The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawat789.jp, 2022-01-04 17:23:13

นิยามธรรม ๑

นิยามธรรม ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. วัณณมจั ฉริยะ ตระหนี่วรรณะ
๕. ธัมมมจั ฉรยิ ะ ตระหนี่ธรรม

บทนยิ าม

o ตระหนี่ที่อย่ไู มเ่ กื้อกลู

ตระหนี่ตระกลู เพม่ิ พนู บาป

ตระหน่ลี าภไม่แบง่ ปัน

ตระหน่ีวรรณะแบง่ ชนช้ัน

ตระหนธี่ รรมปิดก้ัน

o สกลุ ไม่ผูกขาด อาวาสวางละ

วรรณะไมต่ ิด โลภจิตไม่ทา

สอนธรรมไมข่ าด

o ตระหนี่ตระกูล ไรญ้ าติ

ตระหน่ีอาวาส ขาดความสัมพนั ธ์

ตระหนี่วัณณะ ขาดสนั ตภิ าพ

ตระหน่ลี าภ ขาดคนเกรงยา

หนา้ ๑๐๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ขาดธรรม ขาดความเจริญ

o ใหธ้ รรมะไม่ขาด ฉลาดสละ

วรรณะปลอ่ ยวาง อาวาสออกห่าง

ไมส่ ร้างสกลุ

สวนานิสงส์ ๕

ประโยชนข์ องการฟัง ความมุง่ หวงั ของผู้ชี้แจง

ความเห็นแจง้ ทป่ี รากฏ รสชาตขิ องการศกึ ษา

๑. อสฺสตุ ํ สุณาติ ไดฟ้ งั ในสง่ิ ท่ไี มเ่ คยฟัง

๒. สุตํ ปริโยทเปติ เขา้ ใจสิง่ ทเี่ คยไดฟ้ ังแลว้

๓. กงฺขํ วิหนติ หมดความสงสัย

๔. ทฏฐฺ ึ อชุ ุ กโรติ ทาความเหน็ ให้ตรงจดุ

๕. จิตตฺ มสสฺ ปสีทติ จิตใจผ่องใส

บทนยิ าม บรรเทาสงสัย
o ได้ยนิ สิ่งใหม่ เข้าใจสิ่งเก่า หนา้ ๑๐๒

เหน็ ถูกเร็วไว จติ ใจผ่องใส

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ผ่องใสจิตใจ ทศั นะทนั สมัย กาจดั สงสัย

ไดย้ ินส่งิ ใหม่ เข้าใจสงิ่ เกา่

o ฟังไป เข้าใจ สิน้ สงสัย เห็นไกล ผอ่ งใส

ธรรมสมาธิ ๕

เคร่ืองมือวัดผล มงคลทไี่ ด้รบั ตารับท่ีไม่เก้อเขนิ
ทางเดินของจติ ความสถิตมน่ั ในธรรม สัมมามรรค
๑. ปราโมทย์ ชืน่ บานหรรษา รา่ เริงจติ ใจ
๒. ปตี ิ เอบิ อิม่ ปลาบปลมื้ จิตใจ
๓. ปสั สทั ธิ รางบั ผอ่ นคลายกาย-ใจ
๔. สุข ชื่นใจ ไรท้ ุกข์ต้อง ไม่ข้องขดั
๕. สมาธิ สงบต้ังมั่นไม่หวัน่ ไหว

บทนิยาม
o ชนื่ ใจ อิม่ ใจ สงบใจ สขุ ใจ มั่นใจ
o ตง้ั ม่นั จิต สขุ จติ สงบจิต ปลม้ื จิต ชน่ื จิต
o หนา้ ยิ้ม เอบิ อม่ิ นม่ิ สงบ พบสุข ไร้ทกุ ข์

หนา้ ๑๐๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o จติ ใจตั้งมั่น รองรับรางวลั สร้างสรรค์สงบ
พบพระยินดี มีใจรา่ เริง

ธรรมนิยาม ๕

กฎเกณฑ์ห้าอย่าง สายทางหา้ ประเภท

ขอบเขตหา้ สถาน นยิ ามการของธรรม

ทั้งหมด

๑. อุตุนยิ าม ขอบเขต กฎเกณฑข์ องกาลเวลา

๒. พชี นยิ าม ขอบเขต กฎเกณฑ์ของพืชพันธไ์ ม้

๓. จติ ตนิยาม ขอบเขต กฎเกณฑ์การทางานของจิต

๔. กมั มนิยาม ขอบเขต กฎเกณฑข์ องการกระทา

๕. ธมั มนยิ าม ขอบเขต กฎเกณฑข์ องธรรม

บทนยิ าม

o ฤดูกาลอากาศ พืชพนั ธุ์ธรรมชาติ

ความสามารถของจิต แรงฤทธิ์แหง่ กรรม

หลกั เกณฑ์แหง่ ธรรมธรรมดา

หนา้ ๑๐๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o นยิ ามของธรรม กรรมนิยม แงป่ มของจิต

พืชพนั ธุช์ วี ิต อิทธิฤทธิ์ของกาลเวลา

o ความหมนุ เวียนของธาตุ ธรรมชาตพิ ฤกษา

ลีลาการของจิต สทิ ธิของกรรม

ธรรมชาตธิ รรมดา

๑. กเิ ลสมาร มาร ๕
๒. ขันธมาร
๓. อภิสังขารมาร มารคอื กิเลส
๔. เทวปตุ ตมาร มารคืออปุ าทานขนั ธ์
๕. มัจจุมาร
มารคอื อภสิ ังขาร
มารคือเทพบุตร
มารคอื มัจจรุ าช

บทนยิ าม

o กเิ ลสบบี ค้นั กองขนั ธ์ปนั้ แต่ง

สังขารเสยี ดแทง เทวบตุ รแอบแฝง

กลัวตายสาแดง

หน้า ๑๐๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o กเิ ลสฟนั ขันธแ์ ทง
สงั ขารแย้ง เทพแกล้ง
มจั จสุ าแดง
ซาตานลวงล่อ
o มรณะเผาผลาญ กลุ่มขนั ธ์ป้นั เหตุ
สงั ขารกอ่ ก้นั
กเิ ลสรุมเรา้

มิจฉาวณชิ ชา ๕

การค้าขายทท่ี าลายสันติภาพ

๑. สตั ถวณิชชา คา้ ขายศตั ราอาวธุ

๒. สัตตวณชิ ชา ค้าขายชวี ิต (สตั ว,์ มนุษย์)

๓. มังสวณชิ ชา คา้ ขายเนอ้ื

๔. มัชชวณิชชา คา้ ขายน้าเมา, ยาเสพตดิ

๕. วสิ วณชิ ชา ค้าขายยาพษิ , สารพิษ

บทนยิ าม

o ซื้อขายศัตราวธุ หยดุ

หนา้ ๑๐๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ซ้อื ขายสตั ว์มนุษย์ ตัด

ซอ้ื ขายเน้ือสัตว์ เผา

ซอื้ ขายของมอมเมา ปดิ

ซ้อื ขายยาพิษ,สารพิษ เลิก

o ไม่ค้าขายยาพษิ

ไมค่ า้ ขายส่งิ มอมเมาจติ

ไม่ค้าขายสง่ิ กอ่ พษิ กามคุณ

ไม่มหี ้นุ ส่วนการฆา่

ไมค่ ้าขายเครือ่ งมือประหาร

พลกี รรม ๕

๑. ญาติพลี สงเคราะหญ์ าติ
๒. อตถิ ิพลี ต้อนรบั แขก
๓. ปุพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้เปตชน
๔. ราชพลี เสยี ภาษีให้พระราชา
๕. เทวตาพลี บารุงเทวดาในเรอื น

หน้า ๑๐๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

บทนิยาม

o ญาติต้อนรบั รับรองแขก แยกอุทศิ

สทิ ธิพ์ ระราชา เทวดารักษา

o สงเคราะห์ญาติกา ต้อนรับแขกมาหา

ทาบญุ อุทศิ เปตา บารงุ พระราชา

อปุ ถัมภเ์ ทวดา

o ญาตี อตถิ ี เปตพลี ราชินี เทวพลี

๑. โภคสัมปทา อานสิ งส์ศลี ๕
๒. กติ ติสัทโท
๓. วสิ ารโท ถงึ พรอ้ มด้วยโภคทรัพย์
๔. อสมั มุฬโห มกี ิตติศพั ท์ เกียรตยิ ศ
๕. สุคติปรายนา มคี วามองอาจแกล้วกล้า
ไมเ่ ก้อเขิน ลมุ่ หลง
มีสุคติเปน็ เบื้องหน้า

o มีโภคทรัพย์ บทนิยาม
รองรบั เกียรติคุณ
หนา้ ๑๐๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

คา้ จุนให้แกล้วกล้า ไม่นาพาทางหลง
มงุ่ ตรงต่อความสุข

๑. วิ. วกิ ขมั ภนะ วิมุตต,ิ นิโรธ ๕
๒. ต. ตทังคะ
๓. ส. สมจุ เฉทะ ขม่ ไว้
๔. ป. ปฏิปัสสัทธิ ด้วยองค์คณุ นั้นๆ
๕. น.ิ นสิ สรณะ เด็ดขาด
สงบรางบั
สลัดออกไป

บทนิยาม

o ขม่ ไวห้ มดภยั สกดั ไว้หมดพิษ สะกดิ ตดั โทษ

โหดเหย้ี มสน้ิ ไป ท่ีพง่ึ ผอ่ งใส

o สะกด สกดั สลัด สงดั สละ

o วิ. ข่มไว้ทกุ กาล ต. สะกดต่อตา้ น

ส. ตดั ขาดบว่ งมาร ป. สงบตลอดกาล

น.ิ ผ่านพ้นบว่ งมาร

หน้า ๑๐๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

การบวช ๕

๑. อุปกีฬิกา บวชเลน่ ๆ

๒. อุปมยุ หกิ า บวชหลงงมงาย

๓. อุปชีวกิ า บวชอาชีพ

๔. อุปทูสิกา บวชทาลาย

๕. อุปนิสสรณิกา บวชออกจาก

ทกุ ข์

บทนยิ าม บวช
o บวชเลน่ บวชหลง

ทรงชวี ติ
บวชคิดทาร้าย บวชหมายดับทกุ ข์

อานสิ งส์ขนั ติ ๕

๑. ปิยมนาโป ชน่ื ใจ

๒. อเวโร ไกลเวร

หน้า ๑๑๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๓. อนวชโฺ ช เวน้ ภยั
๔. อสมมฺ ุฬโฺ ห สติไว
๕. สคุ ตปิ ปฺ รายนา ไปดี

หนา้ ท่ีอุปัฏฐาก ๕

๑. ปพุ ฺพฏฺ ายี ต่นื ก่อน

๒. ปจฺฉานปิ าตี นอนทหี ลงั

๓. กึการปฏิสฺสาวี คอยระวงั รบั ใช้

๔. มนาปจารี ประพฤติใหถ้ กู ใจ

๕. ปยิ วาที กลา่ วขานไขไพเราะ

๑. อทธฺ านกฺขโม อานิสงส์จงกรม
๒. ปธานกฺขโม
๓. อปปฺ พาโธ เดนิ ทางทน
๔. สมฺมาปริณามํ อดทนทาเพยี ร
โรคเบียดเบียนนอ้ ย
ยอ่ ยงา่ ยอาหาร

หน้า ๑๑๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. จงกฺ มาธิคโต สมาธิ สมาธติ งั้ นาน

คนจนยากจนเพราะ........

๑. อสัทธา ไมเ่ ชื่อฟัง

๒. อหิริโก ไม่อายช่ัว

๓. อโนตตปั โป ไม่เกรงกลัวตอ่ บาป

๔. อลโส เกียจคร้าน

๕. อปั ปญั โญ ปญั ญาทราม

o ศรทั ธาหด บทนยิ าม ไร้เกรงกลวั
มวั เกียจครา้ น หมดละอาย คนขี้ครา้ น
ผลาญปัญญา
o ถอยศรัทธา ลาอดทน
ผลาญสติ มิอาจรอบรู้

ทางสงบ

๑. น.ิ นสิ สรณะ หลกี ออกไม่คบ

หนา้ ๑๑๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๒. อุ. อปุ สมะ สงบไม่สร่าง
๓. นิ. นิโรธะ ดับหมดจืดจาง
๔. ว.ิ วิราคะ ละวางรากษส
๕. นิ. นพิ พตุ ะ เลกิ หมดเยือกเยน็

สุภาษิตวาจา

๑. กาลวาทะ ถกู กาลสมยั

๒. สจั จะวาทะ จรงิ ไปทกุ อย่าง

๓. มุทวุ าทะ สวา่ งนุ่มนวล

๔. อัตถวาทะ ควรแก่ประโยชน์

๕. เมตตาวาทะ เวน้ โทษวาจา

หวั ใจพระเจา้ ๕ พระองค์

น. ออ่ นน้อมกายี
โม. ไพรีหาย
พทุ . สวยสดทางใจ

หนา้ ๑๑๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ธา. โปร่งไวทางจติ
ย. สิน้ พษิ กามา

ที. หวั ใจพระสตู ร ๕
ม.
ส.ํ ชานาญหน้าท่ี
อํ. มากมีทุกสงิ่
ข.ุ สะดวกอยา่ งยิ่ง
ละทงิ้ โออ้ วด
ก. ขาวรวดเร็วไว
กิ.
อ. หวั ใจมาร ๕
ม.
เท. หลงใหลขนั ธ์ ๕
กเิ ลสบงั ตา
ตณั หาบังใจ
อนุสัยบงั จิต
เห็นผิดบงั ตา

หน้า ๑๑๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ส.ี หวั ใจนักรบ
ส.
ป. สารวมกายใจ
ว.ิ ทรงไว้สงบ
รูจ้ บสงั ขาร
า. หลุดพ้นบว่ งมาร
เบิกบานชดั เจน

หัวใจอรหันต์

กุ. กุสลจิตโต ความอยากตัดขาด

วิ. วิมตุ ติธัมโม พน้ ทาสมาร

น.ิ นิโรธธมั โม ดับเย็นชนื่ บาน
ส.ุ สุญญตาธมั โม ว่างนานนิรนั ดร์
โล. โลกตุ ตรธัมโม อยเู่ หนือทุกขข์ ันธ์

หัวใจยกั ษ์ ๕

โล. โลภะ อยากมากมาย

หน้า ๑๑๕

นยิ ามธรรม โทสะ รวมรวมโดย มหานอ้ ย
โมหะ
โท. ทิฏฐิ ดุร้ายเกง่ กาจ
โม. มานะ เปร่ืองปราดทาลาย
ทิ. เห็นผิดหลากหลาย
มา. ถอื ตัวมกั งา่ ย

๑. ราคะ คะนองธรรม ๕
๒. โทสะ
๓. โมหะ กลดั กลุ้มจิตใจ
๔. มานะ ชว่ั รา้ ยหัวใจ
๕. ทิฏฐิ งมงายทั่วไป

หลงตวั เกินไป
รู้เห็นเกินไป

หมวด ๖

นายกิ ธรรม ๖
หวั ใจผู้นา หลกั ธรรมผบู้ ริหาร หลกั การนายก
หวั อก ผอ. สร้อยคอผู้ประกอบการ

หนา้ ๑๑๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๑. ข. ขมา มีความอดทน
๒. ชา. ชาครยิ า มีความตน่ื ตัว
๓. อุ. อุฏฐานวโต มคี วามขยนั หมนั่ เพียร
๔. สํ. สังวภิ าโค รจู้ ักจาแนกแจกแจง
๕. ท. ทยา มคี วามเอ็นดู
๖. อิ. อิกขนา ร้จู ักตรวจตรา

บทนยิ าม

o มอี ดทน คนต่ืนตัว หัวขยัน
รู้ตรวจตรา
สรรจาแนก แทรกเอ็นดู ละเอียดกระทา
รูต้ รวจตรา
o ทนอด หมดข้เี กียจ รรู้ อบ
ผสานองคก์ ร
นาเผยแผ่ แน่เอ็นดู

o สตติ ั้ง ระวังสู้

ชอบอบุ าย ขยายงาน

ทุกตอนตรวจตรา

หน้า ๑๑๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

คารวะ ๖

ส่ิงเคารพ หลักนบนอบ ขอบเขตทรงคณุ

๑. พ.ุ พุทธคารวตา เคารพพระพุทธ

๒. ธ. ธมั มคารวตา เคารพพระธรรม

๓. สํ. สงั ฆคารวตา เคารพพระสงฆ์
๔. ส.ิ สกิ ขาคารวตา เคารพในสกิ ขา

๕. ป. ปฏสิ นั ถารคารวตา เคารพในปฏิสนั ถาร

๖. อ. อปั ปมาทคารวตา เคารพในความไมป่ ระมาท

บทนยิ าม

o เคารพพระพุทธ หลดุ จากส่ิงดา

เคารพพระธรรม เหยยี บยา่ ความหลง

เคารพพระสงฆ์ ปลดปลงเวรภัย

เคารพไตรสกิ ขา เขน่ ฆา่ มาร

เคารพปฏิสันถาร พน้ ผ่านอาฆาต

เคารพความไม่ประมาท ตดั ขาดจัญไร

o เคารพพทุ ธะ สกั การะพระธรรม

หน้า ๑๑๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

เดินตามพระสงฆ์ ซ่อื ตรงสิกขา

ต้อนรับออกหนา้ เลิกลาประมาท

o มสี ตอิ ยา่ ประมาท มีญาติต้องต้อนรับ

มที รพั ย์ตอ้ งศกึ ษา มีค่าคงใหส้ งฆ์ช้ีนา

ชีวติ ให้มีธรรมเกือ้ หนนุ ดวงจิตต้องรู้คณุ พทุ ธะ

o เคารพครอู าจารย์ เคารพธรรมะโอฬาร

เคารพองค์การ เคารพการศึกษา

เคารพผูม้ าหา เคารพสตปิ ัญญา

o เคารพความไมป่ ระมาท เปน็ ญาติพระนพิ พาน

เคารพปฏสิ นั ถาร ได้บริวารสานึก

เคารพการศกึ ษา ได้ปญั ญาซื่อตรง

เคารพพระสงฆ์ ได้ทรงธรรมลึกล้า

เคารพพระธรรม ไดถ้ ึงธรรมบรสิ ทุ ธิ์

เคารพพระพทุ ธ ไดร้ ู้ ตื่น เบกิ บาน

หนา้ ๑๑๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ผบู้ ริหารพงึ .....

ร้ไู ว้ สายใจ

รไู้ ว สายตา

รูห้ า สายเส้น

ร้เหน็ สายงาน
รก้ จิ การ สายห
ร้อย่ สายธรรม

อธิมุตตธรรม ๖

ทางออกของจิต ทางปลอดภัยของชวี ติ

๑. เน. เนกขัมมะ ก้าวออกไป

๒. ป. ปวเิ วกะ ใกลส้ งดั

๓. อ. อพั ยาปชั ฌะ ตดั เบียดเบยี น

๔. ต. ตัณหกั ขยะ เพยี รพ้นอยาก

๕. อุ. อุปาทานักขยะ จากอุปาทาน

๖. อ. อสัมโมหะ สังหารโมหะ

หน้า ๑๒๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o เหน็ โทษกาม ตามสงัด ขจดั ปองร้าย

หายยงุ่ อยาก จากยึดถอื มืดต้อื ไมม่ ี

o เวน้ กาม ห้ามปองรา้ ย หมายสงดั

สลัดอยาก จากยึดถือ ทาลายมืดต้อื

o บรรเทาหลง หลงภาระ ละตณั หา

หาทางออก พอกพูนเมตตา เหน็ โทษกามา

o เน. น้อมจติ ออกหนี อพั . ไม่มปี องรา้ ย

ป. กายใจสงัด ต. ตัดอยากลง

อ.ุ ยึดทรงไมม่ ี อ. รอบรู้เตม็ ท่ี

อัตถทวาร วฒั นมขุ ๖

ประตูสู่ความสาเร็จ หลักเผดจ็ ความเจริญ

๑. อา. อาโรคยํ มีสุขภาพดี

๒. สี. สีลํ มีศีล มีวินยั

๓. พุ. พทุ ธฺ านมุ ตํ ดแู บบอย่างผู้รู้

หน้า ๑๒๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. สุ. สตุ ํ ใคร่ฟัง ใครศ่ ึกษา
๕. ธ. ธมมฺ านุวตตฺ ี เดินตามธรรม
๖. อ. อลนี ตา ไม่ท้อถอยเฉอื่ ยชา

o สขุ ภาพดี บทนยิ าม
อย่ฟู งั มีวนิ ัย ใฝ่รู้
หวังธรรม ทาตอ่
o กายใจไรโ้ รค โชคดีมศี ลี ค้า ฟงั คาผรู้ ู้
ดูแบบอย่าง ไมห่ า่ งธรรม ทาเพียรตดิ ตอ่
ปลอดภัย เขา้ ใกลผ้ ู้รู้
o ปลอดโรค โอนอ่อนตามธรรม กระทาติดตอ่
ฟงั ดูคาสอน แขง็ แกร่ง ไมก่ าแหง
ไมข่ ัดแยง้ แจม่ แจง้
o แข็งแรง ตามธรรม ฟังคา
ไม่ระแวง ตอกยา้ สาคัญ

o ต้องทา
ผนู้ า

หนา้ ๑๒๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

เวปลุ ลธรรม ๖

หลกั ธรรม ทาความไพบูลย์

๑. อาโลกพหโุ ล มากด้วยแสงสวา่ งแหง่ ปัญญา

๒. โยคพหโุ ล มากด้วยวริ ิยาธิการ

๓. เวทพหโุ ล มากด้วยความเบิกบานใจ

๔. อสนฺตุฏฺ พหุโล ไม่สนั โดษในธรรม

๕. อนิกฺขิตตฺ ธุโร การกระทาตดิ ตอ่

๖. อุตฺตริญฺจ ปตาเรติ ไมท่ ดทอ้ ทอดทิง้ กลางคนั

บทนิยาม

o รอบรสู้ ูงสดุ ไม่เคยหยุดนงิ่ สุขใจจริงหนอ

ทาดไี ม่เคยพอ กระทาติดต่อ ทาไปไม่ทอ้

o สืบตอ่ ใหย้ ่ิง ไมท่ อดทิง้ ธรุ ะ อสันตุฏฐิธรรม

ช่มุ ฉา่ ดว้ ยเวทน์ รเู้ หตุประกอบ ชอบใจอาโลกา

o วชิ าการ กิจการ ชน่ื บาน

เอาการ สืบสาน พัฒนาการ

หนา้ ๑๒๓

นยิ ามธรรม กิจการ รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o เรืองวิทย์ ช่ืนบานพอใจ
ไมส่ ันโดษ
โปรดกระทา ทาไปไม่ท้อ

ทศิ ๖

ทศิ ธรรม ฉัพพรรณรงั สี รัศมขี องชีวิต
๑. ปุรัตถิมทิศ ทศิ เบอื้ งหน้า คอื มารดาบิดา
๒. ทักขิณทิศ ทิศเบ้อื งขวา คือครูอาจารย์
๓. ปจั ฉิมทิศ ทิศเบอื้ งหลัง คอื บตุ ร-ภรรยา-สามี
๔. อตุ ตรทิศ ทศิ เบอ้ื งซา้ ย คือมติ รสหาย
๕. เหฏฐิมทศิ ทิศเบ้ืองตา่ คือบ่าวไพร่,คนงาน
๖.อปุ รมิ ทิศ ทิศเบ้ืองบน คือสมณพราหมณ์

บทนิยาม

o ผู้ให้กาเนดิ ชวี ิต ผ้ปู ระกาศิตความรู้

ผูส้ บื เผา่ พันธู ผูช้ ว่ ยเชดิ ชู

ผูอ้ ยู่รับใช้ ผใู้ หน้ โยบาย

หนา้ ๑๒๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o บิดามารดา ครูบาอาจารย์
บุตรภรรยาผูส้ บื สาน มิตรร่วมกิจการ
บ่าวไพร่คนงาน ผู้ช้ีทางนฤพาน
อาจารยผ์ ้สู อนสัง่
o พอ่ แมผ่ ้เู ปิดดวงตา มิตรสหายทรี่ ัก
ลกู คู่ครองทปี่ องหมาย สมณพราหมณ์ชผี ูส้ งบ
บ่าวไพรผ่ ภู้ ักดี

อบายมุข ๖

หนทางแห่งความฉบิ หาย อบายสายตา่

๑. สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏฺ านานุโยโค

นกั ดืม่ น้าเมาตดิ ยาเสพตดิ

๒. วกิ าลวิสิขาจริยานุโยโค เท่ยี วกลางคนื

๓. สมชฺชาภิจรณํ เทยี่ วดูการละเลน่

๔. ชตู ปั ปมาทัฏ านานุโยโค เลน่ การพนนั

๕. ปาปมติ ตฺ านุโยโค คบมิตรชัว่

๖. อาลสฺสานโุ ยโค เกียจคร้านการงาน

หนา้ ๑๒๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

บทนยิ าม

o ตดิ ยา ตดิ เทีย่ ว ติดเล่น

ตดิ พนัน ติดเพื่อน ตดิ ขีเ้ กียจ

o ข้ยี า ขี้เตร่ ข้เี ลน่ ขี้ข้า ข้ีบาป ข้ีเกยี จ

o ดืม่ น้าเมา เที่ยวกลางคนื ยนื ดกู ารละเล่น

เล่นการพนนั คบคนชัว่ ทาตวั เกียจคร้าน

o ขี้เกียจขค้ี ร้าน คบแตค่ นพาล เล่นการพนัน

มหรสพเมามัน ขยนั เทย่ี วเตร่ เสเพลข้ยี า

ผี ๖ ตัว

ผที ่ี ๑ ชอบสุราเป็นอาจิณ ไม่ชอบกินข้าวปลาเปน็
อาหาร
ผที ่ี ๒ ชอบเท่ยี วยามวกิ าล ไม่รักบ้าน รกั ลกู รกั เมยี ตน
ผีท่ี ๓ ชอบดกู ารละเล่น ไม่ละเว้นบารค์ ลบั ละครโขน
ผีที่ ๔ คบคนชัว่ ม่วั กบั โจร หนไี ม่พน้ อาญาตราแผน่ ดิน

หน้า ๑๒๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ผที ี่ ๕ ชอบเลน่ หวยมวยม้ากีฬาบัตร สารพดั ถั่วโปไฮโล

สิ้น

ผที ี่ ๖ เกียจครา้ นการทากนิ มที ้งั สน้ิ ๖ ผี อปั ปรีย์เอย

โทษของการด่มื นา้ เมา ๖

๑. ธนชานิ เสียทรัพย์

๒. กลหปฺปวฑฺฒนี ก่อการทะเลาะวิวาท

๓. โรคานํ อายตนานํ กอ่ ใหเ้ กิดโรค

๔. อกิตฺตสิ ญชฺ นนี ต้องถูกติฉินนินทา

๕. หิรโิ กปินนิทฺทํสนี ไม่รจู้ ักอายชั่วกลัวบาป

๖. ปญฺ าย ทุพพฺ ลกี รณี ทากาลังสติปัญญาใหเ้ ส่ือม

บทนยิ าม

o เสียทรพั ย์ กลับววิ าท

พยาธเิ บยี ดเบียน ถูกติเตียนนินทา

หน้าด้านไม่อาย ทาลายสตปิ ัญญา

หน้า ๑๒๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o สนิ ทรพั ยพ์ ังพนิ าศ เกิดอบุ าทวช์ วนทะเลาะ

เกดิ โรคร้ายเป็นเคราะห์เข็ญ ใครเหน็ กล่าวติเตียน

ทาบิดเบียนไม่อายบาป เป็นคนหยาบทรามปัญญา

โทษของการเท่ียวกลางคืน

๑. อคุตฺโต อรกฺขโิ ต ช่ือวา่ ไม่รักตัว

๒. ปตุ ฺตทาโรปิ ชื่อว่าไม่รักครอบครัว

๓. สาปเตยฺยมปฺ ิ ชื่อวา่ ไมร่ ักษาทรัพย์สิน

๔. สงกฺ โิ ย เป็นทร่ี ะแวงสงสัย

๕. อภูตวจนํ มกั ถกู ใสค่ วาม

๖. ทุกฺขธมฺมานํ ปุรกขฺ โิ ต ได้รับทกุ ขไ์ ปหน้า

บทนิยาม

o ทุกขไ์ ปหนา้ วาจาเหลาะแหละ

ข้องแวะสงสัย สนิ้ ไปแหง่ ทรัพย์

นาอาภัพสตู่ วั ทาลายครอบครวั

o ตัวเองไมร่ ักษา บุตรภรรยาไม่ใสใ่ จ

หนา้ ๑๒๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ก่อภัยทรพั ย์สนิ ถูกใสร่ ้ายป้ายมลทิน

ตอ้ งทกุ ข์ดิ้นต้องสิน้ เปลอื ง ชาวเมืองระแวงสงสยั

o ไม่รักตัวมวั ประมาท ไมร่ ักญาติลูกเมีย

สูญเสียทรัพย์สิน คนดหู มน่ิ สงสัย

ถูกใส่ความร้ายป้ายสี มที ุกขีตามตดิ ตวั

โทษของการเล่นพนัน ๖

๑. ชยํ เวรํ ปสวติ ชนะย่อมก่อเวร

๒. ชโิ น วติ ตฺ มนุโสจติ แพ้พา่ ยเสียดายทรัพย์

๓. สนทฺ ฏิ ฺฐกิ า นชานิ ทรพั ย์ฉิบหายทันตาเห็น

๔. สภาคสสฺ วจนํ น รหู ติ ทปี ระชุมไม่เช่ือถอื

๕. มิตฺตามจจฺ านํ ปรภิ ูโต เป็นท่ีหมน่ิ ประมาทของเพ่ือน

๖. อาวหวิวาหกานํ อปปฺ ตถฺ ิโต ไมม่ ใี ครปรารถนาเปน็ คู่

บทนิยาม
o ชนะยอ่ มกอ่ เวรภัย แพ้พ่ายเสยี ดายทรพั ย์

หน้า ๑๒๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ยอ่ ยยับทรัพยส์ ิน ถกู ดูหม่นิ เหยยี ดหยาม
ขาดความน่าเชื่อถอื สดุ ท้ายคือไมม่ ีคคู่ รอง
o ไมม่ ใี ครเปน็ คู่ ถกู ดหู มิ่นเหยยี ดหยาม
ขาดความน่าเคารพ พบภยั พิบตั ิฉิบหาย
เสียดายทรัพยเ์ ม่อื แพ้ กอ่ แต่โทษทุกขเ์ วรภยั

โทษของการดกู ารละเลน่

ทาใหน้ สิ ัยเสีย ตดิ สนุก เม่ือมี........

๑. กฺว มจฺจํ เต้นราทไี่ หน ไปท่ีนน่ั

๒. กวฺ คตี ํ ขับร้องทไ่ี หน ไปที่นั่น

๓. กฺว วาทติ ํ ประโคมท่ีไหน ไปทีน่ ัน่

๔. กฺว อกฺขาตํ เสภาทีไ่ หน ไปที่นน่ั

๕. กฺว ปาณสิ ฺสรํ ดีดสตี เี ป่าทไ่ี หน ไปทนี่ นั่

๖. กฺว กุมฺภถุมํ เถิดเทงิ ทีไ่ หน ไปทีน่ ั่น

หนา้ ๑๓๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

คบคนชั่วเป็นมติ รมีโทษ ๖

๑. ธุตฺตาพาเราเป็นนกั เลงพนนั

๒. โสณฺฑา เสกสรรเราใหเ้ ป็นนกั เลงเจ้าชู้

๓. ปปิ าสา เชิดชูให้เป็นนกั เลงสุรา

๔. เนกตกิ า แสวงหาของปลอมมามอมเมา

๕. วญจฺ นกิ า ใหค้ ดโกงเขาเฉพาะหนา้

๖. สาหสกิ า ใหเ้ ป็นพาลาหวั ไม้

ลกั ษณะคนเกยี จครา้ น ๖

๑. อตสิ ตี ะ มกั อา้ งว่า หนาวนัก

๒. อตอิ ุณหะ มกั อา้ งวา่ รอ้ นนัก

๓. อติสายณั หะ มกั อ้างว่า ค่านักแลว้

๔. อติปาตะ มกั อา้ งวา่ เช้านกั

๕. อตจิ ฺฉาตะ มกั อา้ งว่า หวิ นกั

๖. อติปิปาสิตะ มกั อ้างวา่ กระหายนัก

หนา้ ๑๓๑

นิยามธรรม บทนยิ าม รวมรวมโดย มหานอ้ ย
รอ้ นนง่ั
o หนาวนอน หิวหลาย เย็นพกั
เช้าอยู่ กระหายจรงิ

๑. ส. สฺวากฺขาโต ธรรมคณุ ๖
๒. สํ. สนฺทิฏฐฺ ิโก
๓. อ. อกาลโิ ก ตรสั ไว้ดแี ล้ว
๔. เอ. เอหิปสสฺ ิโก ร้เู ห็นไดเ้ อง
๕. โอ. โอปนยิโก ไร้กาลเวลา
๖. ป. ปจฺจตตฺ ํ ควรเรียกให้มาดู รู้เห็น
ควรน้อมเข้าใส่ตน
รู้ไดเ้ ฉพาะตน

บทนิยาม

o ส. ตรัสไว้ดีเดน่ ส. รู้เหน็ เฉพาะตน

อ. ลว่ งพน้ กาล เอ.เชิญท่านเห็นผล

โอ. เอาตนค้นหา ป. ร้แู จง้ ตาแน่นอน

หน้า ๑๓๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o บอกถึงความดลี น้ รแู้ จ้งเฉพาะตน

ไม่สนกบั กาลเวลา ตอ้ งเอาตนคน้ หา

น้อมเขา้ มาในตน วิญญูชนรไู้ ด้

o สจั จะแท้จริง ส่ิงรู้เฉพาะ เหมาะทุกสมยั

คน้ หาภายใน นอ้ มใจคน้ หา ร้แู จ้งแก่ตา

o รู้ทั่วพร้อม นอ้ มเขา้ มา หาในตน

ล่วงพน้ กาล เปน็ ญาณเฉพาะ เสนาะจรงิ แท้

o ดเี ด่น เย็นฉ่า ล้าหนา้

น้อมมา หาดู รเู้ อง

หนา้ ท่ีสมณพราหมณ์ ๖

๑. ปาปา นวิ าเรนฺติ หา้ มมใิ ห้ทาบาป

๒. กลฺยาเณ นิเวเสนฺติ ขนาบใหท้ าความดี

๓. กลยฺ าเณ มรสา อนกุ มฺเปนฺติ นา้ ใจดีอนเุ คราะห์

๔. อสสฺ ตุ ํ สาเวนิติ ใหไ้ ด้ฟังสง่ิ เหมาะ

๕. สุตํ ปริโยทเปนฺติ ไพเราะช้ีแจง

หนา้ ๑๓๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๖. สคคฺ สฺส มคคฺ ั อาจกิ ฺขนตฺ ิ แถลงทางสวรรค์ให้รู้

บทนิยาม

o หา้ มมิใหท้ าชัว่ ให้พาตัวทาดี

เมตตาอารีย์เป็นท่ตี งั้ ให้ได้ฟังสง่ิ ใหม่

ใหเ้ ขา้ ใจส่ิงเก่า เรง่ เรา้ ทางสวรรค์

o นาทางสวรรคช์ ้ีแจง ใหแ้ จม่ แจ้งสงสัย

บอกธรรมใหมๆ่ อนุเคราะห์ด้วยน้าใจ

ใหต้ ง้ั อยใู่ นความดี ปลดเปล้อื งบาปใหห้ ่างหนี

ราชาธรรม, ธรรมราชา

พฤตกิ รรมของโยคี อธั ยาศัยไมตรขี องสาธชุ น

๑. ธมมฺ าราโม รืน่ เริงในธรรม

๒. ธมฺมรโต ยินดใี นธรรม

๓. ธมฺเม โต ต้งั อยู่ในธรรม

๔. ธมมฺ วินจิ ฺฉยญญฺ ู วินิจฉยั ในธรรม

หน้า ๑๓๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. เนวาจเร ธมฺมสนฺโทสวาทํ ไม่กลา่ วประทษุ รา้ ยธรรม

๖. ตุจฺเฉหิ นีเยถ สุภาสิเตหิ ปลอ่ ยเวลาวา่ งๆไปกับสุภาษติ

บทนยิ าม

o ร่ืนเรงิ ในธรรม ยนิ ดใี นธรรม

มีธรรมประจาจติ นาจิตพินิจธรรม

ไมผ่ ดิ จากธรรม สุภาษิตเป็นธรรม

o ปลอ่ ยเวลาว่างๆไปกบั สุภาษติ

ไม่กล่าวใหผ้ ดิ จากธรรมวินยั

วินิจฉัยในธรรมไม่ขาด

ฉลาดในธรรมต้งั อยู่

รศู้ กึ ษาธรรมด้วยใจยนิ ดี

มคี วามบนั เทิงธรรมเตม็ ที่

เอกภี าพ , เอกียธรรม

๑. สาราณียะ มีสงิ่ ใหร้ ะลกึ ถงึ กนั

๒. ปยิ กรณะ รักใครก่ ัน

หนา้ ๑๓๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. ครุกรณะ เคารพกนั

๔. สังคหะ สงเคราะหช์ ว่ ยเหลือกนั

๕. อวิวาทะ ไม่ทะเลาะววิ าทกัน

๖. สามคั คี มีความสมานสามัคคี

บทนยิ าม

o นึกถึงกัน รักใครก่ นั เคารพกัน

o สงเคราะหก์ ัน ไมว่ ิวาทกัน รว่ มมือกนั

o สรา้ งสาระใหห้ นัก รกั กนั ให้ครบ
เคารพกันให้เหมาะ สงเคราะหก์ ันไม่ขาด
ไม่วิวาทขัดแย้ง รว่ มแรงร่วมใจ
ขดั แย้งไม่ทา
o ร่วมมือขันแขง็ เคารพตามธรรม
ช่วยเหลือประจา เข้าหาสิง่ ดี
ชุ่มฉา่ เมตตา มีนา้ ใจภักด์ิ
เจนจบสงเคราะห์
o คิดแตส่ ิ่งดี
หนักแน่นเคารพ หน้า ๑๓๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ไมท่ ะเลาะวิวาท ฉลาดรวมตัว

o มองแต่แงด่ ี มเี มตตาจิต

คิดเคารพกัน ครบครันสงเคราะห์

ทะเลาะไม่มี สามคั คีไมข่ าด

o เอาสาระเป็นหลัก

เอาความรกั เป็นงบ

เอาเคารพเป็นเกราะ

เอาสงเคราะห์เป็นปราการ

เอาความไม่ววิ าทเป็นเครื่องสนาน

เอาสามคั คเี ป็นวมิ าน

สาราณียธรรม ๖

๑. เมตตากายกรรม มเี มตตา กายกรรม
๒. เมตตาวจกี รรม มีเมตตา วจีกรรม
๓. เมตตามโนกรรม มเี มตตา มโนกรรม
๔. สาธารณโภคี มอบทรัพยใ์ หเ้ ป็นสาธารณะโภคี

หน้า ๑๓๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. สีลสามญฺ ตา มศี ลี เสมอกัน
๖. ทฏิ ฺ สามญฺ ตา มีทิฏฐเิ สมอกัน

บทนิยาม

o ทาดีตอ่ กัน พูดดีต่อกนั คดิ ดีต่อกัน

มคี วามแบ่งปัน มศี ีลเสมอกัน คดิ เห็นเสมอกนั

o ทาอยา่ งเพอื่ น พดู อยา่ งเพ่ือน

คิดอย่างเพ่ือน แบง่ ปันกับเพือ่ น

มีศลี เหมือนเพือ่ น คิดเห็นเช่นเดียวกับเพ่ือน

o ใสใ่ จกนั ชนื่ ชมกัน

ปรารถนาดีต่อกนั แบง่ ปันกนั

ประพฤตดิ ีต่อกนั เขา้ ใจกัน

o ร่วมคิด รว่ มทา กิจกรรมสุจริต

แบ่งลาภผลตามสทิ ธิ์ ทา,พูด,คดิ ด้วยเมตตา

อายตนะ ๖, อินทรยี ์ ๖
ทตี่ ่อ กอ่ ภัย ความเป็นใหญเ่ ฉพาะทาง

หน้า ๑๓๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. จักขุ ตา คู่กบั รูป
๒. โสตะ หู คู่กับ เสียง
๓. ฆานะ
๔. ชวิ หา จมกู ค่กู บั กลน่ิ
๕. กายะกาย ลน้ิ คูก่ บั รส
๖. มโน คกู่ ับ ผสั สะ
ใจ คูก่ บั อารมณ์

o ตา ข้ออุปมา
o หู เหมอื น งู
o จมูก เหมอื น จระเข้
o ลิน้ เหมือน นก
o กาย เหมอื น สนุ ัขป่า
o ใจ เหมอื น สุนัขบา้ น
เหมือน ลิง

บทนิยาม

o ตาอยา่ กอ่ ศัตรู หอู ย่ากอ่ พันผกู

หนา้ ๑๓๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

จมูกอยา่ กอ่ มลทนิ ล้นิ อยา่ ก่อมารรา้ ย
กายอยา่ ก่อภยั ใจอย่ากอ่ ทกุ ข์

อุตตรมิ นุสสธรรม ๖

๑. ฌานํ วา เพ่งพินจิ

๒. สมาธึ วา จติ ตั้งม่ัน

๓. สมาปตตฺ ึ วา หม่ันเข้าอยู่

๔. วิโมกขฺ ั วา รู้หลุดพ้น

๕. มคคฺ ํ วา มรรคบันดล

๖. ผลํ วา ผลบันดาล

อธั ยาศยั ๖ ของโพธสิ ัตว์

๑. อโลภะ ไมโ่ ลภ

๒. อโทสะ ไมโ่ กรธ

๓. อโมหะ ไมห่ ลง

๔. วิริยารัมภะ ลงมือทาเพยี ร

หนา้ ๑๔๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. ขันติ เซียนอดทน
๖. เนกขัมมะ กา้ วพ้นกาม

ดอกผลของความเกียจคร้าน

๑. อลสฺส กุโต สิปฺปํ
คนเกียจครา้ นฤาจะพานพบวิชา

๒. อสปิ ฺปสฺส กุโต ธนํ
คนไรท้ รพั ย์ฤาจะหาทรพั ยไ์ ด้

๓. อธนสสฺ กุโต มิตฺตํ
คนไร้ทรพั ย์ฤาจะได้รบั มิตรสหาย

๔. อมิตฺตสสฺ กโุ ต สุขํ
คนไร้มิตรสหายฤาจะไดม้ ีความสขุ

๕. อสุขสฺส กโุ ต ปญุ ฺ
คนไร้สขุ ฤาจะคิดแสวงหากศุ ล

๖. อปุญฺ สฺส กุโต นิพพฺ านํ
คนไรบ้ ญุ กุศลฤาจะดลพระ นพิ พาน

หน้า ๑๔๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๑. พทุ ธฺ านสุ สฺ ติ อนสุ สติ ๖
๒. ธมฺมานสุ สฺ ติ
๓. สงฆฺ านสุ ฺสติ ระลกึ ถึงพระพุทธเจา้
๔. สลี านสุ สฺ ติ
๕. จาคานสุ สฺ ติ ระลึกถึงพระธรรม
๖. เทวตานุสสฺ ติ
ระลึกถงึ พระสงฆ์

ระลกึ ถึงคุณของศลี

ระลกึ ถึงจาคทาน

ระลกึ ถงึ คณุ เทวดา

บทนยิ าม
o นกึ ถงึ พระพทุ ธเจ้าผสู้ งู ล้า

นกึ ถงึ พระธรรมอันสงู สง่
นึกถึงพระสงฆ์ผูไ้ ร้มลทิน
นึกถึงศลี ใหเ้ บิกบาน
นึกถงึ จาคทานใหเ้ ริงร่า
นกึ ถึงเทวดาให้หย่าบาป
o พระพทุ ธหยุดมืดดา พระธรรมกาจัดหลง

หนา้ ๑๔๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

พระสงฆป์ ลงมลทิน ศีลส้นิ โทสา

จาคาชนะมารธดิ า เทวดาลาบาปปราบช่วั

o พทุ ธา ธมั มา สงั ฆา สลี า จาคา เทวตา

ประภัสสรธัมโม

๑. ปภัสสรงั เรืองแสงแพรวพราว

๒. สนั ตัง สงบเยอื กเย็น

๓. ปภากาลัง มีประกายผ่องใส

๔. โชติกงั โชตชิ ว่ งชัชวาล

๕. วริ าคัง ประเสรฐิ ย่ิงนกั

๖. ตณั หกั ขะยงั ไมม่ ีส่งิ เสียดแทง

๑. ฌา.ฌาน หัวใจสาวก
๒. ส.สมาธิ
๓. ส.สมาบัติ เพง่ อยเู่ ป็นนิตย์
มจี ิตต้งั ม่ัน
เขา้ อยู่ทกุ วนั

หนา้ ๑๔๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. วิ.วิโมกข์ สขุ สันตส์ งัด
๕. ม.มรรค ตดั จากหมมู่ าร
๖. ผ.ผล เผาผลาญไม่มี

o ผ. เผาผลาญไมม่ ี ม. หมู่มารตัดหนี
ว.ิ สงดั ส. เตม็ ทส่ี ขุ ใจ
ส. สงบผ่องใส ฌา. ต้งั ไวม้ ่ันคง

หวั ใจพระ

๑. สุ. ฟังเข้าใจ
๒. ว.ิ ระเบียบผอ่ งใส
๓. ป. ว่องไวเจนจัด
๔. สี. เคร่งครดั ระวัง
๕. ส. ต้ังมัน่ แน่นหนา
๖. ป. คลอ่ งแคลว่ ทุกเวลา

หน้า ๑๔๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

หมวด ๗

วสิ ทุ ธิ ๗

๑. สีลวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแห่ง ศลี

๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต

๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ

๔. กังขาวติ รณวสิ ุทธิ หมดจดเพราะขา้ มพ้นสงสัย

๕. มัคคญาณวสิ ุทธิ หมดจดด้วยญาณหย่ังรูม้ รรค

๖. ปฏปิ ทาญาณวสิ ุทธิ หมดจดในแนวทางดาเนินไป

๗. ญาณทัสสนะวสิ ทุ ธิ หมดจดด้านญาณทสั สนะ

นิยามธรรม

o ส.ี ระวงั ดับพษิ จิ. รกั ษาจติ หมดภยั

ท.ิ ทาไปถกู ต้อง ก. เกยี่ วขอ้ งทางดี

ม. หนพี ้นทางบาป ป. ปราบปรามทางช่ัว

ญา. พาตวั พน้ ทุกข์

o หมดพิษ จติ สงบ พบปญั ญา

หน้า ๑๔๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

หายกงั ขา มรรคาเดนิ ไป เร็วไวทาเพียร

แนบเนียนทั่วไป

สทั ธรรม ๗

หลกั การเสริมสร้างสมรรถภาพของตนให้ยง่ิ

๑. ส. สัทธา มีศรทั ธาเชอ่ื มั่น

๒. หิ. หิริ มีความละอาย

๓. โอ. โอตตปั ปะ มีความเกรงกลัว

๔. พ. พหสุ ัจจะ มกี ารศึกษา

๕. วิ. วิริยะ มคี วามเพียร

๖. ส. สติ มสี ติ

๗. ป. ปัญญา มีปัญญา

บทนิยาม

o ส. เชอ่ื ม่ัน หิ. ขยนั อาย

โอ. หน่ายบาป ว.ิ อาบเพียร

หน้า ๑๔๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

พ. แนบเนยี นฟัง ส. ต้ังมนั่ รอบรู้
ป. ฉลาดเปน็ ครู
o เช่อื มั่นนาย อายความช่ัว
กลวั ความเมา เอาดสี ดบั
ขยับต่อสู้ รอบรู้เร็วไว
เกรยี งไกรฉลาด

โพชฌงค์ ๗

คุณสมบัติของผูน้ า คณุ ธรรมของผู้รู้ ความ

เปน็ อยูข่ องผู้ใหบ้ รกิ าร ความชานาญของผู้สอนสั่งอบรม

๑. ส. สติ สตวิ อ่ งไว

๒. ธ. ธัมมวิจัย วจิ ัยแนบเนยี น

๓. ว.ิ วิรยิ ะ ทาเพียรอยา่ งดี

๔. ปี. ปตี ิ ปตี ิมคี รบ

๕. ป. ปัสสทั ธิ สงบเตม็ ข้นั

๖. ส. สมาธิ ต้งั มนั่ ภายใน

หน้า ๑๔๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๗. อ.ุ อเุ บกขา มใี จเป็นกลาง

บทนิยาม

o ส. สตผิ อ่ งใส ธ. วิจัยแยบคาย

วิ. เพ่งเพยี รเปน็ สหาย ป.ี ปตี ิมากมาย

ป. สงบเฉิดฉาย ส. ต้ังมน่ั สบาย

อุ. วางเฉยมารร้าย

o มีใจเปน็ กลาง แนวทางตั้งม่ัน

สร้างสรรคส์ งบ ครนั ครบอ่มิ ใจ

พากเพยี รยง่ิ ใหญ่ วินิจฉัยถูกต้อง

แคล่วคล่องสติ

o ส. ปลุกให้ตนื่ ธ. ฟนื้ ใหม้ ี

ว.ิ หนใี ห้พน้ ป.ี ผลอม่ิ ใจ

ป. กาไรสงบ ส. อยจู่ บตั้งมนั่

อ.ุ สขุ สันตป์ ลอ่ ยวาง

o สติ เป็นแกนนา ธมั มวิจยั เป็นแนวทาง

หน้า ๑๔๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ความเพยี ร เสรมิ สรา้ ง ปตี ิ อ่ิมใจไม่จืดจาง

สงบรางบั ไมห่ า่ ง ต้ังม่ัน ไมว่ าง

เปน็ กลาง มน่ั คง

o อุ. เป็นกลาง ส. ว่างสงบ ป. ครบม่ัน

ปี. ข้ันพอใจ ว.ิ ได้เพยี ร ธ. เซียนวิชา

ส. หนาสติ

กลั ยาณมิตตธรรม ๗

หนา้ ท่ขี องครู หลกั รู้ของอาจารย์ สมการ

ของผนู้ า คณุ ธรรมของมิตร ทเี่ ชิดชขู องปวงศษิ ย์

๑. ป.ิ ปิโย ทาตนให้เป็นที่รกั

๒. ค. ครุ ทาตนให้เป็นที่ยาเกรง

๓. ภ. ภาวนโี ย อบรมตนห้เจรญิ กา้ วหนา้

๔. ว. วตฺตานญจฺ พรา่ เตือนพร่าสอนทางถกู

๕. ว. วจนกฺขโม อดทนถอ้ ยคา นนิ ทา ยกยอ่ ง

๖. ค. คมภฺ ีรํ กถํ กตตฺ า อธิบาย จาแนกให้ลกึ ซ้งึ

หนา้ ๑๔๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๗. โน. โน จฏฺ าเน นิโยชเย ยืนยันหนทางถูกตอ้ งไว้

บทนิยาม

o ปิ. เปน็ ทร่ี ัก ค. แนน่ หนกั จรรยา

ภ. รักความกา้ วหนา้ ว. อุตส่าหส์ อนยา้

ว. อดทนถ้อยคา ค. ทาของลกึ ใหต้ ้นื

โน. ยนื ยันทาดี

o ป.ิ นา่ รกั นา่ เขา้ ใกล้

ค. นา่ เคารพ นา่ ยาเกรง

ภา. น่าสักการะ น่าบชู า

ว. น่ายกย่อง นา่ ชืน่ ชม

ว. นา่ นบั ถอื นา่ เล่ือมใส

ค. นา่ ยินดี นา่ พอใจ

โน. น่าคิดถงึ นา่ กลา่ วอ้าง

o ทาตนนา่ รกั แนน่ หนกั จรรยา

เพม่ิ พูนก้าวหน้า อุตสา่ ห์สอนศิษย์

หน้า ๑๕๐


Click to View FlipBook Version