The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawat789.jp, 2022-01-04 17:23:13

นิยามธรรม ๑

นิยามธรรม ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

นิยามธรรม

หนา้ ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

หมวด ๒

อปุ การธรรม ๒

สติ ความระลกึ ได้ สมั ปชัญญะ ความรูต้ ัว

บทนยิ าม
o รูต้ นทั่ว รู้ตัวถงึ
o ระลึกทั่ว รูต้ วั ทกุ ขณะ
o หริ ความละอายแก่ใจ

โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั ต่อบาป
o อายบาปถี่ถ้วน เกรงกลัวทกุ กระบวน
o หญิงให้ละอาย ชายใหเ้ กรงกลัว
o อายบาป อยา่ อวดตัว

เกรงกลวั อย่ามีมานะ

หน้า ๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o อายช่ัว กลัวบาป
o ชว่ั หาย คลายบาป

ธรรมอนั ทาใหง้ าม
ขันติ ความอดทน โสรจั จะ ความเสงยี่ ม

บทนิยาม
o อดทน จนพ้นชว่ั

เสง่ยี มเจียมตวั จนพ้นภยั
o อดทนเย่ียม เสงีย่ มงาม

ปาพจน์ ๒
ธรรม คอื ส่ิงทท่ี รงไว้ ได้แก่ คาสอน
วนิ ัย คือสง่ิ ที่นาออก ได้แก่ สงั วร คาสงั่ ศีล

คานยิ าม
o ธรรมะ รกั ษาใจ วินัย รกั ษากาย
o ถอื ธรรมผ่องใส ถือวินยั สะดวก

หน้า ๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ธรรมะแท้ๆ ต้องแก้ทกุ ขไ์ ด้

วินัยแท้ๆ ต้องแก้ปัญหา

o คาส่งั ให้ปดิ ปากบอน

คาสอนให้หยุดพดู มาก

o คาสง่ั ใหด้ ับนวิ รณ์

คาสอนให้ดบั อวชิ ชา

o ขาดศลี ตกต่า ขาดธรรมหมดคณุ ค่า

o ซบั ไว้ ซึมหาย

o อภธิ รรมนาไป อภิวนิ ยั คมุ้ ครอง

บคุ คลหาไดย้ าก
กตัญญู ผู้รคู้ ุณทบ่ี คุ คลอ่ืนทาแก่ตน
กตเวที รู้ตอบแทนคุณที่เขาทาแลว้

คานยิ าม
o ร้จู กั คุณคา่ หาเวลาตอบแทน

หนา้ ๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ภาวนา ๒

๑. สมถะภาวนา อบุ ายใหส้ งบ

๒. วปิ ัสสนาภาวนา อบุ ายใหส้ วา่ งเหน็ แจง้

บทนิยาม
o สงบไม่ขาด ฉลาดทุกเม่อื

หมวด ๓

บญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๓
ทาน การให้ การเสยี สละ
ศลี การสารวมระวัง
ภาวนา การเจรญิ ภาวนา

o ทาน นิยามธรรม
ศีล สละไม่หวงั
ระวังไมห่ นี

หนา้ ๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ภาวนา เจริญใหเ้ ต็มที่

o เอ้อื เฟอื้ แบง่ ปนั

สร้างสรรค์ สังคม

นยิ ม ความเจริญ

o ใหท้ าน กาจัดมลทนิ

รักษาศีล กาจัดโกรธา

ภาวนา กาจดั โมหงั

o สละให้สิ้น รักษาศลี ให้สง่า ภาวนาให้ผ่องใส

o ทาน....ฝึกหดั ศีล....เจนจดั ภาวนา....แจม่ ชัด

o ศลี ทาใหเ้ บกิ บาน

ทาน ทาให้สงา่

ภาวนา ทาใหบ้ ริสทุ ธ์ิ

o ลา้ งมลทิน (ตระหนี่)

สงเคราะหถ์ ิ่นเดมิ (กาย-ใจ =ศีล)

เสริมสรา้ งปัญญา (จิตใจ)

o ชวี ติ ปลอดภัย กายใจสง่า ปัญญาฉลาด

หน้า ๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ให้ทาน ก่อนกนิ

ถือศีล ก่อนออกจากบ้าน

ภาวนา ก่อนหลับกอ่ นนอน

o รู้ให้จัง ระวังไว้ ใหพ้ ิจารณาตน

o สิง่ ทเ่ี ลศิ ลา้ (ทาน)

ธรรมะพ้ืนฐาน (ศลี ธรรม)

ท่พี ่ึงตลอดกาล ภาวนา)

o ให้ทาน กาจัดตระหนี่

รักษา ศีลกาจัดอเวจี

ภาวนา พาขา้ มทุกขี

o สละ ให้เต็มที่

ระวัง อยา่ งดี

ภาวนา สร้างราศี

สกิ ขา ๓

ศลี การระวังรักษากายวาจา

หน้า ๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

สมาธิ ความตัง้ มั่นของจติ ใจ

ปญั ญา ความรอบรู้กองสังขาร

บทนิยาม

o ระวงั ตงั้ มนั่ รทู้ ัน

o ระวังไว้ ต้งั ใจดี มีไหวพรบิ

o ระวัง ตั้งใจ รู้ไว

o รใู้ ห้จงั ระวงั ใหจ้ รงิ ทาจติ ให้น่งิ

o ศีล-มี สมาธ-ิ เดน่ ปญั ญา-เน้น

o ระวงั ตงั้ มน่ั รู้เห็นธาตขุ นั ธ์ตามจริง

o ปลอดภยั ใจตั้งมัน่ ฉลาด

รทู้ ัน

o เวรไกล ภัยหา่ ง วางสขุ ใจ

o งาม (ศีล) งา่ ย (สมาธิ) หายโง่ (ปัญญา)

o สะอาด (ศลี ) สวา่ ง (ปัญญา) สงบ (สมาธ)ิ

o ศีลนา ธรรมเดน่ เห็นลา้

หน้า ๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ศีล-มี สมาธ-ิ เดน่ ปญั ญา- เน้น

o รู้ให้จงั ระวงั ให้จรงิ ทาจติ ให้นิง่

o ศีลอบรม สมาธิคุ้มครอง ปัญญาปกป้อง

o ศลี ทาให้ชีวิตปลอดภยั

สมาธิ ทาใจให้ต้งั ม่นั

ปัญญา สร้างสรรค์พัฒนา

o นุ่มนวล (ศลี )

หนกั แน่น (สมาธิ)

แน่วแน่ (ปัญญา)

o ศีล ถ่าย (ทุศีล)

สมาธิ ถอด (ฟงุ้ ซ่าน)

ปญั ญา ถอน (มิจฉาทฏิ ฐิ)

ทวาร ๓
ประตูชอ่ งทางแหง่ การรับรู้ แสดงออก บ่งบอกถงึ
พฤตกิ รรม สนามปฏิบตั ิการแห่งบุญและบาป

หน้า ๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๑.กายทวาร ชอ่ งกาย, ประตกู าย
ชอ่ งวาจา, ประตวู าจา
๒. วจที วาร ชอ่ งใจ, ประตูใจ
๓. มโนทวาร

บทนิยาม

o กายทา วาจาพูด ใจคดิ

o ทาอย่าใหบ้ ูด พูดอยา่ ให้ผดิ คิดอย่าให้เน่า

o หมดภัย(กาย) ไกลเวร (วาจา) เว้นทกุ ข์ (ใจ)

o จติ ไม่รา้ ย กายไมบ่ า้ วาจาไมด่ ุด่า

o กายอ่อนน้อม วาจาอ่อนหวาน จิตใจอ่อนโยน

o พูดชมุ่ ฉ่า ทาดสี นทิ คดิ เมตตา

o กายสง่า วาจาสงัด จิตสงบ

o ทาดีอยา่ กลวั พูดชัว่ หลีกหนี คดิ ดสี ะสม

o ทาไม่บูด พูดไมผ่ ดิ คดิ ไมท่ ุกข์

o หยดุ จิตสบาย หยดุ กายสง่า หยุดวาจาสงบ

o ทามาก กระวนกระวาย

หนา้ ๑๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

พูดมาก วนุ่ วาย

คดิ มาก อันตราย

o พษิ ในกาย ร้ายใจวจี งีเ่ งา่ ในใจ

o ทาไมบ่ ดู พดู สภุ าษติ คิดไมเ่ บียดเบยี น

o กายเปน็ บา้ วาจาเปน็ ภัย ใจเปน็ บาป

o กายรักษา วาจาระวงั จติ ใจยับยัง้

o กายสง่าดี วจีงามใส จติ ใจงามพร้อม

o กริ ิยากายตดิ ตา กริ ยิ าวาจาติดหู นกึ คดิ รู้ติดใจ

o ทำดี สบาย ทารา้ ยเดือดรอ้ น

ยนื เดนิ น่งั นอนเปน็ ทกุ ข์

พูดดี สบาย พูดรา้ ยเดือดร้อน

ยืนเดินนั่งนอนเป็นทุกข์

คดิ ดี สบาย คดิ ร้ายเดือดรอ้ น

ยืนเดนิ น่ังนอนเป็นทุกข์

o เสนห่ ข์ องกาย (ออ่ นน้อม)

สมหมายของวาจา (อ่อนหวาน)

หนา้ ๑๑

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ราคาของใจ (อ่อนโยน)

อปณั ณกะปฏปิ ทา ๓
แนวทางถูกต้อง ครรลองท่ไี ม่ผดิ พลาด ความ
องอาจของผู้เจริญ ทางเดินของผู้หวงั ความก้าวหนา้ ในชีวิต

๑. อนิ ทรียส์ ังวร สารวมอนิ ทรยี ์
๒. โภชเนมตั ตญั ญุตา รู้จักประมาณในการบริโภค
๓. ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียร ตืน่ ตวั เสมอ

บทนิยาม
o สารวมอนิ ทรยี ์ รู้ดปี ระมาณ เกยี จคร้านไมม่ ี
o สารวมจนชนะ ละเมาอาหาร ทาเพียรอย่าครา้ น
o สารวมระวัง ยับย้ังบรโิ ภค เพียรไปจนพ้นโศก
o สารวมใหห้ นัก รกั ประมาณ เกียจครา้ นไม่มี
o ระวงั การ ประมาณการ ตื่นตวั ตลอดกาล

หนา้ ๑๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อตั ถจรยิ า ๓

พฤติกรรมทีน่ าสูป่ ระโยชน์ โคตรเงา่ ของการทาดี

มีค่า อรรถจริยาของนักปราชญ์

๑. โลกัตถะจรยิ า ประพฤตติ นเปน็ ประโยชน์ต่อโลก

๒. ญาตัตถะจรยิ า ประพฤติตนเป็นประโยชนต์ ่อญาติ

๓. พทุ ธัตถะจรยิ า ประพฤติตนเป็นประโยชน์ต่อพทุ ธะ

บทนิยาม
o ทาประโยชนแ์ ก่โลก ไม่เคยขาด

ทาประโยชน์แก่ญาติ ไม่เคยหยุด
ทาประโยชน์เพื่อพทุ ธะ ไม่เคยเว้น
o ทาเพื่อ พุทธศาสน์
ทาเพ่ือ โลกนาถ
ทาเพื่อ ญาติธรรม
o ทาเพอื่ เปิดโลกทศั น์
ทาเพอื่ หมสู่ ัตว์สบาย

หนา้ ๑๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ทาเพอ่ื พุทธะขยาย

o ทาดีกับโลก อย่างองอาจ

ทาดีตอ่ ญาติ อย่างบรสิ ุทธิ์

ทาดเี พือ่ พุทธะ อันสงู ส่ง

o ทาเพอ่ื รู้ ตื่น เบกิ บาน

ทาเพอื่ หม่ญู าติ ช่ืนบาน

ทาเพ่ือ เปน็ โลกพระนพิ พาน

o ทาเพื่อ สบื พันธุพ์ ุทธะ (ผู้ร้,ู พทุ ธธรรม)

ทาเพอ่ื สืบพันธ์ุธรรมะ (ญาตธิ รรม)

ทาเพื่อ สบื พนั ธุ์สังฆะ (โลกธรรม)

ธรรมโอวาท ๓

๑. สพั พะปาปัสสะ อะกะระณงั ไมท่ าบาปทง้ั ปวง

๒. กสุ ะลัสสูปะสมั ปะทา ทากศุ ลใหถ้ งึ พร้อม

๓. สะจิตตะปะรโิ ยทะปะนงั ชาระจิตใหข้ าวรอบ

บทนิยาม

หนา้ ๑๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ทาดใี หท้ ั่ว เว้นชว่ั ใหห้ มด กาหนดจิตใหข้ าวรอบ

o เว้นชวั่ ทาดี มีบรสิ ทุ ธิ์

o รูช้ าระจิต รูค้ ิดทาดี รู้หนีส่ิงเลว

o คมุ้ ครองจิตใจ เข้าใกลก้ ศุ ล ขา้ มพ้นความชั่ว

o ไม่ทาช่ัวทุกอย่าง สรรสรา้ งดที ุกส่งิ ทาจติ นง่ิ ๆ

อธิปไตย ๓

ความเป็นใหญ่ท่หี ัวใจยดึ ถือ เคร่ืองมอื ยึดครอง
สิ่งเกีย่ วข้องกบั การกระทาของบคุ คล

๑. อัตตาธปิ ไตย ปรารภตนเป็นใหญ่
๒. โลกาธิปไตย ปรารภโลกเปน็ ใหญ่
๓. ธัมมาธปิ ไตย ปรารภธรรมเป็นใหญ่

บทนยิ าม
o ตน คน ธรรม
o ทาเพอื่ กู สู้เพอื่ คน ทนเพ่ือธรรม
o อ้างสิทธขิ องตัว อ้างหวั ใจปวงชน

หนา้ ๑๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อา้ งผลของธรรม

o เพ่ือตวั ตน เพอ่ื มวลชนรกั เพือ่ พิทักษ์ธรรม

o ถูกใจ ถกู ตอ้ ง ถกู ธรรม

o ชอบใจ ชอบควร ชอบธรรม

o ยดึ ถือตามใจตน

เอาคนเปน็ ประมาณ

เอาฐานธรรมเป็นหลกั

มิจฉาทิฏฐเิ หตุ

๑. อญฺ สวนา ฟงั เขาไป

๒. อปุ าทานา ยึดถอื ไว้

๓. อโยนิโสมนสิการ ไมใ่ ครค่ รวญ

ธรรมเทศนา ๓

การเรียนรู้สอนสั่ง ความมุ่งหวังในการส่งั สอน
๑. อภญิ ญายธมั มเทสนา แสดงธรรมเพ่ือความรยู้ ่ิง

หนา้ ๑๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๒. สนิทานธัมมเทสนา แสดงธรรมไปตามเหตผุ ล

มีเหตุผลถึงพร้อม

๓. สปั ปาฏิหาริยธัมมเทสนา มปี าฏหิ าริยใ์ นการแสดงธรรม

บทนยิ าม

o เพอ่ื ความรูย้ ิ่ง เพอ่ื เห็นจริงเหตผุ ล

เพื่อขา้ มพ้นมจิ ฉา

o เพอื่ ปลุก เพื่อปลอบ เพอ่ื ปราบ

o เพื่อรู้ยง่ิ ข้ึนไป เพอ่ื สลดั ไปมิจฉา เพ่อื ตงั้ ต้นสมั มา

o เพ่อื ต่อเติม เพ่ือตีตัด เพ่ือขัดถู

o เพอ่ื เพ่มิ พนู ของเกา่ เพ่อื สลดั ท้งิ มวั เมา

เพอ่ื เร่งเรา้ สัมมา

o เพ่อื นากลบั เพื่อรับรอง เพื่อมองเหน็

o เพือ่ หนุนสง่ เพ่ือบง่ หนาม เพือ่ พาขา้ ม

๑. อุปนิสฺสยโคจร โคจร
เสพสอ้ ง (กถา ๑๐)
หน้า ๑๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๒. อารกขฺ โคจร คมุ้ ครอง (สงั วร ๕)
๓. อุปนิพนฺธโคจร ต้องฝกึ (สติ๔)

อานสิ งส์ ๓

๑. สเี ลน สุคตึ ยนฺติ ศลี ทาใหเ้ กิดสขุ
๒. สเี ลน โภคสมฺปทา ศีลทาให้มโี ภคสมบัติ
๓. สเี ลน นิพฺพุตึ ยนตฺ ิ ศลี ทาใหอ้ ยู่เยน็

บทนยิ าม
o สุข-รบั ทรพั ย์-เหน็ เยน็ -ใจ
o ทรพั ย์ สขุ เย็น

รัตนตรัย

แก้วสำมประกำร
๑. พุทธรัตนะ พระพุทธเจา้
๒. ธมั มรัตนะ พระธรรมเจ้า
๓. สงั ฆรัตนะ พระสงฆเจ้า

หนา้ ๑๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

บทนิยาม

o นิ่ง คือพุทธ หยดุ คือธรรม นา คือสงฆ์

o พระพุทธเจา้ ผู้เลศิ ล้า

พระธรรมอันสงู ส่ง

พระสงฆ์ผูเ้ ยอื กเย็น

o พระพทุ ธเปน็ ผนู้ า พระธรรมเป็นแผนท่ี

พระสงฆ์เปน็ ผู้ช้ี

o พทุ ธะกาจัดมืดดา ธรรมะกาจดั ขี้โกง

พระสงฆ์กาจดั หลับหลง

o พุทธะ รู้ ต่ืน เบิกบาน

ธรรมะ สะอาด สว่าง สงบ

สงั ฆะ วา่ ง โปรง่ เย็น

หมวด ๔

พรหมวหิ าร ๔
ท่อี ยขู่ องผ้หู ลกั ทีพ่ ักของผใู้ หญ่

หนา้ ๑๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. เม. เมตตา ความรักใครป่ รารถนาดี

๒. ก. กรุณา สงสารคดิ ชว่ ยให้พ้นทุกข์

๓. มุ. มทุ ติ า พลอยชน่ื ชมยินดีต่อเขา

๔. อุ. อุเบกขา วางเฉย วางใจเป็นกลาง

บทนยิ าม

o เม. ปรารถนาดี ก. มีอารียรี ักษ์

มุ. ชว่ ยพทิ กั ษ์เสมอ อ.ุ เพ่ือนเผลอไม่ดถู ูก

o อ.ุ เปน็ กลางทั่วทศิ มุ. เป็นมติ รทวั่ ไป

ก. เปน็ ไททว่ั หนา้ เม. เปน็ สหายท่ัวโลกา

o สงเคราะห์เอือ้ เฟอ้ื ช่วยเหลือเกื้อหนุน

คา้ จนุ ไมข่ าด องอาจเมตตา

o เมตตาไร้พยาบาท กรุณาไรว้ ิหิงสา

มุทติ าไร้ริษยา อุเบกขาไร้ปฏฆิ ะ

o เม. ไม่คดิ ปองร้าย ก. ไมห่ มายเบยี ดเบยี น

มุ. ไมเ่ พียรรษิ ยา อ.ุ ไม่ถือสาขดั ใจ

หน้า ๒๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ไม่มพี ยาบาท ตัดขาดวิหิงสา
รษิ ยาไมม่ ี เปน็ กลางทุกที่ โลกนีอ้ ภัย

สงั คหะวัตถุ ๔

หลกั การสงเคราะห์ ส่ิงเหมาะเจาะตอ่ การสงั คม
๑. ท. ทาน การให้ เสยี สละ แบง่ ปนั
๒. ป.ิ ปิยวาจา การพูดจานา่ รัก ไพเราะ
๓. อ. อัตถจริยา ทาตนใหเ้ ป็นประโยชน์
๔. ส. สมานัตตตา การวางตนเหมาะสม

บทนิยาม

o ท. อนุเคราะห์ ป.ิ พูดไพเราะ

อ. ทาเหมาะ ส. ไม่ทะเลาะ

o สงเคราะห์ กล่าววาจาไพเราะ

ทาประโยชน์ให้เหมาะ ไมช่ วนทะเลาะ

o โอบออ้ มอารยี ์ วาทีไพเราะ

สงเคราะหท์ ุกคน วางตนพอเหมาะ

หนา้ ๒๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o สงเคราะห์ทุกเม่อื เอ้ือเฟือ้ พอเหมาะ
อนุเคราะหท์ ุกกาล อภบิ าลตลอด
ปราศรัยดว้ ยไมตรี
o ใหด้ ้วยนา้ ใจ คงท่ีไมเ่ อนเอียง
ทาประโยชนเ์ ตม็ ที่

ปธาน ๔

ความเพยี รทเี่ ป็นหลกั
๑. สํ. สงั วรปธาน เพียรระวงั ไม่ให้บาปเกิดข้นึ
๒. ป. ปหานปธาน เพยี รละบาปท่ีเกิดข้นึ แล้ว
๓. ภ. ภาวนาปธาน เพยี รทาดีให้เกิดมีข้ึน
๔. อ. อนุรักขนาปธาน เพยี รรักษาความดีนนั้ ไว้

บทนิยาม

o ส. ระมดั ป. ระวงั

ภ. สร้างสรรค์ อ. รักษา

o ระวงั ไว้ ทงิ้ ไปบาป

ซมึ ซาบกศุ ล สทู้ นรักษา

หนา้ ๒๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o หยุดมกั ง่าย ละทง้ิ อบาย

ขยายทางเจริญ เพลนิ ใจรกั ษา

o ภ. ทาให้เกดิ มี ป. กาจดั อกุศลราศี

ส. ปิดกั้นแนวอัคคี อ. รกั ษาไว้ให้คงที่

o ระวัง กาจดั ฝึกหัด รักษา

หัวใจโพธสิ ตั ว์ ๔

๑. สุ. สุทธิ ความบริสุทธิ์

๒. ป. ปญั ญา ความฉลาดรอบรู้

๓. เม. เมตตา ความเมตตาปราณี

๔. ข. ขนั ติ ความอดทน

บทนิยาม

o สุ. บรสิ ทุ ธฉ์ิ กาจ ป. ฉลาดรอบทิศ

เม. เป็นมิตรทว่ มท้น ข. อดทนยวดยิ่ง

o ข. อดได้ เม. ใคร่รกั

ป. หักโกรธ ส.ุ สดใส

หนา้ ๒๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o อดทนจนหลุด บริสทุ ธ์จิ นสง่า
เปน็ มิตรท่ัวโลกา มปี ัญญาทวนกระแส
ส. สนสะอาด
o ข. มีอดทน เม. ชอบใจเมตตา
ป. ฉลาดรอบคอบ

สติปัฏฐาน ๔

ฐานที่ตงั้ ของการฝกึ หัดพัฒนาการของสติ

๑. ก. กาย ๒. เว. เวทนา

๓. จิ. จิต ๔. ธ. ธรรม

o กาย คอื เศษ บทนิยาม
จิต คอื กรรม เวทน์ คือพษิ
ธรรม คือทกุ ข์
o รู้แจ้งกายา เวทนาเห็นชัด
เจนจัดทางใจ แจม่ ใสในธรรม
เวทนาพนิ จิ
o กายศึกษา
จิตลกึ ลา้ ธรรมรอบรู้

หน้า ๒๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o สดุ รู้-เย็น (กาย) สดุ เห็น-วา่ ง (เวทนา)

สดุ เบา-วาง (จิต) สุดทาง-หยดุ (ธรรม)

สัญญา ๔

ความจาได้หมายรู้ เทคนคิ ในการตัดกระแส
๑. อนิจจสญั ญา จาว่าไม่เที่ยง
๒. ทุกขสัญญา จาวา่ เป็นทกุ ข์
๓. อนัตตสญั ญา จาวา่ ไม่ใชต่ ัวตน
๔. อสภุ สัญญา จาไวว้ า่ ไมง่ าม

บทนยิ าม
o อนิจจัง ทุกขงั อนัตตา อสุภะ
o เปน็ กลาง วา่ ง สญู ทราม

ฆราวาสธรรม ๔

ธรรมครองเรือน ยอดเพ่ือนครองรกั

ยอดหลกั ครองงาน พนื้ ฐานครองคน

หนา้ ๒๕

นยิ ามธรรม จรงิ ใจ รวมรวมโดย มหาน้อย
ข่มจติ ข่มใจ
๑. ส. สัจจะ ๒. จ. จาคะ เสียสละ
๓. ท. ทมะ ๔. ข. ขนั ติ อดทน

บทนิยาม

o ส. ถือสจั จ์ ท. ถนัดข่ม

ข. นิยมอด จ. กาหนดละ

o ส. จริงใจ ท. ฝึกฝน

ข. อดทน จ. เสยี สละ

o สละให้พ้น อดทนต่อสู้

ฝกึ ข่มดูจิต ตามติดสจั จะ

o ถือสจั จะ-หมดภยั ขม่ ใจ-หลดุ พ้น

อดทน-ชนะ เสียสละ-หมดช่วั

อธิษฐานธรรม ๔

หลกั ธรรมไว้ตง้ั จิต ส่งิ พชิ ิตปญั หา ทพ่ี ึง่ พาเฉพาะ
๑. ป. ปญั ญา ร้ยู ิง่ คน สตั ว์ สงั ขาร
๒. ส. สัจจะ จริงแท้ เกดิ ขึ้น ตั้งอยู่ ดบั ลง

หนา้ ๒๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. จ. จาคะ ทง้ิ ไป สลัดออก สารอกได้
๔. อ.ุ อุปสมะ ใจเย็น เหน็ สงบ

บทนิยาม

o ป. รอบรู้ ส. สจู้ รงิ

จ. ทิ้งบาป อ.ุ ปราบวุ่น

o รจู้ รงิ อิงสัจจ์สลัดหนี มสี งบ

o อย่าลว่ งปัญญา รักษาสจั จะ

เพิ่มพูนจาคะ ศกึ ษาสันติ

o มีปญั ญา รกั ษาสจั จะ

เพิ่มพนู จาคะ สงบจิตใจ

สัมปรายกิ ัตถะ ๔

ประโยชนท์ เี่ ร่งสรา้ ง แนวทางสาเร็จผล
๑. ส. สัทธา มีศรทั ธา
๒. ส.ี สลี วา มีศีล
๓. จา. จาคะ มีความเสยี สละ

หนา้ ๒๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. ป. ปญั ญวา มีปัญญา

บทนิยาม

o ส. เช่ือกรรมข้ามพ้นสงสัย

สี. สารวมระวังเวรภัย

จา. หวงแหนตระหน่หี นไี กล

ป. ปัญญาไวหลกี ไกลตัวตน

o รกั ษาศลี ไม่เบ่อื เชอื่ ธรรมไมล่ ะ

เสยี สละไม่ตระหนี่ สรา้ งปัญญาใหเ้ กิดมี

o เช่ือจีรัง ระวงั จริง ท้ิงตระหน่ี มีฉลาด

o เชอ่ื กรรม สารวม รว่ มตดั แจม่ ชัด

o ฉลาดรู้ดี ตระหนที่ ้ิงไป

กายใจรกั ษา ศรทั ธาถึงพร้อม

o เชื่อม่นั ถกู ปลูกไวศ้ ีล

ยนิ ดบี ริจาค มากด้วยปัญญา

o เชื่อเหตุ-ผล ระวงั รักษาตน

หน้า ๒๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ขา้ มพ้นตา่ ทราม งอกงามปัญญา

ทฏิ ฐธมั มกิ ัตถะ ๔

ประโยชน์เฉพาะหนา้ คาถามหาเศรษฐี

๑. อ.ุ อุฏฐานสัมปทา ถึงพรอ้ มดว้ ยความหม่ัน

๒. อา. อารักขสัมปทา ถงึ พรอ้ มด้วยการรกั ษา

๓. ก. กัลยาณมติ ตตา มกี ลั ยาณมติ ร

๔. ส. สมชวี ติ า เลยี้ งชวี ติ ชอบธรรม

บทนิยาม

o อุ. ขยันนาหน้า อา. รักษาเป็นใจ

ก. คบมติ รดีชัด ส. เล้ียงชพี ประหยัด

o อุ. ขยันหา อา. รกั ษาดี

ก. มกี ัลยาณมิตร ส. เลย้ี งชีวิตชอบธรรม

o หาเป็น เก็บเปน็ ใช้เปน็ รกั ษาเป็น

หนา้ ๒๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

จักร ๔

จกั รแกว้ แนวทางวางหลักพิทกั ษ์ชวี ติ ลิขติ ชวี ติ สู่

ทางเจริญฝ่ายเดียว

๑. ป. ปฏิรปู เทสวาโส อยู่ในประเทศอนั สมควร

๒. ส. สปั ปุริสปู สั สยะ คบหาสตั บุรุษ

๓. อ. อตั ตสัมมาปณธิ ิ ตง้ั ตนไว้ชอบ

๔. ป.ุ ปุพเพกตปุญญตา ทาบญุ ไวก้ อ่ น

นยิ ามธรรม

o ป. อยูใ่ นประเทศอันไพศาล

ส. คบทา่ นบณั ฑิตชน

อ. ต้ังตนไว้ในธรรม

ป.ุ กระทาดไี วก้ อ่ น

o เลือกที่อยู่ คบผู้รู้ ทรงธรรมอยู่ รู้จักทาดี

o ทาเล เสวนา ธมั มา กัลยา

o ป.ุ ทาดียนื ยง อ. ทรงธรรมสูงสุด

หนา้ ๓๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ส. สัตบุรุษคบหา ป. ทอ่ี าศยั ไตร่ตรอง

o ป. สถานทีป่ ระกอบกจิ ส. หมมู่ ิตรรว่ มกิจการ

อ. ทาตัวไมส่ ามาน ปุ. เลือกทาการล้วนดา้ นดี

o เลือกทาเล เลอื กการเสวนา

เลือกเอาธรรมนาหน้า เลอื กว่าต้องทาดี

หัวใจสงฆ์ ๔

๑. สุ. สปุ ฏิปันโน ปฏบิ ตั ดิ ี
๒. อ.ุ อชุ ุปฏปิ ันโน ปฏบิ ตั ิตรง
๓. ญา. ญายปฏปิ ันโน ปฏบิ ัตเิ พ่ือรธู้ รรม
๔. ส. สามีจปิ ฏปิ นั โน ปฏิบัตสิ มควร

บทนิยาม

o ส.ุ ด-ี คง อุ. ตรงลา้

ญา. ธรรม-เดน่ ส. เหน็ ควร

o สุ. ทาดีให้ทวั่ อุ. ทาตัวให้ตรง

ญา. ดารงสัทธรรม ส. สูงล้าปัญญา

หนา้ ๓๑

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

สมบตั ิ ๔

สมบตั ิของคน ดอกผลของการศึกษา ส่งิ ทีต่ ้อง

ฝึกหัดพฒั นา

๑. สี. สีลสมบตั ิ ความถึงพรอ้ มดว้ ยศลี

๒. อา. อาชีวสมบัติ ความถึงพรอ้ มด้วยอาชวี ะ

๓. จ. จรยิ าสมบตั ิ ความถงึ พร้อมด้วยจรยิ า

๔. ทิ. ทิฏฐสิ มบัติ ความถึงพร้อมด้วยทฏิ ฐิ

บทนิยาม

o สี. สารวมอยา่ งดี อา. ชีวีประหยดั

o จ. เจนจดั จรยิ า ทิ. สมั มาออกหนา้

o สารวม ร่วมตัด จัดเจน เห็นตรง

o เหน็ ชัด จดั เจน เวน้ กรรม สารวม

o แจม่ ชัด ตัดเวร เว้นกรรม นาทาง

หนา้ ๓๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

สมบัติ ๔

วิธีทางาน หลักการทากจิ สง่ิ ที่ตอ้ งพินิจ กจิ ที่จะ

ทาใหเ้ กดิ มี

๑. ค. คตสิ มบตั ิ ความถึงพรอ้ มด้วยคติ

๒. อ.ุ อุปธิสมบัติความถึงพรอ้ มดว้ ยอปุ ธิ

๓. กา. กาลสมบตั ิ ความถึงพร้อมด้วยกาล

๔. ป. ปโยคสมบตั ิ ความถึงพร้อมด้วยปโยคะ

บทนิยาม

o ค. เป้าหมายชดั เจน อ. กฎเกณฑ์ถกู ต้อง

กา. กาลเวลารบั รอง ป. อุบายใสผ่อง

o ทิศทาง วางคน ยลยุค บกุ ทา

o ทมี่ า-ทไี่ ป กาย-ใจ กาลสมยั วธิ กี ารทีท่ าไป

o เปา้ หมายคืออะไร ผรู้ บั ภาระคือใคร

ควรทาในกาลไหน ประกอบการด้วยวิธีใด

o การประกอบ ชอบสมัย

หนา้ ๓๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ใครสนอง มองอยา่ งไร

วบิ ตั ิ ๔

โทษของคน ดอกผลศกึ ษาผิด ความวปิ ริตติดตาม

๑. ส.ี สีลวบิ ตั ิ เสยี ศลี

๒. อา. อาชีววิบตั ิ เปน็ มิจฉาชีพ

๓. จ. จริยาวิบตั ิ เสียความประพฤติ

๔. ทิ. ทิฏฐิวบิ ัติ มีความเห็นผิด

บทนยิ าม

o กายใจกอ่ พษิ เลี้ยงชีวติ มิจฉา

จรยิ ามกั งา่ ย ทสั นะอันตราย

o โลเล เร่ร่อน สาส่อน ตัดรอน

o กายใจหยาบช้า ชีวารอ้ นเรา่

ประพฤตกิ ้าวรา้ ว ความคดิ เห็นผดิ เปา้

o เห็นเพีย้ น เซียนเลว

เหวตก นรกร้อน

หน้า ๓๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

วบิ ตั ิ ๔

ผลเสยี การงาน พ้ืนฐานอบาย ขอบข่ายสู่ความหายนะ

๑. ค. คตวิ บิ ตั ิ ผดิ พลาดทางเปา้ หมาย

๒. อุ. อุปธวิ ิบัติ ผิดพลาดที่ผู้รบั รองงาน

๓. กา.กาลวบิ ัติ ไมถ่ ูกต้องกับฤดูกาล

๔. ป. ปโยควิบัติ การประกอบไม่ถูกต้อง

บทนิยาม

o เปา้ หมายไมม่ ี วิธกี ารไมร่ ู้

กาลใดไมด่ ู ผู้ทาไมม่ ีความรู้

o ไม่มวี ิสัยทัศน์ ติดขดั การงาน

ให้เวลาผันผ่าน ลีลาการทาไม่มี

o ทม่ี า-ท่ไี ป กาย-ใจ

กาลสมยั วธิ ีการไป

o งาน ผู้ทา เวลา วธิ ี

หนา้ ๓๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

วฒุ ิธรรม ๔

รุ่งอรณุ ของชวี ติ หลักพชิ ติ ความเจรญิ เส้นทาง

เดินของผู้รักความก้าวหน้า

๑. ส.ํ สปั ปุรสิ ังเสวะ การคบหาสัตบรุ ษุ

๒. ส. สัทธัมมัสสวนะ การฟังพระสัทธรรม

๓. โย. โยนิโสมนสิการ การใคร่ครวญหาเหตุผล

๔. ธ. ธัมมานธุ มั มปฏิบัติ ปฏิบัติธรรมตามควร

บทนิยาม

o ส. เขา้ ใกลบ้ ณั ฑิต ส. ตง้ั จติ ฟงั ธรรม

โย. ใครค่ รวญจดจา ธ. นอ้ มนาไปปฏิบตั ิ

o รบี เขา้ หา ปรึกษาไว ใส่ใจจา ทาตามดี

o คุ้นเคยคบหา เสวนาเนืองนิตย์

ใสจ่ ติ ใสใ่ จ ทาไปตามควร

หน้า ๓๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ปมาทธรรม ๔

เหตุชั่วร้าย สิ่งทาลายเกียรติยศ ตัวกบฏภายใน

พิษภยั ของผูน้ า ความมืดดาของนกั รู้

๑. กายทจุ รติ ประพฤติช่วั ทางกาย

๒. วจที ุจริต ประพฤติชว่ั ทางวาจา

๓. มโนทจุ ริต ประพฤตชิ ั่วทางใจ

๔. มจิ ฉาทฏิ ฐิ มีความเห็นผิด

นิยามธรรม

o กายเป็นบ้า วาจาเป็นภยั

ใจเป็นพษิ ความคดิ เป็นโทษ

o ทาให้ถูกสูตร พูดใหม้ สี ุภาษติ

คดิ ไปในประโยชน์ วสิ ยั ทศั น์ถูกตอ้ ง

o อยา่ ช่ัวชา้ กายทา อยา่ ระยาวาจาพดู

อยา่ เน่าบดู ใจนึก อย่าคึกคักกบั อธรรม

o ทาช่วั -ขูด พูดช่วั -ปิด

หน้า ๓๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

คดิ ชว่ั -เว้น เหน็ ผิด-ละ

o กาย- มอบใหศ้ ลี รักษา

วาจา-มอบใหว้ ินัยประกาศติ

ดวงจิต-มอบใหส้ มาธคิ ุ้มครอง

สมอง-มอบใหป้ ัญญาบรหิ าร

กรรมกเิ ลส ๔

เหตสุ ร้างกรรม ธรรมสร้างโทษ โคตรเหงา้ แห่งทุกข์

๑. ปา. ปาณาติบาต ฆ่าสตั ว์

๒. อ. อทินนาทาน ลกั ทรัพย์

๓. กา. กาเมสมุ จิ ฉาจาร ผิดลกู เมยี เขา

๔. ม.ุ มุสาวาท พูดไมจ่ รงิ

บทนิยาม

o ฆา่ ลกั ล่วง โลเล

o ฆา่ -ผลัก ลัก-ห้าม กาม-เขด็ เท็จ-ท้ิง

o ฆ่าต้องผลัก ลกั ต้องห้าม

หน้า ๓๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

กามตอ้ งหยุด พูดตอ้ งจรงิ

o ชีวิตใหม้ ีจิตเมตตา แสวงหาสัมมาชพี

กามบบี ตอ้ งสงั วร การพดู อยา่ ปากบอน

o กรรมร้าย-ฆ่า กรรมบา้ -ลัก

กรรมหนัก-เมถนุ กรรมวุ่น-พูดอวด

การแสดงธรรม ๔

๑. ส. สันทัสสนา ชใี้ หช้ ัดเจนเหตผุ ล
๒. ส. สมาทปนา ชกั ชวนให้นา่ ปฏบิ ตั ิตาม
๓. ส. สมเุ ตชปนา เร่งเร้าใหแ้ กล้วกล้า
๔. ส. สมั ปหงั สนา ปลกุ ให้รา่ เริง

บทนยิ าม
o ช้แี จง ชักชวน ชุ่มฉา่ ชน่ื ใจ
o แจ่มแจ้ง จงู ใจ แกลว้ กลา้ ร่าเริง

หน้า ๓๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

กลุ จิรฏั ฐติ ธิ รรม ๔

ความตง้ั มั่นของตระกูล ความเพม่ิ พูนสมบตั ิ เหตุ

ใหบ้ ริษัทมัน่ คง

๑. นัฏฐคเวสนา ของหายแสวงหา

๒. ชิณณปฏสิ งั ขรณา รจู้ ักบูรณปฏิสงั ขรณ์

๓. ปรมิ ิตตปานโภชนา รู้จักประมาณในการใช้จ่ายด่ืมกิน

๔. อธปิ จั จสีลวันตสถาปนา รูจ้ ักแตง่ ต้ังคนมีศีลไวเ้ ป็น

พ่อบ้านแม่เรือน

บทนิยาม
o ของหายแสวงหา ของครา่ คร่าซ่อมแซมใหม่

รปู้ ระมาณการกนิ ใช้ ตัง้ คนมศี ลี ไวใ้ นสกุล
o แสวงหาสง่ิ ของทห่ี ายไป

ใสใ่ จซ่อมแซมของเก่า
ไมม่ วั เมาใช้ทรัพยเ์ กินพอดี
ไมร่ บั คนกาลีไว้ในสกุล

หนา้ ๔๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o วิชาการ +วธิ กี าร พฒั นาการ
ประมาณการ ผ้สู บื สาน

สัทธา ๔

ศรัทธาท่ีต้องปลกู ทางถูกของความเชื่อ

๑. กมั มสัทธา เช่ือกฎแห่งกรรม

๒. วปิ ากสัทธา เชอ่ื ว่ากรรมมผี ล

๓.กมั มัสสกตาสัทธา เช่ือวา่ ทุกคนมีกรรม

๔. ตถาคตโพธสิ ทั ธา เชื่อปัญญาตรสั รู้ของพระพุทธเจา้

บทนยิ าม

o เชื่อกจิ ที่ตนทา เช่อื กรรมทต่ี นสร้าง

เชื่อแนวทางทต่ี นเดิน เชื่อความเจริญของผู้รู้

o เชอ่ื มน่ั ความรจู้ ริง เช่อื มนั่ สิ่งที่ตนทา

เชอ่ื ม่นั ผลกรรม เชอื่ มั่นกจิ กรรมที่ก่อ

หน้า ๔๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

กามโภคีสุข ๔

ความสุขของชาวบา้ น ความสาราญท่ีถูกตรง

๑. อตั ถิสุข สขุ เพราะมที รพั ย์

๒. โภคสุข สุขเพราะการใชท้ รพั ย์

๓. อนณสุข สุขเพราะไมเ่ ปน็ หนี้

๔. อนวัชชสุข สขุ เพราะความสจุ ริต

บทนิยาม

o มีทรัพยอ์ ยเู่ ป็นโชค บริโภคเป็นสขุ

ไรห้ นไี้ ม่ขคี้ กุ โทษทกุ ข์ไม่รุกราน

o มที รัพยใ์ ช้ จา่ ยทรัพยเ์ ปน็

ไม่เป็นหนี้ มงี านสุจริต

o ไมม่ ภี ัยเวร เว้นจากหนส้ี ิน

มีอยมู่ ีกนิ ทรพั ยส์ นิ เพยี งพอ

o มีทรัพย์จับจ่าย หายหน้ีไม่มโี ทษ

มที รัพยร์ บั จา่ ย ไรห้ นี้สินไม่มีมลทนิ

หนา้ ๔๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o หาทรัพย์ได้ ใช้ทรัพยเ์ ปน็
ไมเ่ ปน็ หน้ี ชวี สี จุ ริต

ภาวนา ๔

ส่งิ ทต่ี อ้ งววิ ัฒน์ มาตรวัดการพัฒนา

ฐานะที่ต้องฝกึ ฝน หนทางแห่งการอบรม

๑. กายภาวนา พัฒนาการทางกาย

๒. สลี ภาวนา พัฒนาการด้านศลี

๓. จิตตภาวนา พัฒนาการทางจิต

๔. ปัญญาภาวนา พัฒนาการด้านปัญญา

บทนยิ าม

o กายผ่อง ศีลรอง จิตผ่อง ธรรมรอง

o กายผ่องใส วินัยผอ่ งแผ้ว

จิตเพรศิ แพร้ว ปญั ญาถนั้ แถว

o กายผอ่ งใส วินัยรองรบั

จติ เจดิ จ้า ปัญญาคมุ้ ครอง

หน้า ๔๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o กาย-วน่ิ ศีล-พร่อง

จติ -หมอง ปัญญา-ขอ้ ง

o กายส้ิน ศลี ตัด จติ สญู ปัญญาพนู

อาสวะ โอฆะ โยคะ อนุสยั ๔

เครื่องผูกมดั ใหเ้ ศร้าหมอง หว้ งน้าใหญ่
๑. กาม ความใคร่อยาก ความติดใจ
๒. ภพ ความมี ความเปน็
๓. ทิฏฐิ ความเหน็ ความคิด
๔. อวิชชา ความมดื บอด ความไมร่ ู้

บทนยิ าม

o กามกลบ ภพตดิ ทฏิ ฐหิ นา อวชิ ชาครอบ

o มี เปน็ เหน็ โง่

o อยากมี อยากเป็น อยากอวด อยากโง่

o มี เป็น อยู่ คือ

o ไมร่ ้คู รอบงา ความเหน็ ชี้นา

หน้า ๔๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

เสพตดิ ชอกช้า ใคร่อยากถลา
o ปรารถนาไม่อม่ิ ชวนชิมไม่เว้น
ส้ินสุดไม่มี
คดิ เหน็ ไม่หยุด

อารักขกัมมฏั ฐาน ๔

ส่ิงอารกั ขา ฐานะแห่งการป้องกัน ข้อป้องกัน
ความประมาท

๑. พุทธานสุ สติ นกึ ถึงพุทธคุณคนุ้ เคยกบั พทุ ธเจา้
๒. เมตตานสุ สติ เจริญเมตตา
๓. อสภุ านสุ สติ นึกเห็นกายาว่าไม่งาม
๔. มรณานุสสติ นึกถึงความตายเตือนจิต

บทนิยาม
o นกึ ถึงพระพทุ ธเจา้ ผเู้ ลิศลา้

นึกถึงพระธรรมคือเมตตา
เห็นกายาเปน็ อสุภะ
นกึ ถึงมรณะทุกลมหายใจ

หน้า ๔๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o นึกถงึ พุทธา เมตตาคมุ้ ครอง
เศรา้ หมองรา่ งกาย ความตายตดิ ตาม
ไม่ปองรา้ ย
o ไมห่ ลงกาย ใกล้ชิดพทุ ธะ
จักต้องตาย วหิ ารเมตตา
แนบชดิ พทุ ธะ
o อสุภะเปน็ ฐาน
มรณาเตือนจติ

ปาริสุทธศิ ีล ๔

๑. ปาฏิโมกขสงั วรศีล การสารวมในปาฏิโมกข์
๒. อนิ ทรยี สังวรศลี การสารวมอินทรีย์
๓. อาชีวปารสิ ทุ ธิศลี การเลี้ยงชพี บริสุทธิ์
๔. ปจั จยปัจจเวกขณะ การพิจารณาปัจจยั ๔

บทนิยาม

o อาบัติ อาการ อาชพี อาศัย

o ใชส้ อยปจั จัย ๔ ชวี ีถกู ต้อง

ปกป้องอนิ ทรีย์ หลกี หนเี ดือดร้อน

หนา้ ๔๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ปาฏิโมกข์ไม่หละหลวม สารวมอนิ ทรีย์

ชวี บี รสิ ทุ ธ์ิ อด อัด อุดปจั จยั

น้า ๔

สิง่ ทาใหเ้ อบิ อาบ ซาบซา่ น สานต่อ ก่อเกิด
๑. จิตตาโป นา้ จิต
๒. ถามาโป น้าแรง
๓. วาทาโป น้าคา
๔. มนาโป น้าใจ

บทนยิ าม

o น้าจิตให้เข้มแข็ง นา้ แรงใหไ้ ด้อาศยั

น้าคาอย่าใหเ้ ป็นภัย น้าใจอยา่ ใหแ้ หง้ แลง้

o น้าจติ คิดดี นา้ แรงเตม็ ที่

นา้ คาอารยี ์ นา้ ใจไมตรี

o นา้ ใจชมุ่ ฉา่ น้าคาแจม่ แจ้ง

หน้า ๔๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

น้าแรงช่วยเหลือ นา้ จติ เอ้ือเฟอื้

ราชสงั คหะ ๔

ความฉลาดของผูน้ า ธรรมะพื้นฐาน สิ่งท่ี
ผูป้ ระกอบการจะต้องรอบรู้
๑. สัสสเมธะ ฉลาดในการบรหิ ารวัตถุ ปัจจยั ๔
๒. ปรุ สิ เมธะ ฉลาดในการบริหารจัดการกับคน
๓. วาชเปยยะ ฉลาดในการพดู จา, การจัดการตนเอง
๔. สมั มาปาสะ ฉลาดในการผูกประสานคนโดยชอบ

บทนิยาม

o วัตถุ ตน คน ธรรม

o ปัจจัย ๔ ประชาชี กลวธิ ี ธรรมสามี

o วัตถปุ จั จยั บริหาร ตนเองผจู้ ัดการ

คณะเจ้าพนกั งาน หลกั วิชาการ

o ปจั จยั บรหิ าร บริวารแวดลอ้ ม

ตัวตนถนอม ธรรมะขบั กลอ่ ม

หนา้ ๔๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o สสาร คนงาน ผจู้ ัดการ ธรรมการ
o วัตถุประกอบ ระบอบจัดการ
บัญญัตแิ ตง่ ตงั้
พนกั งานสนั ทดั

ธรรมะ ๔ ความหมาย

สภาพธรรมทง้ั หมด สภาพกาหนดทุกอย่าง
เครื่องหมายกาหนดแนวทาง วางหมากวางเป้ากา้ วเดนิ

๑. ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม
๒. ธรรมดา กฎเกณฑข์ องธรรมชาติ
๓. ธรรมเนียม หนา้ ทีท่ ่ีเกย่ี วข้องตามกฎเกณฑ์
๔. ธรรมรส ผลที่ไดร้ ับจาการทาหนา้ ท่ี

บทนิยาม

o ธรรมทัง้ หมด กฎเกณฑเ์ ปน็ ไป

เก่ยี วข้องอย่างไร ไดผ้ ลแบบไหน

o ธรรมชาติมมี า ธรรมดามีอยู่

ธรรมเนยี มตอ้ งรู้ ธรรมรสอุ้มชู

หน้า ๔๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ธรรมชาติเป็นไป กฎเกณฑเ์ ป็นไป
หน้าทท่ี าไป รับผลกันไป
กฎเกณฑ์กระทา
o สง่ิ กาหนด ผลได้ทม่ี ี
ธรรมเนียมหน้าท่ี

อคติ ๔

เหตแุ ห่งความลาเอยี ง ความเบี่ยงเบนของการ

กระทา โชคลาภหรืออาบเลือดอยตู่ รงนี้

๑. ฉ. ฉันทาคติ ลาเอยี งเพราะรกั

๒. โท. โทสาคติ ลาเอียงเพราะชงั

๓. โม. โมหาคติ ลาเอยี งเพราะหลง

๔. ภ. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลวั

บทนิยาม

o รกั ชัง หลง กลัว คอื ความชัว่ ในหัวใจคน

o รกั -ติดห้องขัง ชงั -ติดห้องกรง

หลง-ตดิ เมามัว กลัว-ตดิ ขข้ี ลาด

หน้า ๕๐


Click to View FlipBook Version