The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poopae.natthanun, 2021-03-24 10:13:14

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

คู่มือตัวชี้วัดของ สพท. ปี64 (ฉ.วันที่ 16 มี.ค. 64)

ค่มู ือการประเมนิ ตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสรมิ ผเู้ รียน
ใหม้ ีคณุ ลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

ส่วนที่ 2
แบบรายงานสาหรับสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

1) คาชแี้ จงการกรอกแบบฟอร์ม สพท.1-3

ศึกษานิ เทศก์ห ลั กดาเนิ น การ ร ว บ ร ว มร าย งาน ผ ล การ ดา เนิ น ง าน โ คร ง การ ส่ งเส ริ มผู้ เ รี ย น ใ ห้ มี
คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 จากโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย แล้วสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทา
รายงานในภาพรวมของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาตามแบบฟอร์ม ดงั น้ี
1. แบบฟอร์มที่ สพท.1 สรปุ ขอ้ มลู การดาเนินงานโครงการของโรงเรยี นกลุม่ เปา้ หมาย

- สังเคราะห์และรายงานจานวนโรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายท้งั หมด จานวนโรงเรียนกลุม่ เป้าหมายท้ังหมด
ท่ีดาเนินการ/ไมด่ าเนินการในแต่ละกิจกรรม และสรุปสดั ส่วนร้อยละของโรงเรยี นทด่ี าเนินงานในแต่ละกิจกรรม
(ต้องดาเนนิ งานทุกกจิ กรรม 100% จึงจะผ่านการประเมนิ ตัวชว้ี ัด)
2. แบบฟอร์มที่ สพท.2 สรุปข้อมูลการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามทักษะ
การเรยี นรู้ 3Rs8Cs

- สังเคราะห์ข้อมูลร้อยละของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดท่ีได้รับการพัฒนาให้มีทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ในภาพของสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

- วิเคราะห์สรุปข้อมูลทักษะการเรียนรู้ 3Rs8Cs ท่ีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนา และจัด
อนั ดบั ทักษะการเรยี นรู้ ฯ ท่ไี ดร้ บั การพัฒนาจากนอ้ ยไปมาก
3. แบบฟอรม์ ที่ สพท.3 การถอดบทเรยี น (Lesson learned)

- สังเคราะห์ข้อมูลจากรายงานของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายทุกโรง และสรุปรายงานเป็นภาพรวมของ
เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาตามหวั ขอ้ เปน็ รายกจิ กรรม

- จานวนไมเ่ กนิ 5 หนา้ กระดาษ A4

2) เอกสารทใี่ ชป้ ระกอบการรายงานผ่านระบบ KRS

1. แบบฟอร์มที่ สพท.1 สรุปข้อมูลการดาเนินงานโครงการของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (แนบไฟล์ .docx
พรอ้ มไฟล์ .pdf)
2. แบบฟอร์มที่ สพท.2 สรุปข้อมูลการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามทักษะการเรียนรู้
3Rs8Cs (แนบไฟล์ .xlsx)
3. แบบฟอรม์ ที่ สพท.3 การถอดบทเรยี น (Lesson learned) (แนบไฟล์ .docx พร้อมไฟล์ .pdf)
4. เอกสารประกอบอ่ืน ๆ ได้แก่ ไฟลภ์ าพถ่าย วดี ทิ ัศน์ ฯลฯ (ถา้ ม)ี

หมายเหตุ รายงานการดาเนินงานของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (แบบฟอร์ม รร.1-2 และเอกสารประกอบ)
ให้ศกึ ษานเิ ทศก์เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐานรอ่ งรอย ไม่ตอ้ งส่งให้ สพฐ.

44

คูม่ ือการประเมินตวั ชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
(สาหรับ สพท.)

แบบฟอร์มที่ สพท.1 สรุปข้อมลู การดาเนินงานโครงการของโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย

สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ........................................................................ เขต ......................................

ชื่อผู้รายงาน........................................................................................ ตาแหน่ง……………………………………
เบอร์โทรศัพท์..................................................................E-mails……………………………………………………….

กจิ กรรมการพฒั นาผู้เรียน จานวนโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย สรปุ โรงเรียน เอกสาร/
ใหม้ ีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (โรง) ดาเนนิ งาน หลกั ฐาน/
(ร้อยละ) ร่องรอย
กจิ กรรมท่ี 1 มกี ารดาเนนิ งานจัดการ ทั้งหมด ดาเนนิ การ ไมด่ าเนินการ
เรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการ 100 แนบ
จดั การเรยี นรู้ ส่อื นวัตกรรม เพ่อื พฒั นา 10 10 0 - ไฟล์ขอ้ มูล
ผู้เรยี นให้มีทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 100
21 ตามบริบทของพ้ืนทีแ่ ละผเู้ รยี น 10 10 0 (.docx พรอ้ ม.pdf/
100 .xls/ ฯลฯ)
กิจกรรมที่ 2 จดั การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 10 10 0
ดว้ ยวิธกี ารทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทของ - ไฟลภ์ าพถา่ ย
พ้ืนทแ่ี ละผเู้ รียน เชน่ การนาเสนอ -วีดิทัศน์ (ถ้ามี)
ผลงานนักเรียน ประกวด แข่งขัน - ฯลฯ
จดั คา่ ย ฯลฯ เพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ส่งผา่ นระบบ
ในศตวรรษท่ี 21 รายงานผล
การประเมิน
กิจกรรมที่ 3 นเิ ทศ กากับติดตาม สว่ นราชการ
ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงาน ตามมาตรการ
ของสถานศึกษา และสานกั งานเขตพื้นท่ี ปรับปรงุ
การศึกษา ประสทิ ธภิ าพ
ในการปฏิบตั ิ
ราชการของ
ส่วนราชการ
ประจาปี
งบประมาณ
พ.ศ. 2564

หมายเหตุ ให้ดาเนินการทุกเขตพื้นที่การศกึ ษา โดยมีโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายจานวน 10 โรงเรยี น : 1 เขตพื้นที่การศกึ ษา

45

แบบรายงานผลการดาเนินงานโครงการสง่ เสริมผเู้ รยี นใ
(สาหรับ

แบบฟอร์มที่ สพท.2 สรปุ ข้อมลู การพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีทกั ษะ

สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ........................................................................................ เขต ..................
จานวนโรงเรียนกลุม่ เปา้ หมายทั้งหมด..................10.................. โรง จานวนนกั เรยี นกล่มุ เป้าหมายทั้งหม
เรียงลาดบั ทกั ษะการเรียนรู้ 3Rs8Cs ท่ีนกั เรยี นกล่มุ เป้าหมายได้รับการพฒั นาจากมากไปหานอ้ ย (ตอบโด
เชน่ 1. R1, R2, R3, C8 2. C1 3. ...

1. ร.ร. A โรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย จานวนนักเรียน จานวนนกั เรยี น
2. ร.ร. B กลมุ่ เปา้ หมายทง้ั หมด กลุ่มเปา้ หมายท่ีได
… สรปุ รวม
10. ร.ร. J (คน) การพัฒนา (คน)

หมายเหตุ 200 200
350 350


100 85
... ...

1. การเกิดทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ขึน้ อยู่กบั การออกแบบกิจกรรมก
ดังน้นั นักเรยี นกลมุ่ เปา้ หมายอาจมีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ไมค่ รบ

2. R1 = Reading (อ่านออก) R2 = (W) Riting (เขยี นได้) R3 = (A) Rithemetics (คดิ
C1 = Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และ
C3 = Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต

C5 = Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสารสารสน

C7 = Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นร้)ู

46

คูม่ ือการประเมินตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
สพท.)
ะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามทักษะการเรยี นรู้ 3Rs8Cs

................................................
มด...................................... คน
ดยใชข้ อ้ มูลจากตาราง checklist ด้านล่าง)

น จานวนนกั เรียน ทกั ษะการเรียนรู้ 3Rs8Cs ท่ไี ดร้ ับการพัฒนา
ด้รบั กลมุ่ เป้าหมายทไ่ี ดร้ ับ
) การพฒั นา (รอ้ ยละ) R1 R2 R3 C1 C2 C3 C4 C5 C6 C7 C8
100 / / / / / / / /

100 / / / / / / / / /

… ……………………………

85 / / / / / / / / / / /

… 10 10 10 8 … … … … … … 10

การเรยี นรวู้ ่า กิจกรรมการเรยี นรูน้ นั้ สง่ ผลใหน้ ักเรียนเกดิ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ในเร่อื งใดบา้ ง
บทงั้ หมดภายในระยะเวลาการจดั กิจกรรมของโครงการ (โครงการสนิ้ สุด 30 ก.ย. 2564)
ดเลขเปน็ )
ะทกั ษะในการแกป้ ัญหา) C2 = Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม)
ตา่ งกระบวนทศั น์) C4 = Collaboration , Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความร่วมมือ

การทางาน เปน็ ทีม และภาวะผนู้ า)
นเทศ และรเู้ ท่าทันสอ่ื ) C6 = Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และ

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร)
C8 = Compassion (ความมเี มตตากรณุ า มวี ินัย คณุ ธรรม และจริยธรรม)

6

คมู่ ือการประเมินตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานโครงการสง่ เสริมผเู้ รยี นให้มคี ณุ ลักษณะและทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
(สาหรบั สพท.)

แบบฟอร์มที่ สพท.3 การถอดบทเรยี น (Lesson learned)

สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ........................................................................ เขต ......................................
ช่อื ผู้รายงาน ................................................................ ตาแหนง่ ..............................................................
หมายเลขโทรศัพทท์ ่ตี ิดต่อได้............................................. E-mail………………………………………………………

1. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เปา้ หมายในการดาเนินงานโครงการ
2.1 เชงิ ปรมิ าณ ……………………………………………………………………………………………………
2.2 เชิงคุณภาพ …………………………………………………………………………………………………..

3. ผลการดาเนนิ งานโครงการ

กิจกรรมที่ 1 มีการดาเนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม เพ่ือพัฒนา
ผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามบริบทของพน้ื ท่ีและผ้เู รียน

แนวทางการจดั กจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนนิ งาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

47

คูม่ ือการประเมินตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมท่ี 2 จัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสมกับบริบทของพื้นท่ีและผู้เรียน เช่น การนาเสนอ
ผลงานนักเรียน ประกวด แข่งขัน จดั ค่าย ฯลฯ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

แนวทางการจดั กิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลการดาเนนิ งาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 3 นิเทศ กากับติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และสานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา

แนวทางการจดั กิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

48

คู่มือการประเมนิ ตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผลการดาเนนิ งาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

49

คู่มือการประเมนิ ตัวชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วัดท่ี 2 ระดับคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษา
หนว่ ยวัด : ระดับ
คาอธบิ าย :

1. ผลการทดสอบทางการศึกษาของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ใชผ้ ลคะแนนเฉลี่ย
ของการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test: NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน โดยคานวณคะแนนเฉลีย่ จากผลการทดสอบ 2 วชิ า คือ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์

2. ผลการทดสอบทางการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ใช้ผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องคก์ ารมหาชน) โดยคานวณคะแนนเฉลย่ี จากผลการทดสอบ 5 วชิ า คือ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์

เกณฑ์การให้คะแนน :

ระดับสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา (NT/O-NET)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

(X-Y)-Y X-Y X X+Y (X+Y)+Y

หมายเหตุ :

1. คะแนนระดบั 3 กาหนดจากคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ (NT/O-NET) ปีการศึกษา 2562

2. ช่วงการปรบั เกณฑ์การให้คะแนน +/- Y หน่วย ตอ่ 1 คะแนน

วิธีกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน :
นาคา่ คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ (NT/O-NET) ปีการศึกษา2562 ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ตั้งไว้ท่ีระดับคะแนนท่ี 3 แล้วหาระยะห่างของเกณฑ์ โดยนาผลต่างของระดับคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ
(NT/O-NET) 3 ปีการศึกษา (2560 – 2562) มาเฉลยี่ แล้วกาหนดเปน็ ระยะห่างของเกณฑ์ (interval) โดยที่

X หมายถงึ คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ (NT/O-NET) ปีการศึกษา 2562
Y หมายถงึ คา่ เฉลี่ยของระยะห่างของคะแนนเฉลย่ี ระหวา่ งปี (Mean of Gap)

ตัวอยา่ ง วธิ กี ารกาหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนน

ปกี ารศกึ ษา ระยะหา่ งของเกณฑ์

ตวั ช้วี ัด 2550 2561 2561 ผลตา่ ง (1)-(2) ผลตา่ ง (2)-(3) รวมผลต่าง ชว่ งการปรับ
(1) (2) (3) ระดบั คะแนน (Y)
ระดับคะแนนเฉล่ีย
ผลการทดสอบ 38.55 37.90 36.45 38.55 – 37.90 37.90 – 36.45 0.65 + 1.45 2.10/2
NT/O-NET
= 0.65 = 1.45 = 2.10 = 1.05

ตวั ชี้วดั น้าหนัก 1 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4 5
23
ระดบั คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ
ผลการทดสอบ NT/O-NET 1.00 34.35 35.40 36.45 37.50 38.55

50

คู่มอื การประเมินตัวชี้วดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอียดข้อมูลพืน้ ฐาน

ขอ้ มูลพืน้ ฐานประกอบตัวช้ีวัด หน่วยวดั ผลการดาเนนิ งานในอดตี ปกี ารศกึ ษา
2560 2561 2562

ผลคะแนน O-NET ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6

ภาษาไทย รอ้ ยละ 49.25 47.31 42.21
28.31 31.41 29.20
ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 24.53 30.72 25.41
29.37 30.51 29.20
คณิตศาสตร์ ร้อยละ 34.7 35.16 35.70
33.23 35.02 32.34
วิทยาศาสตร์ ร้อยละ

สงั คมศึกษาฯ รอ้ ยละ

ค่าเฉลย่ี รวมท้ังหมด

ข้อมูลพืน้ ฐานประกอบตัวชี้วัด หนว่ ยวัด ผลการดาเนินงานในอดีต ปีการศึกษา
2560 2561 2562
ผลคะแนน NT ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3
52.67 53.18 46.46
ภาษาไทย ร้อยละ 37.75 47.19 44.94
45.21 50.19 45.70
คณติ ศาสตร์ ร้อยละ

ค่าเฉลี่ยรวมทั้งหมด

แหล่งข้อมลู / วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มูล :

1. ใชผ้ ลการสอบประเมินคุณภาพการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (NT) ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษา จากสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

2. ใชค้ ะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ของสานักงานเขต
พืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา จากสานกั ทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

แนวทางการดาเนนิ งาน :
ระดับ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
1. วิเคราะห์ผลการสอบ NT/O-NET ในปีการศึกษาที่ผ่านมา เพ่ือนาผลไปใช้ในการกาหนดนโยบาย

และแนวทางในการยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน ในระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
2. การสร้างความตระหนักและส่ือสารสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการทดสอบ NT/O-NET ให้แก่

บคุ ลากรในระดับเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
3. พัฒนาวิทยากรแกนนาในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพ่ือ

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ โดยมุ่งเน้นท่ีการจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับ
การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ

51

คูม่ ือการประเมินตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

4. สร้างระบบส่งเสริมสนับสนุนการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพื่อการทดสอบระดับชาติของเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาและสถานศึกษา เช่น การพัฒนาระบบคลังข้อสอบ Online เพ่ือให้บริการ การจัดทาข้อสอบ
Pre O-NET/NT และข้อสอบมาตรฐานกลาง เป็นตน้

5. กากับและติดตามเก่ียวกับการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพื่อการทดสอบระดับชาติของสานักงาน
เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาแตล่ ะแหง่ ทว่ั ประเทศ

ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
1. วิเคราะห์ผลการสอบ NT/O-NET ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา เพ่ือนาผลไปใช้ในการกาหนดนโยบาย
และแนวทางในการยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียน ในระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
2. ค้นหาสถานศึกษาท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพื่อการทดสอบระดับชาติ
และรว่ มวางแผนในการพัฒนาที่สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา
3. การสร้างความตระหนักและสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทดสอบ NT/O-NET ให้แก่
บุคลากรในระดับสถานศึกษาในสงั กดั และต่างสังกดั
4. พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพื่อ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ โดยมุ่งเน้นที่การจัดการเรียนรู้และการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้อง
กับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
5. สร้างระบบส่งเสริมสนับสนุนการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพ่ือการทดสอบระดับชาติของ
สถานศึกษา เช่น การเข้าค่ายวิชาการ พัฒนาระบบคลังข้อสอบเพ่ือให้บริการ การจัดทาข้อสอบ Pre O-NET
/NT ของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา เป็นต้น
6. กากับและติดตามเก่ียวกับการยกระดับคุณภาพผู้เรียนเพ่ือการทดสอบระดับชาติของสถานศึกษา
ทเ่ี ปน็ กลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนา

ระดับสถานศึกษา
1. วิเคราะห์ผลแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้/สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วนและ
วเิ คราะห์หาสาเหตขุ องปญั หาแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ในแต่ละสถานศึกษา (พิจารณาจากสภาพบริบทต่าง ๆ
ของสถานศกึ ษา)
2. กาหนดกลยุทธ์และแผนยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนของสถานศึกษาที่สอดคล้องสาเหตุ
ของสภาพปัญหา
3. วิเคราะห์แผนผังโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ตัวชี้วัดที่ใช้ออกข้อสอบ รูปแบบข้อสอบ
และลกั ษณะข้อสอบ เพ่ือวางแผนการเรยี นการสอน และการวดั และประเมินผลในชั้นเรียน
4. พัฒนาบุคลากรภายในสถานศึกษาเก่ียวกับการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในการทดสอบ
NT/ O-NET ผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลในชน้ั เรยี น
5. สร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ และการวัด
และประเมินผลในระดับกลุม่ สถานศึกษา และสถานศึกษา

ผกู้ ากับดแู ลตวั ชี้วดั : นายชนาธปิ ทุ้ยแป เบอรต์ ิดต่อ : 081-432-4688
ผูจ้ ัดเก็บข้อมลู : นายวทิ ยา บัวภารงั สี เบอรต์ ดิ ตอ่ : 081-660-6326

52

คู่มอื การประเมินตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชี้วดั ท่ี : 3 การพัฒนาองคก์ ารสูด่ จิ ทิ ลั Data Catalogue
ตัวชว้ี ดั ท่ี : 3.1 ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การจัดเกบ็ ข้อมูลนักเรียนรายบคุ คลทมี่ อี ยู่จริงในโรงเรยี น

ด้วยระบบ DMC : (Data Management Center)
หน่วยวดั : รอ้ ยละ
คาอธิบาย : การบริหารจัดการข้อมูลนักเรียนรายบุคคลท่ีมีอยู่จริงในโรงเรียนด้วยระบบ DMC : Data
Management Center ซึ่งเป็นระบบที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพัฒนาขึ้นเพ่ือให้
สถานศึกษาทุกแห่งและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทุกเขตดาเนินการ ตรวจสอบ และนาเข้าข้อมูลนักเรียน
รายบคุ คลท่มี ีอย่จู รงิ ในโรงเรียน เพือ่ ทาหน้าที่บรหิ ารจดั การฐานข้อมูลใหส้ ามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
โดยใหร้ บั รองและยืนยันความถูกต้องสมบูรณข์ องขอ้ มลู ตามกาหนด
สตู รการคานวณ :

จานวนโรงเรียนทเี่ ก็บข้อมลู นกั เรยี นรายบคุ คลทม่ี อี ยู่จรงิ ในโรงเรียนดว้ ยระบบ DMC : Data Management Center X100

จานวนโรงเรยี นทัง้ หมดในเขตพื้นทีก่ ารศึกษา

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

ระดับสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

1 คะแนน -

2 คะแนน -

3 คะแนน -

4 คะแนน -

5 คะแนน จานวนโรงเรยี นทจี่ ัดเก็บข้อมูลนักเรยี นท่ีมีอย่จู ริงด้วยระบบ DMC ครบ 100%

กลุ่มงานในสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาทีร่ ับผิดชอบ : กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกลเทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสาร

รายละเอียดขอ้ มูลพ้นื ฐาน :

ขอ้ มูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หนว่ ยวดั ผลการดาเนินงานในอดีต ปงี บประมาณ พ.ศ.
2561 2562 2563

อตั ราส่วนโรงเรียนที่ยนื ยันการจดั เกบ็ ข้อมูล ราย

นกั เรยี นรายบคุ คล / จานวนโรงเรียนใน โรงเรยี น

เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

หมายเหตุ : * (ถา้ มี)

53

คู่มอื การประเมนิ ตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ข้อมูล / วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล
ระดับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
1. ศึกษาวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาระบบตรวจสอบและนาเข้าข้อมูลนักเรยี นรายบุคคลมีอย่จู รงิ ใน
โรงเรยี น DMC : Data Management Center
2. พัฒนาบุคลากรระดับ สพป. สพม. และโรงเรียน ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการข้อมูล
สารสนเทศ
3. กากับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานระดับ สพป. สพม. และโรงเรียนดาเนินการจัดทา
ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลท่ีมีอยู่จริงในโรงเรียน DMC : Data Management Center ให้เป็นไป
ตามที่กาหนด
ระดับสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
1. ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนพฒั นาระบบตรวจสอบและนาเขา้ ข้อมลู นักเรียนรายบุคคล
2. พัฒนาบคุ ลากรระดบั โรงเรยี น ให้มีความรู้ความสามารถในการจดั การขอ้ มลู นักเรียนรายบุคคล
3. กากับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานระดับ โรงเรียนดาเนินการจัดทาข้อมูลนักเรียน
รายบุคคลที่มีอยู่จรงิ ในโรงเรยี น DMC : Data Management Center ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี าหนด
ระดับสถานศึกษา
1. ศึกษาวิเคราะห์และวางแผนการบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลมีอยู่จริงใน
โรงเรียน DMC : Data Management Center
2. แตง่ ตง้ั คาสั่งกาหนดตวั บุคคลในการรับผิดชอบข้อมูลนักเรยี นรายบุคคลมีอยจู่ ริงในโรงเรียน DMC
: Data Management Center
3. บันทึกข้อมูลนักเรียนรายบุคคลมีอยู่จริงในโรงเรียน DMC : Data Management Center ตามที่
สพฐ.กาหนด โดยตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และรับรองข้อมูลตามกาหนดกรอบ
เวลา

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
1. สพฐ. กาหนดนโยบายในการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลที่มีอยู่จริงในโรงเรียน DMC : Data
Management Center วางแผนดาเนินการดาเนนิ การเพื่อขับเคล่ือนตัวชว้ี ัดให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
และรวบรวมขอ้ มูลจากโรงเรียนเพ่ือ ตรวจสอบ แก้ไขปรบั ปรุง และรายงานข้อมลู นักเรียนรายบุคคลที่
มอี ยจู่ รงิ ในโรงเรียน DMC : Data Management Center ข้อมลู ณ วันที่ 10 มถิ นุ ายน 2564
2. สร้างแนวทางการดาเนินการจัดเก็บข้อมูลในระดับ สพฐ. สพท. และโรงเรียน ชี้แจงแนวทางการ
ดาเนนิ งานให้ สพท. และโรงเรยี น
3. สพฐ. แจง้ ปฏิทนิ กรอบการดาเนนิ งาน ระยะเวลาการตัดยอดข้อมูล เพื่อการใช้บริหารจัดการศกึ ษา
4.บริหารจัดการข้อมูลนักเรียนรายบุคคลท่ีมีอยู่จริงในโรงเรียน DMC : Data Management
Center เพ่อื ทาหน้าทีบ่ รหิ ารจดั การฐานข้อมลู ให้สามารถใชง้ านได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

54

คู่มือการประเมินตัวชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ระดับสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
1. สพป. สพม. วางแผนดาเนินการดาเนินกรเพ่ือขับเคล่ือนตัวชี้วัดให้บรรลุตามเป้าหมาย ช้ีแจง
แนวทางการดาเนินงาน ใหค้ าปรึกษา ติดตามใหโ้ รงเรียนดาเนนิ การกรอกข้อมลู และยืนยนั ขอ้ มูล
2. ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนดาเนินการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลที่มีอยู่จริงในโรงเรียน
DMC : Data Management Center ตามท่กี าหนด

ระดบั สถานศึกษา
1.วางแผนดาเนินการดาเนินการเพ่ือขับเคลื่อนตัวช้ีวัดให้บรรลุผลตามเป้าหมาย และจัดทาข้อมูล
นักเรยี นรายบคุ คลทมี่ ีอยู่จริงในโรงเรียน DMC : Data Management Center
2.บันทกึ ข้อมูลนกั เรยี นรายบุคคลที่มีอย่จู ริงในโรงเรียน ดว้ ยระบบ DMC : Data Management
Center ตามที่ สพฐ. กาหนด
3. ตรวจสอบความถกู ต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และยนื ยนั ข้อมลู ตามกรอบเวลาที่กาหนด

ผูก้ ากับดแู ลตัวช้ีวดั : นายเอกลกั ษณ์ ทิมทอง เบอร์ติดตอ่ : 089-7619207
ผ้จู ดั เก็บขอ้ มลู : นายจริ โรจน์ โชตพิมพ์พศิ า เบอรต์ ดิ ต่อ : 0-2288 5831

55

คมู่ อื การประเมินตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชีว้ ดั ที่ 3.2 ร้อยละความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากรทางการศึกษารายคน
ดว้ ยระบบบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล HRMS (Human Resource Management System)

หน่วยวดั : รอ้ ยละ
คาอธิบาย : การบริหารจัดการข้อมูลครูและบุคลากรรายคนด้วยระบบ HRMS (Human Resource
Management System) ซึ่งเป็นระบบที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒนาขึ้นเพื่อให้
สถานศึกษาทุกแห่งและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาทุกเขตดาเนินการตรวจสอบ และนาเข้าข้อมูลครูแล ะ
บุคลากรทางการศึกษา ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราวรายคน เพื่อสนับสนุนฐานข้อมูลBig Data
ด้านทะเบียนประวตั ิครูและบคุ ลากร โดยใหร้ บั รองและยนื ยันความถูกต้องสมบูรณข์ องข้อมูลตามกาหนด

สตู รการคานวณ :

จานวนโรงเรียนและเขตพนื้ ที่การศึกษาทเ่ี ก็บข้อมลู ครูและบุคลากรรายคนครบถว้ นสมบูรณ์ด้วยระบบ HRMS X 100
จานวนโรงเรยี นและเขตพนื้ ที่การศกึ ษาทัง้ หมดในสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

เกณฑ์การให้คะแนน : ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

รายงานความกา้ วหนา้ การประเมิน (12 เดือน)
ภายในวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 ประเมนิ ผา่ นระบบ HRMS

ระดับสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา

ระดบั 1 -

ระดับ 2 -

ระดับ 3 -

ระดบั 4 -

ระดบั 5 โรงเรียนและเขตพืน้ ที่การศึกษาจัดเก็บข้อมลู ครูและบุคลากรดว้ ยระบบ HRMS ครบ 100%

กล่มุ ในสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาที่รบั ผิดชอบ : กลุ่มบริหารงานบุคคล

รายละเอียดข้อมลู พน้ื ฐาน :

ขอ้ มูลพืน้ ฐานประกอบตัวชี้วัด หนว่ ยวัด ผลการดาเนินงานในอดตี ปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 2562 2563

การจัดเกบ็ ข้อมูลครูและบุคลากรด้วยระบบ HRMS ร้อยละ - - -

หมายเหตุ *เนื่องจากเปน็ การจดั เก็บข้อมูลครแู ละบคุ ลากรดว้ ยระบบ HRMS ครง้ั แรก จงึ ยงั ไม่มผี ลการ

ดาเนินการย้อนหลัง

56

คู่มือการประเมินตวั ช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหล่งข้อมลู / วธิ ีการจัดเกบ็ ขอ้ มูล :
ระดับสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
1. ศึกษาวิเคราะหแ์ ละวางแผนพฒั นาระบบตรวจสอบและนาเข้าข้อมูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2. พัฒนาบุคลากรระดับ สพป. สพม. และโรงเรียน ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการข้อมูล

สารสนเทศกากับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานระดับ สพป. สพม. และ สถานศึกษา ดาเนินการ
จัดทาข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS (Human Resource
Management System) ใหเ้ ปน็ ไปตามทีก่ าหนด

3. ตรวจสอบ ประมวลผล และสรปุ รายงานขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ระดับสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
1. ศึกษาวเิ คราะห์และวางแผนการบริหารจัดการข้อมลู ครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. แตง่ ตงั้ คาส่งั กาหนดตัวบุคคลในการรับผดิ ชอบข้อมูลครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
3. พัฒนาบุคลากรในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษาให้มีความรู้
ความสามารถในการจดั การขอ้ มูลครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
4. กากับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานระดับสถานศึกษาดาเนินการจัดทาข้อมูลครูและบุคลากร
ทางการศึกษาดว้ ยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS (Human Resource Management System) ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนด
5. นาเข้าและปรับปรุงข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ลกู จา้ งประจา พนักงานราชการ ลกู จ้าง
ช่ัวคราวรายคนด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS (Human Resource Management System)
ตามท่ี สพฐ. กาหนด โดยตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์และรับรองข้อมูลตามกาหนดกรอบเวลา
(ใช้ข้อมูล ณ วันท่ี 1 กันยายน 2564) มรี ายการขอ้ มูล ดงั น้ี

5.1 ข้อมูลขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

ที่ รายการ หมายเหตุ

1 ปกี ารศกึ ษา

2 ภาคการศึกษา

3 รหัสสถานศึกษา/หน่วยงาน

4 หนว่ ยงานตน้ สังกัด

ข้อมูลพ้ืนฐานบุคคล (บนั ทึกท้งั ตาแหนง่ ทม่ี ีคนครองและตาแหน่งวา่ ง)

5 เลขประจาตวั ประชาชน

6 คานาหนา้ ชอ่ื

7 ชอ่ื

8 นามสกลุ

9 วัน เดือน ปเี กิด

10 วนั เดือน ปบี รรจุ

11 สถานภาพสมรส

12 สญั ชาติ

13 ประเภทบคุ ลากร

14 ตาแหน่งเลขที่

57

ค่มู อื การประเมนิ ตัวช้ีวัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ท่ี รายการ หมายเหตุ
15 ตาแหนง่ เลขทจ่ี า่ ยตรง
16 ชอ่ื ตาแหน่ง
17 ระดบั /อันดับ ปจั จบุ นั
18 ระดบั /อนั ดับ เดมิ
19 เงนิ เดอื น ปจั จบุ ัน
20 เงนิ เดอื น เดิม
21 รอ้ ยละปจั จบุ นั
22 รอ้ ยละเดมิ
23 เงนิ วทิ ยฐานะ
24 เงนิ ค่าตอบแทน
25 เงนิ ประจาตาแหน่ง
26 วิทยฐานะ

ข้อมูลการสอน
27 ช่วงช้ันทสี่ อน
28 ระดับช้นั ทีส่ อน
29 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
30 วิชาทสี่ อน

ข้อมูลด้านการศึกษา
31 ระดบั การศึกษา
32 วุฒิการศึกษา
33 วฒุ ทิ างครู
34 กล่มุ สาขาวชิ าเอก
35 สาขาวิชาเอก
36 วนั ทปี่ รับปรุงข้อมลู

5.2 ขอ้ มูลลกู จา้ งประจา
ข้อมูลพน้ื ฐานบุคคล

1 เลขประจาตวั ประชาชน
2 คานาหน้าช่ือ
3 ชอ่ื
4 นามสกุล
5 วนั เดือน ปีเกดิ
6 วนั เดอื น ปบี รรจุ
7 ตาแหน่งเลขท่ี
8 ชื่อตาแหนง่
9 ระดบั
10 กลมุ่ งาน

58

คมู่ ือการประเมนิ ตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

11 ค่าจ้าง
12 วฒุ กิ ารศึกษา

5.3 ข้อมลู พนักงานราชการ
ข้อมูลพ้นื ฐานบุคคล

1 เลขประจาตวั ประชาชน
2 คานาหนา้ ชอ่ื
3 ชอ่ื
4 นามสกลุ
5 วัน เดือน ปเี กิด
6 วัน เดือน ปีทาสัญญาคร้ังแรก
7 ตาแหนง่ เลขที่
8 ชื่อตาแหนง่
9 กลุม่ งาน
10 คา่ ตอบแทน (เงินเดอื น)
11 วันที่เริม่ สญั ญาปัจจุบัน
12 วันท่ีส้นิ สุดสญั ญาปัจจุบัน
13 ร้อยละที่ไดร้ บั การเลอื่ นเงินเดือน

ขอ้ มูลดา้ นการศึกษา
14 ระดับการศกึ ษา
15 วฒุ ิการศึกษา
16 กลุม่ สาขาวิชาเอก
17 สาขาวิชาเอก

5.4 ขอ้ มลู ลูกจา้ งชัว่ คราว (ในงบประมาณและนอกงบประมาณ)
ข้อมูลพ้ืนฐานบคุ คล

1 เลขประจาตัวประชาชน
2 คานาหน้าชือ่
3 ชอ่ื
4 นามสกุล
5 ตาแหน่งเลขท่ี
6 ชื่อตาแหน่ง
7 คา่ ตอบแทน (เงนิ เดอื น)
8 วันท่ีเร่มิ สัญญาปจั จบุ นั
9 วนั ทส่ี ิ้นสุดสญั ญาปัจจุบัน
10 เลขทส่ี ัญญาจา้ ง

59

คมู่ ือการประเมินตัวชีว้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ขอ้ มูลด้านการศกึ ษา

11 ระดบั การศกึ ษา
12 วฒุ ิการศึกษา
13 กล่มุ สาขาวชิ าเอก
14 สาขาวิชาเอก

ระดับสถานศึกษา
1. ศกึ ษาวิเคราะหแ์ ละวางแผนการบริหารจดั การการจัดเก็บข้อมูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2. แตง่ ต้ังคาสัง่ กาหนดตวั บุคคลในการรับผิดชอบขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
3. ตรวจสอบและบันทึกข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาเพิ่มเติม ด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
HRMS (Human Resource Management System) ตามท่ี สพฐ. กาหนด โดยตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน
สมบูรณ์ และรบั รองข้อมูลตามกาหนดกรอบเวลา (ใชข้ อ้ มลู ณ วันท่ี 1 กันยายน 2564) มรี ายการข้อมูล ดงั น้ี

3.1 ขอ้ มลู ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

ที่ รายการ หมายเหตุ

1 ปีการศึกษา

2 ภาคการศึกษา

3 รหัสสถานศกึ ษา/หนว่ ยงาน

4 หน่วยงานต้นสงั กัด

ข้อมูลพน้ื ฐานบุคคล (บนั ทกึ ทง้ั ตาแหนง่ ทม่ี คี นครองและตาแหนง่ ว่าง)

5 เลขประจาตัวประชาชน

6 คานาหนา้ ชือ่

7 ชอ่ื

8 นามสกุล

9 วัน เดือน ปเี กดิ

10 วัน เดือน ปบี รรจุ

11 สถานภาพสมรส

12 สญั ชาติ

13 ประเภทบคุ ลากร

14 ตาแหนง่ เลขที่

15 ตาแหน่งเลขทจี่ ่ายตรง

16 ชื่อตาแหน่ง

17 ระดับ/อนั ดับ ปจั จบุ นั

18 ระดับ/อันดับ เดมิ

19 เงนิ เดือน ปัจจุบนั

20 เงนิ เดือน เดิม

21 ร้อยละปัจจุบนั

22 รอ้ ยละเดมิ

60

คมู่ ือการประเมินตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

23 เงนิ วิทยฐานะ ขอ้ มูลการสอน
24 เงินคา่ ตอบแทน ข้อมูลด้านการศกึ ษา
25 เงินประจาตาแหน่ง ข้อมูลพ้นื ฐานบุคคล
26 วทิ ยฐานะ
ข้อมูลพ้ืนฐานบุคคล
27 ชว่ งชนั้ ท่ีสอน
28 ระดบั ชั้นท่ีสอน
29 กลุม่ สาระการเรียนรู้
30 วิชาทส่ี อน

31 ระดับการศึกษา
32 วฒุ ิการศึกษา
33 วฒุ ิทางครู
34 กลมุ่ สาขาวิชาเอก
35 สาขาวชิ าเอก
36 วนั ท่ีปรับปรงุ ขอ้ มลู

3.2 ข้อมลู ลกู จ้างประจา

1 เลขประจาตวั ประชาชน
2 คานาหน้าชอื่
3 ชื่อ
4 นามสกลุ
5 วัน เดือน ปีเกิด
6 วนั เดอื น ปีบรรจุ
7 ตาแหนง่ เลขท่ี
8 ชอ่ื ตาแหน่ง
9 ระดบั
10 กลุ่มงาน
11 คา่ จา้ ง
12 วุฒกิ ารศกึ ษา

3.3 ขอ้ มูลพนกั งานราชการ

1 เลขประจาตวั ประชาชน
2 คานาหนา้ ช่อื
3 ชอื่

61

ค่มู อื การประเมนิ ตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

4 นามสกลุ
5 วัน เดือน ปีเกิด
6 วัน เดอื น ปีทาสัญญาคร้ังแรก
7 ตาแหน่งเลขท่ี
8 ชอ่ื ตาแหน่ง
9 กล่มุ งาน
10 ค่าตอบแทน (เงนิ เดอื น)
11 วนั ที่เร่ิมสัญญาปัจจุบนั
12 วนั ทส่ี ้นิ สุดสัญญาปัจจบุ ัน
13 ร้อยละที่ได้รบั การเลื่อนเงนิ เดือน

ข้อมูลดา้ นการศึกษา

14 ระดับการศึกษา
15 วุฒิการศกึ ษา
16 กลมุ่ สาขาวชิ าเอก
17 สาขาวิชาเอก

3.4 ข้อมลู ลกู จ้างชวั่ คราว (ในงบประมาณและนอกงบประมาณ)
ขอ้ มูลพ้ืนฐานบุคคล

1 เลขประจาตวั ประชาชน
2 คานาหนา้ ชื่อ
3 ชอื่
4 นามสกุล
5 ตาแหนง่ เลขที่
6 ชอื่ ตาแหนง่
7 คา่ ตอบแทน (เงินเดือน)
8 วันทเ่ี ร่ิมสญั ญาปัจจุบนั
9 วนั ที่สนิ้ สุดสัญญาปจั จุบัน
10 เลขที่สญั ญาจ้าง

ข้อมูลดา้ นการศึกษา
11 ระดับการศึกษา
12 วฒุ ิการศกึ ษา
13 กลมุ่ สาขาวิชาเอก
14 สาขาวิชาเอก

62

คู่มือการประเมินตวั ชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการดาเนินการ :
ระดบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
1. สพฐ. กาหนดนโยบายในการจัดเก็บข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนดาเนินการ

เพ่ือขับเคลื่อนตัวช้ีวัดให้บรรลุผลตามเป้าหมายและรวบรวมข้อมูลจากโรงเรียนเพื่อ ตรวจสอบ แก้ไขปรับปรุง
และรายงานขอ้ มูลครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกระดบั

2. สร้างแนวทางการดาเนินการจัดเก็บข้อมูลในระดับ สพฐ. สพท. และโรงเรียน ชี้แจงแนวทางการ
ดาเนนิ งานให้ สพท. และโรงเรียน

3. สพฐ. แจง้ ปฏทิ นิ กรอบการดาเนินงาน ระยะเวลาการตัดยอดข้อมลู เพอื่ การใช้บริหารจัดการศึกษา
4. บริหารจัดการข้อมูลครูและบุคลากร ด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS (Human Resource
Management System) เพ่อื ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การบริหารงานบคุ คลทกุ ระดบั ให้เกิดประสิทธิภาพ
ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
1. สพป./สพม. วางแผนดาเนินการเพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัดให้บรรลุตามเป้าหมาย ช้ีแจงแนวทาง
การดาเนนิ งาน ให้คาปรึกษา ตดิ ตามใหโ้ รงเรียนดาเนนิ การกรอกข้อมลู และยืนยนั ขอ้ มูล
2. ส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียนดาเนินการจัดเก็บข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้วยระบบ
ระบบบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล HRMS (Human Resource Management System) ตามกาหนด
3. นาเข้าและบันทึกข้อมูลบุคลากรเพิ่มเติม ด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS (Human
Resource Management System) ตามที่ สพฐ. กาหนด
ระดบั สถานศึกษา
1. วางแผนดาเนินการดาเนินการเพ่ือขับเคลื่อนตัวชี้วัดให้บรรลุผลตามเป้าหมาย และจัดทาข้อมูลครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
2. บันทึกข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาเพิ่มเติม ด้วยระบบบริหารทรัพยากรบุคคล HRMS
(Human Resource Management System) ตามที่ สพฐ. กาหนด
3. ตรวจสอบความถกู ต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์ และยนื ยันขอ้ มลู ตามกรอบเวลาท่ีกาหนด

ผูก้ ากบั ดแู ลตัวช้ีวัด : นายธนากร เปรมพลอย เบอร์ติดต่อ : 02-288-5636
ผ้จู ดั เก็บขอ้ มูล : นายธนากร เปรมพลอย เบอรต์ ดิ ต่อ : 089-788-5122

63

คู่มือการประเมินตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ัดท่ี 4 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
หนว่ ยวดั : ชว่ งคะแนน
คาอธบิ าย :

การประเมินสถานะของหน่วยงานเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) คือการบริหาร
จัดการองค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นแนวทางหลักในการพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานของการดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร โดยเมื่อยุคสมัยของการบริหารราชการแปรเปลี่ยนเข้าสู่
“ยุค 4.0” ท่ีมุ่งเน้น “การพัฒนาภาครัฐให้เป็นระบบดิจิทัล สร้างนวัตกรรม ด้วยการสานพลังจากทุกภาคส่วน”
จึงทาให้เกณฑ์ PMQA เริ่มมีรอยต่อระหว่างแนวคิดของเกณฑ์ PMQA แบบเดิม (ปี พ.ศ. 2562) กับเกณฑ์
PMQA 4.0 อันเป็นความท้าทายท่ีผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับขององค์กร ทุกคนต้องร่วมกันเรียนรู้
พัฒนา และปรับปรุงระบบการดาเนินงานให้ก้าวข้ามสู่ยคุ ใหม่ได้อย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ พร้อมสาหรับการดแู ล
และใหบ้ รกิ ารประชาชนในยุค 4.0

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีจุดมุ่งหมายให้องค์กรภาครัฐต่าง ๆ นาไปปรับใช้
เพื่อพัฒนากระบวนการส่งมอบผลผลิตและการบริการให้ดีข้ึน ปรับปรุงผลการดาเนินการ และเพ่ิมความสามารถ
ในการแข่งขัน โดยทาให้เกิดความสอดคล้องกันตั้งแต่ทิศทางองค์การ แผนปฏิบัติราชการ กระบวนการ
การตัดสินใจ บุคลากร การปฏิบัติการ และผลลัพธ์ การนาเกณฑ์นี้ไปใช้จะช่วยให้องค์กรต่าง ๆ สามารถ
ตรวจสอบหรือประเมินองค์การตนเองในทุกระบบบริหารงาน การพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ และผลลัพธ์
โดยตระหนกั ถึงคณุ คา่ ทสี่ ง่ มอบแกผ่ ู้รบั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุม่

เกณฑ์ PMQA ประกอบด้วยองค์ความรู้สาคัญในการบริหารและดาเนินงานของหนว่ ยงาน
ประเดน็ สาคญั 7 หมวด ดังนี้ ได้แก่

หมวด 1 การนาองค์การ : เป็นการตรวจประเมินว่าผู้บริหารส่ังการ หรือช้ีนาให้องค์กร
มีความย่ังยืนอย่างไร นอกจากน้ี ยังตรวจประเมินระบบการกากับดูแลองค์กร วิธีการท่ีองค์กรใช้เพื่อบรรลุ
ผลดา้ นการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย มจี รยิ ธรรม และความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม รวมท้งั การสนับสนนุ ชมุ ชนที่สาคัญ

หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ : เป็นการตรวจประเมินวิธีการในการจัดทา
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการขององค์กรการนาไปปฏิบัติ การปรับเปล่ียนเม่ือสถานการณ์
เปลย่ี นไป ตลอดจนวธิ ีการวัดผลความกา้ วหนา้

หมวด 3 การใหค้ วามสาคัญกับผ้รู บั บรกิ ารและผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย : เป็นการตรวจประเมนิ
วา่ หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อความสาเร็จของหน่วยงานในระยะยาว
อย่างไร รวมท้ังวิธีการในการค้นหาสารสนเทศของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการสร้างความสัมพันธ์
และการใช้สารสนเทศผ้รู ับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เพือ่ ปรบั ปรงุ และค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรม

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ : เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กร
มีวิธีการอย่างไรในการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการ และปรับปรุงข้อมูล สารสนเทศและสินทรัพย์
ทางความรู้ องค์กรมีการเรียนรู้และบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร รวมท้ังตรวจประเมินว่า
หน่วยงานใช้ผลการวิเคราะห์และทบทวนเพ่อื ปรับปรงุ ผลการดาเนินการอยา่ งไร

หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร : เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไรในการ
ประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากาลังด้านบุคลากร และในการสร้างสภาพแวดล้อม
ด้านบุคลากรท่ีก่อให้เกิดผลการดาเนินการที่ดี รวมทั้งตรวจประเมินถึงวิธีการสร้างความผูกพัน บริหารจัดการ

64

คู่มือการประเมินตัวชวี้ ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

และพัฒนาบุคลากร เพื่อนาศักยภาพของบุคลากรมาใช้อย่างเต็มท่ีเพ่ือสนับสนุนพันธกิจ ยุทธศาสตร์ และ
แผนปฏบิ ตั กิ ารขององคก์ ร

หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ : เป็นการตรวจประเมินว่าองค์กรภาครัฐมีวิธีการ
อย่างไรในการออกแบบ จัดการและปรับปรุงผลผลิตและการบริการ กระบวนการทางาน รวมท้ังปรับปรุง
ประสิทธิผลของระบบการปฏิบัติการ เพอ่ื ส่งมอบคุณคา่ แก่ผูร้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสยี และทาให้องค์กร
ประสบความสาเร็จและย่งั ยนื

หมวด 7 ผลลัพธ์การดาเนินการ : เป็นการตรวจประเมินว่าหน่วยงานภาครัฐมีวิธีการ
อย่างไรในการประเมินผลการดาเนินการและการปรับปรุงในด้านท่ีสาคัญทุกด้านของหน่วยงาน ได้แก่ ผลลัพธ์
ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ ผลลัพธ์ด้านการให้ความสาคัญผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
แนวทางการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบการดาเนินงานของ สพท. สู่ความเป็นเลิศ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้น
บุคลากร ผลลัพธ์ด้านการนาองค์การและการกากับดูแลองค์การ ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงินและ
การเติบโต และ ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน นอกจากน้ียังตรวจ
ประเมนิ ระดบั ผลการดาเนินการของหน่วยงานเปรยี บเทยี บกับคู่เทียบและหน่วยงานอนื่ ที่มภี ารกจิ คล้ายคลึงกนั

เกณฑก์ ารให้คะแนน :

กาหนดผลการประเมนิ เพ่อื เป็นแนวทางการประเมนิ ระดับการพัฒนา 3 ระดับ

1. ระดับพ้ืนฐาน 300 คะแนน (Basic)

2. ระดบั ก้าวหน้า 400 คะแนน (Advance)

3. ระดบั พัฒนาจนเกิดผล 500 คะแนน (Significance)

1. ระดับพื้นฐาน (Basic) มีผลประเมินเทียบเท่า 300 คะแนน ส่วนราชการที่มีคะแนน
ประเมินโดยรวมในระดับ 300 คะแนน หมายถึง มีแนวทางและการดาเนินการในเร่ืองสาคัญทุกหมวด
อย่างเป็นระบบ และมีการถ่ายทอดแนวทางต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ จนเกิดประสิทธิผลตอบสนองพันธกิจและ
หน้าทขี่ องสว่ นราชการ มแี นวคิดริเร่ิมไปสู่การเป็นระบบราชการ 4.0

2. ระดับก้าวหน้า (Advance) มีผลประเมินเทียบเท่า 400 คะแนน ส่วนราชการท่ีมี
คะแนนประเมินโดยรวมในระดับ 400 คะแนน หมายถึง มีแนวทางและการดาเนินการในเร่ืองสาคัญ
ในทุกหมวดอย่างเป็นระบบ และมีการถ่ายทอดแนวทางต่าง ๆ อย่างเป็นระบบจนเกิดประสิทธิผลตอบสนอง
พันธกิจและหน้าที่ ของส่วนราชการ และเช่ือมโยงกับความต้องการและการบรรลุ เป้าหมายของประเทศ
มกี ารพฒั นาตามแนวทางการเปน็ ระบบ ราชการ 4.0

3. ระดับพัฒนาจนเกิดผล (Significance) มีผลประเมิน เทียบเท่า 500 คะแนน
ส่วนราชการท่มี ีคะแนนประเมนิ โดยรวม ในระดบั 500 คะแนน หมายถงึ มีแนวทางและการดาเนนิ การ ในเร่ือง
สาคัญในทุกหมวดอย่างครบถ้วนเป็นระบบ และมีการถ่ายทอดแนวทางต่าง ๆ จนเกิดประสิทธิผลตอบสนอง
พันธกิจและหน้าท่ีของส่วนราชการ และเช่ือมโยงกับความต้องการและการบรรลุเป้าหมาย ของประเทศ
มกี ารบรู ณาการไปยงั ทุกภาคส่วน จนเกิดการพัฒนา ตามแนวทางการเป็นระบบราชการ 4.0 จนเกดิ ผล

65

คู่มอื การประเมินตัวชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑ์ระดับชาติ :

ฐานคะแนนเตม็ จากการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครฐั สูร่ ะบบราชการ 4.0 ของสานักงาน ก.พ.ร.

ทกุ หมวดตอ้ งได้คะแนนมากกว่า ร้อยละ 40 (ของเกณฑ์ PMQA ปี พ.ศ. 2562) และมคี ะแนนรวม 400 คะแนนข้ึนไป

จึงจะไดร้ ะดบั ดีเด่น หรอื อยู่ในระดับ Advance ซง่ึ ถือว่าผา่ นเกณฑก์ ารประเมินสูร่ ะบบราชการ 4.0

ฐานคะแนนเตม็ ในการประเมิน 1,000 คะแนน

คะแนน หมวด 1 – 6 คะแนนเต็ม 600 คะแนน

คะแนนผลลพั ธ์ หมวด 7 แบ่งเป็น 6 มิติ (7.1 – 7.6) 400 คะแนน

66

คมู่ อื การประเมินตัวช้วี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑร์ ะดบั สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ค่านา้ หนกั ระดับ ระดบั ระดับ
หมวด
ร้อยละ Basic Advance Significance

หมวด 1 การนาองคก์ ร 12 3.60 4.80 6.00
3.20 4.00
หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ 8 2.40 4.40 5.50

หมวด 3 การให้ความสาคัญผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ 11 3.30 4.00 5.50
3.60 4.50
สว่ นเสยี 4.00 5.00
24.00 30.00
หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้ 10 3.00 2.40 3.00
2.80 3.50
หมวด 5 การมงุ่ เน้นบคุ ลากร 9 2.70
2.80 3.50
หมวด 6 การมงุ่ เน้นระบบปฏบิ ตั กิ าร 10 3.00
2.80 3.50
รวม หมวด 1 - 6 60 18.00 2.40 3.00

7.1 การบรรลุผลลัพธ์ของตวั ชี้วดั ตามพันธกจิ 6 1.80 2.80 3.50

7.2 การบรรลผุ ลลพั ธต์ ามตัวช้วี ดั ดา้ นผู้รับบริการ 7 2.10 16.00 20.00
40.00 50.00
และประชาชน
ระดับ 5
7.3 การบรรลผุ ลลัพธ์ตามตวั ช้ีวัดด้านการพฒั นา 7 2.10 5.00000

บุคลากร

7.4 การบรรลุผลลพั ธ์ตามตัวช้ีวดั ด้านการเป็นต้นแบบ 7 2.10

7.5 การบรรลผุ ลลัพธต์ ามตัวช้ีวดั ด้านผลกระทบ 6 1.80

ตอ่ เศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข และส่ิงแวดล้อม

7.6 การบรรลุผลลพั ธต์ ามตัวช้วี ดั ด้านการลดตน้ ทนุ 7 2.10

การสร้างนวัตกรรม และการจดั การกระบวนการ

รวม หมวด 7 40 12.00

รวมทั้งสน้ิ 100 30.00

** นา้ หนกั ผลรวมหนา้ ระบบ KRS เทยี บค่าคะแนนเตม็ 5.0000

เกณฑ์การให้คะแนน

ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4

- - 3.00000 4.00000

คาอธิบายเกณฑ์
ค่านา้ หนกั ช่วง 30.00 – 39.99 เทยี บคะแนนระดับ 3 หมายถึง มีผลการดาเนนิ งานอยใู่ นขนั้ พนื้ ฐาน
คา่ น้าหนกั ช่วง 40.00 – 49.99 เทยี บคะแนนระดบั 4 หมายถงึ มีผลการดาเนนิ งานผา่ นการประเมิน
สถานะของหน่วยงานสู่ระบบราชการ 4.0
ค่านา้ หนัก 50.00 เทยี บคะแนนระดับ 5 หมายถงึ มผี ลการดาเนินงานเป็นระบบราชการ 4.0
มกี ารพัฒนาจนเกิดผล หนว่ ยงานสามารถ
ประเมินขอรบั รางวัลเลิศรฐั สาขา PMQA
ของสานกั งาน ก.พ.ร. ต่อไป

67

คมู่ ือการประเมินตัวชี้วดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กลุ่มงานในสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาที่รบั ผดิ ชอบ :

คือกลุ่มงานหลักท่ีเกี่ยวข้องแนวทางการดาเนินการตามประเด็นสาคั ญของแต่ละห มว ด

ซ่งึ บางสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาอาจมีกลุม่ ร่วมรับผดิ ชอบมากกว่าท่ียกตัวอยา่ ง ขนึ้ อยูก่ ับการพิจารณาเลือก

แนวทางการดาเนนิ การของกิจกรรม/โครงการ กลุม่ งานผรู้ บั ผดิ ชอบมาตอบในประเด็นของแตล่ ะหมวด

หมวด 1 การนาองคก์ ร : กลุ่มอานวยการ/กล่มุ กฎหมายและคดี

หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ : กลุ่มนโยบายและแผน

หมวด 3 การใหค้ วามสาคัญกบั ผู้รบั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี :

กลมุ่ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษา/

กลุ่มอานวยการ/กลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาทางไกลฯ

หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ : กล่มุ นโยบายและแผน/กลุ่มนิเทศติดตามฯ

หมวด 5 การมงุ่ เน้นบุคลากร : กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

หมวด 6 การมงุ่ เน้นระบบปฏิบัติการ : ทุกกล่มุ ใน สพท.

หมวด 7 ผลลพั ธก์ ารดาเนนิ การ : ทุกกลมุ่ ใน สพท.

**เลขาฯ ผู้รวบรวมการดาเนินการ จดั ทาขอ้ มูลรายงานในระบบ KRS : กลุ่มอานวยการ

รายละเอยี ดข้อมลู พ้นื ฐาน :

ข้อมูลพนื้ ฐานประกอบตัวชี้วัด หนว่ ยวัด ผลการดาเนินงานย้อนหลงั 3 ปี
2560 2561 2562

การประเมนิ สถานะของหนว่ ยงาน ผลคะแนน - - -

ในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (เต็ม 5.00)

**เนื่องจากเป็นตัวชีว้ ัดใหม่ ตามมติ ค.ร.ม. ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จงึ ยงั ไม่มีผลการดาเนินการย้อนหลงั

แหลง่ ข้อมูล / วธิ ีการจัดเก็บขอ้ มูล

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร, สานักติดตามและ

ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และสานักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา ( ตวั ช้วี ัด ITA) ได้จดั ทา

บูรณาการตัวชี้วัดร่วมกันเพื่อลดภาระการรายงานตัวชี้วัดของการปฏิบัติงานที่มีความซ้าซ้อนกัน โดยสรุป

แนวทางใชผ้ ลคะแนน/ผลการดาเนนิ การ เพือ่ ตอบแนวทางการประเมิน PMQA หมวด 1 – 7 ดงั น้ี

หมวด 1 การนาองคก์ ร : ใช้ผลการรายงานคะแนนประเมนิ ITA ของ สพท. ตอบประเดน็ การประเมนิ

หมวด 2 การวางแผนเชงิ ยุทธศาสตร์ :
 มีการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม การคาดการณ์ การเปรียบเทียบ
 เพือ่ กาหนดแผนและเปา้ หมายการดาเนินงาน
 มกี ารกาหนดวิสัยทศั น์ ภารกิจ เป้าหมาย และปจั จัยความสาเรจ็ ทช่ี ดั เจน
 มกี ารเชอื่ มโยงเปา้ หมายทีส่ อดคลอ้ งกับความต้องการของผู้รับบรกิ ารและผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี
 มีการสอื่ สาร ถา่ ยทอดเปา้ หมายและแผนการปฏิบัตงิ านไปยงั ผ้ปู ฏิบตั ิงานและผเู้ กย่ี วข้อง
 เป้าหมายการดาเนนิ งานสามารถตดิ ตามและวัดผลสาเร็จได้
 มรี ะบบการกากับ ตดิ ตาม และปรบั ตัวเพ่ือตอบสนองไดอ้ ย่างถูกต้อง รวดเร็ว

68

ค่มู ือการประเมินตวั ช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

หมวด 3 การให้ความสาคัญกบั ผู้รับบรกิ ารและผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสีย :
 มีวธิ ีการท่ีหลากหลายในการตอบสนองความต้องการของผู้รับบรกิ ารและ
ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ทีเ่ หมาะสม เกินความคาดหวัง
 มกี ารกาหนดมาตรฐานการให้บรกิ ารที่สร้างความพึงพอใจ ความประทับใจ ความ
ผูกพันของผู้รบั บรกิ ารและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย
 มีช่องทางการรับเรื่องรอ้ งเรียนทสี่ ะดวก รวดเรว็ เขา้ ถึงง่าย
 มีการตอบสนอง ติดตาม และแก้ไขเรอ่ื งร้องเรียนท่รี วดเรว็

หมวด 4 การวดั การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ :
 ข้อมูลสารสนเทศและองค์ความรู้ถูกนาไปใช้ประโยชน์
 มีการส่ือสารขอ้ มูลผลการดาเนนิ งานดว้ ยเทคโนโลยีท่ที นั สมยั รวดเรว็ งา่ ยตอ่ การ
เขา้ ใจและนาไปใช้ประโยชน์
 มมี าตรฐานการจดั เกบ็ ข้อมูล
 เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์) ได้มาตรฐาน

หมวด 5 การม่งุ เน้นบคุ ลากร
บคุ ลากรเห็นความสาคญั ในการพฒั นาตนเองเพื่อให้มีความรอบรมู้ คี วามสามารถ
ในการแกไ้ ขปัญหา
มีจริยธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี และมกี ารเตรียมความพร้อมสาหรับภารกจิ ปัจจบุ นั
และอนาคต
มีบุคลากรมีความสขุ มีความพงึ พอใจ และมีความผูกพนั ต่อองคก์ ร
บคุ ลากรมีความสมดลุ ระหว่างชวี ิตการทางานและชวี ติ ครอบครัว
บุคลากรได้รบั การสนับสนนุ ใหม้ คี วามกา้ วหนา้ ในหน้าทีก่ ารงานอยา่ งท่ัวถึง
องค์กรมีสภาพแวดล้อมในการทางานมีความปลอดภยั เพื่อสนบั สนุนการทางานท่ีมี
ประสิทธิภาพแกผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน มีวัฒนธรรมองค์กรถกู ขบั เคล่ือนด้วยบุคลากร

หมวด 6 การม่งุ เนน้ ระบบปฏิบัตกิ าร
ระบบงานมีประสิทธิภาพสอดคลอ้ งตามความต้องการของผู้รับบริการในปจั จบุ นั และอนาคต
กาหนดตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมายของกระบวนการ บนพนื้ ฐานความตอ้ งการของผู้รบั บริการ
มีการติดตาม ประเมนิ ผล และควบคมุ กระบวนการ ก่อนสง่ มอบให้ผู้รับบรกิ าร/
ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี
มีการบรหิ ารความสัมพันธ์กบั ผู้รบั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี
มีนวัตกรรมในการปฏิบัตงิ าน

หมวด 7 ผลลพั ธ์การดาเนนิ การ :
การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ในหมวดผลลัพธ์การดาเนินการตามหมวด 7 เป็น

การตรวจประเมนิ ผลการดาเนนิ การ และแนวโนม้ ของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาในมิตติ า่ ง ๆ เพ่ือให้สอดรบั กับ
ระบบการประเมนิ ผลที่สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาไดด้ าเนินการสะท้อนตัววดั ผลลพั ธ์ท่ีแสดงถึงการพัฒนาสู่ระบบ
ราชการ 4.0 ทงั้ หมด 6 มติ ิ

สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา นาเสนอตวั ชวี้ ดั ตอบผลลพั ธ์การดาเนินการตามหมวด 7
มิตลิ ะ 1 ตัวชีว้ ัด เทา่ น้ัน

69

คมู่ ือการประเมนิ ตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานนาเสนอตวั ชี้วดั ของแต่ละผลลัพธ์

ผลความสาเรจ็ ของกจิ กรรม/โครงการ (3 ตวั ช้วี ัด) เพ่ือให้สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

นามาเลอื กตอบในหมวด 7 ทง้ั 6 มิติ
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสามารถนาเสนอตัวชว้ี ดั ของแตล่ ะมติ ิได้นอกเหนอื จากท่ี

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานยกตัวอย่าง
ไมค่ วรนาเสนอตัวช้ีวัดเดยี วกันซ้าในแนวทางการตอบมติ ิหัวขอ้ อื่น ๆ
ค่าเปา้ หมาย/ผลการดาเนนิ การ สามารถตอบได้ในรูปแบบ ร้อยละ, ระดบั ความสาเร็จ

หรอื ระบจุ านวน

7.1 การบรรลผุ ลลัพธ์ของตัวชี้วัดตามพนั ธกจิ

เป็นการวัดความสาเร็จของการดาเนินการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของ

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กับพันธกิจหลักและยุทธศาสตร์ของสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งตัววัดที่ดาเนินการตามนโยบาย

และแผนของรฐั บาลทีก่ าหนดไว้ประจาปี

คา่ เป้าหมาย ความสาเรจ็ แนบ

ตัวชวี้ ดั ปี พ.ศ.2564 การดาเนนิ การ เอกสาร/

ระบตุ ัวเลข หนว่ ย ระบตุ วั เลข หนว่ ย หลักฐาน

(1) ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนินโครงการส่งเสริมผู้เรยี น

ใหม้ ีคณุ ลักษณะและทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21

(2) ระดับคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ

O-NET/NT

(3) รอ้ ยละความสาเรจ็ ในการบรรลุเป้าหมายตามแผน

ปฏบิ ตั ริ าชการของสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา

(4) ตัวชี้วัดอื่น ๆ ...........................................

7.2 การบรรลุผลลพั ธต์ ามตวั ชี้วัดด้านผู้รับบรกิ ารและประชาชน

เป็นการวัดผลด้านการให้ความสาคัญกับผู้รับการบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชนจาก

การบริการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน

การเตบิ โตของโครงการที่มงุ่ เนน้ ประโยชน์แก่กลมุ่ ผ้รู ับบริการ การสร้างสมั พนั ธ์และความรว่ มมือ

คา่ เป้าหมาย ความสาเรจ็ แนบ

ตัวชว้ี ดั ปี พ.ศ.2564 การดาเนนิ การ เอกสาร/

ระบตุ ัวเลข หนว่ ย ระบุตวั เลข หนว่ ย หลกั ฐาน

(1) ร้อยละความพงึ พอใจของผู้รบั บริการและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี

ทม่ี ีต่อสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

(2) ร้อยละความสาเรจ็ ในการสารวจความพร้อมของนกั เรยี น

ในการเรียนการสอน ทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด

ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

(3) ร้อยละของโรงเรียนขนาดเล็กมรี ปู แบบและแนวทางการ

บรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ คุณภาพ

(4) ตัวชีว้ ดั อื่น ๆ ...........................................

70

คมู่ ือการประเมนิ ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

7.3 การบรรลผุ ลลพั ธต์ ามตัวชว้ี ัดด้านการพัฒนาบคุ ลากร

เป็นการวัดความสาเร็จของการดาเนินการดา้ นการบริหารบุคคล การพฒั นา และการสรา้ ง

การมีสว่ นร่วมของบุคลากรของสว่ นราชการ เพอ่ื ให้มสี มรรถนะสงู

คา่ เป้าหมาย ความสาเรจ็ แนบ

ตัวช้วี ดั ปี พ.ศ.2564 การดาเนินการ เอกสาร/

ระบุตวั เลข หนว่ ย ระบตุ ัวเลข หนว่ ย หลกั ฐาน

(1) จานวนนวตั กรรมท่เี กดิ จากการสรา้ งและพัฒนาแนวคดิ

การเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทางาน เชน่ จานวนบุคลากร

ในสงั กดั ทไี่ ด้รบั รางวลั OBEC AWARD

(2) จานวนบุคลากรที่ได้รบั การพฒั นาเตรียมความพรอ้ ม

สาหรับการข้นึ สตู่ าแหนง่

(3) จานวนโครงการการนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ตอ่ ยอด

แนวทางนาไปตอ่ ยอดเชงิ ลกึ หรือนาไปใชแ้ กป้ ัญหาการ

ดาเนนิ งานของหน่วยงานได้

(4) ตวั ชวี้ ัดอ่ืน ๆ ...........................................

7.4 การบรรลุผลลพั ธ์ตามตัวชวี้ ัดดา้ นการเป็นต้นแบบ

เปน็ การวดั ความสาเร็จของการดาเนนิ การบรรลุเป้าหมายด้านการเปน็ แบบอย่างท่ีดหี รอื การ

เป็นตน้ แบบของผูบ้ รหิ ารและบุคลากรของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา

คา่ เปา้ หมาย ความสาเร็จ แนบ

ตวั ช้วี ัด ปี พ.ศ.2564 การดาเนินการ เอกสาร/

ระบตุ วั เลข หน่วย ระบุตวั เลข หน่วย หลกั ฐาน

(1) จานวนรางวัลทส่ี านักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาได้รบั รางวลั

จากหน่วยงานภายนอก

(2) รอ้ ยละระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดาเนนิ งาน

ของหน่วยงาน (ITA) (ระดบั A รอ้ ยละ 85.00)

(3) รางวัลผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ

ปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพสว่ นราชการประจาปี พ.ศ. 2563

มีผลการประเมินอยูใ่ นระดบั สงู กว่ามาตรฐานตามเกณฑ์

ทสี่ านกั งาน ก.พ.ร. กาหนด

(4) ตัวชีว้ ดั อืน่ ๆ ...........................................

7.5 การบรรลผุ ลลัพธ์ตามตัวช้วี ดั ดา้ นผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข และสิ่งแวดลอ้ ม
เปน็ การวัดความสาเรจ็ ของการดาเนนิ การในดา้ นต่าง ๆ ของสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาท่ี

ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกจิ สังคม สาธารณสุข และสง่ิ แวดล้อม ของพ้นื ท่แี ละประเทศ

71

ค่มู ือการประเมินตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คา่ เป้าหมาย ความสาเรจ็ แนบ

ตัวชวี้ ดั ปี พ.ศ.2564 การดาเนนิ การ เอกสาร/

ระบตุ ัวเลข หนว่ ย ระบุตัวเลข หน่วย หลักฐาน

(1) ระดับความสาเร็จตามมาตรการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย
ในหน่วยงาน

(2) รอ้ ยละของสถานศึกษาในสงั กดั จัดรายการอาหารกลางวัน
ตามโครงการฯ โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

(3) ร้อยละของสถานศึกษาในสงั กดั จดั กจิ กรรมใหค้ วามรู้
ทถ่ี กู ตอ้ งและสรา้ งจติ สานึกด้านการผลติ และบรโิ ภค
ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม

(4) ตวั ชีว้ ดั อน่ื ๆ ...........................................

7.6 การบรรลุผลลัพธ์ตามตัวชวี้ ัดด้านการลดต้นทนุ การสร้างนวตั กรรม และการจดั การกระบวนการ

เป็นการวดั ความสาเร็จของการดาเนินการบรรลเุ ปา้ หมายด้านการบริหารจัดการเพื่อการลด

ต้นทุน การสร้างนวัตกรรม และการจดั การกระบวนการ

ค่าเป้าหมาย ความสาเรจ็ แนบ

ตัวชีว้ ดั ปี พ.ศ.2564 การดาเนนิ การ เอกสาร/

ระบุตวั เลข หนว่ ย ระบุตัวเลข หน่วย หลกั ฐาน

(1) ร้อยละของการลดพลงั งานไฟฟา้ /นา้ มนั เชือ้ เ

(2) รอ้ ยละของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาท่ีจดั ทาแผน BCP

และส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษาในสังกดั จดั ทาแผน BCP

ใชเ้ ปน็ แนวปฏิบตั ิรองรบั ผลกระทบภยั พิบตั ติ ามบรบิ ท

(3) รอ้ ยละของการพฒั นาระบบรายงานข้อมูลด้านการเงนิ

ของสถานศกึ ษา ในสงั กัด

(4) ตวั ชว้ี ดั อน่ื ๆ ...........................................

แนวทางการดาเนินงาน : ระดบั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
1. ศึกษาแนวทางการประเมินตนเองแต่ละหมวด (หมวด 1 – หมวด 6) เพื่อวิเคราะห์

สถานะการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอยู่ในระดับใด ระดับพื้นฐาน (Basic), ระดับก้าวหน้า
(Advance) และระดับเกดิ พัฒนาจนเกดิ ผล (Significance) พร้อมจดั เตรียมเอกสาร หลักฐาน แนบการรายงาน
ในระบบ KRS

2. วิเคราะห์กิจกรรม/โครงการ ในแผนปฏิบัติราชการของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพอื่ นามาตอบผลสาเร็จ ผลลพั ธ์การดาเนินการในหมวด 7 ทัง้ 6 มิติ

3. ศึกษารายละเอียด องคค์ วามรู้ แนวทางการดาเนินการ เกณฑก์ ารให้คะแนนไดจ้ าก
“ค่มู ือการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) ของสานักงานเขต
พ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประจาปี พ.ศ. 2564”

ผูก้ ากบั ดูแลตวั ช้ีวดั : กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร เบอรต์ ิดตอ่ : 02-2885875
ผจู้ ัดเก็บข้อมูล : นางปุณฑริกา พนั ธุ เบอรต์ ิดตอ่ : 081-735-8759
เบอร์ติดตอ่ : 062-5924641
: นางสาวสนุ ิตย์ ฟกู ลาง

72

คมู่ ือการประเมินตวั ชว้ี ัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วัดที่ 5 การลดพลังงาน
หนว่ ยวัด : ร้อยละ
คาอธิบาย :

❖ การลดพลังงาน พิจารณาจากพลังงาน 2 ชนิด คือ พลังงานด้านไฟฟ้า และพลังงานด้านน้ามัน
เชอื เพลิง (เปา้ หมายประเทศลดไดร้ อ้ ยละ 10)

❖ มีการใช้พลังงานไฟฟ้า / การใช้พลังงานเชือเพลิงลดลงในแต่ละด้านร้อยละ 10 เทียบกับค่า
มาตรฐานการใช้พลงั งานในแตล่ ะส่วนราชการ

❖ ใช้ผลการประเมินจากระบบ e-report.energy.go.th ของส้านักงานงานนโยบายและแผนพลังงาน
กระทรวงพลังงาน (จะใช้ผลการประเมินรายเดือนเฉลี่ยในแต่ละรอบ โดยรอบท่ี 1 นับตังแต่ กันยายน 2563 -
กุมภาพันธ์ 2564 รอบที่ 2 นบั ตงั แต่ มีนาคม 2564 - สิงหาคม 2564 เนือ่ งจากใบเสร็จค่าไฟฟา้ จะออกล่าช้าไป
ประมาณ 1 เดือน)

❖ เกณฑก์ ารให้คะแนน คิดคา่ ระดบั คะแนนเต็มดา้ นละ 5 คะแนน

ตัวชวี้ ัดท่ี 5.1 พลังงานดา้ นไฟฟ้า เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
หน่วยวดั : รอ้ ยละ ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ลดลงร้อยละ 2
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าลดลงร้อยละ 4
ระดบั สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ลดลงร้อยละ 6
ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 8
ระดบั คะแนน ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 10 ขนึ ไป
1

2

3

4

5

ตวั ชี้วัดท่ี 5.2 พลังงานด้านนา้ มนั เช้ือเพลงิ

หน่วยวดั : ร้อยละ

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :

ระดบั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1 ปรมิ าณการใชน้ ้ามันเชือเพลิงลดลงรอ้ ยละ 2

2 ปรมิ าณการใชน้ า้ มนั เชอื เพลงิ ลดลงร้อยละ 4

3 ปริมาณการใชน้ า้ มนั เชอื เพลงิ ลดลงรอ้ ยละ 6

4 ปรมิ าณการใชน้ ้ามนั เชือเพลงิ ลดลงร้อยละ 8

5 ปริมาณการใชน้ า้ มนั เชือเพลงิ ลดลงร้อยละ 10 ขนึ ไป

กล่มุ ในสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาท่ีรบั ผิดชอบ : กล่มุ อ้านวยการ

73

คูม่ อื การประเมินตวั ช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอยี ดขอ้ มลู พืน้ ฐาน : ผลการดาเนนิ งานในอดีต ปงี บประมาณ

ขอ้ มูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวดั พ.ศ.
รอ้ ยละ
5. การลดพลังงาน 2561 2562 2563
5.1 ดา้ นไฟฟา้
5.2 ด้านน้ามันเชอื เพลิง -35.39 -4.55 -0.37
76.56 80.93 79.34
หมายเหตุ : * ผลการประเมินตนเอง

แหล่งข้อมูล / วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มูล
1. ใชผ้ ลการประเมินจากระบบ e-report.energy.go.th ของส้านักนโยบายและแผนพลังงาน

กระทรวงพลงั งาน (จะใชผ้ ลการประเมนิ รายเดือนเฉลี่ยในแต่ละรอบ โดยรอบที่ 1 นับตังแต่ กนั ยายน 2563 -
กุมภาพนั ธ์ 2564 รอบที่ 2 นบั ตังแต่ มนี าคม 2564 - สิงหาคม 2564 เนื่องจากใบเสร็จคา่ ไฟฟา้ จะออกลา่ ช้า
ไปประมาณ 1 เดือน)

2. สพฐ. จะน้าขอ้ มลู จากสา้ นักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่ สพท. ไดร้ ับการ
ประเมนิ มากรอกลงระบบ KRS เพ่ือนา้ ไปเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์การให้คะแนนเปน็ ค่าคะแนนของ สพท. ตอ่ ไป

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ส้านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขันพนื ฐาน ด้าเนินการรายงานข้อมลู ไฟฟ้าและนา้ มันเชือเพลงิ

เปน็ รายเดือนและรายงานขอ้ มูลอ่นื ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องในระบบ e-report.energy.go.th
2. ส้าหรับ สพฐ. ส่วนกลาง จะมีหน่วยงานที่จะน้าผลมารวมเป็นค่าคะแนนของส้านักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (ส่วนกลาง) ได้แก่ ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
กรุงเทพมหานคร ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 2 โรงเรยี นโสตศกึ ษาทุง่ มหาเมฆ และโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร

ระดับสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษา ด้าเนินการรายงานข้อมูลไฟฟ้าและน้ามันเชือเพลิง เป็นประจ้าทุก
เดือน และรายงานข้อมูลอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องในระบบ e-report.energy.go.th ส้านักนโยบายและแผนพลังงาน
กระทรวงพลังงาน ภายในวันสุดท้ายของเดือนถัดไป โดยด้าเนินการรายงานข้อมูลฯ ตังแต่เดือน กันยายน
2563 ถงึ สงิ หาคม 2564

ระดับสถานศึกษา เบอรต์ ดิ ต่อ : 02-288-5875
- เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5875
ผกู้ ากบั ดแู ลตัวช้ีวดั : ผู้อา้ นวยการกลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5875
ผูจ้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู : นางสาวนภัทร อินทรุณ เบอรต์ ดิ ต่อ : 02-288-5875

: นางสาวฐติ าภา เข็มเจรญิ
: นายปัญจพล มโนหาญ

74

คูม่ อื การประเมนิ ตวั ชว้ี ัดตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชี้วัดที่ 6 มาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครฐั

หน่วยวดั : ความสาเรจ็

คาอธบิ าย :

❖ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นเจ้าภาพเร่ืองมาตรการลด

และคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 17 กรกฎาคม 2561

ทีม่ ีมติเห็นชอบกับมาตรการลด และคดั แยกขยะมูลฝอยในหนว่ ยงานภาครฐั โดยมอบหมายทุกหน่วยงานภาครัฐ

ดาเนินงานพร้อมกันท่ัวประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2561 ตามข้อเสนอของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวง

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

❖เป็นการลดขยะใน 4 ประเภท ไดแ้ ก่

❖ ขยะมูลฝอยท่ีส่งกาจัด หมายถึง ขยะมูลฝอยท่ีหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการหาวิธี

เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้ และส่งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปกาจัดต่อ โดยส่วนมาก

จะเปน็ ขยะอันตรายและขยะทั่วไป แต่ไม่รวมถงึ ขยะจากการก่อสรา้ ง และขยะติดเชื้อจาก

สถานพยาบาล

❖ ถุงพลาสติกหูหิ้ว หมายถึง ถุงพลาสติกหูหิ้ว สายเดี่ยว พวง ท่ีผลิตจากพลาสติกทั่วไป

ทาใหย้ ่อยสลายได้ยากและส่วนใหญก่ ลายเป็นขยะทันทีหลังการใช้งานเพียงครงั้ เดียว

❖ แก้วพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง หมายถึง แก้วพลาสติกที่ผลิตจากพลาสติกทั่วไปท่ีไม่ได้

ออกแบบมาเพ่อื การใช้ซ้าและสว่ นใหญ่กลายเปน็ ขยะทันทีหลังการใชง้ านเพยี งคร้งั เดยี ว

❖ โฟมบรรจุอาหาร หมายถึง ภาชนะที่ใช้สาหรับใส่อาหารท่ีมีการทาจากโฟม อันได้แก่

กล่องข้าว ถาดขนม ถาดผลไม้ ฯลฯ แต่ไม่รวมถึงภาชนะที่ทาจากพลาสติกหรือโฟม

สาหรับใช้กันกระแทกหรือโฟมสาหรับใส่ตัวอย่างเพ่ือการทดลองหรือวิเคราะห์ผล

ตามหนา้ ทีข่ องแตล่ ะหน่วยงาน

❖ การประเมินระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จะใช้วิธีการประเมินโดยถ่ายทอดจากแนวทางการ

ประเมินของกรมควบคุมมลพิษ ประกอบกับแนวทาง/วิธีการท่ีเหมาะสมกับบริบทของสานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาโดยการประเมินผลการดาเนินการ/กิจกรรมตามท่ีกรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสงิ่ แวดลอ้ ม กาหนดให้ทุกสว่ นราชการดาเนินการ ตามประเด็นการประเมิน 10 ประเด็น ประกอบดว้ ย
ประเด็น การประเมนิ ตวั อยา่ งเอกสาร/หลักฐาน
1. มกี ารจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารลด และคัดแยกขยะมูลฝอยของ เอกสารแผนปฏิบัติการฯ
หนว่ ยงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และได้รับความ ท่ีผบู้ ริหารองค์การหรอื ผู้ท่ี
เห็นชอบจากผบู้ รหิ ารองคก์ ารหรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบอานาจจาก ไดร้ ับมอบอานาจจาก
ผบู้ ริหารองคก์ าร ผูบ้ รหิ ารองค์การเหน็ ชอบ
2. มีการคัดแยกขยะมูลฝอยเพ่ือนาไปจัดการอยา่ งเหมาะสม ถูกต้อง รปู ภาพหรอื เอกสารใน
ตามหลกั วชิ าการ ไมเ่ กิดการนาขยะมลู ฝอยทีค่ ัดแยกแลว้ กลบั ไป การดาเนนิ กิจกรรม
รวมอกี โดยมีการคดั แยกขยะมูลฝอยอยา่ งน้อย
เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทวั่ ไป
3. มปี ้ายแสดงประเภทของขยะมลู ฝอยที่ถงั ขยะอยา่ งชดั เจน รปู ภาพหรือเอกสารใน
เพือ่ ให้ผมู้ าใชบ้ รกิ ารสามารถทง้ิ ขยะได้อยา่ งถูกต้องโดยสะดวก การดาเนินกิจกรรม
4. มีการจดั ทาส่ือรณรงคก์ ารจดั การขยะในหนว่ ยงาน (วิดโี อ /อินโฟ ช่องทางการเผยแพรส่ ื่อ
กราฟฟิก เปน็ ตน้ ) รณรงคก์ ารจัดการขยะใน
หนว่ ยงาน

75

คมู่ ือการประเมนิ ตวั ชวี้ ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ การประเมนิ ตวั อย่างเอกสาร/หลักฐาน
5. มีจุดเกบ็ รวบรวมขยะอนั ตรายทเี่ หมาะสม ถูกต้องตามหลัก รูปภาพหรือเอกสารใน
6. วิชาการ การดาเนนิ กิจกรรม
7. มกี ิจกรรมให้ความรู้ในการคดั แยกขยะมูลฝอยกอ่ นทิง้ แก่ รูปภาพหรือเอกสารใน
8. เจา้ หน้าทใี่ นหน่วยงาน เชน่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ การอบรม การดาเนนิ กิจกรรม
9. KM การจดั นิทรรศการเพ่ือให้ความรู้ เป็นตน้ รูปภาพหรือเอกสารใน
10. มกี ิจกรรมส่งเสริมใหเ้ จา้ หนา้ ทม่ี ีสว่ นร่วมในการนาขยะมลู ฝอยมา การดาเนนิ กจิ กรรม
ใชป้ ระโยชน์ เชน่ หมกั ทาปุย๋ น้าหมกั ชวี ภาพ เล้ยี งไส้เดือน รูปภาพหรอื เอกสารใน
ธนาคารขยะ ผ้าปา่ รีไซเคลิ เป็นต้น การดาเนนิ กิจกรรม
มกี ิจกรรมเพื่อลดการใช้ถงุ พลาสตกิ หูห้ิว เชน่ การส่งเสริมการใช้ รูปภาพหรือเอกสารใน
ตะกรา้ ถุงผา้ ป่นิ โต ภาชนะหรอื บรรจภุ ัณฑท์ ่เี ป็นมติ รกับ การดาเนนิ กจิ กรรม
สง่ิ แวดลอ้ มในการซือ้ สินคา้ เป็นตน้ รูปภาพหรอื เอกสารใน
มกี ิจกรรมเพื่อลดการใช้แกว้ พลาสติกใชค้ รงั้ เดียวทิ้ง เชน่ การ การดาเนินกจิ กรรม
รณรงคใ์ ห้ใชแ้ ก้วส่วนตวั การลดราคาใหก้ ับลูกค้าที่นาแก้ว
สว่ นตัวมาซอื้ น้า เป็นตน้
ไม่มีการใชโ้ ฟมบรรจุอาหารในร้านคา้ ต่าง ๆ ท่ตี ้ังในหน่วยงาน
รวมถึงกจิ กรรมต่าง ๆ ที่จดั ขึ้นในหน่วยงาน และไมม่ ีการนาโฟม
บรรจุอาหารเข้ามาในหน่วยงาน

หมายเหตุ : รปู ภาพหรือเอกสารในการดาเนนิ กิจกรรม ต้องแสดงใหเ้ หน็ สภาพแวดล้อมว่าเป็นกจิ กรรมที่
ดาเนินการภายในสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :
ระดับสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

1 คะแนน สามารถดาเนินการตามประเด็นการประเมนิ ได้ 1 - 2 ประเดน็
2 คะแนน สามารถดาเนินการตามประเดน็ การประเมินได้ 3 - 4 ประเด็น
3 คะแนน สามารถดาเนนิ การตามประเด็นการประเมินได้ 5 - 6 ประเด็น
4 คะแนน สามารถดาเนนิ การตามประเดน็ การประเมนิ ได้ 7 - 8 ประเด็น
5 คะแนน สามารถดาเนนิ การตามประเดน็ การประเมินได้ 9 - 10 ประเด็น

กลมุ่ ในสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาท่รี ับผิดชอบ :
กลมุ่ อานวยการ

รายละเอยี ดขอ้ มลู พน้ื ฐาน : หน่วยวัด ผลการดาเนนิ งานในอดตี ของ สพฐ.
ความสาเรจ็ ปีงบประมาณ พ.ศ.
ขอ้ มูลพน้ื ฐานประกอบตัวชี้วัด
2561 2562 2563*
6.1 การดาเนินการตามมาตรการลด - 10 9.75
และคดั แยกขยะมลู ฝอยในหน่วยงาน
ภาครฐั 10 ประเดน็
หมายเหตุ : * ผลการประเมินตนเอง

76

คมู่ อื การประเมนิ ตวั ช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหล่งข้อมลู / วธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมูล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ดาเนินการเร่ืองมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน

ภาครฐั ตามประเด็นการประเมินจานวน 10 ประเดน็ พรอ้ มแนบเอกสารหลักฐานการดาเนนิ งาน เช่น ประกาศ
ฯ หนังสือราชการ รายงานผลการดาเนินงาน แผนการดาเนินงาน ภาพถ่าย ภาพข่าว ฯลฯ โดยรายงานใน
ระบบ KRS เท่านน้ั (ไมต่ ้องรายงานไปยังกรมควบคมุ มลพษิ )

สามารถศึกษาแนวทางตามมาตรการฯ ได้ที่เว็บไซต์ http://zerowaste.eesdobec.com
และเข้าร่วมกลุ่มเครือข่ายส่ือสังคมออนไลน์ สพฐ. ทาควา มดีด้วยหัว ใจลดภัยสิ่งแว ดล้ อ ม
ทh่ี ttp://facebook.com/groups/eesdobec

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดบั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
1. รับนโยบายเรื่องมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ ตามมติคณะรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 ที่มีมติเห็นชอบกับมาตรการลด และคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ
โดยมอบหมายทุกหน่วยงานภาครัฐดาเนินงานพร้อมกันท่ัวประเทศ ต้ังแต่วันท่ี 1 สิงหาคม 2561
ตามข้อเสนอของกรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

2. วางแผนการดาเนินงานเร่ืองมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครฐั รวมถึงการ
ถา่ ยทอดสู่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อถอื เป็นแนวปฏิบตั ริ ว่ มกนั

3. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเห็นชอบการดาเนินการตามมาตรการลดและ
คัดแยกขยะมูลฝอยของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และลงนามในแผนปฏิบัติการเพ่ือเป็น
แนวปฏิบัตริ ่วมกัน

4. กาหนดแนวทางการประเมินสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาโดยถ่ายทอดจากแนวทางการประเมิน
ของกรมควบคมุ มลพิษ ประกอบกบั แนวทาง/วิธกี ารท่ีเหมาะสมกบั บริบทของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา

5. ดาเนินการตามแผนการดาเนินงาน พร้อมท้ังรายงานผลการดาเนินงานให้กรมควบคุมมลพิษ
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ให้ทราบตามกาหนด

6. ติดตามและประเมินผลการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
7. สรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน

ระดบั สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
1. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษารับทราบแนวทางการประเมินสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา
เรอ่ื งมาตรการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย
2. วางแผนการดาเนนิ การเร่ืองมาตรการลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยในสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ในประเดน็ การประเมนิ ทก่ี าหนด ตามแนวทาง/วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมกบั บริบทของสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
3. ดาเนนิ การตามแผนการดาเนินงานเรื่องมาตรการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยของสานักงานเขต
พนื้ ที่การศึกษา ให้เกิดผลทมี่ ีประสทิ ธภิ าพจริง และประชาสัมพนั ธ์ถงึ ผรู้ บั บรกิ ารหรือบคุ คลภายนอกไดท้ ราบ
4. เก็บข้อมลู เอกสารหลักฐาน และรายงานผลการดาเนนิ งานในระบบ KRS

ระดบั สถานศกึ ษา
เตรยี มความพร้อมสาหรบั การประเมนิ ในสถานศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

77

คมู่ ือการประเมินตวั ชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ผู้กากบั ดแู ลตัวชี้วดั : ผู้อานวยการสานกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา เบอร์ตดิ ต่อ : 02-288-5897

นางสาวธญั นันท์ แกว้ เกิด เบอร์ติดต่อ : 02-288-5897

นางสาวนลนิ ี จนี กลู เบอร์ตดิ ต่อ : 02-288-5897

นางมณั ฑนา ปรยี าวนิตย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 02-288-5897

นายพรชยั ถาวรนาน เบอรต์ ดิ ต่อ : 02-288-5897

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : นางสาวนภัทร อินทรุณ เบอรต์ ดิ ตอ่ : 02-288-5875

นางสาวฐติ าภา เขม็ เจริญ เบอรต์ ิดต่อ : 02-288-5875

นายปญั จพล มโนหาญ เบอร์ติดต่อ : 02-288-5875

78

คู่มือการประเมนิ ตัวชี้วัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชว้ี ัดที่ 7 การกากบั ดูแลการทจุ ริต

หน่วยวัด : รอ้ ยละ
คาอธบิ าย :

❖ การประเมินการกากบั ดูแลการทจุ ริตของผู้บรหิ ารองคก์ าร สะท้อนจากผลการประเมิน

คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษา (Integrity and

Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยให้ความสาคัญกับการประเมิน

เพ่ือพัฒนาและยกระดับคุณธรรม ความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และการ

ขยายผลการนาเคร่ืองมือการประเมิน ITA ไปใช้เพื่อประเมินสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

❖ ในส่วนของเกณฑ์การประเมิน สานักงาน ป.ป.ช. มีการปรับปรุงพัฒนาเพ่ือให้สอดคลอ้ ง

กบั การยกระดบั ค่าคะแนนดชั นีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศอย่าง

เป็นรูปธรรม การเชื่อมโยงให้เกิดความต่อเน่ืองกับเกณฑ์การประเมินเดิม และการเช่ือมโยงกับเคร่ืองมืออ่ืนท่ี

เกี่ยวข้อง ทาให้เกณฑ์การประเมินมีเน้ือหาครอบคลุมหลายด้าน ซึ่งเก่ียวข้องกับคุณธรรม ความโปร่งใส

และการทุจริต ท้ังท่ีมีลักษณะการทุจริตทางตรงและการทุจริตทางอ้อม รวมไปถึงบริบทแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

กับการทุจริต ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานในการนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ลดโอกาสหรือความเสี่ยง

ที่จะเกิดการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ และส่งผลต่อการยกระดับคะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได้

โดยจาแนกออกเปน็ 10 ตัวช้วี ดั ไดแ้ ก่

1) การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ 6) คุณภาพการดาเนินงาน

2) การใช้งบประมาณ 7) ประสทิ ธิภาพการสื่อสาร
3) การใช้อานาจ 8) การปรับปรงุ ระบบการทางาน
4) การใช้ทรพั ย์สนิ ของราชการ 9) การเปดิ เผยข้อมลู

5) การแก้ไขปัญหาการทจุ ริต 10) การป้องกนั การทุจรติ

❖ ใช้ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษา (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากสานัก
พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา และ ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
สถานศึกษา (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จาก
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

79

คมู่ ือการประเมินตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :
ส่วนท่ี 1 พิจารณาจากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา

จาแนกระดับคะแนนออกเปน็ 5 ระดบั ดังน้ี

ระดับคะแนน คะแนนการประเมิน ITA สพท.
0 – 49.99
1
50.00 – 54.99
2 55.00 – 64.99
3 65.00 – 74.99
4 75.00 – 84.99
5 85.00 – 94.99
95.00 – 100

สว่ นท่ี 2 พจิ ารณาจากร้อยละของสถานศึกษาทผี่ ่านเกณฑก์ ารประเมินคณุ ธรรมและความ
โปรง่ ใสการดาเนินงานของสถานศกึ ษา (85 คะแนน ข้นึ ไป)

จาแนกระดับคะแนนออกเป็น 5 ระดับ ดงั น้ี

ระดบั คะแนน รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทผี่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน ITA
0 – 9.99
1
10.00 – 19.99
2 20.00 – 29.99
3 30.00 – 39.99
4 40.00 – 49.99
5 ร้อยละ 50 ขน้ึ ไป

กลุ่มในสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาท่ีรบั ผิดชอบ :

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา/ตามท่ีผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มอบหมาย

รายละเอียดข้อมลู พื้นฐาน : ผลการดาเนินงานในอดตี ปงี บประมาณ พ.ศ.
ขอ้ มูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวดั 2559 2560 2561 2562 2563
6.4 การกากับดูแลการทจุ รติ รอ้ ยละ 81.36 84.70 85.12 85.58 85.20

80

คู่มอื การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหล่งข้อมลู / วธิ กี ารจดั เก็บข้อมูล
ใช้ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

(Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากสานักพัฒนา
นวัตกรรมการจัดการศึกษา (ส่วนกลาง) และ ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดาเนินงานของ
สถานศึกษา (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จากสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา (ส่วนภูมิภาค)

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดับ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
1. กาหนดกรอบระยะเวลาดาเนนิ การ และพัฒนาระบบการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ดาเนินงานของสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและสถานศึกษา (Integrity and Transparency Assessment:
ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. ดาเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามขั้นตอนการประเมิน
และกรอบระยะเวลาดาเนนิ การทสี่ านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกาหนด

ระดบั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
1. ศกึ ษาเอกสารคู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และดาเนินการตามข้ันตอนการประเมิน กรอบระยะเวลา
ดาเนินการ และการใช้งานระบบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) เพ่ือให้การประเมิน
บรรลผุ ลตามวัตถุประสงค์และเปน็ ไปตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด
2. ดาเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามข้ันตอนการประเมิน และกรอบ
ระยะเวลาดาเนนิ การท่สี านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานกาหนด
ระดับสถานศกึ ษา
ศึกษาเอกสารคู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 และดาเนินการตามข้ันตอนการประเมิน กรอบระยะเวลาดาเนินการ และการใช้งาน
ระบบการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา ( Integrity and
Transparency Assessment Online : ITA Online) เพ่ือให้การประเมินบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และ
เป็นไปตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด

ผกู้ ากบั ดูแลตวั ช้ีวดั : นายจกั รพงษ์ วงคอ์ ้าย เบอรต์ ดิ ตอ่ : 02-288-5888
เบอร์ติดต่อ : 02-288-5878
ผจู้ ดั เก็บขอ้ มูล : นายสพลกิตติ์ สังข์ทิพย์

81

คมู่ ือการประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ตามมาตรการปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชี้วดั ท่ี 8 ระบบตดิ ตามการปฏิบตั ิงานเพ่ือการบริหารงานขององคก์ าร
หน่วยวัด : ความสาเร็จ
คาอธิบาย :

❖ ระบบติดตามการปฏิบัติงานเพ่ือการบริหารงานขององค์การ เป็นการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้
ในการติดตามและบริหารงานอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการและจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม
เพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ทีก่ าหนด และเกิดประโยชน์สูงสุด

❖ การประเมินสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ประเด็นการประเมินการใช้งานระบบสนับสนุนการ
บริหารจัดการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (AMSS++) หรือระบบอื่น ๆ ที่ช่วยให้สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา ใช้ติดตามการปฏิบัติงานเพ่ือการบริหารงานขององค์การ และส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา
ใช้ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษา (SMSS) หรือระบบอ่ืน ๆ ตามภารกิจงาน 4 ด้าน ได้แก่
1) ด้านบริหารงานท่ัวไป 2) ด้านบริหารแผนงานและงบประมาณ 3) ด้านบริหารงานบุคคล และ
4) ดา้ นบรหิ ารวิชาการ

เกณฑ์การให้คะแนน : 12 3 4 5

ระดบั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา ไม่มี สานกั งานเขต สานกั งาน สานกั งาน สานักงาน
พนื้ ที่ เขตพ้นื ที่ เขตพื้นท่ี เขตพน้ื ที่
ประเดน็ การประเมนิ นา้ หนัก การศกึ ษามี การศึกษา การศกึ ษา การศกึ ษา มี
การจดั เก็บ มกี าร สามารถนา การจัดเก็บ
1. สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามกี าร 0.4 ข้อมลู ใน สรปุ ผลออก ผลวิเคราะห์ ขอ้ มูลใน
นาระบบอิเลก็ ทรอนิกสม์ าใช้ในการ ระบบท่ีเปน็ รายงาน ขอ้ มลู ไปใช้ ระบบทงั้ 4
ตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ งาน ปัจจบุ ัน (Report) ได้ ปรบั ปรงุ ระบบ ที่เป็น
4 ด้าน ได้แก่ สามารถ พฒั นาการ ปจั จุบนั และ
- ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป เรียกดขู ้อมลู สถานศกึ ษา ให้บรกิ าร สามารถ
- ด้านบรหิ ารแผนงานและงบประมาณ ไดแ้ บบ Real ในสังกัดทม่ี ี และการ เรยี กดขู อ้ มลู
- ดา้ นบริหารงานบุคคล time ได้ การใช้ระบบ ปฏิบตั ิงาน ได้แบบ
- ดา้ นบริหารวิชาการ สามารถ ได้ Real time
มีการจดั เกบ็ ข้อมลู ในระบบทเ่ี ปน็ ไม่มี สถานศกึ ษา สรุปผลออก สรุปผลการ
ปจั จุบันและสามารถเรียกดูขอ้ มลู ได้ ในสังกัดมกี าร รายงาน สถานศึกษา ดาเนนิ งาน
แบบ Real time สรปุ ผลข้อมลู ทไ่ี ด้ จัดเก็บขอ้ มลู (Report) ได้ สามารถนา เพอ่ื นาใชใ้ น
จากการใช้ระบบและนาผลวเิ คราะห์ ในระบบท่ี ผลวเิ คราะห์ การตัดสนิ ใจ
ขอ้ มูลไปใช้ปรับปรุงพัฒนาการ เป็นปจั จบุ ัน ข้อมูลไปใช้ ของผู้บรหิ าร
ให้บรกิ ารและการปฏบิ ัตงิ าน สามารถ ปรับปรงุ ได้
เรยี กดูข้อมลู พฒั นาการ
2. สถานศึกษาในสังกัดมีการนาระบบ 0.4 ให้บริการ สถานศึกษา
อเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าใช้ระบบสนับสนนุ 82 มกี ารจดั เก็บ
การบริหารจดั การสถานศึกษา ทัง้ 4 ข้อมูลใน
ดา้ น ได้แก่ ระบบทง้ั 4
- ด้านบรหิ ารงานทัว่ ไป ระบบ
- ด้านบรหิ ารแผนงานและงบประมาณ ท่เี ป็น
- ดา้ นบรหิ ารงานบคุ คล ปจั จบุ ันและ

คูม่ ือการประเมนิ ตัวชีว้ ัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเด็นการประเมนิ น้าหนกั 1 2 3 4 5

- ดา้ นบริหารวชิ าการ ไดแ้ บบ Real ต้งั แต่รอ้ ยละ และการ สามารถ

มีการจัดเก็บข้อมูลในระบบทเี่ ปน็ time ได้ 40 - 60 ปฏิบตั งิ าน เรียกดูข้อมลู

ปัจจุบันและสามารถเรียกดขู อ้ มลู ได้ น้อยกว่ารอ้ ย ของ ได้ ไดแ้ บบ

แบบ Real time สรปุ ผลข้อมลู ท่ีได้ ละ 40 ของ สถานศกึ ษา ต้ังแตร่ อ้ ยละ Real time

จากการใชร้ ะบบและนาผลวเิ คราะห์ สถานศกึ ษา ในสังกัด 61- 80 ของ สรุปผลการ

ข้อมูลไปใชป้ รบั ปรงุ พฒั นาการ ในสงั กัด สถานศึกษา ดาเนินงาน

ให้บริการและการปฏบิ ัตงิ าน ในสงั กัด เพือ่ นาใช้ใน

การตัดสินใจ

ของผูบ้ ริหาร

ได้มากกว่า

รอ้ ยละ 81

ของ

สถานศกึ ษา

ในสังกัด

3. สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามกี าร 0.2 ไมม่ ี - - - มี

ใชร้ ะบบอเิ ล็กทรอนิกสใ์ นการประเมิน

ความพึงพอใจของประชาชนหรือ

ผรู้ บั บริการโดยมีการรวบรวมผลการ

ประเมนิ อย่างเป็นระบบ

กลุ่มในสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาท่รี ับผิดชอบ :
กลมุ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

รายละเอียดขอ้ มลู พน้ื ฐาน : ผลการดาเนนิ งานในอดีต ปงี บประมาณ

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หนว่ ยวดั พ.ศ.
ความสาเรจ็
ระบบตดิ ตามการปฏิบัตงิ านเพ่อื การบรหิ าร 2561 2562 2563
ขององค์การ
หมายเหตุ : * ผลการประเมินตนเอง ร้อยละ 70 รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 95

83

คู่มอื การประเมินตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แหลง่ ข้อมูล / วิธกี ารจัดเกบ็ ข้อมูล

ประเดน็ การประเมิน หลกั ฐาน

1. สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามีการนาระบบ 1.1 ชอ่ื ระบบงาน / URL / คู่มือการใช้งาน

อิเล็กทรอนิกสม์ าใช้ในการติดตามการปฏิบัตงิ าน 1.2 ภาพหลกั ฐานการใชง้ านท่ีเป็นปจั จุบัน

ตามภารกจิ งาน 4 ดา้ น ได้แก่ 1.3 สรุปผลการดาเนินงานรายสปั ดาห์/รายเดือน

- ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป (Capture) หน้าจอ

- ด้านบรหิ ารแผนงานและงบประมาณ 1.4 การนาข้อมลู ที่ได้จากระบบไปเสนอต่อผ้บู รหิ าร

- ด้านบริหารงานบุคคล เพื่อพฒั นากระบวนงาน หรือสนับสนุนการตดั สนิ ใจ

- ด้านบรหิ ารวชิ าการ ของผูบ้ รหิ าร

มกี ารจัดเก็บข้อมูลในระบบทีเ่ ป็นปัจจุบันและ

สามารถเรยี กดูขอ้ มลู ได้แบบ Real time สรปุ ผล

ขอ้ มลู ที่ได้จากการใช้ระบบและนาผลวเิ คราะห์ข้อมลู

ไปใช้ปรบั ปรงุ พฒั นาการให้บริการและการ

ปฏิบัติงาน

2. สถานศกึ ษาในสังกัดมกี ารนาระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ 2.1 จานวนโรงเรียนในสังกดั ทั้งหมด และจานวน

มาใช้ระบบสนบั สนุนการบริหารจดั การสถานศึกษา โรงเรยี นทีม่ กี ารนาระบบอเิ ล็กทรอนกิ สม์ าใช้ระบบ

ท้งั 4 ด้าน ได้แก่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ทงั้ 4 ดา้ น

- ด้านบริหารงานท่วั ไป 2.2 ช่ือระบบงาน / URL / คู่มือการใช้งาน

- ด้านบริหารแผนงานและงบประมาณ 2.3 ตวั อยา่ งภาพหลกั ฐานการใช้งานท่ีเปน็ ปจั จบุ นั

- ด้านบริหารงานบคุ คล ของโรงเรยี น

- ด้านบรหิ ารวิชาการ 2.4 สรุปผลการดาเนินงานรายสปั ดาห/์ รายเดอื น

มีการจดั เก็บข้อมลู ในระบบท่เี ปน็ ปจั จบุ ันและ (Capture) หน้าจอ

สามารถเรยี กดูขอ้ มูลไดแ้ บบ Real time สรุปผล 2.5 การนาข้อมูลที่ได้จากระบบไปเสนอต่อผู้บรหิ าร

ขอ้ มลู ที่ได้จากการใช้ระบบและนาผลวิเคราะห์ข้อมูล เพือ่ พฒั นากระบวนงาน หรอื สนับสนนุ การตดั สินใจ

ไปใช้ปรับปรงุ พัฒนาการใหบ้ ริการและการ ของผบู้ ริหาร

ปฏบิ ตั งิ าน *** ขอ้ 2.3 - 2.5 อาจไม่ต้องส่งมาครบทุกโรงเรียน แต่

สพท.ตอ้ งมีหลักฐานเก็บไว้ประกอบหาก สพฐ.

ต้องการตรวจสอบ

3. มกี ารใช้ระบบอิเล็กทรอนกิ สใ์ นการประเมินความ ภาพหลักฐานหน้าจอระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการ

พงึ พอใจของประชาชนหรอื ผู้รบั บริการ ประเมนิ ความพงึ พอใจของประชาชน หรอื ผ้รู ับบริการ

84

ค่มู ือการประเมนิ ตวั ชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดับ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดนโยบายในการนาเทคโนโลยีดิจิทัล

มาใชใ้ นการติดตามและบรหิ ารงานอยา่ งเป็นระบบ
2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานมีกระบวนการและจดั สรรทรัพยากรอยา่ งเหมาะสม

เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ทกี่ าหนด และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
3. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีปฏิทินในการปฏิบัติงาน และแจ้งเวียนให้

หน่วยงานในสังกัดทราบ
4. บริหารจัดการการใช้ระบบงานและสรุปผลการดาเนนิ งาน
ระดับสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา
1. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากาหนดนโยบายในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการติดตามและ

บริหารงานอย่างเป็นระบบ
2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีกระบวนการและจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพื่อให้บรรลุ

วัตถุประสงค์ท่ีกาหนด และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
3. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีปฏิทินในการปฏิบัติงาน และแจ้งเวียนให้หน่วยงาน และ

สถานศกึ ษา ในสงั กดั ทราบ
4. บรหิ ารจัดการการใชร้ ะบบงานและสรปุ ผลการดาเนินงาน

ผูก้ ากับดแู ลตัวช้ีวดั : ผูอ้ านวยการสานักเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน เบอรต์ ิดตอ่ : 02-288-5699

ผู้จัดเก็บขอ้ มลู : นางสาวเปรมฤทัย เลศิ บารุงชยั เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5705

85

คู่มือการประเมินตัวช้ีวดั ตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชวี้ ัดท่ี 9 การสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลในองค์การ
ตัวชีว้ ดั ที่ 9.1 ความมั่นคงปลอดภยั ทางไซเบอร์ (Cyber)
หนว่ ยวดั : รอ้ ยละ
คาอธิบาย : การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในองค์การ หมายถึง การนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน การบริหารจัดการภายใน การอานวยความสะดวกประชาชน การบริการภาครัฐ
และการเปดิ เผยข้อมลู ของหนว่ ยงานท่ีเปน็ ประโยชน์ ทงั้ น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานได้เห็น
ความสาคญั ในการนาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใ้ นองคก์ ร เพอื่ ความสะดวกรวดเรว็ ประหยดั เวลา งบประมาณ และ
ให้ความสาคัญกับความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ จึงสารวจการดาเนินการข้อมูลด้านความมั่นคงปลอดภัย
ทางไซเบอร์สาหรับระบบสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการหรือการกระทา
ทั้งหมดท่ีจาเป็น เพ่ือทาให้องค์กรปราศจากความเสี่ยง และความเสียหายที่มีผลต่อความปลอดภัยของข้อมูล
ข่าวสาร (Information) ในทุกรปู แบบ รวมถึงการระวงั ป้องกนั ต่อการอาชญากรรม การโจมตี การบ่อนทาลาย
การจารกรรม และความผดิ พลาดต่าง ๆ โดยคานึงถงึ องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของความปลอดภยั ของข้อมูล

สูตรการคานวณ :

คะแนนทีไ่ ด้ x 100
คะแนนเต็ม 7 คะแนน จากวิธกี ารคิดคะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา

1 คะแนน สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ไดค้ ะแนนน้อยกวา่ หรอื เท่ากับรอ้ ยละ 50
2 คะแนน สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ไดค้ ะแนนร้อยละ 51-69
3 คะแนน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ได้คะแนนร้อยละ 70-79
4 คะแนน สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ได้คะแนนรอ้ ยละ 80-89
5 คะแนน สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 90 ขึ้นไป

วิธีการคดิ คะแนน (คะแนนเตม็ 7 คะแนน)
1. มาตรการทางเทคนคิ (5 คะแนน)

1.1 มีการติดต้ังใช้งานระบบหรืออุปกรณ์ Network Firewall เพ่ือป้องกันการโจมตีจากเครือข่าย
ภายนอก (1 คะแนน)

1.2 มีการติดตั้งใช้งานโปรแกรม Antivirus/AntiMalware แบบรวมศูนย์ (Server-Client) เพ่ือ
ปอ้ งกนั แก้ไขการโจมตีของมัลแวร์ (1 คะแนน)

1.3 มีการติดตั้งใช้งานระบบ Endpoint Security ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย เพื่อควบคุม
จัดการ และดูแลแบบรวมศนู ย์ (1 คะแนน)

1.4 มีการติดตั้งใช้งานระบบยืนยันตัวตน และควบคุมสิทธิ(Authentication / Authorization /
Accounting) เพื่อควบคุมดูแลการใช้งานระบบสารสนเทศอย่างเหมาะสม และมั่นคงปลอดภัย
(1 คะแนน)

86

คู่มอื การประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1.5 มีการติดต้ังใช้งานระบบจัดเก็บล็อก (Centralize Log)ให้สอดคล้องกับกฎหมาย และ พรบ.
คอมพิวเตอร์ (1 คะแนน)

2. มาตรการดา้ นโครงสร้างองคก์ ร และระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (1 คะแนน)
 มีการจัดตั้งคณะทางานเพ่ือบริหารจัดการความม่ันคงปลอดภยั ทางไซเบอร์

3. มาตรการด้านบุคลากร (1 คะแนน)
 มกี ารอบรมและสรา้ งความตระหนักด้านความมน่ั คงปลอดภัยไซเบอร์

กลมุ่ งานในสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาที่รับผิดชอบ : กลุ่มสง่ เสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสาร

รายละเอียดขอ้ มูลพืน้ ฐาน : หนว่ ยวดั ผลการดาเนนิ งานในอดตี ปีงบประมาณ พ.ศ.
225 เขต
ขอ้ มูลพ้นื ฐานประกอบตัวช้ีวัด 2561 2562 2563

ข้อมลู จากการสารวจการดาเนินการ 129 เขต ผ่าน 134 เขต ผ่าน
ข้อมูลดา้ นความมั่นคงปลอดภยั ทางไซ
เบอร์สาหรบั ระบบสารสนเทศของ เกณฑ์ 70% เกณฑ์ 70%
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หมายเหตุ : * (ถา้ มี) และไม่ผา่ น และไมผ่ ่าน

เกณฑ์ 96 เขต เกณฑ์ 91 เขต

แหล่งข้อมูล / วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล
1. ขอ้ มูลจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จานวน 225 เขต
2. จดั ทาแบบสารวจให้สอดคล้องกบั ตัวช้วี ดั เพ่อื แจง้ ใหส้ านกั งานเขตดาเนนิ การ

แนวทางการดาเนนิ งาน :
ระดับสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
1. ติดต้งั ใช้งานอุปกรณ์ Network Firewall
2. ติดตง้ั ใช้งานโปรแกรม Antivirus/AntiMalware
3. ตดิ ต้ังใช้งานระบบ Endpoint Security
4. ติดต้งั ใชง้ านระบบยืนยันตวั ตน และควบคุมสิทธิ
5. ติดต้ังใช้งานระบบจดั เกบ็ Log File ใหส้ อดคลอ้ งกับกฎหมาย และ พรบ. คอมพิวเตอร์
6. จัดต้งั คณะทางานเพื่อบรหิ ารจัดการความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์
7. อบรมและสร้างความตระหนักด้านความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์

ผูก้ ากับดูแลตวั ชี้วดั : นายทรงฤทธ์ิ สรอ้ ยอาภรณ์ เบอร์ติดต่อ : 091-4280443

ผจู้ ดั เก็บข้อมูล : นายสมคดิ จรียานุวฒั น์ เบอรต์ ิดตอ่ : 093-0591555

87

คู่มอื การประเมนิ ตวั ช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แบบสารวจ
ข้อมูลด้านความม่นั คงปลอดภัยทางไซเบอรส์ าหรับระบบสารสนเทศของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
1. รายละเอียดผู้ใหข้ ้อมูล
ชื่อหน่วยงาน …………………………………………………………………………….
ชือ่ -นามสกลุ …………………………………………………………………………….
ตาแหน่ง …………………………………………………………………………………..
เบอรโ์ ทรศัพท…์ ………………………………………………………………………….
อีเมล…………………………………………………………………………………………
2. คาถามแบบสารวจ

2.1 ทา่ นมีการติดตั้งใช้งานอุปกรณ์ดา้ นความมั่นคงปลอดภยั ใดบา้ งตอ่ ไปนี้ (สามารถเลือกได้มากกวา่ 1)

☐ Network Firewall
☐ Web Application Firewall
☐ Antivirus/Antimalware
☐ Endpoint Security
☐ อุปกรณ์หรือระบบอื่นนอกเหนือจากทีร่ ะบขุ า้ งต้น โปรดระบุ (ยหี่ อ้ /ช่ือ/จานวน)………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
2.2 ท่านมกี ารติดตัง้ ใช้งานระบบจดั เก็บ Log File ใหส้ อดคล้องกับกฎหมาย และพรบ. หรอื ไม่

☐ มี โปรดระบุ ยี่หอ้ /ชอ่ื …………………………………………………………………………………………………...
ระบุพ้ืนที่จัดเกบ็ ข้อมลู Log ต่อวัน (Gigabyte/Day)………………………………………………………………
☐ ไมม่ ี
2.3 ทา่ นมีการติดต้ังใช้งานระบบยืนยนั ตวั ตน และควบคุมสิทธิ (Authentication /
Authorization / Accounting) หรอื ไม่

☐ มี โปรดระบุ ยี่ห้อ/ชอ่ื …….……………………………………………………………………………………………
☐ ไมม่ ี
2.4 โปรดระบุจานวนคอมพิวเตอรท์ เ่ี ชื่อมต่อเพ่อื ใช้งานระบบเครอื ขา่ ยของทา่ น

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……........................................................................................................................... ............................................

2.5 ท่านมีการจดั ตง้ั คณะทางานเพือ่ ประสานงานกบั คณะทางานเพือ่ บริหารจดั การความมั่นคง
ปลอดภยั ทางไซเบอร์ของสานกั งานสว่ นกลาง หรือไม่

☐ มี โปรดระบุ เลขท่ีคาส่งั แต่งตัง้ คณะทางาน………………………………………………………………….....
☐ ไม่มี
2.6 ทา่ นมกี ารจัดฝกึ อบรมความรู้ความตระหนกั ดา้ นความมนั่ คงปลอดภัยทางไซเบอร์ หรือไม่

☐ ไม่เคยจดั การฝึกอบรม

88

คู่มอื การประเมินตวั ช้ีวัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

☐ เคยจัดการฝึกอบรม โปรดระบุ วันเวลาและสถานทจี่ ัดฝึกอบรม………………………………………..
……………………………………….………………………………………………………………………………………………
3. ข้อมูลรายละเอียดระบบสารสนเทศ
โปรดระบุ รายละเอียดของอุปกรณ์เครือข่าย อปุ กรณด์ ้านความมั่นคงปลอดภัย ระบบปฏบิ ัติการ และ
แอปพลเิ คชนั
3.1 อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device)

ย่หี อ้ /รุ่น จานว รายละเอียดเพ่มิ เตมิ


3.2 อุปกรณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัย (Security Device)

ย่หี ้อ/รุ่น จานว รายละเอียดเพ่ิมเติม


3.3 เคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (ท้ังทเ่ี ปน็ แบบ Physical และ Virtual Machine)

ประเภทของ Server ระบบปฏิบัติกา จานว รายละเอยี ดเพิม่ เติม Applicationที่

รน ตดิ ตง้ั

3.4 ระบบ Virtualization หรือการใช้บริการ Cloud

☐ VMware ☐ Microsoft Hyper-V ☐ Amazon Cloud ☐ Azure

☐ อ่ืนๆ (โปรดระบ)ุ

ย่ีหอ้ /รนุ่ จานวน รายละเอียดเพม่ิ เติม

3.5 อุปกรณ์ หรือระบบอ่นื ทใ่ี หบ้ ริการสารสนเทศ

ย่ีหอ้ /รุ่น จานวน รายละเอียดเพม่ิ เตมิ

89

คมู่ อื การประเมินตัวช้วี ัดตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ดั ท่ี 9.2 การขับเคลื่อนระบบคลงั สือ่ การเรยี นรเู้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
หน่วยวดั : ความสาเรจ็
คาอธบิ าย : การขบั เคลือ่ นระบบคลงั ส่ือการเรียนรเู้ ทคโนโลยดี ิจิทัล ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน หมายถึง
การดาเนินการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาในการขับเคลื่อนระบบคลังส่ือการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสู่โรงเรียน อย่างน้อยจานวนร้อยละ 50 ของจานวนโรงเรียนท้ังหมดในสังกัด โดย
ดาเนนิ การตาม 6 กิจกรรม ดังน้ี

กิจกรรมท่ี 1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเข้าร่วมการอมรมให้ความรู้เก่ียวกับระบบคลังสื่อการ
เรียนรู้เทคโนโลยดี ิจิทลั ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ทีจ่ ัดโดยสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

กจิ กรรมท่ี 2 สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาดาเนินการแต่งตั้งคณะทางานขบั เคล่ือนคลังสื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา

กิจกรรมท่ี 3 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษากาหนดแผนการดาเนินการขับเคลื่อนระบบคลังสื่อการ
เรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ระบบคลังสื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับโรงเรียนในสังกัด รวมถึงการพัฒนาครูและบุคลากรทาง
การศึกษาให้มคี วามรูใ้ นการใช้และสร้างส่อื การเรยี นรเู้ ทคโนโลยีดิจิทลั ในการจดั การเรียนรู้ใหแ้ กน่ ักเรยี นได้

กิจกรรมท่ี 4 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาดาเนินการตามแผนที่กาหนด ในการเผยแพร่และ
ประชาสมั พนั ธ์ ระบบคลงั สอื่ การเรยี นรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหก้ บั โรงเรยี นในสังกัด

กิจกรรมที่ 5 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาดาเนินการตามแผนที่กาหนด ในการพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ในการใช้และสร้างส่ือการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
นกั เรียนได้

กิจกรรมที่ 6 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสรา้ งเครือข่ายครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรยี น
ในสังกัด ในการขบั เคล่อื นระบบคลงั สอ่ื การเรยี นรู้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

เกณฑก์ ารให้คะแนน :

ระดับสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา

รายการประเมิน น้าหนกั 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

กจิ กรรมที่ 1 0.1 ไม่เขา้ รว่ มอบรม - - - เขา้ ร่วมอบรม

กจิ กรรมท่ี 2 0.1 ไม่ดาเนนิ การ - - - ดาเนนิ การแตง่ ต้งั

แตง่ ตัง้ คณะทางาน คณะทางาน

ระดบั สพท. ระดบั สพท.

กจิ กรรมที่ 3 0.2 กาหนดแผนการ กาหนดแผนการ กาหนดแผนการ กาหนดแผนการ กาหนดแผนการ

เผยแพรร่ ะบบคลัง เผยแพร่ และ เผยแพร่ และ เผยแพร่ และ เผยแพร่ และ

สือ่ ฯ ประชาสมั พันธ์ ประชาสมั พันธ์ ประชาสมั พันธ์ ประชาสมั พนั ธ์

ระบบคลังสอ่ื ฯ ระบบคลังส่อื ฯ ระบบคลงั ส่ือฯ ระบบคลงั ส่อื ฯ

และแผนพัฒนาให้ และแผนพัฒนาให้ และแผนพัฒนาให้

ความรู้การใช้ส่ือ ความรู้การใชแ้ ละ ความรูก้ ารใช้และ

การเรยี นรู้ การสร้างสอ่ื การ การสร้างส่ือการ

เทคโนโลยีดิจทิ ลั เรียนรเู้ ทคโนโลยี เรยี นรเู้ ทคโนโลยี

ในการจัดการ ดจิ ทิ ลั ในการ ดิจทิ ัลในการ

เรียนรู้ ให้แกค่ รู จัดการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้

90

คู่มือการประเมินตัวช้วี ดั ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายการประเมิน นา้ หนกั 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
กิจกรรมที่ 4 0.2
กจิ กรรมที่ 5 0.2 และบุคลากร ใหแ้ ก่ครูและ ให้แก่ครูและ
กจิ กรรมท่ี 6 0.2
ทางการศกึ ษา บคุ ลากรทางการ บุคลากรทางการ

ศึกษา ศึกษา ระยะสั้น

ระยะปานกลาง

และระยะยาว

ดาเนนิ การเผยแพร่ และประชาสมั พนั ธ์ระบบคลังสือ่ ฯ ใหก้ บั โรงเรยี นในสังกัด

นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 20 – 29 รอ้ ยละ 30 – 39 ร้อยละ 40 – 49 ต้งั แต่ร้อยละ 50

20 ของจานวน ของจานวน ของจานวน ของจานวน ขึ้นไปของจานวน

โรงเรียนทง้ั หมด โรงเรยี นท้ังหมด โรงเรียนท้ังหมด โรงเรียนทัง้ หมด โรงเรยี นทั้งหมด

ในสงั กดั ในสังกดั ในสังกดั ในสังกัด ในสงั กดั

ดาเนินการพัฒนาให้ความรู้ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรยี นในสงั กัดในการใชแ้ ละ

สร้างสื่อการเรยี นรเู้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการจัดการเรียนรู้

น้อยกวา่ ร้อยละ ร้อยละ 20 – 29 รอ้ ยละ 30 – 39 รอ้ ยละ 40 – 49 ต้ังแตร่ ้อยละ 50

20 ของจานวน ของจานวน ของจานวน ของจานวน ข้นึ ไปของจานวน

โรงเรยี นทั้งหมด โรงเรียนทั้งหมด โรงเรียนทั้งหมด โรงเรยี นท้ังหมด โรงเรียนทั้งหมด

ในสังกัด ในสงั กัด ในสงั กัด ในสงั กัด ในสังกดั

สร้างเครอื ขา่ ยครูและบคุ ลากรทาง การศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั ในการขบั เคลื่อนระบบคลัง

สอื่ การเรยี นรเู้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 20 – 29 ร้อยละ 30 – 39 ร้อยละ 40 – 49 ตง้ั แต่ร้อยละ 50

20 ของจานวน ของจานวน ของจานวน ของจานวน ขนึ้ ไปของจานวน

โรงเรียนทง้ั หมด โรงเรยี นทั้งหมด โรงเรยี นทั้งหมด โรงเรยี นทัง้ หมด โรงเรยี นทง้ั หมด

ในสงั กัด ในสังกดั ในสงั กัด ในสังกัด ในสังกดั

กลุม่ งานในสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาทร่ี บั ผิดชอบ : กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา
และผู้ที่เกย่ี วข้อง

รายละเอียดข้อมูลพน้ื ฐาน : หน่วยวดั ผลการดาเนนิ งานในอดตี ปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 2562 2563
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด
ความ - --
การขับเคลื่อนระบบคลังสอ่ื การเรียนรู้
เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน สาเร็จ

แหล่งข้อมูล / วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มูล

รายการประเมิน หลักฐาน

กจิ กรรมที่ 1 ภาพหลักฐานการเข้ารว่ มการอบรม / หนังสอื ราชการ / สรุปความรู้ที่ได้จาก

การอบรม

กจิ กรรมที่ 2 คาส่งั แตง่ ต้ังคณะทางาน

กิจกรรมที่ 3 แผนการดาเนินงาน

91

รายการประเมิน คมู่ อื การประเมินตัวช้ีวัดตามมาตรการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของ สพท.
กจิ กรรมที่ 4 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
กจิ กรรมท่ี 5
หลกั ฐาน
กจิ กรรมท่ี 6 ภาพหลักฐานการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ / สรุปการ
ดาเนินงานตามแผนทีก่ าหนด / แบบรายงานผลการดาเนินงาน
ภาพหลักฐานการพัฒนาให้ความรู้ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการใช้
และสร้างสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ / สรุปการ
ดาเนนิ งานตามแผนทก่ี าหนด / แบบรายงานผลการดาเนนิ งาน
หลักฐานการสร้างเครือข่ายครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ
/ แบบรายงานผลการดาเนินงาน

แนวทางการดาเนินงาน :
ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
1. จัดอบรมผู้รับผิดชอบ ระดับสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับระบบคลังส่ือการ

เรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นาไปสู่การขับเคลื่อนระบบคลังสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานในโรงเรยี น

2. บรหิ ารจดั การระบบคลงั ส่ือการเรียนร้เู ทคโนโลยีดิจทิ ัล ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
3. จัดทารายละเอียดข้อมูล (Metadata) รายการส่ือท่ีเป็นระบบหมวดหมู่ และนาเข้าระบบคลังสื่อ
การเรยี นรู้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
4. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเครือข่ายขับเคลอื่ นระบบคลังส่ือการเรียนรู้เทคโนโลยดี ิจิทัล ระดับ
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ให้กับสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

ระดบั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
1. กาหนดผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนระบบคลังส่ือการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน โดยมคี าสงั่ แต่งต้ังคณะทางานขับเคล่อื น
2. เข้าร่วมการอบรมเก่ียวกับการขับเคล่ือนระบบคลังสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ทสี่ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานเป็นผจู้ ัดอบรม
3. จัดทาแผนการดาเนินการขับเคล่ือนระบบคลังสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีดิจิทัล ระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน ให้แกโ่ รงเรียนในสงั กดั
4. ดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนดในการเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ ระบบคลงั ส่อื การเรียนรเู้ ทคโนโลยี
ดจิ ิทลั ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานให้กับโรงเรียนในสังกัด
5. ดาเนนิ การตามแผนที่กาหนด ในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ในการใช้และ
สร้างสอื่ การเรียนรเู้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลในการจดั การเรยี นร้ใู ห้แก่นกั เรียนได้
6. สร้างเครือข่ายครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด ในการขับเคล่ือนระบบคลังสื่อ
การเรยี นรเู้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ผ้กู ากับดแู ลตวั ช้ีวดั : ผู้อานวยการสานกั เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน เบอร์ติดตอ่ : 02-288-5699
ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มูล
: นายอทุ ัย ไชยกลาง เบอรต์ ิดต่อ : 02-288-5718 - 20

นางสาวณารยี อ์ ร ภรณ์ธนธร เบอรต์ ดิ ต่อ : 02-288-5718 - 20

92


Click to View FlipBook Version