The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poopae.natthanun, 2021-03-24 10:13:14

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

คู่มือการประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนนิ การผา่ นในระดับ

2 34 ผลการ หลกั ฐาน
พอใช้ ประเมนิ

พทุ ธศำสนำ ดี ดมี ำก
รรม
งกำรใช้ มหี ้องพระพุทธศำสนำหรือ มหี อ้ งพระพุทธศำสนำ

ลำนธรรม มตี ำรำงกำรใช้ หรอื ลำนธรรม และมี

มกี ำรใช้จริง ตำรำงกำรใช้ มีกำรใช้

จริงและนักเรยี นมีสว่ น

รว่ มในกำรดูแลรกั ษำ

เหล้ำ บุหรี่ ใน มีสงิ่ เสพติด เหลำ้ บหุ ร่ี ใน ไมม่ สี ิง่ เสพตดิ เหล้ำ
ำกวำ่ ร้อยละ 30 โรงเรียน ต่ำกวำ่ ร้อยละ 20 บุหร่ี ในโรงเรยี น

100%

O ครบ
ประจาวนั พระ 4 ประการ
รู และผบู้ รหิ ำร นักเรียน ครู และผบู้ ริหำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏิบัติ เกนิ กว่ำร้อยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผบู้ รหิ ำร เกนิ กวำ่ ร้อย

ละ 90 ปฏบิ ัติ

รู และผู้บรหิ ำร นกั เรยี น ครู และผ้บู ริหำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏิบัติ เกนิ กว่ำร้อยละ 70 ปฏบิ ัติ ผู้บริหำร เกินกวำ่ ร้อย
40

ลาดับ กจิ กรรม ไม่ผ่าน 1
0
ควรปรบั ปรงุ พ

30 ปฏิบัติ

2.3 รับประทำนอำหำร ไม่ปฏิบัติ นักเรียน ครู และ นกั เรียน คร
มังสวริ ตั ิ
ในมือ้ กลำงวัน ผู้บริหำร เกนิ กวำ่ ร้อยละ เกินกวำ่ รอ้ ย

2.4 สวดมนตแ์ ปล ไม่ปฏิบัติ 30 ปฏบิ ตั ิ

นักเรียน ครู และ นกั เรยี น คร

ผบู้ รหิ ำร เกินกว่ำร้อยละ เกนิ กว่ำรอ้ ย

30 ปฏิบตั ิ

รวมด้านกจิ กรรมวัน

3. ดา้ นการเร

3.1 บรหิ ำรจิตเจรญิ ไม่ปฏบิ ัติ นกั เรียน ครู และ นกั เรยี น คร
ปัญญำก่อนเขำ้ ไม่ปฏิบตั ิ
เรยี นเชำ้ -บำ่ ยทง้ั ผบู้ ริหำร เกินกว่ำร้อยละ เกินกว่ำร้อย
นกั เรียนและครู
30 ปฏบิ ตั ิ
3.2 บูรณำกำร
วิถีพทุ ธ ทกุ กลมุ่ มีครู เกนิ กว่ำร้อยละ 30 มคี รู เกนิ กว
สำระ และในวัน ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
สำคัญทำงพุทธ
ศำสนำ

14

คู่มือการประเมินตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนินการผา่ นในระดบั ผลการ หลักฐาน
ประเมนิ
2 34
พอใช้ ดี ดมี ำก

ละ 90 ปฏิบัติ
รู และผบู้ รหิ ำร นกั เรียน ครู และผ้บู รหิ ำร นกั เรียน ครู และ
ยละ 50 ปฏิบัติ เกนิ กว่ำรอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผ้บู ริหำร เกินกว่ำร้อย

ละ 90 ปฏิบัติ
รู และผ้บู ริหำร นกั เรียน ครู และผ้บู ริหำร นกั เรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ เกนิ กวำ่ ร้อยละ 70 ปฏบิ ัติ ผบู้ รหิ ำร เกินกวำ่ รอ้ ย

ละ 90 ปฏิบตั ิ
นพระ ดำเนนิ กำรไดผ้ ำ่ น....... ประกำร
รียนการสอน 5 ประการ
รู และผ้บู รหิ ำร นักเรยี น ครู และผู้บรหิ ำร นักเรียน ครู และ
ยละ 50 ปฏิบตั ิ เกนิ กว่ำรอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผู้บริหำร เกนิ กวำ่ ร้อย

ละ 90 ปฏิบัติ

ว่ำร้อยละ 50 มคี รู เกินกวำ่ ร้อยละ 70 มคี รู เกินกว่ำร้อยละ
ปฏบิ ัติ 90 ปฏบิ ตั ิ

41

ลาดบั กจิ กรรม ไม่ผ่าน 1
0 ควรปรบั ปรงุ

3.3 ครูพำนักเรียนทำ ไมป่ ฏิบตั ิ มีครู เกนิ กว่ำร้อยละ 30
โครงงำนคุณธรรม ปฏิบัติ มีครู เกนิ กว
กจิ กรรมจิตอำสำ ปฏิบัติ
สัปดำห์ละ 1 ครั้ง

3.4 นกั เรยี น ครู และ ไม่ปฏบิ ัติ นักเรียน ครู และ นกั เรียน คร
ผู้บรหิ ำร ทุกคนไป
ปฏบิ ตั ศิ ำสนกจิ ทว่ี ัด ผู้บริหำร เกินกวำ่ รอ้ ยละ เกินกว่ำร้อย
เดือนละ 1 ครั้ง มีวัด
เป็นแหลง่ เรียนรู้ 30 ปฏบิ ตั ิ

3.5 นกั เรียน ครู และ ไม่ปฏิบัติ นกั เรยี น ครู และ นกั เรียน คร

ผบู้ ริหำร ทุกคน ผู้บรหิ ำร เกินกวำ่ ร้อยละ เกินกวำ่ รอ้ ย

เข้ำค่ำยปฏบิ ตั ิ 30 ปฏบิ ัติ

ธรรมอย่ำงนอ้ ย

ปลี ะ 1 ครั้ง

รวมดา้ นการเรียนกา

4. ด้านพฤตกิ รรม ครู ผู้บร

4.1 รักษำศีล 5 นกั เรียน ครู นักเรียน ครู และ นกั เรียน คร

และผ้บู ริหำร ผบู้ ริหำร เกนิ กวำ่ ร้อยละ เกินกว่ำร้อย

ไมร่ กั ษำศีล 30 ปฏบิ ตั ิได้ ครบ 5 ข้อ ได้ ครบ 5 ข

14

คมู่ ือการประเมินตวั ชวี้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนนิ การผา่ นในระดับ

2 3 4 ผลการ หลักฐาน
พอใช้ ดี ดีมำก ประเมนิ

ว่ำร้อยละ 50 มคี รู เกินกวำ่ ร้อยละ 70 มีครู เกินกว่ำร้อยละ
ปฏิบัติ 90 ปฏิบตั ิ

รู และผบู้ ริหำร นักเรยี น ครู และผบู้ ริหำร นกั เรียน ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ัติ เกนิ กวำ่ ร้อยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผบู้ รหิ ำร เกนิ กวำ่ รอ้ ย

ละ 90 ปฏิบตั ิ

รู และผบู้ ริหำร นักเรยี น ครู และผบู้ รหิ ำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ัติ เกินกว่ำรอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผู้บริหำร เกนิ กวำ่ ร้อย

ละ 90 ปฏิบัติ

ารสอน ดำเนินกำรไดผ้ ำ่ น....... ประกำร
ริหารโรงเรียนและนักเรียน 5 ประการ
รู และผบู้ ริหำร นกั เรียน ครู และผู้บริหำร นกั เรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ัติ เกนิ กวำ่ รอ้ ยละ 70 ปฏิบตั ิ ผบู้ รหิ ำร เกินกว่ำร้อย
ข้อ ได้ ครบ 5 ข้อ ละ 90 ปฏิบตั ิได้ ครบ
42

ไม่ผ่าน

ลาดบั กิจกรรม 1
ควรปรับปรงุ
0 พ

5

4.2 ยิม้ งำ่ ย ไหว้สวย นกั เรียน ครู นักเรียน ครู และ นักเรยี น คร

กรำบงำม และผบู้ รหิ ำร ผ้บู รหิ ำร เกินกว่ำรอ้ ยละ เกินกว่ำรอ้ ย

ไม่ปฏิบัติ 30 ปฏิบตั ิ

4.3 ก่อนรบั ประทำน นกั เรยี น ครู นกั เรียน ครู และ นักเรียน คร

อำหำรจะมีกำร และผู้บริหำร ผูบ้ รหิ ำร เกินกวำ่ รอ้ ยละ เกินกว่ำร้อย

พิจำรณำอำหำร ไมป่ ฏิบตั ิ 30 ปฏบิ ตั ิ

รบั ประทำนอำหำร

ไมด่ ัง ไมห่ ก

ไม่เหลอื

4.4 ประหยัด ออม นกั เรยี น ครู นกั เรียน ครู และ นกั เรียน คร

ถนอมใช้ เงิน และ และผบู้ รหิ ำร ผบู้ รหิ ำร เกินกว่ำร้อยละ เกนิ กวำ่ รอ้ ย

ส่งิ ของ ไม่ปฏิบัติ 30 ปฏิบัติ

4.5 มีนิสยั ใฝร่ ู้ นกั เรียน ครู นักเรยี น ครู และ นักเรียน คร
ส้สู ิ่งยำก
และผู้บริหำร ผบู้ รหิ ำร เกินกว่ำร้อยละ เกินกว่ำรอ้ ย

ไม่ปฏิบัติ 30 ปฏิบตั ิ

รวมด้านพฤตกิ รรม ครู ผู้บริหารโร
5. ด้านการสง่ เ

14

คูม่ อื การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนินการผา่ นในระดบั ผลการ หลกั ฐาน
ประเมนิ
2 34
พอใช้ ดี ดีมำก

5 ข้อ
รู และผู้บรหิ ำร นักเรยี น ครู และผบู้ รหิ ำร นกั เรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏิบัติ เกนิ กวำ่ รอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผู้บรหิ ำร เกินกวำ่ รอ้ ย

ละ 90 ปฏิบตั ิ
รู และผู้บรหิ ำร นกั เรียน ครู และผูบ้ รหิ ำร นักเรียน ครู และ
ยละ 50 ปฏิบัติ เกนิ กว่ำรอ้ ยละ 70 ปฏิบัติ ผบู้ รหิ ำร เกินกว่ำร้อย

ละ 90 ปฏิบัติ

รู และผู้บริหำร นกั เรียน ครู และผบู้ ริหำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏิบตั ิ เกินกวำ่ ร้อยละ 70 ปฏบิ ตั ิ ผบู้ ริหำร เกินกว่ำร้อย

ละ 90 ปฏิบตั ิ

รู และผู้บริหำร นักเรียน ครู และผู้บริหำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏิบตั ิ เกนิ กวำ่ ร้อยละ 70 ปฏิบัติ ผู้บริหำร เกินกว่ำรอ้ ย

ละ 90 ปฏิบตั ิ

รงเรยี น และนักเรียน ดำเนนิ กำรไดผ้ ่ำน....... ประกำร
เสรมิ วิถีพุทธ 8 ประการ

43

ลาดับ กิจกรรม ไม่ผ่าน 1 พ
ควรปรบั ปรุง
5.1 ไม่มีอำหำรขยะ 0 ไมม่ ีอำหำรข
ขำยในโรงเรยี น ไม่ปฏบิ ตั ิ ไมม่ ีอำหำรขยะขำยใน โรงเรยี นทกุ
โรงเรียนเป็นบำงวัน นำมำเอง

5.2 ไมด่ ุ ดำ่ นกั เรียน ไมป่ ฏบิ ตั ิ ครู และผู้บริหำร เกิน ครู และผู้บร
กวำ่ รอ้ ยละ 30 ปฏิบัติ ร้อยละ 50

5.3 ชืน่ ชมคณุ ควำมดี ครู และ ครู และผ้บู รหิ ำร เกิน ครู และผบู้ ร

หน้ำเสำธงทุกวนั ผบู้ ริหำร ไม่ กวำ่ ร้อยละ 30 ปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 50

ปฏบิ ตั ิ

5.4 โฮมรูมเพ่ือสะท้อน ครู และ ครู และผูบ้ รหิ ำร เกิน ครู และผ้บู ร

ควำมรู้สกึ เชน่ ผบู้ ริหำร ไม่ กวำ่ รอ้ ยละ 30 ปฏิบัติ รอ้ ยละ 50

ควำมรู้สกึ ท่ีไดท้ ำ ปฏบิ ตั ิ

ควำมดี

5.5 ครู ผู้บรหิ ำร และ นักเรยี น ครู นกั เรยี น ครู และ นกั เรยี น คร

นักเรียน มีสมุด และผบู้ รหิ ำร ผู้บริหำร เกนิ กว่ำรอ้ ยละ เกนิ กวำ่ ร้อย

บันทึกควำมดี ไมป่ ฏิบัติ 30 ปฏิบัติ

5.6 ครู ผู้บรหิ ำร และ นกั เรียน ครู นกั เรียน ครู และ นกั เรียน คร

นักเรยี น (ป.4ขึ้นไป) และผบู้ ริหำร ผูบ้ ริหำร เกินกวำ่ รอ้ ยละ เกนิ กวำ่ ร้อย

14

ค่มู ือการประเมนิ ตวั ชี้วดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนนิ การผ่านในระดบั 4 ผลการ หลักฐาน
ดมี ำก ประเมิน
23
พอใช้ ดี ไมม่ ีอำหำรขยะขำยใน
ขยะขำยใน ไมม่ ีอำหำรขยะขำยใน โรงเรยี นทกุ วนั และ
กวัน แต่นกั เรียน โรงเรียนทกุ วัน และ นักเรียนไม่รับประทำน
อำหำรขยะ
นักเรยี นไมน่ ำมำเอง

ริหำร เกนิ กว่ำ ครู และผบู้ ริหำร เกินกวำ่ ครู และผ้บู รหิ ำร เกนิ
ปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 70 ปฏิบตั ิ กวำ่ ร้อยละ 90 ปฏิบตั ิ

ริหำร เกนิ กว่ำ ครู และผ้บู ริหำร เกินกวำ่ ครู และผู้บรหิ ำร เกิน
ปฏบิ ัติ รอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ กวำ่ ร้อยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

ริหำร เกินกวำ่ ครู และผู้บรหิ ำร เกินกว่ำ ครู และผบู้ ริหำร เกนิ
ปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 70 ปฏิบัติ กวำ่ รอ้ ยละ 90 ปฏิบัติ

รู และผบู้ ริหำร นักเรียน ครู และผ้บู รหิ ำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ตั ิ เกนิ กว่ำรอ้ ยละ 70 ปฏิบตั ิ ผบู้ รหิ ำร เกนิ กว่ำร้อย

ละ 90 ปฏบิ ตั ิ
รู และผบู้ รหิ ำร นักเรยี น ครู และผูบ้ ริหำร นักเรยี น ครู และ
ยละ 50 ปฏบิ ัติ เกินกวำ่ ร้อยละ 70 ปฏิบัติ ผู้บริหำร เกนิ กวำ่ รอ้ ย

44

ลาดับ กิจกรรม ไมผ่ า่ น 1 พ
ควรปรบั ปรุง
สอบได้ธรรมศึกษำ 0 30 ปฏบิ ัติ ครู และผูบ้ ร
ตรเี ปน็ อยำ่ งน้อย ไมป่ ฏิบัติ รอ้ ยละ 50
5.7 บรหิ ำรจิต เจริญ ครู และผ้บู ริหำร เกิน
ปญั ญำ ก่อนกำร ครู และ กว่ำรอ้ ยละ 30 ปฏิบัติ มนี ักเรียนได
ประชมุ ทุกครั้ง ผู้บริหำร ไม่ เกนิ กว่ำร้อย
5.8 มพี ระมำสอนอยำ่ ง ปฏบิ ัติ มีนกั เรยี นได้เรียนกับ
สม่ำเสมอ ไมม่ ี พระ เกินกวำ่ รอ้ ยละ 30

รวมด้านการสง่ เสรมิ วถิ ีพุทธ

14

คมู่ ือการประเมินตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ดาเนินการผ่านในระดับ 4 ผลการ หลกั ฐาน
ดีมำก ประเมิน
23
พอใช้ ดี ละ 90 ปฏิบตั ิ

รหิ ำร เกินกวำ่ ครู และผู้บริหำร เกินกวำ่ ครู และผู้บรหิ ำร เกิน
ปฏิบตั ิ รอ้ ยละ 70 ปฏบิ ตั ิ กวำ่ ร้อยละ 90 ปฏบิ ตั ิ

ด้เรียนกบั พระ มีนกั เรยี นได้เรียนกบั พระ มีนักเรยี นได้เรียนกบั
พระ เกินกว่ำร้อยละ
ยละ 50 เกนิ กวำ่ ร้อยละ 70 90

ธ ดำเนนิ กำรได้ผ่ำน....... ประกำร

45

ค่มู ือการประเมนิ ตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วัดท่ี 10.5 ระดบั ความสาเร็จของการจดั ทาบญั ชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลติ
หนว่ ยวัด : ความสาเร็จ
คาอธิบาย :

 ความสาเร็จของการจัดทาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หมายถึง การที่ส่วนราชการสามารถจัดทาบัญชี
ต้นทนุ ต่อหน่วยผลผลิตตามท่กี รมบัญชกี ลางกาหนด และนาเอาผลการคานวณต้นทุนมาใช้ในการบรหิ ารราชการอยา่ ง
มีประสิทธิภาพ และมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารงานงบประมาณของหน่วยงาน โดยจัดทาแผนเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการดาเนินงานพร้อมทั้งกาหนดเป้าหมายการเพ่ิมประสทิ ธิภาพใหช้ ัดเจนสามารถวัดผลได้ (เชิงปริมาณ)
รวมทั้งจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานและผลสาเร็จตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพ การดาเนินงานและแผนเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพดังกลา่ วไดร้ บั ความเห็นชอบจากหัวหนา้ ส่วนราชการ

 ส่วนราชการที่จัดทาบัญชีต้นทุน หมายถึง ส่วนราชการส่วนกลางซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ คือ สานักนโยบาย
และแผนการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานและสานักการคลังและสินทรัพย์

หมายเหตุ : สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาจะผา่ นการประเมนิ เมื่อได้ 5 คะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน
ระดับสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา

ประเดน็ น้าหนกั คะแนน

1. สง่ ข้อมูลรายงานคา่ ใชจ้ า่ ยในระบบ GFMIS (KSB1) มายัง 15
สานกั การคลงั และสนิ ทรัพย์ (การรายงานรอบ 6 เดอื น)
0.5 ไมส่ ง่ ขอ้ มูลรายงานค่าใช้จา่ ย สง่ ขอ้ มูลรายงาน
2. ส่งขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ตามแบบฟอร์มอา้ งอิงตัวช้วี ัด ในระบบ GFMIS คา่ ใชจ้ ่ายในระบบ
ท่ี 10.5 (การรายงานรอบ 12 เดอื น)
GFMIS

0.5 ส่งขอ้ มลู ไม่ถกู ต้อง ครบถว้ น สง่ ข้อมูลถูกต้อง
ตามแบบฟอร์ม ครบถ้วนตามแบบฟอรม์

กลุม่ ในสานักงานเขตพืน้ ท่ี ท่ีรับผิดชอบ :
กลุ่มบริหารงานการเงนิ และสินทรพั ย์ / กลุ่มทผ่ี ู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามอบหมาย

แหล่งข้อมลู / วธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมูล :
1. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีทแี่ สดงผลผลิต /โครงการ /กิจกรรม
2. แผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี พร้อมท้ังเป้าหมายเชิงปริมาณของแต่ละ

ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม
3. แนวทางการจัดทาบัญชตี ้นทุน โดยใชห้ ลักเกณฑ์และวิธีการตามทก่ี รมบญั ชกี ลางกาหนดในคู่มือการ

จัดทาบัญชีตน้ ทุนของกรมบัญชกี ลาง
4. ขอ้ มูลท่ีจัดเก็บเพื่อจัดทาบัญชตี ้นทุน ใช้ข้อมลู คา่ ใช้จ่ายท่ีหน่วยเบิกท้ังส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคตง้ั เบิก

ในระบบ GFMIS ได้แก่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา 183 แห่ง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา 42
แห่ง สถานศึกษาที่เป็นหน่วยเบิก จานวน 151 แห่ง ศูนย์การศึกษาพิเศษท่ีเป็นหน่วยเบิก จานวน 76 แห่ง โรงเรียน
การศกึ ษาพเิ ศษ 41 เขต โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 49 แห่ง และส่วนกลาง รวมเปน็ 542 แห่ง

5. จานวนปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมย่อยของทุกหน่วยเบิกจ่ายและทุกศูนย์ต้นทุนท่ีส่งข้อมูลผ่าน
ระบบ KRS ของ กพร.

6. จานวนปรมิ าณงานแต่ละกิจกรรมยอ่ ยของทกุ สานักในส่วนกลาง

146

คมู่ อื การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดับสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
1. เก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมของหน่วยเบิกในสังกัด 542 แห่ง และส่วนกลางจากระบบ

GFMIS เพอ่ื มาจัดทาบัญชตี น้ ทนุ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
2. เก็บข้อมูลจานวนปริมาณงานของแต่ละกิจกรรมย่อยของ สพป., โรงเรียนภายใต้ สพป.,สพม. และ

โรงเรียนภายใต้ สพม., ท่ีรายงานผ่านระบบ KRS ของ กพร. และเก็บข้อมูลปริมาณงานของโรงเรียนการศึกษาพิเศษ,
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และศูนย์การศึกษาพิเศษจากสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ รวมท้ังปริมาณงานของทุก
สานกั ในสว่ นกลาง เพ่ือจัดทาบัญชีต้นทุนต่อหนว่ ยกิจกรรมยอ่ ย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

3. เรียกรายงานข้อมูลค่าใช้จ่ายจากระบบ GFMIS ประจาปีงบประมาณ 2563 (ด้วยคาสั่งงาน KSB1)
ของทุกศูนย์ต้นทุนและทุกหน่วยเบิก แจ้งกลับไปยังหน่วยเบิกต่าง ๆ ให้ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานค่าใช้จ่าย
ศูนย์ต้นทุนและกิจกรรมย่อยผู้ใช้เงิน และให้ผู้บริหารของหน่วยงานรับรองความถูกต้องของค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน
ตนเอง (ถ้าเป็นสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้รับรองค่าใช้จ่ายของหน่วยงานตนเอง และโรงเรียนภายใต้กากับเขต
พื้นท่ีการศึกษาด้วย) โดยรวบรวมข้อมูลส่งกรมบัญชีกลาง เพ่ือให้เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานด้าน
บญั ชีของกรมบญั ชกี ลาง

4. แจ้งหน่วยเบิกทุกแห่งให้รับทราบการเช่ือมโยงกิจกรรมหลักตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี พ.ศ. 2564 กับกิจกรรมยอ่ ยของทุกศนู ย์ตน้ ทุน ท่ีกรมบญั ชกี ลางได้ upload เขา้ ระบบ GFMIS เพี่อใช้ในการบันทึก
คา่ ใชจ้ ่าย เข้าสกู่ ิจกรรมย่อยในระบบ GFMIS ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 อีกทั้งหน่วยเบิกทกุ แหง่ จะต้องระบุกิจกรรม
ย่อยเข้าสู่ระบบ GFMIS สาหรับปีงบประมาณ 2564 ด้วย ซึ่งได้แจ้งหน่วยเบิกทุกแห่งทราบผ่านช่องทางเว็บไซต์สานักการ
คลังและสนิ ทรัพย์

5. หน่วยงานส่วนกลาง (สานักการคลังและสินทรัพย์) จัดทาบัญชีต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมย่อย
ของทุกหน่วยเบิกทุกศูนย์ต้นทุน ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย 6 ผลผลิต ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมหลัก และต้นทุนต่อ
หน่วยผลผลิตหลัก 6 ผลผลิต /15 โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และเปรียบเทยี บผลการคานวณต้นทุน
ต่อหนว่ ยผลผลิตระหว่างปงี บประมาณ 2563 และปงี บประมาณ 2562 วา่ มกี ารเปล่ยี นแปลงเพิ่มขนึ้ หรอื ลดลงอย่างไร
พร้อมท้ังวิเคราะห์ถึงสาเหตุการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนด โดยเสนอให้
กรมบัญชีกลางทราบตามกาหนดเวลา และเผยแพร่ข้อมูลผ่านทาง Website ของ สพฐ. (www.obec.go.th) เพื่อให้
เป็นไปตามเกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบัติงานดา้ นบัญชีของกรมบัญชีกลาง

6. สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษรับผิดชอบในการกากับ ติดตาม ให้ศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียน
การศึกษาพิเศษ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ ดาเนินการระบุค่าใช้จ่ายเข้าสู่กิจกรรมย่อย การตั้งเบิกในระบบ
GFMIS ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้ถูกต้องตามศนู ย์ต้นทนุ และกิจกรรมย่อยของกลุ่มผูใ้ ช้จ่ายเงิน รวมถึงการ
จัดเก็บข้อมูลปริมาณงานแต่ละกิจกรรมย่อยของศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียนการศึกษาพิเศษและโรงเรียนศึกษา
สงเคราะห์

ระดบั สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
1. สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาทุกแห่ง/ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาทุกแห่ง
ต้องตรวจสอบความถูกต้องของรายงานค่าใช้จ่ายจากระบบ GFMIS ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ท่ีสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ดาวโหลดจากเว็บไซต์สานักการคลังและสินทรัพย์ท้ังในส่วนของรายงาน
ค่าใช้จ่ายของหน่วยเบิกตนเอง และโรงเรยี นภายใต้กากับสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และให้ผู้อานวยการสานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานแทนลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องของค่าใช้จ่ายดังกล่าว
ท้งั ของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาตนเองและโรงเรยี นภายใต้กากับ และส่งรายงานค่าใช้จา่ ยดังกล่าวมายังสานักงาน

147

คมู่ ือการประเมินตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานภายในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ตามหนังสือ สพฐ. ด่วนมาก ท่ี ศธ 04002/ว
593 ลงวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2564 เพื่อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้รายงานผลให้
กรมบัญชกี ลางทราบ

ตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีต่อไป และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ สานักงาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาใดที่จดั ส่งรายงานค่าใช้จ่ายให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแลว้ ให้เข้า
ไปรายงานในระบบรายงานผลตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (ระบบ KRS) ของ
กพร. ในการประเมินรอบ 6 เดอื น

2. กากับ ติดตามใหเ้ จ้าหน้าท่ีทรี่ ับผดิ ชอบในการตั้งเบิกในระบบ GFMIS ของสานกั งานเขตพ้ืนที่
การศึกษาได้ระบุกจิ กรรมย่อยเข้าสู่ระบบ GFMIS เม่อื มีการตั้งเบิกซึ่งเกดิ ค่าใชจ้ า่ ยหรอื เม่ือมีการลา้ งลูกหนเ้ี งนิ ยมื
ราชการ (ประเภท G1) ทุกครั้ง หากไม่มีการระบรุ หัสกิจกรรมย่อยในการตง้ั เบิก เจา้ หน้าท่ที ี่รับผดิ ชอบจะตอ้ งเข้าไป
ปรับปรุงรายการเพอื่ ใส่รหัสกิจกรรมย่อยให้ครบถว้ น เพื่อใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านดา้ นบญั ชี
ของกรมบัญชกี ลาง

3. กากบั ตดิ ตาม ใหโ้ รงเรียนในสังกัด (โรงเรียนภายใต้ สพป. และ สพม.) ได้ระบุคา่ ใช้จา่ ยที่โรงเรียน
ขอเบิกใหถ้ ูกตอ้ งตามภาระงานของแต่ละกลุ่มในโรงเรียน และ สพป. / สพม. ต้องระบุศูนย์ต้นทนุ และระบุรหัส
กจิ กรรมย่อยของโรงเรยี น ในการขอเบิกเงินของโรงเรียนในระบบ GFMIS ทุกครง้ั

4. จดั เก็บข้อมูลจานวนปรมิ าณงานแต่ละกิจกรรมย่อยของกลุ่มงานภายใน สพป. / สพม. โรงเรียน
ภายใตก้ ากับของ สพป./ สพม. และโรงเรยี นทีเ่ ป็นหนว่ ยเบกิ ทีเ่ คยสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 (ขอ้ มูลปรมิ าณงานต้ังแต่ 1 ต.ค. 2563 – 30 ก.ย. 2564) เพอ่ื รายงานเข้าระบบ KRS ของ กพร. ในการ
ประเมนิ รอบ 12 เดือน (สิน้ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564) ซงึ่ วิธกี ารเก็บข้อมูลปรมิ าณงานแตล่ ะกิจกรรมย่อยศึกษา
ไดจ้ ากค่มู ือกิจกรรมยอ่ ย ตามหนังสอื ท่ี ศธ 04002/ว116 ลงวนั ที่ 31 กรกฎาคม 2561 และเรื่องซักซ้อมความเขา้ ใจ
การเกบ็ ข้อมูลปรมิ าณงานของกิจกรรมย่อย ตามหนงั สอื ที่ ศธ 04002/ว3474 ลงวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2556 และรหสั
กิจกรรมย่อยเพิ่มเติม ปงี บประมาณ 2563 ตามหนังสอื สพฐ. ที่ ศธ 04002/ว1127 ลงวันที่ 17 มนี าคม 2563
สามารถดาวโหลดได้ที่เว็บไซต์สานกั การคลงั และสินทรัพย์ สพฐ. (http://www.finance-obec.net) หวั ข้อประกาศ
โครงการ GFMIS วนั ท่ี 11 มนี าคม 2562 และวันท่ี 18 มนี าคม 2563

ระดับสถานศึกษา
สถานศกึ ษาทุกแห่งรายงานข้อมลู ปริมาณงานแต่ละกจิ กรรมยอ่ ย ประจาปีงบประมาณ 2564 ของ

สถานศกึ ษาให้ สพป./สพม. ทสี่ ถานศึกษาสงั กดั อยู่ (สิ้นปงี บประมาณ 2564)

วิธีการรายงานผล : การจัดทาบัญชีต้นทุนตามเกณฑ์ประเมินผลของกรมบัญชีกลาง ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

1. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาทุกแห่งและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาทุก
แห่ง มีการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานค่าใช้จ่ายในระบบ GFMIS (คาส่ังงาน KSB1) ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2563 โดยผู้บริหารหน่วยงานได้รับรองความถูกต้อง และจัดส่งรายงานดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ภายในวันที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2564 (ตามหนังสอื สพฐ. ดว่ นมาก ท่ี ศธ 04002/ว593 ลงวันท่ี
10 กุมภาพันธ์ 2564) โดยถ้าจัดส่งให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเข้าไปรายงานผลการดาเนินงานดังกล่าว

148

คูม่ อื การประเมินตวั ชี้วดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ในระบบ KRS ของ กพร. ประจาปีงบประมาณ 2564 ในการประเมินรอบ 6 เดือน โดยถ้าจัดส่งให้ระบุหน่ึง (1)
ถา้ ไมไ่ ด้จดั ส่งใหร้ ะบุศนู ย์ (0) โดยใหร้ ายงานในระบบ KRS ระหว่างวันท่ี 1 – 20 เมษายน 2564

2. สิ้นปีงบประมาณ 2564 สานกั ในส่วนกลางมีการรายงานผลจานวนปริมาณงานของกจิ กรรมย่อยตาม
ภารกิจของทกุ สานกั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ให้สานักการคลังและสนิ ทรพั ย์ ภายในวนั ท่ี 30 ตุลาคม 2564

3. สิ้นปีงบประมาณ 2564 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาทุกแห่งและสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาทุกแห่ง รวบรวมข้อมูลปริมาณงานกิจกรรมย่อยของหน่วยงานตนเอง , โรงเรียนภายใต้กากับ
สพป./สพม. และโรงเรียนที่เป็นหน่วยเบิก พร้อมรายงานผลจานวนปริมาณงานของกิจกรรมย่อยประจาปี พ.ศ.2564
(ข้อมูลปริมาณงานต้ังแต่ 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564) ในรูปแบบ Excel File ตามแบบฟอร์มอ้างอิง
ตัวชี้วัดที่ 10.5 ผ่านระบบ KRS ของ กพร. ในการประเมินรอบ 12 เดือน โดยให้รายงานในระบบ KRS ระหว่างวันท่ี
1 – 30 ตุลาคม 2564

4. ศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ รายงานผลจานวน
ปรมิ าณงานของกิจกรรมย่อยประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ให้สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ เพื่อรวบรวมขอ้ มูล
สง่ ให้สานักการคลังและสินทรพั ย์

5. สานักการคลังและสินทรัพย์ สพฐ. ดาเนนิ การรวบรวมข้อมูล และจดั ทาบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการทกี่ รมบัญชีกลางกาหนดได้แล้วเสร็จ และรายงานผลการ
คานวณต้นทุนตามรูปแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนด เปรียบเทียบผลการคานวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่าง
ปีงบประมาณ 2563 และปีงบประมาณ 2562 ว่ามีการเปล่ียนแปลงเพ่ิมข้ึนหรือลดลงอย่างไร พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึง
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จัดทารายงานการเปรียบเทียบและสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้
แลว้ เสรจ็ ตามรูปแบบท่ีกรมบญั ชกี ลางกาหนด

ผกู้ ากบั ดแู ลตัวชี้วัด : นางศิรประภา วรพวิ ุฒิ เบอร์ตดิ ต่อ 02 288 5614
ผู้จัดเกบ็ ข้อมลู : นางสาวมณิสรา พัฒโร เบอร์ตดิ ตอ่ 02 288 5613
เบอรต์ ิดตอ่ 02 282 9437
นางสาวสกุ ัญญา พงศ์ชยั ประทปี

149

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

150

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

151

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

152

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

153

คูม่ ือการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบฟอร์มอ้ำงองิ ที่ 10.5

รายการอา้ งอิง การประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติราชการ

ของสว่ นราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวช้ีวัดท่ี 10.5 ระดบั ความสาเรจ็ ของการจดั ทาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

(แบบท่ี 5 สพม.)

บัญชีแสดงปรมิ าณงานของสานักเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต.................. รหัสศูนย์ต้นทุน...................

รหัส กจิ กรรมยอ่ ย ปริมำณงำน หน่วยนับ จำนวนบุคลำกร
ท่ปี ฎิบัติงำนตำมกลุ่ม (คน)

183 ด้านอานวยการ ครงั้

184 ด้านบรหิ ารงานบุคคล คน

185 ด้านนโยบายและแผน โครงการ

186 ดา้ นการสง่ เสริมการจัดการศึกษา โครงการ

187 ด้านนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา คน

188 ดา้ นการตรวจสอบภายในระดบั โรงเรียน โรงเรียน

189 ด้านการเงินและบัญชี เก็บข้อมูลตามข้อ 2 * ไม่ต้องใส่ข้อมูล

190 ดา้ นการพัสดุ (จดั ซ้ือจัดจ้าง) เก็บขอ้ มูลตามข้อ 3 * ครงั้

214 ดา้ นส่งเสรมิ การศึกษาทางไกลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โครงการ

215 ดา้ นการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ชั่วโมง/คน

216 ด้านกฎหมายและคดี เรอื่ ง

หมำยเหตุ 1. วิธีเก็บข้อมูลปริมาณงานแตล่ ะกจิ กรรมยอ่ ย สพป.สามารถดาวโหลดคู่มือการกาหนดกิจกรรมย่อยของ สพฐ.

(ตามหนังสือ สพฐ.04002/ว116 เรอื่ งคู่มือกจิ กรรมย่อย) และเรอ่ื งซกั ซอ้ มความเขา้ ใจการเก็บข้อมูลปริมาณงานของกิจกรรมย่อย

(ตามหนังสือ สพฐ. ด่วนมาก ท่ี ศธ 04002/ว3474 ลงวันท่ี 27 ธันวาคม 2556) และหนังสือ สพฐ. ท่ี ศธ 04002/ว 1127

ลงวันท่ี 17 มีนาคม 2563 ไดท้ ี่เว็บไซดส์ านักการคลงั และสนิ ทรพั ย์ (http://www.finance-obec.net) หัวขอ้ ประกาศ

โครงการ GFMIS วันท่ี 11 มีนาคม 2562 และ 18 มีนาคม 2563

* 2. รหัสกิจกรรมย่อย 189 ดา้ นการเงินและบัญชี ให้ สพม.ใสเ่ ฉพาะจานวนบุคลากรทีป่ ฏิบัติงานในกลุ่มการเงนิ และบัญชี

ไม่ต้องใสข่ อ้ มูลปริมาณงานกิจกรรมย่อย เน่ืองจาก สพฐ.จะเป็นผู้เรยี กข้อมูลเองจากระบบ GFMIS

* 3. รหัสกจิ กรรมยอ่ ย 190 ด้านการพสั ดุ ให้ สพม. เก็บข้อมูลจานวนครงั้ ของรายการจดั ซื้อจดั จา้ งทีไ่ ม่ไดท้ าใบ PO

(ซื้อ/จา้ ง ตา่ กว่า 5,000 บาท) ส่วนขอ้ มูลปรมิ าณของรายการจัดซื้อจดั จา้ งในระบบ GFMIS สพฐ. จะเป็นผู้เรียกขอ้ มูลเอง

4. จานวนบุคลากรท่ปี ฏิบัติงานตามกลุ่ม (คน) ให้เก็บข้อมูลจานวนบุคลากรท่ปี ฏิบัติงานและมีตัวอยู่จรงิ ตามกลุ่มต่าง ๆ

ณ วันที่ 30 ก.ย.2563 (บุคลากร หมายถึง ขา้ ราชการพลเรือน ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

บุคลากรช่วยราชการทเี่ ป็นข้าราชการ ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานราชการ และลูกจ้างทเ่ี กิดจากการจา้ งเหมาบริการ)

5. แบบฟอร์มดงั กล่าวให้จัดสง่ ในรปู แบบ File Excel (ห้ำมส่งเปน็ PDF และ File รูปภำพต่ำง ๆ )

พรอ้ มสแกนลายมือช่ือผู้รบั รองข้อมูล ในระบบ KRS รอบ 12 เดอื น

6. ผู้รับรองขอ้ มูลตอ้ งเป็นลายมือช่ือของผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรอื ผู้ไดร้ ับมอบหมาย

ให้ปฏิบัติงานแทน

ผู้รบั รองข้อมูล

ลงชื่อ...............................................................
(……………...…………........................................….)
ตาแหน่ง..............................................................................
โทรศพั ท์...............................................................................

154

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

155

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

156

ค่มู ือการประเมินตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

157

คมู่ ือการประเมินตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชี้วัดท่ี 11 ความคดิ เห็นของผูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชาที่มีตอ่ ผ้บู ังคับบัญชา
หนว่ ยวัด : ระดบั
คาอธิบาย :

❖ เป็นการสารวจปัจจยั การเสริมสรา้ งขวัญกาลังใจ/การดูแลเอาใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชา และประเด็นอ่นื ๆ
ท่เี กีย่ วข้องกับการบรหิ ารงานของผู้บังคับบัญชา

❖ กลุ่มเปา้ หมายผูต้ อบแบบสารวจ : ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาเป็นผปู้ ระเมินผู้บังคบั บญั ชา โดย
● ผู้ถูกประเมิน คือ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือผู้รักษาการ (กรณีไม่มี

ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา)
● ผู้ประเมิน/ผู้ตอบแบบสารวจ คือ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ผอู้ านวยการกลมุ่ ในสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา (กรณไี ม่มีผู้อานวยการกลุ่ม ใหเ้ ปน็ ผู้รักษาการผู้อานวยการกลุ่ม)
❖ ตอ้ งไดร้ ับผลการสารวจผา่ นระบบอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมายทง้ั หมด
❖ การคดิ คะแนนคิดจากคะแนนเฉลย่ี ของกลุ่มเป้าหมายทง้ั หมดที่ได้ตอบแบบสารวจผ่านระบบ

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และระดบั สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา

(Survey Online)
ประเด็นการประเมนิ

ภาวะผนู้ า
1. ผบู้ รหิ ารของหน่วยงานท่าน มีการกาหนดนโยบาย เป้าหมายท่ชี ดั เจน ทันสมยั และสอดคล้อง

กับสถานการณท์ ีเ่ ปลยี่ นแปลงไป และมีการถ่ายทอดนโยบาย/แนวทางในการทางานให้
องค์การไดร้ บั ได้รบั รูแ้ ละเข้าใจท่วั ทัง้ องคก์ ารเพื่อนาไปสู่การปฏบิ ัติ
2. ผบู้ ริหารของหนว่ ยงานท่าน ได้ปรบั ปรุงอัตราโครงสรา้ งกาลงั รวมทงั้ ทรัพยากรและ
งบประมาณของหน่วยงานให้เหมาะสมสาหรับการทางานตามยทุ ธศาสตรช์ าติ วสิ ัยทศั น์
นโยบายแนวทางในการทางาน และแผนยุทธศาสตร์จัดสรรขององค์กร
3. ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงานทา่ น สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้บุคลากรสามารถทางานเป็นทมี ทางานใน
ลักษณะบรู ณาการ/การทางานแนวใหม่ทไ่ี ด้ทัง้ งานและบุคลากร โดยไม่เลอื กปฏิบัติ
4. ผู้บรหิ ารของหนว่ ยงานของท่าน รับฟังความคิดเหน็ ของผู้อืน่ เน้นการทางานอย่างมสี ว่ นร่วม
ทงั้ ในหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชน
5. ผู้บริหารของหน่วยงานท่าน ไดว้ างแผนพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับเพื่อปรับเปลยี่ นองค์การของ
ท่านใหเ้ ป็นหนว่ ยงานทท่ี ันสมัย ตามนโยบาย Thailand 4.0
6. ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงานท่าน เป็นผนู้ าในการเปลย่ี นแปลงโดยนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการ
บรหิ ารงานในองค์การที่แตกต่างหรือเปลย่ี นแปลงไปจากเดิมจนเห็นได้อย่างชัดเจน มีการ
สรา้ งระบบการทางานในองค์การให้มปี ระสิทธิภาพทาใหอ้ งคก์ ารมีการดาเนนิ งานไปใน
ทิศทางเดยี วกนั หรือมีการบริหารงานท่ีไดร้ ับการยอมรบั จากบุคลากรภายในหนว่ ยงานและ
ภายนอกหน่วยงาน
7. ผบู้ ริหารของหน่วยงานท่าน ได้พฒั นาองค์การมรี ะบบประเมนิ ผลตามผลงานที่เกดิ ขึ้นจรงิ
และเป็นท่ียอมรบั

158

คู่มอื การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็นการประเมิน
8. ผู้บริหารหน่วยงานของท่าน กล้าเผชญิ กบั ปญั หา กล้าตัดสินใจ บนพนื้ ฐานข้อเทจ็ จริง และ

สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันต่อสถานการณ์
9. ผู้บรหิ ารของหนว่ ยงานทา่ น ได้ปฏิบตั ิตวั เป็นแบบอย่างทีด่ ีขององคก์ าร มีรปู แบบการทางาน

ซ่ึงเปดิ รับคาแนะนาที่สร้างสรรค์ และแสดงออกถึงภาวะผนู้ าในระดบั ท่ีเหมาะสมสาหรับ
องค์การ รวมทัง้ มีความทุ่มเท รบั ผดิ ชอบ อทุ ศิ ตนและมีความมงุ่ ม่นั ท่ีจะปฏบิ ัติงานให้ประสบ
ผลสาเร็จ
10. ผบู้ ริหารของหน่วยงานของท่านมกี ารกาหนดมาตรการหรอื นโยบายเพ่ือรองรับการป้องกัน
หรอื แก้ไขสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ -19) รวมทั้งมี
ความพร้อมในการจดั การกบั สภาวะวิกฤตดงั กล่าว
การสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมในองค์การ
1. ผู้บริหารของหนว่ ยงานท่าน ได้ปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีให้ทา่ นไดย้ ดึ ถือและปฏิบัติตาม
2. ผบู้ ริหารของหน่วยงานท่าน มีการแต่งตั้ง/มอบหมาย เจ้าหน้าทใี่ หป้ ฏิบัตงิ านในตาแหนง่ ที่
เหมาะสมกบั ความรู้ความสามารถและมีการพจิ ารณาเล่ือนข้ันเงินเดือนท่ีมคี วามชัดเจน
โปร่งใส และเปน็ ธรรม
3. ผู้บรหิ ารหน่วยงานของท่าน มกี ารสง่ เสรมิ และพัฒนาบุคลากรในเร่ืองคุณธรรมและจรยิ ธรรม
4. หน่วยงานของท่าน มีการสื่อสารคณุ ธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์ ให้เจ้าหน้าท่ภี ายใน
องค์การทุกคนปฏบิ ัติตาม
5. หนว่ ยงานของท่าน มีการประกาศเกยี รติคุณ/ให้รางวลั /ยกยอ่ งเชดิ ชูเจ้าหน้าท่ีผูป้ ฏิบัติตาม
หลกั คณุ ธรรม หรอื มีการลงโทษต่อผูป้ ฏิบัตขิ ัดต่อคุณธรรม
การเสรมิ สรา้ งขวัญกาลงั ใจ/การดูแลเอาใจใสผ่ ใู้ ตบ้ ังคับบัญชา
1. ผู้ใตบ้ ังคับบัญชามีการสอนงานใหแ้ ก่ท่าน และสนับสนนุ ใหท้ า่ นมสี ่วนร่วมในการทางาน
2. ผู้บังคบั บัญชาชว่ ยเหลอื ใหค้ าปรึกษา และแกไ้ ขปัญหาในการทางานของท่าน เช่น มีนโยบาย
ช่วยเหลอื จัดหาสวสั ดกิ ารต่าง ๆ ในชว่ งสถานการณ์วิกฤตการระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส
โคโรนา 2019 (โควิด-19)
3. ผบู้ งั คับบัญชาแสดงความรับผดิ ชอบในความผดิ พลาดของทา่ น
4. ผู้บังคบั บญั ชาดูแลความเป็นอย่แู ละทุกข์สุขในการทางานของทา่ น เช่น ในสถานการณ์วิกฤต
การระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)
5. ผู้บังคับบัญชาให้ความยกย่องชมเชยท่านเม่ือมีผลการปฏิบัติงานทด่ี ี
6. ผู้บงั คับบญั ชามนี โยบายในการสร้างแรงจงู ใจแกท่ ่านในการปฏิบตั งิ าน
7. ผบู้ งั คับบญั ชาวางบทบาทการบริหารงานเสมือนท่านเปน็ เพอื่ นรว่ มงาน
8. ผบู้ ังคับบญั ชาของทา่ นเปิดโอกาสแสดงความคิดเหน็ และมีอิสระในการคดิ สรา้ งสรรค์
9. ผู้บงั คับบญั ชาของท่านมีการกระตุน้ ให้ทา่ นกล้าเปลย่ี นแปลงวิธีการคิด วธิ กี ารทางานใหด้ ีขึ้น
10. ผู้บังคบั บัญชาของท่าน จัดให้มสี ภาพแวดลอ้ มในการทางานใหน้ า่ อยู่และนา่ ทางาน
หมายเหตุ : ช่วงเวลาและวิธีการตอบแบบสารวจ จะมีการแจ้งให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
รับทราบอีกครั้งหนึ่ง

159

คูม่ ือการประเมนิ ตวั ชว้ี ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดบั 3 ระดับ 4 ระดับ 5
- -
ผตู้ อบ - ผตู้ อบ
แบบสอบถามตอบ
แบบสอบถามตอบ ครบตามจานวน

ไมค่ รบตามจานวน

กลุ่มในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีรับผิดชอบ : กลุ่มอานวยการ / กลุ่มบริหารงานบุคคล หรือตามที่
ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามอบหมาย

รายละเอยี ดข้อมลู พ้นื ฐาน : หน่วยวดั ผลการดาเนนิ งานในอดีต ปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 2562 2563
ขอ้ มูลพนื้ ฐานประกอบตัวชี้วัด
คะแนน - 89.33 92.44
การเสรมิ สร้างขวญั กาลงั ใจ/การดแู ล
เอาใจใส่ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา

แหล่งข้อมลู / วธิ ีการจัดเกบ็ ขอ้ มูล
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ตอบแบบสารวจ (Survey Online) ตามประเดน็ การประเมนิ ทก่ี าหนด

ผ่านทางระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ โดย กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร จะแจ้งวิธีการตอบแบบสอบถามและกาหนดเวลา
ใหท้ ราบภายหลงั

ผู้กากับดูแลตวั ช้ีวัด : ผอู้ านวยการกลุ่มพฒั นาระบบบริหาร เบอรต์ ิดต่อ : 02-288-5875
ผู้จัดเก็บขอ้ มูล : นางสาวนภัทร อินทรุณ เบอร์ตดิ ต่อ : 02-288-5875
นางสาวฐติ าภา เข็มเจริญ เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5875
นายปญั จพล มโนหาญ เบอร์ติดต่อ : 02-288-5875

160

ภาคผนวก


เวบ็ ไซต์ระบบรายงานผลตวั ช้ีวดั
ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

http://krs2.psdg-obec.go.th

162

ภาคผนวก


ตารางสรปุ สานกั /กลุ่ม/ศูนย์ รบั ผิดชอบตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏบิ ัตริ าชการ ระดับ สพฐ. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ท่ี ประเดน็ การประเมนิ เปา้ หมายการวัด สานัก/หน่วยงาน
ระดบั สพฐ. เทียบเทา่

1 ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการศึกษาของ ดีขนึ้ จากปีก่อนหน้า 2 ใช้ขอ้ มลู จากสภา
การศกึ ษาฯ
ประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2020) อันดบั
สทศ.
1.1 อันดับตามรายงานด้านการศึกษา (Education) สวก.

1.2 อนั ดับตามรายงานด้านทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั บทบาท

ภารกิจของสว่ นราชการ

2 ระดบั คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษา -มผี ลคะแนนO-NET เฉลีย่

เพม่ิ ขน้ึ

3 ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนินโครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี น 1.มีผลการดาเนนิ การ

ให้มีคณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนร้ใู น ศตวรรษที่ 21 โครงการ ร้อยละ 100

2. บรรลเุ ปา้ หมาย

โครงการ รอ้ ยละ 100

4 ผลการพฒั นาศักยภาพองคก์ ารสู่การเปน็ ระบบราชการ - มรี ะบบบญั ชขี ้อมลู และ สนผ.
4.0 - จัดทาขอ้ มลู เปิดในบัญชี กพร.
4.1) การพฒั นาองคก์ ารสูด่ จิ ิทัล ขอ้ มลู สามารถเข้าถงึ ข้อมลู
Data Catalog ได้ ตามมาตรฐาน
การเกบ็ รวบรวมสถติ ิทางการศกึ ษา คุณลกั ษณะแบบเปิดท่ี
• ข้อมูลนกั เรียน กาหนด
• ข้อมูลโรงเรยี น
-มคี ะแนนผลการประเมิน
4.2) การประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบ ในขั้นตอนท่ี 1
ราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ดีขนึ้ ในขนั้ ตอนท่ี 1
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

164

การประเมินตัวชี้วดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ ของ สพท.
(รายงานในระบบ KRS ของ กพร.สพฐ.) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ที่ ประเด็นการประเมนิ เป้าหมายการวัด สานกั /หนว่ ยงาน
ระดบั สพท. เทียบเทา่ ท่กี ากับ

1 ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนิน 1.มีผลการดาเนนิ การโครงการ ตดิ ตาม
สวก.
โครงการสง่ เสรมิ ผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะ รอ้ ยละ 100
สทศ.
และทกั ษะการเรยี นร้ใู น ศตวรรษท่ี 21 2. บรรลเุ ปา้ หมายโครงการ
สนผ.
รอ้ ยละ 100
สพร.
2 ระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทาง ผลคะแนนเฉล่ยี ท่เี พ่ิมข้นึ
กพร.
การศกึ ษาระดับชาติ O-NET/NT กพร.

3 ผลการพฒั นาศักยภาพองค์การสกู่ าร สนก./กพร.
สนก.
เป็นระบบราชการ 4.0 สทร.

3.1 ร้อยละความสาเรจ็ ของการ ร้อยละความสาเรจ็ ของการจัดเก็บ

ดาเนินการจดั เก็บข้อมูลนกั เรียนดว้ ย ข้อมูล

ระบบ DMC

3.2 รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการ รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการจัดเกบ็

ดาเนนิ การจดั เก็บข้อมูลครูและบุคลากร ข้อมลู

ทางการศึกษา

4 การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานใน

การเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA - (Self Assessment)

4.0)

5 การลดพลังงาน ลดพลังงานไดร้ อ้ ยละ 10 ขึ้นไป

- พลงั งานไฟฟา้

- พลังงานน้ามันเชี้อเพลงิ

6 มาตรการลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยใน ประเด็นการดาเนินการครบ 10

หน่วยงานภาครฐั ประเดน็

7 การกากบั ดูแลการทจุ รติ ใชผ้ ลคะแนน/รอ้ ยละ ITA ของเขต

พน้ื ทจี่ าก สนก.

8 ระบบตดิ ตามการปฏิบัติงานเพ่ือการ - วดั การใชง้ านระบบบรหิ ารของ

บริหารขององค์การ องค์การ (AMSS++ Facebook

Line GoogleDoc FormOnline

ฯลฯ)

165

ที่ ประเดน็ การประเมิน เป้าหมายการวัด สานกั /หน่วยงาน
ระดบั สพท. เทยี บเท่าทกี่ ากับ

9 การส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลใน ติดตาม
สทร.
องค์การ สทร.

9.1 ความมน่ั คงปลอดภัยทางไซเบอร์ ร้อยละของการดาเนนิ การตาม สคส.
สนผ.
(Cyber) มาตรการความมนั่ คงปลอดภัยทาง
ตสน.
ไซเบอร์
สนก.
9.2 การขบั เคล่อื นระบบคลงั สือ่ การ รอ้ ยละความสาเรจ็ ของการ สคส..

เรียนรู้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ระดับการศึกษา ขับเคลอ่ื นคลังส่อื การเรียนรู้ฯ สทร./กพร.

ขน้ั พืน้ ฐาน

10 การสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรมในองค์การ

11.1 การตรวจสอบทางการเงนิ และ ระดับความสาเรจ็ ของหน่วยเบิกจ่าย

บัญชขี อง สพท. สามารถดาเนินการด้านบัญชีได้ตาม

เกณฑ์ทกี่ าหนด

11.2 โครงการพัฒนาระบบรายงาน ระดบั ความสาเรจ็ ของการรายงาน

ข้อมูลการเงินด้านการศึกษาของ ข้อมูลทางการเงนิ ของสถานศึกษา

สถานศึกษา(ระบบบัญชีการศึกษาข้ัน ถูกต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์

พนื้ ฐาน)

11.3 ระดับความสาเรจ็ ของการ ระดบั ความสาเร็จของการตรวจสอบ
ตรวจสอบดา้ นการตรวจสอบการ การดาเนนิ งาน
ดาเนินงาน”โครงการสนับสนนุ คา่ ใช้จ่าย
ในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาล
จนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน”ของ
สถานศึกษา สังกัด สพฐ.”

11.4 ระดบั ความสาเร็จการดาเนินงาน ร้อยละของโรงเรยี นที่ผ่านการ

โรงเรยี นวิถพี ุทธ ประเมนิ คะแนนระดับ 3 ขน้ึ ไป

11.5 การจดั ทาบัญชตี น้ ทนุ ตามเกณฑ์ ความสาเร็จของการจัดส่งขอ้ มลู

ประเมนิ ผลของกรมบัญชกี ลางประจาปี

11 การเสรมิ สรา้ งขวญั กาลงั ใจ/ - Online Survey

การดแู ลเอาใจใส่ผูใ้ ต้บงั คบั บัญชา

166

ภาคผนวก


168

169

170

ภาคผนวก


171

การประเมินส่วนราชการตามมาตรการ
ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตริ าชการ
ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

(เฉพาะสว่ นกลาง)

172

17

73

17

74

17

75

17

76

17

77

17

78


Click to View FlipBook Version