม รอ้ ยละ 100 และผูเ้ รียนได้รับ
การพัฒนาให้มีคุณลักษณะและทักษะการ
ดาเนินการจัดเก็บข้อมลู เรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ระหวา่ งร้อยละ
90 – 94.99
นักเรยี นทีมีอยจู่ รงิ ในโรงเรียน ระดบั 4 โรงเรียนกลุ่มเปา้ หมายมีการ
ดาเนินกจิ กรรมครบตามที่กาหนดทกุ
กิจกรรม รอ้ ยละ 100 และผู้เรยี นไดร้ ับ
การพัฒนาให้มีคุณลกั ษณะและทกั ษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระหวา่ งรอ้ ยละ
95.00 – 99.99
ระดบั 5 โรงเรยี นกลุม่ เปา้ หมายมีการ
ดาเนินกจิ กรรมครบตามทกี่ าหนดทุก
กิจกรรม ร้อยละ 100 และผ้เู รียนได้รับ
การพัฒนาให้มีคุณลกั ษณะและทักษะการ
เรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ร้อยละ 100

9.090 ใชผ้ ลการทดสอบระดับช้ัน ม.6 สาหรับชนั้
ป.6 และ ม.3 เปน็ ไปตามความสมคั รใจ
ระดับ 1 (X-Y)-Y
ระดับ 2 X-Y
ระดบั 3 X
ระดบั 4 X+Y
ระดับ 5 (X+Y)+Y

9.090

(4.545) ระดับ 1 -
ระดบั 2 -
ระดบั 3 -
ระดับ 4 -

18

องคป์ ระกอบ/ ที่ ตัวชี้วดั นา้ หนัก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเด็นการประเมิน

ด้วยระบบ DMC (Data ระดับ 5 100

Manageent Center)

3.2 รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการ (4.545) ระดับ 1 -

ดาเนนิ การจดั เก็บข้อมูลครูและ ระดบั 2 -

บคุ ลากรทางการศึกษารายคน ระดับ 3 -

ด้วยระบบ HRMS (Human ระดบั 4 -

Resource Management ระดบั 5 100

System)

4 การประเมินสถานะของ 9.090 ระดับ 1 -

หน่วยงานในการเปน็ ระบบ ระดบั 2 -

ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ระดบั 3 3.0000

ระดับ 4 4.0000
ระดับ 5 5.0000

การลดพลังงาน 5 การลดพลงั งาน 9.090
5.1 พลงั งานด้านไฟฟ้า
(4.545) ระดับ 1 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าลดลง
5.2 พลังงานดา้ นน้ามัน ร้อยละ 2
เชื้อเพลงิ ระดับ 2 ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ลดลง
ร้อยละ 4
ระดบั 3 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าลดลง
รอ้ ยละ 6
ระดับ 4 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลง
ร้อยละ 8
ระดบั 5 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าลดลง
ร้อยละ 10 ขน้ึ ไป

(4.545) ระดับ 1 ปริมาณการใชน้ ้ามันเชอ้ื เพลงิ
ลดลงร้อยละ 2
ระดบั 2 ปรมิ าณการใช้น้ามันเชื้อเพลงิ
ลดลงร้อยละ 4
ระดับ 3 ปรมิ าณการใชน้ ้ามนั เชือ้ เพลิง
ลดลงร้อยละ 6
ระดบั 4 ปริมาณการใช้น้ามนั เชื้อเพลิง
ลดลงรอ้ ยละ 8

19

องค์ประกอบ/ ท่ี ตัวช้ีวดั น้าหนัก เกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการประเมิน

ระดับ 5 ปรมิ าณการใชน้ ้ามันเชื้อเพลงิ

ลดลงรอ้ ยละ 10 ขนึ้ ไป

มาตรการลดและคดั 6 มาตรการลดและคัดแยกขยะมลู 9.090 ระดับ 1 สามารถดาเนนิ การตามประเด็น

แยกขยะมูลฝอยใน ฝอยในหนว่ ยงานภาครัฐ การประเมินได้ 1-2 ประเดน็

หน่วยงานภาครฐั ระดบั 2 สามารถดาเนนิ การตามประเดน็

การประเมินได้ 3-4 ประเดน็

ระดับ 3 สามารถดาเนินการตามประเดน็

การประเมนิ ได้ 5-6 ประเดน็

ระดบั 4 สามารถดาเนินการตามประเดน็

การประเมนิ ได้ 7-8 ประเดน็

ระดับ 5 สามารถดาเนนิ การตามประเดน็

การประเมินได้ 9-10 ประเด็น

การกากับดูแลการ 7 การกากบั ดแู ลการทุจริต 9.090 มติ ขิ องสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

ทจุ รติ ระดับ 1 0 – 64.99

ระดับ 2 65.00 – 74.99

ระดบั 3 75.00 – 84.99

ระดับ 4 85.00 – 94.99

ระดบั 5 95.00 – 100

มิติของสถานศึกษา

ระดบั 1 0 – 19.99

ระดบั 2 20.00 – 29.99

ระดบั 3 30.00 – 39.99

ระดบั 4 40.00 – 49.99

ระดับ 5 ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป

ระบบติดตามการ 8 ระบบติดตามการปฏบิ ัติงาน 9.090 ตามรายละเอียดในค่มู ือฯ

ปฏบิ ัตงิ านเพื่อการ เพ่ือการบริหารงานขององคก์ าร

บริหารงานของ

องค์การ

1) สพท.นาระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (3.030) ระดับ 1 ไม่มี

มาใชใ้ นการติดตามการ ระดับ 2 จดั เกบ็ เป็นปจั จบุ นั และเรยี กดู

ปฏิบตั งิ านตามภารกิจงาน 4 ขอ้ มูลไดแ้ บบ Real time

ด้าน ไดแ้ ก่ ระดบั 3 มกี ารสรปุ ผลออกรายงาน

- ดา้ นบริหารงานท่ัวไป (Report) ได้

20

องค์ประกอบ/ ท่ี ตัวช้ีวัด น้าหนกั เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ประเด็นการประเมิน

- ด้านบรหิ ารแผนงานและ ระดับ 4 ผลวเิ คราะห์ข้อมลู ไปใช้ปรับปรงุ
พัฒนาการใหบ้ ริการและการปฏบิ ตั ิงาน
งบประมาณ ระดบั 5 จัดเก็บขอ้ มูลครบ 4 ดา้ น จดั เก็บ
เปน็ ปจั จุบันเรียกดูข้อมลู ไดแ้ บบ Real
- ดา้ นบริหารงานบุคคล timeและสรปุ ผลการดาเนนิ งานเพ่อื นาใช้
ในการตดั สนิ ใจของผู้บรหิ ารได้
- ดา้ นบริหารวชิ าการ
ระดับ 1 ไม่มี
2) สถานศึกษามีการนาระบบ (3.030) ระดับ 2 จดั เก็บเปน็ ปัจจบุ นั และเรียกดู
อเิ ล็กทรอนกิ ส์มาใชใ้ นการ ขอ้ มูลได้แบบ Real timeไดไ้ ม่น้อยกว่า
ติดตามการปฏบิ ัติงานตาม (3.030) รอ้ ยละ 40 ของสถานศึกษา ในสงั กัด
ภารกจิ งาน 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 9.090 ระดับ 3 สถานศึกษามกี ารใช้ระบบ
- ด้านบรหิ ารงานทว่ั ไป สามารถสรปุ ผลออกรายงาน (Report) ได้
- ดา้ นบรหิ ารแผนงานและ ตั้งแต่รอ้ ยละ 40 - 60
งบประมาณ ระดับ 4 สถานศึกษาสามารถนาผล
- ด้านบรหิ ารงานบุคคล วเิ คราะห์ข้อมลู ไปใช้ปรบั ปรงุ พัฒนาการ
- ด้านบรหิ ารวชิ าการ ให้บรกิ ารและการปฏบิ ัตงิ านไดต้ ั้งแต่ร้อย
ละ 61- 80
3) มีการใช้ระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระดบั 5 สถานศึกษามกี ารจัดเก็บข้อมูลใน
ในการประเมินความพึงพอใจ ระบบทัง้ 4 ระบบทเ่ี ป็นปจั จบุ ันและ
ของประชาชนหรือผู้รบั บริการ สามารถเรียกดูข้อมลู ได้แบบ Real time
สรุปผลการดาเนนิ งานเพื่อนาใชใ้ นการ
ตัดสินใจของผู้บรหิ ารไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ
81 ของสถานศึกษาในสงั กดั

ระดบั 1 ไม่มี
ระดับ 2 -
ระดับ 3 -
ระดบั 4 -
ระดบั 5 มี

การสง่ เสริมการใช้ 9 การสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยี

เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลใน ดจิ ทิ ัลในองค์การ

องค์การ

21

องค์ประกอบ/ ที่ ตัวชว้ี ดั นา้ หนกั เกณฑ์การให้คะแนน
ประเดน็ การประเมนิ

9.1 ความมั่นคงปลอดภัยทาง (4.545) ระดับ 1 ได้คะแนนน้อยกว่าหรือเทา่ กับ

ไซเบอร์ (Cyber) รอ้ ยละ 50

ระดับ 2 ได้คะแนนร้อยละ 51 - 69

ระดับ 3 ได้คะแนนร้อยละ 70 - 79

ระดบั 4 ได้คะแนนร้อยละ 80 - 89

ระดับ 5 ได้คะแนนรอ้ ยละ 90 ขน้ึ ไป

9.2 การขับเคล่ือนระบบคลงั ส่อื (4.545) ระดบั 1 ไมเ่ ขา้ ร่วมอบรม ไม่ดาเนนิ การ

การเรยี นรูเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล แตง่ ต้ังคณะทางานระดับ สพท. ไม่กาหนด

ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน แผนการเผยแพร่ระบบคลงั ส่ือ ฯ

ดาเนินการเผยแพร่ และประชาสมั พนั ธ์

พฒั นาและสรา้ งเครอื ข่ายครฯู นอ้ ยกวา่

ร้อยละ 20 ของจานวนโรงเรียนท้งั หมดใน

สังกัด

ระดับ 2 กาหนดแผนการเผยแพรร่ ะบบ

คลงั สื่อ ฯ ดาเนนิ การเผยแพร่ และ

ประชาสมั พันธ์ พัฒนาและสร้างเครือขา่ ย

ครฯู ร้อยละ 20 - 29 ของจานวนโรงเรยี น

ทั้งหมดในสงั กัด

ระดบั 3 กาหนดแผนการเผยแพรร่ ะบบ

คลังสื่อ ฯ ดาเนินการเผยแพร่ และ

ประชาสมั พนั ธ์ พฒั นาและสร้างเครอื ขา่ ย

ครูฯ ร้อยละ 30 - 39 ของจานวนโรงเรียน

ทั้งหมดในสงั กดั

ระดบั 4 กาหนดแผนการเผยแพร่ระบบ

คลงั ส่อื ฯ ดาเนินการเผยแพร่ และ

ประชาสมั พนั ธ์ พัฒนาและสร้างเครือขา่ ย

ครฯู รอ้ ยละ 40 - 49 ของจานวนโรงเรียน

ทงั้ หมดในสังกัด

ระดับ 5 กาหนดแผนการเผยแพรร่ ะบบ

คลังสื่อ ฯ ดาเนนิ การเผยแพร่ และ

ประชาสัมพันธ์ พัฒนาและสร้างเครือขา่ ย

ครูฯ รอ้ ยละ 50 ขน้ึ ไปของจานวนท้งั หมด

โรงเรียนในสงั กัด

22

องค์ประกอบ/ ที่ ตัวชว้ี ดั น้าหนัก เกณฑก์ ารให้คะแนน
ประเด็นการประเมนิ 9.090
(1.818) 5 ระดบั คะแนน
การสรา้ งคณุ ธรรม 10 การสรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมใน (1.818) ตามรายละเอยี ดในคู่มือฯ

จริยธรรมในองค์การ องค์การ (1.818) ระดบั 1 รอ้ ยละ 92
ระดบั 2 รอ้ ยละ 94
10.1 การตรวจสอบทางการเงิน ระดับ 3 รอ้ ยละ 96
ระดับ 4 ร้อยละ 98
และบญั ชขี องสานักงานเขต ระดบั 5 รอ้ ยละ 100
ระดบั 1 ไม่ได้ดาเนนิ การตรวจสอบ
พ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ระดับ 2 ตรวจสอบแล้วเสร็จตามประเด็น
ทก่ี าหนดแต่จดั ส่งแบบท่ี 1 และ 10 ทาง
10.2 โครงการพฒั นาระบบ ระบบ KRS ไม่ทันเวลาที่กาหนด
ระดบั 3 ตรวจสอบแลว้ เสร็จตามประเด็น
รายงานขอ้ มลู การเงนิ ดา้ น ท่ีกาหนดและครบจานวนหนว่ ยรบั ตรวจ
และลงนามรบั รอง โดยผตู้ รวจสอบภายใน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา สพท.
ระดับ 4 ตรวจสอบแลว้ เสร็จตามประเดน็
(ระบบบัญชกี ารศึกษาข้ัน ท่กี าหนดครบทกุ หน่วยรับตรวจมกี ารลง
นามรบั รองโดย ผตู้ รวจสอบภายใน สพท.
พนื้ ฐาน) และสรุปผลการตรวจสอบครบถ้วน จดั ส่ง
แบบที่ 1 และ 10 ทางระบบ KRS ตาม
10.3 ระดับความสาเร็จของการ กาหนด
ระดับ 5 ตรวจสอบตามประเดน็ ทก่ี าหนด
ตรวจสอบดา้ นการตรวจสอบ ครบทกุ หน่วยรับตรวจ มีการลงนาม
รับรองโดยผตู้ รวจสอบภายใน สพท.
การดาเนนิ งาน “โครงการ สรุปผลครบถว้ น แบบสรปุ ผลการ
ตรวจสอบมีขอ้ มูลสรุปผลภาพรวมในแต่
สนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั ละประเด็นครบถ้วน และจัดส่งในระบบ
KRS ตามกาหนด
การศึกษาต้งั แต่ระดบั อนบุ าล

จนจบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานของ

สถานศกึ ษา สังกดั สพฐ.”

23

องคป์ ระกอบ/ ท่ี ตัวช้ีวดั น้าหนัก เกณฑ์การให้คะแนน
ประเดน็ การประเมนิ (1.818)
ได้ระดบั คะแนนรายโรงเรียน ต้ังแต่
10.4 ระดับความสาเรจ็ การ (1.818) 3 ขน้ึ ไป
ระดบั 1 โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ รอ้ ยละ 60 ของ
ดาเนนิ งานโรงเรียนวิถพี ุทธ 9.090 เขตพื้นที่
100 ระดบั 2 โรงเรยี นวถิ พี ุทธ ร้อยละ 65 ของ
10.5 ระดบั ความสาเรจ็ ของการ เขตพื้นท่ี
จดั ทาบญั ชีตน้ ทนุ ต่อหน่วย ระดับ 3 โรงเรยี นวิถีพุทธ ร้อยละ 70 ของ
ผลผลิต เขตพนื้ ที่
ระดบั 4 โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ รอ้ ยละ 75 ของ
การเสรมิ สรา้ งขวัญ 11 ความคิดเหน็ ของ เขตพน้ื ที่
กาลังใจ/การดูแลเอา ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาที่มีต่อ ระดบั 5 โรงเรยี นวิถีพทุ ธ รอ้ ยละ 80 ของ
ใจใส่ผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชา ผบู้ ังคับบัญชา เขตพน้ื ท่ี
ระดับ 1 ไมส่ ่งข้อมูลรายงานค่าใช้จ่ายใน

ระบบ GFMIS และส่งขอ้ มูลไม่
ถกู ต้อง ครบถ้วน ตามแบบฟอร์ม
ระดับ 2 -
ระดบั 3 -
ระดบั 4 -
ระดบั 5 ส่งข้อมลู รายงานคา่ ใชจ้ า่ ยใน
ระบบ GFMIS และสง่ ข้อมลู
ถูกต้อง ครบถว้ น ตามแบบฟอรม์
ระดบั 1 ผูต้ อบแบบสอบถามตอบ
ไมค่ รบตามจานวน
ระดบั 2 -
ระดบั 3 -
ระดบั 4 -
ระดับ 5 ผ้ตู อบแบบสอบถามตอบครบ
ตามจานวน

24

 หลักเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1. ให้ทุกตัวช้ีวัดมีเกณฑ์การให้คะแนน 5 ระดับ (คะแนนเต็ม 5.00000) หากตัวชี้วัดใดมีตัวช้ีวัดย่อย
มากกว่า 1 ตัวช้ีวัด ให้พิจารณาจากค่าคะแนนเฉลี่ยของแต่ละตัวช้ีวัดย่อยคานวณร่วมกับน้าหนักตัวช้ีวัดย่อย เพื่อ
เป็นคะแนนของตวั ชีว้ ัดนน้ั

2. นาค่าคะแนนรวมของทุกตัวชีว้ ัด (คะแนนเตม็ 5.00000) เทยี บบญั ญตั ิไตรยางศ์เป็นค่าคะแนนร้อยละ
3. พจิ ารณาค่าคะแนนร้อยละ เทียบเกณฑ์การประเมินเป็น 4 ระดบั ดังน้ี

ระดับคุณภาพ มีคะแนนผลการดาเนินงาน
ระดับมาตรฐานขน้ั สูง อยูร่ ะหวา่ ง 90.00-100 คะแนน
ระดับมาตรฐานขน้ั ตน้
ระดับตอ้ งปรับปรุง มคี ะแนนผลการดาเนินงาน
อย่รู ะหวา่ ง 75.00-89.99 คะแนน

มคี ะแนนผลการดาเนินงาน
อยู่ระหว่าง 60.00-74.99 คะแนน

มีคะแนนผลการดาเนินงาน
ต่ากวา่ 60.00 คะแนน

4. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การประเมินฯ ให้ดาเนินการในรูปแบบคณะทางาน/
คณะกรรมการ และไดร้ บั ความเห็นชอบจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

รอบการรายงานผล

การรายงานผลตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ แบง่ เปน็ 2 ครั้ง ดงั นี้
รอบท่ี 1 ต้งั แตว่ ันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564
รอบท่ี 2 ตง้ั แตว่ ันท่ี 1 เมษายน 2564 ถึง วนั ท่ี 30 กันยายน 2564

 ปจั จัยแห่งความสาเร็จ
1. ความพร้อมขององค์การในการบริหารจัดการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาและสถานศึกษา ต้องจัดทา
แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี ท่มี กี รอบทิศทางการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายและกรอบแผนตามโครงการ รายละเอียด ด้านงบประมาณ และ
แนวทางการตดิ ตามประเมนิ ผลตามแผน นอกจากนี้ อาจต้องมีแผนเฉพาะกิจขององค์การ เช่น แผนพฒั นาวิชาการ
แผนพฒั นาคุณธรรมจริยธรรม แผนพฒั นาวชิ าชีพ แผนพัฒนาสุขอนามัย Active Learning STEM เปน็ ตน้

2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในองค์การ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาและสถานศึกษา ต้องนาแนวทางการบริหาร
การเปล่ียนแปลง (Change Management) แผนจัดการความรู้ (KM Active Plan) มาใช้ในการพัฒนาองค์การ
รวมถึงการบรหิ ารจดั การแบบมสี ่วนร่วมจากทุกภาคสว่ น และใช้ระบบดจิ ิทัลมาใช้ในการปฏบิ ัติงาน

25

3. การเสริมสร้างวัฒนธรรม ค่านิยมในการทางานท่ีเน้นผลผลิตผลลัพธ์เพื่อประชาชน บุคลากรใน
องค์การทุกระดบั ทกุ คนได้รับการเสริมสร้างใหม้ ีวฒั นธรรมและคา่ นยิ มในการปฏิบัตริ าชการ โดยมุ่งสร้างประโยชน์
ให้ประชาชนและประเทศชาติ มีทัศนคติและอุดมการณ์เพื่อส่วนรวม มีความซ่ือสัตย์ สุจริต มีจรรยาบรรณใน
วิชาชีพ มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม มีจิตบริการ เป็นที่เช่ือถือศรัทธาของประชาชน เป็นมิตรกับประชาชน พร้อมให้
ความช่วยเหลือ ยุติธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและม่ันคงในอารมณ์ มีความรับผิดชอบเป็นท่ีพ่ึงของประชาชน ทาหน้าที่
ด้วยความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นที่จะอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ยืนหยัดในคุณธรรม เกียรติภูมิ
มีศักดิ์ศรี กล้าหาญ ทนทานต่ออุปสรรค ยึดถือประโยชน์ของชาติและประชาชน มีความทันสมัย ทันโลก
ทันสถานการณ์ ใฝ่ความรู้ รู้จักมองการณ์ไกลและมีวิสัยทัศน์ มีวัฒนธรรมที่มุ่งความเป็นเลิศของงาน รู้จักเรียนรู้
ร่วมกัน ยอมรับข้อผดิ พลาดและปรับปรุงให้มคี ุณภาพอยู่เสมอ

4. การเสริมสร้างขีดสมรรถนะองค์การ (Capacity Building) ส่วนราชการทุกระดับได้พัฒนาให้มี
ความสามารถในการดาเนินการเชิงยุทธศาสตร์ ทั้งการเพ่ิมสมรรถนะด้านสารสนเทศ (IT) หรือการเพ่ิมสมรรถนะ
บุคลากรตามหลักการวเิ คราะห์ Gap Analysis

5. การสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติราชการและการประเมินผลส่วนราชการทุกระดับต้องเสริมสร้าง
ให้บุคลากรมีความเข้าใจในการดาเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการประจาปี
อยา่ งถูกตอ้ ง สามารถประเมนิ ผลและรายงานผลตามระบบ/วธิ กี ารท่ีกาหนดได้อยา่ งครบถ้วนตรงประเดน็

การดาเนนิ งานระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

1. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้กาหนดให้เร่ืองการประเมินผลตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ เป็นวาระร่วมกันของทุกหน่วยงานโดยให้มีผู้อานวยการสานัก/
หน่วยงานเทียบเท่า และเจ้าหน้าที่ในสานักดูแลรับผิดชอบที่ชัดเจน เพ่ือให้มีการดาเนินการเป็นไปอย่างทั่วถึง
โดยหลักการมสี ว่ นรว่ ม และมกี ารบูรณาการการดาเนินงาน

2. แต่งตั้งรองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่รับผิดชอบด้านนโยบายและแผน
เป็นหัวหน้าผู้บริหารการเปลี่ยนแปลง (Chief Change Officer : CCO) เป็นผู้รับผิดชอบหลักและแต่งต้ัง
คณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อใหร้ บั ผดิ ชอบประเดน็ การประเมินแต่ละประเด็นใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย

3. แต่งต้ังคณะทางาน ซ่ึงประกอบด้วย ผู้แทนจากสานัก/หน่วยงานเทียบเท่า สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาจดั ทารายละเอียดตัวชีว้ ัด (KPI Template) เพ่ือ
ใช้ในการสอ่ื สารใหส้ ามารถเข้าใจไดต้ รงกันทุกระดับ และนาส่กู ารปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4. ประชุมช้ีแจงการดาเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการให้ผู้แทนจาก
สานัก/หน่วยงานเทียบเท่า /สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดาเนินการได้ถูกต้อง ตรงประเด็นการวัดและประเมินผล ผ่านระบบการส่ือสาร
ทางไกล Video Conference

5. บูรณาการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการกับ แผนปฏิบัติ
ราชการประจาปี เพ่ือให้มีเอกภาพนาสู่การปฏิบัติในทุกระดับของส่วนราชการ และหน่วยงานในสังกัด และจัดทา
แผนงานโครงการ/กิจกรรมสนบั สนุนตัวชวี้ ัด

26

6. พัฒนาระบบควบคุม กากับติดตาม และรายงานผลการดาเนินงานหลากหลายช่องทาง เช่น
การรายงานเอกสาร การรายงานผา่ นระบบสารสนเทศ ระบบอ่นื ๆ เชน่ Data Management Center ระบบ KRS
และ AMSS กาหนดผู้กากับดูแลตัวช้ีวัด ผู้จัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด และผู้รายงานตัวชี้วัดผ่านระบบติดตามประเมินผล
การดาเนินงานฯ พร้อมทัง้ พฒั นาชอ่ งทางการสอ่ื สารใหส้ ะดวก รวดเร็ว ทันสถานการณ์

7. จัดทาปฏิทินการดาเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ แสดงความ
ชดั เจนเกยี่ วกบั การกาหนดการดาเนินงานในแต่ละกจิ กรรม ในระดับสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา และสถานศึกษา เพ่ือใช้กากับ
ตดิ ตามใหผ้ เู้ กยี่ วข้องดาเนนิ การตามปฏทิ ิน

8. ประสานและส่งเสริมการพัฒนาระบบการให้ผลตอบแทนและการเสริมแรงจูงใจ ประกอบด้วย
การกาหนดมาตรการให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาและสถานศึกษา นาตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบตั ิราชการไปเชื่อมโยงกบั วิธีการประเมินผลการปฏิบัตงิ านเพื่อเลื่อนเงินเดือน การกาหนดเกณฑ์การจัดสรรเงิน
รางวัลให้เหมาะสมและส่งผลให้ฝ่ายบริหารทุกระดับสามารถ นาผลการดาเนินงานตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการไปเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและพัฒนาองค์การให้บรรลุ
วิสัยทัศน์องค์การ ตามเจตนารมณ์ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546

ระดับสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา
1. สร้างความรู้ความเข้าใจ การดาเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

ให้บุคลากรในหน่วยงานและสถานศึกษาตระหนักในภารกิจท่ีจะต้องดาเนินการให้ประสบความสาเร็จ รวมทั้ง
ประชาสมั พันธใ์ ห้ผทู้ ีม่ ีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) รับทราบเพอ่ื ใหก้ ารสนับสนนุ ให้ความร่วมมอื
เพอ่ื การระดมทรพั ยากร

2. กาหนดให้มีผู้กากับดูแลตัวช้ีวัดและผู้เก็บข้อมูลในแต่ละตัวชี้วัด และจัดทาแผนงาน โครงการ/
กิจกรรมสนับสนุนตัวชีว้ ดั

3. มอบหมายให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา รองผู้อานวยการสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา รับผิดชอบงานการปฏิบัติราชการตามตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติราชการ และมอบหมายให้มีเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพรอง ในการประสาน กากับ ติดตามประเมินและ
รายงานผลการดาเนินงานตวั ชี้วดั

4. เร่งรัดดาเนินการตามตัวช้ีวัดเพื่อให้สามารถปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานให้บรรลุผลสาเร็จตาม
เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

5. จัดทาแบบวัดความพึงพอใจในกระบวนงานบริการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เพอ่ื นาข้อมลู มาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขคณุ ภาพการใหบ้ ริการ

6. จัดทาและดาเนินการลดรอบระยะเวลาลดข้ันตอนการดาเนินงาน กากับติดตามให้เจ้าหน้าที่
ดาเนนิ การตามกรอบระยะเวลาของขั้นตอนการดาเนนิ งานอย่างมีประสิทธภิ าพ

27

7. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของหน่วยงาน/สถานศึกษา ประกอบด้วยผู้แทนจากภายในและ
ผู้แทนจากภายนอกองค์กร เพ่ือรับรองการประเมินตนเอง และวิเคราะห์นาผลการประเมินไปปรับปรุงและ
พัฒนาการปฏิบัติงาน

8. กาหนดให้มีการตรวจเย่ียมติดตามผลการดาเนินงาน (Site Visit) เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคและ
นามากาหนดแนวทางแกไ้ ข

9. รายงานผลการประเมินตนเองในรอบการรายงานผลตามปฏทิ นิ การรายงานผา่ นระบบ KRS ทีก่ าหนด
10.จัดสรรสิ่งจูงใจให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยการใช้ผลการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ เพอื่ ให้เปน็ เคร่อื งมอื ในการพฒั นาคุณภาพการปฏิบัตริ าชการ

ระดับสถานศึกษา
1. สร้างความรู้ความเข้าใจกับบุคลากรในสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานซ่ึงอาจ

รวมถึงชุมชนดว้ ย
2. กาหนดให้มีผู้กากับดูแลตัวช้ีวัดและผู้จัดเก็บข้อมูลในแต่ละตัวชี้วัด พร้อมจัดทาแผนงานโครงการ/

กจิ กรรมสนบั สนนุ ตัวช้วี ัด
3. มอบหมายให้มีผู้ประสานงานหลัก หรือเจ้าภาพในการกากับ ติดตามและจัดทารายงานผลการ

ดาเนินการรายงานต่อสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาและ
สาธารณชน

4. จัดเตรียมเอกสารร่องรอยการดาเนินการ รองรับการติดตามจาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน หรอื ผแู้ ทน
จากสานกั งาน ก.พ.ร. ที่มาติดตามประเมินผล

5. จัดทาแบบวัดความพึงพอใจในการให้บริการของสถานศึกษาและนาข้อมูลมาปรับปรุงคุณภาพการ
ใหบ้ ริการ

6. จัดให้มีการประเมินตนเองตามตัวช้ีวัดท่ีต้องปฏิบัติ โดยอาจเชิญกรรมการสถานศึกษามาร่วมเป็น
คณะกรรมการประเมิน และรายงานผลตามที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศกึ ษากาหนด

7. สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับผลตอบแทนการปฏิบัติราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ ทั้งท่ีเป็นผลตอบแทนอื่นที่ทางราชการจัดให้ใช้เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏบิ ตั งิ าน

28

29

9

 ปฏิทินการดาเนินงานการประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เพ่ือให้การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย และสามารถบรรลเุ ป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
จงึ ไดก้ าหนดปฏทิ นิ ขนั้ ตอนการดาเนินงานไว้ ขั้นตอน 4 ประกอบด้วย

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมการและการจัดทาตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงฯ
ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินการปฏิบัติตามตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงฯ
ขนั้ ตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล
ขั้นตอนท่ี 4 การรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั ิ
ราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงมรี ายละเอียดดังน้ี

ท่ี ขนั้ ตอน/กจิ กรรม ระยะเวลา เปา้ หมาย
ดาเนินการ

ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการและการจัดทาตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรุงฯ

1 รับฟังการชีแ้ จงกรอบการประเมนิ ผลฯ ปี 2564 9 กันยายน 2563 ได้รับทราบกรอบการประเมนิ ผลฯ

จากสานักงาน ก.พ.ร.

2 คณะกรรมการของสานกั งาน ก.พ.ร. พิจารณา พฤศจิกายน 2563– กาหนดตวั ชี้วัดตามมาตรการ

กาหนดตัวชีว้ ัด/เปา้ หมาย และรายละเอียด กุมภาพนั ธ์ 2564 ปรบั ปรงุ ฯ ของกระทรวง และของ

ตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงฯ สพฐ.

3 สานกั งาน ก.พ.ร. แจง้ รายละเอยี ดตัวชวี้ ัด กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ไดต้ ัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ฯ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ
ตามมาตรการปรับปรุงฯ ที่ สพฐ. ต้องดาเนินการ สพฐ.

ขน้ั ตอนท่ี 2 การดาเนินการปฏิบตั ติ ามตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรุงฯ ผู้บรหิ าร สพฐ.ได้รับทราบตวั ชวี้ ัด
4 แจง้ ที่ประชุมผู้บรหิ าร สพฐ.ทราบแนวทางการ กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ตามมาตรการปรบั ปรงุ ฯ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
ดาเนนิ การตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรุงฯ สานัก/กลุ่ม/ศูนย์ มีความเขา้ ใจในการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดาเนินงานตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงฯ
ได้คูม่ ือการประเมินตัวชี้วดั ฯ
5 ประชุมสร้างความเข้าใจให้สานัก/กลมุ่ /ศนู ย์ กุมภาพันธ์ 2564 ได้ระบบรายงานผล
ใน สพฐ.

6 จดั ทาแนวทางการประเมนิ ตัวชว้ี ดั ตามมาตรการ กมุ ภาพนั ธ์ 2564
ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ
ของสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 และพัฒนาระบบ
รายงานผล

30

ท่ี ข้นั ตอน/กจิ กรรม ระยะเวลา เปา้ หมาย
ดาเนนิ การ
7 ประชุมช้ีแจงแก่สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา สพท. มีความเข้าใจในแนวทาง
ประถมศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา 11 มีนาคม 2564 การดาเนินงานตามตัวชว้ี ัดตาม
มธั ยมศึกษาทราบแนวทางการดาเนนิ การ มาตรการปรบั ปรุงฯ เพื่อนาสู่การ
ตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรุงฯ ประจาปี ปฏบิ ตั ิ
งบประมาณ พ.ศ. 2564
มนี าคม – กันยายน ทุกหนว่ ยงานดาเนนิ งานตามบทบาท
8 สานกั /กลมุ่ /ศูนย์ สานักงานเขตพ้นื การศึกษา 2564 ภารกจิ ทีร่ บั ผดิ ชอบ
และสถานศึกษาดาเนินการตามตัวช้ีวัด
ตามมาตรการปรับปรุงฯ

ข้ันตอนที่ 3 การตดิ ตามและประเมนิ ผล

9 สานกั /กลุ่ม/ศูนย์ สานักงานเขตพื้นการศึกษา มีนาคม – กนั ยายน หนว่ ยงานทุกระดับมรี ะบบการกากับ

และสถานศึกษา มีระบบการกากบั ติดตาม 2564 ตดิ ตามการปฏบิ ตั ิราชการ

เพื่อส่งเสรมิ ชว่ ยเหลือและสนับสนุนการปฏิบัติงาน เพือ่ ให้บรรลุเปา้ หมาย

10 สานกั /กลุม่ /ศูนย์ สานักงานเขตพนื้ ที่ มีนาคม – กนั ยายน หนว่ ยงานทุกระดับมีระบบการประเมนิ

การศกึ ษาและสถานศึกษา มรี ะบบการประเมิน 2564 และรายงานผลการประเมินตนเอง

ตนเองเพือ่ ปรับปรุงพัฒนา ไดต้ ามกาหนด

11 คณะทางานสุ่มติดตาม/ประเมนิ ในระดับ พฤษภาคม – ไดข้ ้อมูลเชงิ ประจักษเ์ พ่อื ใช้ผลกั ดัน

สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา กนั ยายน 2564 ในระดบั นโยบาย

(กจิ กรรม

เปล่ียนแปลงวิธีการ

และช่วงเวลาตาม

สถานการณ์)

ขั้นตอนที่ 4 การรายงานผลการปฏบิ ัติราชการตามมาตรการปรับปรงุ ฯ

12 สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษารายงานผล 1 – 15 เม.ย. 2564 สพป. สพม.รายงานตาม
ดาเนนิ การตวั ชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ฯ (เปลี่ยนแปลงช่วงเวลา แบบประเมนิ ตัวช้ีวัด โดย ผอ.สพป.
(ผา่ นระบบ KRS) ตามสถานการณ์) สพม.รับรอง
รอบที่ 1 (1 ต.ค. 2563 – 31 มี.ค. 2564) 1 – 15 ตุลาคม 2564
รอบท่ี 2 (1 เม.ย. – 30 ก.ย. 2564) (เปล่ยี นแปลงช่วงเวลา
*การเปิดระบบการรายงานแตล่ ะรอบจะมี ตามสถานการณ์)
หนงั สอื ราชการแจ้งใหท้ ราบทุกคร้ัง

31

ท่ี ข้ันตอน/กิจกรรม ระยะเวลา เปา้ หมาย
ดาเนนิ การ สพฐ. รายงาน สานักงาน ก.พ.ร.
13 สพฐ. รายงานผลการประเมินตวั ชว้ี ดั เมษายน 2564
(ผา่ นระบบ e-SAR Card) เขา้ ระบบในเว็บไซต์ ตลุ าคม 2564 รายงานผลการประเมินฯ เบอ้ื งตน้
ของสานักงาน ก.พ.ร.
รอบท่ี 1 (1 ต.ค. 2563– 31 มี.ค. 2564) ภายในเดอื น ได้ผลการปฏิบตั ิงานตวั ชี้วัด
รอบท่ี 2 ( 1 เม.ย. – 30 ก.ย. 2564) ตลุ าคม 2564 ตามมาตรการปรบั ปรุงฯ

14 เลขาธกิ าร ก.พ.ร. รายงานผลการประเมินฯ ภายในเดอื น
เบอ้ื งตน้ ต่อนายกรัฐมนตรี หรือรฐั มนตรี ตลุ าคม 2564
ประจาสานกั นายกรัฐมนตรี และ
รฐั มนตรวี ่าการฯ หรอื รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการฯ

15 สานกั งาน ก.พ.ร. รวบรวมผลการประเมนิ
สว่ นราชการ เสนอนายกรฐั มนตรี

 การรายงานผลตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ระดับ สพฐ. ระดบั สพท.

ตวั ช้ีวัด รอบที่ รอบที่ รอบที่ 1 รอบที่ 2
12

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ

ตวั ชีว้ ดั ที่ 1 ระดับความสาเร็จของการ -√ - เปิดระบบ
ดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ ผู้เรียนให้มี 1 – 30 ก.ย. 64
คุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรใู้ น หรอื ตามท่สี านักงาน
ศตวรรษท่ี 21 ก.พ.ร. กาหนด

ตัวชว้ี ดั ท่ี 2 ระดับคะแนนเฉล่ียผลการ -√ ใช้ข้อมลู NT และ O-NET
ทดสอบทางการศกึ ษา
จาก สทศ. (สว่ นกลาง)

สพท. ไมต่ ้องรายงานในระบบ KRS

ตวั ชว้ี ัดที่ 3 การพัฒนาองคก์ ารสดู่ จิ ิทลั Data
Catalogue

ตัวชีว้ ดั ที่ 3.1 รอ้ ยละความสาเร็จของการ - √ - โรงเรยี นกรอก
ข้อมลู ในโปรแกรม
ดาเนินการจัดเก็บข้อมลู นกั เรียนทีม่ ีอยจู่ ริงใน

32

ระดบั สพฐ. ระดบั สพท.
รอบที่ รอบที่
ตัวช้ีวัด รอบท่ี 1 รอบที่ 2
12
โรงเรียนด้วยระบบ DMC (Data DMC ภายในวนั ท่ี
Management Center) -√ 10 มิถนุ ายน 2564

ตวั ชวี้ ัดที่ 3.2 ร้อยละความสาเร็จของการ -√ - สพท./โรงเรยี น
ดาเนนิ การจัดเก็บข้อมูลครูและบุคลากร กรอกขอ้ มูลใน
ทางการศกึ ษารายคนดว้ ยระบบ HRMS โปรแกรม HRMS
(Human Resource Management
System) ภายใน 30 กันยายน
2564
ตัวชว้ี ัดที่ 4 การประเมินสถานะของ
หนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 - สพท. รายงาน
(PMQA 4.0) ในระบบ KRS
รอบ 12 เดือน
การประเมนิ ผูบ้ รหิ ารองค์การ
ผา่ นระบบ e- ผา่ นระบบ e-
ตวั ชว้ี ัดที่ 5 การลดพลังงาน report.energy.go.th report.energy.go.th

ตัวชว้ี ัดที่ 5.1 พลงั งานด้านไฟฟ้า กันยายน 63 – มีนาคม 64 –
กุมภาพนั ธ์ 64 สิงหาคม 64
ตัวชี้วดั ที่ 5.2 พลงั งานด้านนา้ มันเช้อื เพลิง
-√
ตวั ชี้วัดที่ 6 มาตรการลดและคดั แยกขยะมลู
ฝอยในหนว่ ยงานภาครฐั ใช้ขอ้ มูล ITA จาก สนก. (สว่ นกลาง)
สพท. ไมต่ ้องรายงานในระบบ KRS
ตัวชว้ี ดั ที่ 7 การกากับดแู ลการทุจริต
-√
ตัวชีว้ ัดท่ี 8 ระบบตดิ ตามการปฏิบตั ิงาน
เพือ่ การบริหารขององคก์ าร ใช้ขอ้ มลู จาก สทร.
ตัวชว้ี ดั ท่ี 9 การส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยี สพท. ไมต่ ้องรายงานในระบบ KRS
ดิจิทลั ในองคก์ าร
ตัวชว้ี ดั ที่ 9.1 ความมน่ั คงปลอดภัยในไซเบอร์ -√
(Cyber)
ตวั ชี้วัดที่ 9.2 การขับเคล่ือนระบบคลังสื่อการ
เรยี นร้เู ทคโนโลยีดิจิทัล ระดบั การศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน

33

ระดับ สพฐ. ระดบั สพท.

ตวั ชีว้ ัด รอบที่ รอบที่ รอบที่ 1 รอบท่ี 2
12
ตวั ช้วี ดั ท่ี 10 การสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ในองคก์ าร เปดิ ระบบ เปดิ ระบบ
ตัวชีว้ ดั ท่ี 10.1 การตรวจสอบทางการเงนิ และ
บญั ชขี องสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 1 – 20 เม.ย. 64 1 – 30 ต.ค. 64
ตัวชี้วัดที่ 10.2 โครงการพฒั นาระบบการ
รายงานข้อมลู การเงนิ ด้านการศึกษาของ รายงานผ่านเวบ็ ไซต์
สถานศึกษา (ระบบบัญชีการศึกษาขนั้
พ้ืนฐาน) https://e-budget.jobobec.in.th

ตัวชวี้ ดั ที่ 10.3 ระดบั ความสาเรจ็ ของการ คร้งั ท่ี 1 คร้งั ที่ 2
ตรวจสอบด้านการตรวจสอบการดาเนินงาน
“โครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัด 17 พ.ค. – 30 ม.ิ ย. 64 1 – 22 ต.ค. 64
การศกึ ษาตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา สังกัด สพฐ.” เปดิ ระบบรายงานระหว่างวันที่
1 - 30 มถิ ุนายน 2564
ตวั ชี้วัดท่ี 10.4 ร้อยละของโรงเรียนวธิ พี ทุ ธที่
ผา่ นการประเมินผลการดาเนินการ 29 รายงานผ่านเว็บไซต์วิถีพุทธ
ประการสโู่ รงเรียนวิถพี ุทธ www.vitheebuddha.com

ตัวชีว้ ดั ท่ี 10.5 ระดับความสาเรจ็ ของการ 1 พ.ค. 2564 – 1 ส.ค. 2564 –
จัดทาบัญชตี น้ ทุนต่อหนว่ ยผลผลติ 30 มิ.ย. 2564 30 ก.ย. 2564
ตวั ชีว้ ัดท่ี 11 การเสรมิ สร้างขวัญกาลังใจ/
การดูแลเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชา เปิดระบบ เปิดระบบ

1 – 20 เม.ย. 64 1 – 30 ต.ค. 64

Survey Online

ระหว่างเดือน ส.ค. – ก.ย. 2564

34

คู่มอื การประเมินตวั ชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวดั ท่ี 1 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนนิ โครงการสง่ เสรมิ ผูเ้ รียนให้มีคณุ ลักษณะ
และทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

หนว่ ยวดั : ระดบั
คาอธิบาย : ความสาเร็จของการดาเนินโครงการส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 หมายถึง การดาเนินกิจกรรม/โครงการ เพอื่ สง่ เสริม สนบั สนนุ และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ท้ังระบบสูก่ ารยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนและการเตรียมผู้เรียนให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สพฐ. ในเรอื่ งทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skill) คอื การเรยี นรู้ 3Rs8Cs

3Rs คือ Reading (อา่ นออก) , (W) Riting (เขียนได)้ และ (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )
8Cs ได้แก่
- Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ญั หา)
- Creativity and Innovation (ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม)
- Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์)
- Collaboration , Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผูน้ า)
- Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะดา้ นการส่อื สารสารสนเทศ และรูเ้ ท่าทันสือ่ )
- Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร)
- Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู)้
- Compassion (ความมีเมตตากรณุ า มีวนิ ยั คุณธรรม และจริยธรรม)

ใหส้ านักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษารว่ มกบั สถานศึกษาดาเนินงาน โดยดาเนินงานใน 3 กจิ กรรม ดงั น้ี

กิจกรรมท่ี 1 มีการดาเนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม
เพ่อื พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ีและผู้เรยี น

กิจกรรมที่ 2 จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสมกับบริบทของพื้นท่ีและผู้เรียน เช่น
การนาเสนอผลงานนักเรยี น ประกวด แข่งขัน จัดค่าย ฯลฯ เพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

กิจกรรมที่ 3 นิเทศ กากับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และ
สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

เกณฑก์ ารให้คะแนน : การประเมนิ (12 เดอื น)

ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ประเมินผ่านระบบ KRS เม่อื ส้นิ สดุ โครงการ
(ก.ย. 2564)
รายงานความกา้ วหนา้ (6 เดือน)
-

35

ค่มู อื การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑ์การใหค้ ะแนน (ต่อ) :

ระดบั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการดาเนินกิจกรรมครบตามท่ีกาหนดทุกกิจกรรม ร้อยละ 100
1 คะแนน และผเู้ รียนได้รับการพัฒนาให้มคี ณุ ลกั ษณะและทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ระหวา่ ง
รอ้ ยละ 80 – 84.99
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการดาเนินกิจกรรมครบตามที่กาหนดทุกกิจกรรม ร้อยละ 100
2 คะแนน และผเู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาให้มีคณุ ลกั ษณะและทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ระหว่าง
รอ้ ยละ 85 - 89.99
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการดาเนินกิจกรรมครบตามที่กาหนดทุกกิจกรรม ร้อยละ 100
3 คะแนน และผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาใหม้ คี ณุ ลักษณะและทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ระหว่าง
ร้อยละ 90 – 94.99
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการดาเนินกิจกรรมครบตามท่ีกาหนดทุกกิจกรรม ร้อยละ 100 และ
4 คะแนน ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระหว่าง
ร้อยละ 95.00 – 99.99
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายมีการดาเนินกิจกรรมครบตามท่ีกาหนดทุกกิจกรรม ร้อยละ 100
5 คะแนน และผเู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รอ้ ยละ 100

รายละเอยี ดข้อมลู พ้ืนฐาน : หน่วยวดั ผลการดาเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
ระดับ 2561 2562 2563
ขอ้ มูลพนื้ ฐานประกอบตัวช้ีวัด - - 100

ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนินโครงการ
สง่ เสรมิ ผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลักษณะและทกั ษะ
การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21

กลุ่มงานในสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาท่รี ับผิดชอบ : กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

วธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมลู
1. สพป./สพม. ติดตามการดาเนินงานของโรงเรียนตามกิจกรรมท่ีกาหนด และรายงานผล

การดาเนินงานตามโครงการ โดยส่งผ่านระบบรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. สพป./สพม. แนบไฟล์ข้อมูล(.docx พร้อม.pdf/.xls/ ฯลฯ) และไฟล์ภาพถ่าย หรอื วดี ทิ ัศน์ (ถ้ามี)
ส่งผา่ นระบบรายงานผลการประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ
สว่ นราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

3. สพฐ. ดาเนินการรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ สรปุ และรายงานผล

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดับสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
1. จัดทาแบบสารวจข้อมลู การเขา้ รว่ มโครงการของโรงเรียน

36

คมู่ อื การประเมนิ ตวั ชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2. จัดทาปฏิทินการปฏบิ ตั ิงาน
3. ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ แนวทางการดาเนินกิจกรรมตามโครงการของโรงเรียนและสานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ กากับติดตาม ดูแลและใหค้ าแนะนาแกโ่ รงเรียนและสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
5. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลจากผลการดาเนินงานตามโครงการของโรงเรียนและสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา
6. จดั ทาบทวเิ คราะห์และสรุปบทเรยี นจากการดาเนนิ การ (Lesson learned) สง่ สานกั งาน ก.พ.ร.

ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
1. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขต แต่งต้ังศึกษานิเทศก์หลักผู้รับผิดชอบโครงการ และ
คณะทางาน เพือ่ ประสานงานกับ สพฐ. และโรงเรียน
2. ศกึ ษานิเทศกด์ าเนินงานจดั ทาปฏิทินการปฏบิ ตั งิ าน
3. ศึกษานิเทศก์ประสานงานกับโรงเรียนในการรับสมัครโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ และแจ้งรายช่ือ
โรงเรียนส่ง สพฐ. ผา่ น google form โดยแต่ละเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาต้องมีโรงเรยี นเข้าร่วมโครงการ จานวน 10 โรง
4. คณะศึกษานเิ ทศก์ส่งเสริม สนบั สนนุ กากับติดตาม ดแู ล และให้คาปรึกษาแก่โรงเรยี นให้สามารถ
ดาเนนิ งานตามกจิ กรรมให้บรรลุเปา้ หมายโครงการ
5. คณะศึกษานเิ ทศก์ดูแลใหโ้ รงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย* จัดทารายงาน (แบบฟอร์ม รร.1- 2)
6. ศึกษานิเทศก์สังเคราะห์รายงานการดาเนินงานตามกิจกรรม ฯ ของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย และ
จัดทารายงานในภาพรวมของเขตพื้นที่การศึกษา (แบบฟอร์ม สพท.1-3)
7. ศึกษานเิ ทศก์สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ (แบบฟอร์ม สพท.1-3) โดยสง่ ผ่าน
ระบบรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของส่วน
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ระดบั สถานศึกษา
1. พิจารณาคัดเลือกเทคนิค/วิธีจัดการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และเป็นกิจกรรมปกติในการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนท่ีโรงเรียน
ดาเนินการอยู่
2. กาหนดนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย** และออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยต้องดาเนินการครบทุกกิจกรรมตามท่ีโครงการกาหนด โดยมี
ศกึ ษานิเทศก์ผู้รับผดิ ชอบโครงการเป็นที่ปรกึ ษา
3. ออกแบบเคร่ืองมือประเมินผลท่ีเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น แบบสังเกต
พฤติกรรม แบบสัมภาษณ์ แบบตรวจสอบรายการ (checklist) แบบทดสอบ แบบประเมิน ชิ้นงาน ภาระงาน ฯลฯ
เพื่อใช้ประเมินว่าผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมายของการจัด
การเรียนรู้
4. รายงานผลการดาเนินงานรายกิจกรรมต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ภายในระยะเวลา
ท่ีกาหนด (แบบฟอรม์ รร.1- 2)

37

คู่มือการประเมนิ ตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

* โรงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย – โรงเรยี นท่ีเขา้ รว่ มโครงการ เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาละ 10 โรง
** นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย – กลุ่มนักเรียนท่ีได้รับ treatment ตามกิจกรรมในโครงการ โดยนักเรียนกลุ่มเป้าหมายอาจเป็น
นักเรียนเพยี งจานวนหนึ่ง/บางหอ้ งเรียน ไมใ่ ชน่ กั เรียนทกุ คนในโรงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย

ผู้กากับดแู ลตัวชี้วัด : ผู้อานวยการสานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา เบอรต์ ิดตอ่ : 02-288-5739

นางผาณติ ทวีศักด์ิ เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5765

ผจู้ ัดเก็บข้อมลู : นางสาวภัทรา ดา่ นวิวัฒน์ เบอรต์ ิดตอ่ : 02-288-5766

นางสาวอธิฐาน คงช่วยสถติ ย์ เบอรต์ ดิ ตอ่ : 02-288-5766

นายอภิศกั ดิ์ สทิ ธิเวช เบอรต์ ิดตอ่ : 02-288-5765

นางสาวอัจฉราพร เทยี งภักดิ์ เบอร์ติดต่อ : 02-288-5766

นางสาวปรมาพร เรอื งเจริญ เบอรต์ ิดตอ่ : 02-288-5765

นางสาววศินี เขยี วเขิน เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5766

38

คมู่ ือการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ ผเู้ รยี น
ให้มีคณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21

สว่ นท่ี 1
แบบรายงานสาหรับโรงเรียน

1) คาชีแ้ จงการกรอกแบบฟอรม์ รร.1-2

1. แบบฟอร์มท่ี รร.1 สรุปข้อมูลการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามทักษะ
การเรียนรู้ 3Rs8Cs

- ข้อมูลจานวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายท้ังหมดที่ได้รับการพัฒนาให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ในภาพของโรงเรยี น
2. แบบฟอร์มที่ รร.2 การถอดบทเรยี น (Lesson learned)

- สังเคราะห์ข้อมูลการดาเนินงานตามโครงการ ฯ ของโรงเรียน และสรุปรายงานตามหัวข้อ
เปน็ รายกิจกรรม
3. เอกสารประกอบอื่น ๆ /หลักฐาน/ร่องรอย (แนบตามความจาเป็น) เช่น ตัวอย่างส่ือ/นวัตกรรม
แบบทดสอบ แบบประเมนิ ชิน้ งาน รายงานวจิ ยั ภาพถ่าย วีดทิ ศั น์ (ถ้ามี) ฯลฯ

39

คู่มอื การประเมนิ ตัวชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสรมิ ผ้เู รยี นให้มีคุณลกั ษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
(สาหรบั โรงเรียน)

แบบฟอร์มท่ี รร.1 สรุปข้อมูลการพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ตามทักษะการเรยี นรู้ 3Rs8Cs

โรงเรยี น.....................................A.........................................สพป./สพม. ................................. เขต ............
จานวนนักเรยี นกลุม่ เปา้ หมายท้งั หมด 200 คน (*นักเรียนกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ นักเรยี นกลุม่ เดยี วกันในทุก
กิจกรรม)

กจิ กรรมที่ดาเนินการส่งผลให้ จานวนนกั เรียนท่ีไดร้ ับการพฒั นา สรปุ นักเรียน เอกสาร/
นกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย (คน) ท่ไี ดร้ บั การ หลักฐาน/
รอ่ งรอย
เกดิ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ท้งั หมด ได้รับ ไม่ไดร้ ับ พฒั นา
ดังนี้ การพฒั นา การพัฒนา (รอ้ ยละ)

3Rs 200 200 0 100
1. Reading (อ่านออก) 200 200 0 100
2. (W) Riting (เขียนได)้ 200 200 0 100
3. (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
8Cs 200 200 0 100
1. Critical Thinking and Problem
Solving (ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมี 200 200 0 100
วิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)
2. Creativity and Innovation (ทกั ษะ 200 200 0 100
ดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม) 200 200 0 100
3. Cross-cultural Understanding
(ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม 200 200 0 100
ต่างกระบวนทศั น)์
4. Collaboration, Teamwork and
Leadership (ทักษะดา้ นความร่วมมือ
การทางานเปน็ ทมี และภาวะผ้นู า)
5. Communications, Information,
and Media Literacy (ทักษะดา้ น
การสอื่ สารสารสนเทศ และรู้เท่าทนั ส่อื )
6. Computing and ICT Literacy
(ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร)
7. Career and Learning Skills
(ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู)้
8. Compassion (ความมเี มตตากรุณา
มีวนิ ัย คุณธรรม และจรยิ ธรรม)

หมายเหตุ การเกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ข้ึนอยู่กับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ว่า กิจกรรมการเรียนรู้นั้น
ส่งผลให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในเร่ืองใดบ้าง ดังนั้น นักเรียนกลุ่มเป้าหมายอาจมีทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ไมค่ รบทง้ั หมดภายในระยะเวลาการจัดกจิ กรรมของโครงการ (โครงการสน้ิ สุด 30 ก.ย. 2564)

40

คู่มือการประเมนิ ตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมผเู้ รียนให้มคี ณุ ลักษณะและทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
(สาหรับโรงเรียน)

แบบฟอร์มท่ี รร.2 การถอดบทเรียน (Lesson learned)

โรงเรยี น.....................................................................................................................................................
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ........................................................................ เขต ....................................
ชอื่ ผรู้ ายงาน ................................................................ ตาแหนง่ .............................................................
หมายเลขโทรศพั ทท์ ีต่ ดิ ตอ่ ได้............................................. E-mail……………………………………………………….

1. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เปา้ หมายในการดาเนินงานโครงการ
2.1 เชงิ ปรมิ าณ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.2 เชงิ คุณภาพ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมท่ี 1 มีการดาเนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม เพื่อพัฒนา
ผู้เรยี นให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามบริบทของพ้ืนท่แี ละผู้เรียน
โครงการ/กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ทีด่ าเนนิ งาน
1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.1 ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ทน่ี ักเรียนได้รับการพฒั นา
1) ..................................2) ..................................ฯลฯ

1.2 แนวทางการดาเนินงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

41

คูม่ ือการประเมินตวั ช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1.3 ผลการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.1 ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ทีน่ ักเรยี นได้รับการพฒั นา
1) ..................................2) ..................................ฯลฯ
2.2 แนวทางการดาเนินงาน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3 ผลการดาเนินงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ..............................................................................................................................................................
ฯลฯ

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 2 จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และผู้เรียน เช่น การนาเสนอ
ผลงานนักเรยี น ประกวด แขง่ ขัน จัดค่าย ฯลฯ เพ่อื พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

แนวทางการจดั กจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

42

คมู่ อื การประเมินตัวชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมท่ี 3 นเิ ทศ กากับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และสานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
แนวทางการจดั กจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการดาเนินงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

43


Click to View FlipBook Version