The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawat789.jp, 2022-01-04 17:23:13

นิยามธรรม ๑

นิยามธรรม ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o รกั อย่าหวัง ชังอยา่ เอา
มัวเมาอย่าสร้าง เกรงกลวั หมดหนทาง
โทษหนักคอื ชัง
o โทษยิ่งคือรกั โทษตรงๆคือกลวั
โทษขงั คือหลง ข้โี กรธคอื ความเขลา
มึนงงคอื ความกลวั
o ชอบใจคือความโหด โกรธ-ผลกั
มัวเมาคือความหลง เขลา-กลัว
ชงั อย่าเสริมส่ง
o รัก-โปรด กลวั อย่าเกย่ี วข้อง
หนกั -เมา

o รักอยา่ มงุ่ หวงั
หลงอย่าเกลือกกลัว้

คาถากาสลกั

จ. จชทชุ ชฺ นสงฺสคคฺ ํ หลกี เลีย่ งคนพาล

ภ. ภชสาธสุ มาคมํ สังสรรค์บัณฑติ

ก. กรปุญฺ มโหรตฺตํ ทาบญุ เปน็ นิตย์

ส. สรนิจฺจมนจิ ฺจตํ คดิ เหน็ นิจจมนจิ จตัง

หน้า ๕๑

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

อปสั เสนธรรม ๔ ธรรมเป็นท่พี ่งึ พงิ

๑. สงฺขาเยกํ ปฏเิ สวติ พิจารณาแล้วส้องเสพปจั จยั ๔

๒. สงขฺ าเยกํ อธิวาเสติ พจิ ารณาแลว้ อดทนอดกล้ัน

๓. สงฺขาเยกํ ปริวชฺเชติ พจิ ารณาแลว้ งดเวน้

๔. สงฺขาเยกํ ปฏวิ ิโนเทติ พิจารณาแลว้ บรรเทา

o เสพตามกฎ บทนยิ าม
เว้นแลว้ เบา อดแล้วเย็น
บรรเทาแลว้ สบาย

อุปาทาน ๔

๑. กามปุ าทาน ความยึดตดิ ในกาม

๒. ทฏิ ฐปุ าทาน ความยดึ ถอื ในทฎิ ฐิ

๓. สีลพั พตปุ าทาน ความยดึ ม่นั ศลี พรต

๔. อตั ตวาทปุ าทาน ความยดึ ถอื ตัวตน

หนา้ ๕๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o แบกยดึ กาม บทนยิ าม
พธิ ีศีลยดึ มน่ั
หาบหามทฏิ ฐิ
o กามแบก
อตุ รใิ นศีล คาดค้นั ตัวตน

แยกลัทธิ

ยินดีตัวตน

โภควภิ าค ๔ (การใช้ทรพั ย์ ๔)

๑. นิธมิ หฺ ิ ตตถฺ นทิ หามิ เกบ็ ไวเ้ ป็นกองทุน

๒. อิณํ มญุ ฺจามิ ใช้หนี้

๓. อณํ ทมฺมิ ให้เขายมื

๔. ปปาเต ฉทเฺ ฑมิ ท้ิงลงเหว

o ฝงั ดินไว้ บทนยิ าม
ใหเ้ ขากู้ ใช้หนเ้ี กา่

ทงิ้ สู่เหว

หน้า ๕๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

คณุ นามของบดิ ามารดา

๑. เปน็ พรหมของบุตร พรฺ หมฺ าติ มาตาปิตโร

๒. เป็นบรมครูของบุตร ปพุ พฺ าจรยิ าติ วจุ จฺ เร

๓. เปน็ ปูชนียบุคคลของบุตร อาหเุ นยฺยา จ ปตุ ตฺ านํ

๔. เป็นบุพพการชี น ปชาย อนกุ มปฺ กา

หวั ใจภิกษุ

๑. สํ. สํวรธมฺโม สงั วระ
๒. ป. ปหานธมฺโม ละวาง

๓. น.ิ เนกฺขมมฺ ธมฺโม ย่างหนี
๔. น.ิ นโิ รธธมฺโม ดับอคั คี

หัวใจไตรรตั น์

๑. พุท. พทุ ธัง ล้าเลศิ พทุ โธ

๒. ธมั . ธมั มงั ธมั โมสดใส

๓. สัง. สังฆงั สงั โฆศรีวไิ ล

หน้า ๕๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. มิ. นมามิ ไตรรตั น์นีไ่ ง นอ้ มไหว้ใจดี

หวั ใจอภิธรรม

๑. จ.ิ จติ แจม่ แจ้งผ่องใส

๒. เจ. เจตสกิ ประกอบชอบไซร้

๓. รู. รูป รา่ งรูปดบั ไว

๔. น.ิ นพิ พาน กายใจเยอื กเยน็

หวั ใจพทุ ธะ

๑. อิ. อจิ ฉาไม่มี
๒. ก. กเิ ลสหายหนี
๓. วิ. วิชชาเกดิ มี
๔. ติ. ติดตามญาณี

หวั ใจแก้วมรกต

๑. จ. ฉลาดเจริญ
๒. ภ. เดินหนจี ากภพ

หนา้ ๕๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. ก. เลกิ คบนิวรณ์
๔. ส.
ตัดตอนอาสวะ เลกิ ละอวชิ ชา

หัวใจเปรต

๑. ท.ุ ทุกข์ยากทรมาน
๒. ส. ร้าวรานเศร้าโศก
๓. น. หนักโลกเผาลน
๔. โส. ว่งิ หนไี ม่พ้น ผลกรรมติดตาม

๑. ส. หัวใจสมถะ
๒. ส.
๓. อ. สงบจติ ใจ
๔. ญา. รู้ไวสติ
ดาริจากกาม
เหน็ ตามไตรลกั ษณ์

หัวใจนกั เทศน์
๑. โฆ. โฆสัปปมาณิกา มเี สยี งไพเราะ

หนา้ ๕๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๒. ร.ู รปู ัปปมาณกิ า เหมาะเจาะรูปงาม

๓. ธ. ธมั มปั ปมาณกิ า ทรงธรรมไมข่ า้ ม

๔. ลู. ลูขัปปมาณกิ า ทรวดทรงอรา่ ม

ถูกตามเพศวยั หวั ใจนักเทศน์

หวั ใจอริยธรรม ๔

๑. ส.ี สลี วนตฺ สฺส ชวี ิตํ สิกขฺ ติ ศีล

๒. ส. สมาธิ ยถาภตู ํ สิกฺขติ สมาธิ

๓. ป. ปญฺ า ภาวิตา สกิ ฺขติ ปญั ญา

๔. วิ. วิมตุ ตฺ ิ วริ าคสสฺ สิกขฺ ติ วมิ ุตติ

บทนยิ าม

o ระวงั ตัง้ ม่ัง รู้ทัน พลนั หยุด

o ศีลเบอ้ื งตน้ สมาธิท่ามกลาง

ปัญญาที่สุด วิมุตติพิเศษ

หนา้ ๕๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

มิตรเทยี ม ๔

๑. อญฺ ทตฺถุหโร คนปอกลอก

๒. วจปี รโม คนดแี ตพ่ ูด

๓. อนุปฺปิยภาณี คนหัวประจบ

๔. อปายสหาโย คนชกั ชวนในทางเสอ่ื ม

บทนิยาม

o หลอกอย่างผี ดแี ต่พูด

ขูดแต่เรา มัวเมาไมเ่ ลิก

o ปอกลอก บอกโกง

โคง้ คด ปดนา

o ต่อหนา้ คานบั ลบั หลังนินทา

ชอบหาทางคด หมดจดไมท่ า

คนปอกลอก ๔

o คดิ เอาแต่ได้ ให้สี่เอาร้อย

หนา้ ๕๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

มีปมด้อยคอ่ ยทากิจ คิดเห็นแต่ประโยชน์ตน

คนดีแต่พูด

o พูดเอาของเกา่ มาอา้ งสร้างของใหมม่ าโปรโมท
o ให้ของไร้ประโยชน์มามาก ออกปากไมย่ อมให้

คนหวั ประจบ

o ทาชั่วเอาที ทาดเี อาตาม

ตอ่ หนา้ พูดจัง ลับหลงั นินทา

คนชกั ชวนทางผดิ

o ชวนดื่มนา้ เมา ชวนเทีย่ วกลางคนื

o ชวนชน่ื ชมการละเลน่ ชวนเล่นการพนัน

มติ รช่ัวช้า

o ยอดเสพสรุ า ยอดสาส่อนนารี

ยอดผีพนัน ยอดขนั้ มจิ ฉา

หน้า ๕๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ไม่มวั เมา มติ รดี
ไม่มผี พี นัน
ไม่เอานารี

ไมด่ ันทางผดิ

มติ รแท้ ๔

๑. อุปการโก มติ รมีอปุ การคณุ

๒. สมานสขุ ทุกฺโข มติ รรว่ มสุขร่วมทุกข์

๓. อตฺถกฺขายี มติ รแนะนาประโยชน์

๔. อนุกมปฺ โก มติ รมีความรกั ใคร่

บทนยิ าม

o สงเคราะห์ยามทกุ ข์ เมื่อสขุ ยินดี

ชที้ างประโยชน์ ไมโ่ กรธยามซวย

o อุปการะ ไม่ละท้ิง

จรงิ ประโยชน์ ทงั้ โคตรรักเสมอ

หนา้ ๖๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

มติ รมอี ุปการะ

o ปอ้ งกนั เพื่อน เตอื นการใช้จ่ายทรพั ย์

ขยับสเู้ มื่อภยั มา เปน็ ธุระให้ยามยาก

มติ รรว่ มสุขรว่ มทกุ ข์

o เปิดเผยความลับ ความลบั ไมแ่ พร่งพราย

ไมท่ าลายยามวิกฤต แมช้ ีวิตทดแทนได้

มิตรแนะน้าประโยชน์

o ห้ามทาความช่วั บอกใหท้ าความดี

ให้ยนิ ดฟี งั ส่งิ เด่น ใหเ้ หน็ ทาง

สวรรค์

มิตรรักใคร่

o ยามทกุ ขไ์ ม่ดูถูก คราวสุขช่ืนชม

o ใครกดข่มชว่ ยป้อง รบั รองคาสรรเสริญ

หน้า ๖๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

อรยิ สจั จ์ ๔ ความจรงิ แท้

๑. ทุ. ทุกข์ ทกุ ขม์ ีจรงิ

๒. ส. สมทุ ัย เหตุเกิดทุกข์มีจรงิ

๓. นิ. นิโรธ การดบั ทุกข์มีจรงิ

๔. ม. มรรค วถิ ที างดับทกุ ขม์ ีจรงิ

บทนยิ าม

o กาหนดรู้ความจรงิ ละทงิ้ ความอยาก

จากความยดึ มนั่ สรรสร้างมรรคา

อรยิ กิจ ๔

๑. ป. ปริญญา กาหนดรู้

๒. ป. ปหานะ กาหนดละ

๓. ส. สจิ ฉกิ รณะ ทาให้แจ้ง

๔. ภ. ภาวนะ ทาให้เจริญ

บทนยิ าม

หน้า ๖๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o รู้ ละ ดบั ออก

หมวด ๕

อิทธิบาท ๕

๑. ฉ. ฉนั ทะ คอื ความพอใจ
๒. วิ. วริ ิยะ คอื ความขยัน
๓. จิ. จิตตะ คือ ความต้ังใจ
๔. วิ. วมิ ังสา คอื ความใครค่ รวญตรกึ ตรอง
๕. อุ. อุสโสฬหิ คือ ความบากบนั่ ตง้ั สู้

บทนิยาม

o ฉ. พอใจ ว.ิ ใครส่ ู้ จ.ิ อยู่จิต

ว.ิ คิดดี อุ. มีแวว

o งานเซียน เพียรติด จิตยั้ง ตงั้ ตรง คงสู้

o แนบเนยี นการงาน เพยี รไปไม่คร้าน

ยบั ยงั้ ระวังการ วจิ ารณ์ฐานทรง

หนา้ ๖๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ไมห่ ลงคงสู้

o พอใจ ใครเ่ พยี ร เซียนมน่ั

หมัน่ ตรอง มองไกล

o ฉ. ใส่ใจนักเรยี น วิ. แนบเนียนวชิ า

จ.ิ อุราเยือกเย็น วิ. เลือกเฟน้ ปัญญา

อุ. บากบน่ั ล้าหนา้

o พอใจ ใคร่งาน สานตอ่ ก่อกิจ พนิ ิจ

o พอใจ กา้ วไป ฝกั ใฝ่ วจิ ัย สไู้ ป

o พอใจทา แข็งใจทา ตัง้ ใจทา

เข้าใจทา เอาใจทา

o ฉ. พอใจไมท่ ้อ วิ. เพียรจรงิ จดจอ่

จ.ิ ไมง่ อ้ คิดช่ัว ว.ิ รตู้ วั เสมอ

อุ. เผลอพลัง้ ไม่มี

o พอใจ ไวทา จาดี มีเสมอ ไม่เกอ้

o พอใจการงาน ขยันไม่คร้าน มั่นใจกิจการ

ใคร่ครวญทุกด้าน สานตอ่ ทกุ สมยั

หนา้ ๖๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อนุปพุ พีกถา ๕

ลาดับการศึกษาอบรม สบ่กู อ้ นใหญ่

การเล่ือนข้ันของชีวิต บันไดของจิต

๑. ท. ทานกถา การให้ สละ แบง่ ปนั

๒. สี. สีลกถา การสารวม รักษากาย-วาจา

๓. อา. อานิสังสคั คกถา สวรรค์อนั เป็นอานสิ งส์

๔. อา. อาทีนวกถา โทษของสวรรค์ (ความสุข)

๕. เน. เนกขมั มกถา ชอ่ งทางออกจากกองทุกข์

นยิ ามธรรม

o ฝึกฝนจติ ในทางแบง่ ปนั รกั ษากายวาจาให้ดมี ัน่

รีบเสกสรรทางสบาย อยา่ หลงงมงายไปตดิ สขุ

รบี เบิกบกุ ออกจากกาม

o สละไมห่ วงั ระวังไม่หนี ไมต่ ดิ สุขี

เหน็ โทษโลกยี ์ หาทางออกหนี

o ตระหน่ีตอ้ งพัง ระวงั ต้องสรา้ ง

หนา้ ๖๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ทกุ อย่างตอ้ งสขุ สนุกอยา่ ไปหลง

ทางตรงรีบเดิน

o สละใหส้ ะพรงั่ ระวงั ใหด้ ี สขุ ใจเต็มท่ี

โทษทุกข์ยงั มี รีบลกุ ออกหนี

o เน. เปดิ ทาง อา. วางทกุ ข์ อ.สขุ จติ

สี. ปดิ บาป ทา. ปราบตระหนี่

o สละ ระวัง ไม่หวงั ติด

เหน็ โทษพษิ นอ้ มจิตออกหนี

o สละ ระวงั ชังสุข ทกุ ข์รู้ ดูทาง

เวสารัชชกรณธรรม ๕

เหตุแห่งความองอาจอาจหาญแกลว้ กล้าในทา่ มกลางฝูงชน

๑. ส. สัทธา มคี วามเชื่อม่ัน

๒. สี. สลี วา มศี ลี

๓. พา. พาหสุ ัจจะ มีการศึกษา สดบั มาก

๔. ว.ิ วริ ิยะ มีความเพียรพยายาม

หน้า ๖๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๕. ป. ปัญญา มีปญั ญารอบรู้

บทนิยาม

o เชอื่ มน่ั จีรงั ระวงั ยนื ยง คงมั่นศกึ ษา

กล้าทาความเพยี รชอบ รอบรวู้ ่องไว

o เชอื่ กรรม สารวม ร่วมฟัง หวงั เพียร เซียนรู้

o ป. ฉลาดทุกสิ่ง วิ. เพยี รจรงิ ไม่ขาด

พ. สามารถศึกษาส.ี รกั ษาอินทรีย์

ส. เช่ือดสี จั จะ

o เชอื่ กรรม สารวมอินทรยี ์ ฟงั อนุสาสนี

พากเพยี รเต็มท่ี รอบรู้ช่ัวดี

o เช่ือมน่ั คง ทรงระวงั ฟงั ชดั

เร่งรดั ทาดี สว่างทกุ ที่

o เช่ือมน่ั แนวทาง สรา้ งสรรค์สมดลุ

ทรงคุณความรู้ อยู่อย่างพากเพียร

แนบเนยี นปัญญา

หน้า ๖๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o เชือ่ ตรง คงระวงั ฟังชัด เร่งรัด เจนจัด

เบญจศีล ๕

มนสุ สธรรม ลาธารแหง่ บุญ กองทุนสนั ติภาพ

๑. ปา. ปาณาตปิ าตา เวรมณี ละเว้นการฆา่

๒. อ. อทินนาทานา เวรมณี เวน้ การลัก

๓. กา. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เวน้ ผดิ ทางกาม

๔. ม.ุ มุสาวาทา เวรมณี เวน้ พูดปด

๕. ส.ุ สุราเมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี เวน้ การดืม่ เสพ

ของมึนเมา

นยิ าม

o ฆา่ ผลัก ลกั หา้ ม กามหยดุ พูดจรงิ ทิ้งเมา

o ปา. หยุดทาลายชีวิต อ. ปิดทางโจร

กา. โคน่ ลม้ กาม มุ. ไม่ตามมสุ า

ส.ุ งดเว้นสรุ า

o เลกิ ฆ่า ลาโจร โค่นรกั หักปด หมดเมา

หนา้ ๖๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o อยา่ ทาลายชวี ติ อย่าคิดลักลอบ

อยา่ ชอบคู่เขา อย่าเอาพดู ร้าย

อย่าทาลายสติ

o ไมโ่ หดร้าย มอื ไมไ่ ว ใจไมค่ ด

ไม่พดู ปด ไมห่ มดสติ

o เมาหลดุ หยดุ ปด ลดกาม ห้ามลัก หักฆา่

o เลกิ ทางฆา่ ลาทางรกั หักทางลว่ ง

ถว่ งทางปด ลดทางดื่ม-กนิ มีศลี ครบ

เบญจธรรม ๕

๑. เม. เมตตา มเี มตตาธรรม

๒. สมั . สมั มาอาชพี มีสัมมาชีพ

๓. สัง. กามสังวร กามบีบตอ้ งสงั วร

๔. ส. สัจจะ มสี ัจจะทุกบทตอน

๕. ส. สติ มีสติคอยต้อน

หน้า ๖๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

บทนิยาม

o เมตตา สัมมาฯ สังวรา สัจจา สติ

o เม. ไมตรีเปน็ ญาติ สัม. ไมเ่ ป็นทาสปัจจยั

สงั . ไม่รบั ใช้กาม ส. ไม่พลา่ มคาเทจ็

ส. รูเ้ ผด็จทางมาร

o เปน็ มิตร ชวี ติ ชอบ รอบระวง

ยัง้ สจั จะ ละโลเล

o อยา่ เบยี นเบียดเขา อย่าเอาแต่ลัก

อย่ามักมากในกาม อยา่ มองขา้ มสัจจะ

อย่าละทิง้ สติ

ศลี ธรรม

๑. มชี วี ิต คกู่ ับ เมตตา
สัมมาอาชีวะ
๒. มกี ารแสวงหา คู่กบั สารวม
สจั จะ
๓. มีความรกั ค่กู บั

๔. มวี าจา คู่กบั

หน้า ๗๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๕. มีสติปัญญา คกู่ บั การด่มื กิน

บทนิยาม

o ดม่ื กิน พูดจา คขู่ า โภคา ชวี า

o ชีวติ ทรพั ย์ ความรัก สจั จะ ธรรม

o เลิกฆา่ หาถกู ปลกู รัก หนักแน่น แกน่ สาร

o ชีววี วิ ัฒน์ สมบัตหิ มดภัย ความรักสดใส

ช่ืนใจวาจา สตริ ักษา

o ละเว้นการฆ่า แสวงหาถกู ตอ้ ง

ครองรักเหมาะสม วาจาน่านยิ ม

สติแหลมคม

o มเี มตตานาพาจติ เลีย้ งชวี ิตใหถ้ กู หลัก

ความรักตองสารวม ไม่หละหลวมในวาจา

มสี ตปิ ัญญาไม่ประมาท

อนิ ทรีย์ ๕ พละ ๕
กองกาลังอนั ย่งิ ใหญ่ สูก่ ารแกไ้ ขปญั หาทกุ อยา่ ง

หน้า ๗๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๑. ส. สทั ธา มีศรทั ธา

๒. วิ. วริ ิยะ มีความเพียร

๓. ส. สติ มสี ติ

๔. ส. สมาธิ มคี วามต้ังใจจริง

๕. ป. ปญั ญา มีปญั ญารอบรู้

บทนิยาม

o ส. สตวิ อ่ งไว ส. จิตใจสงบ ป. พบจดุ ปญั ญา

วิ. เพง่ เพียรก้าวหนา้ ส. ศรทั ธาถึงพรอ้ ม

o เช่ือยง่ิ เพียรจริง รู้ทนั ทุกส่ิง ทา

จติ ให้น่ิง รอบรแู้ ท้จริง

o เชื่อมนั่ ขยัน เทา่ ทัน ตง้ั มั่น รู้ทนั

o เชือ่ กรรมเสถยี ร ทาเพียรอยา่ งย่ิง

ฉลาดทุกสิ่ง สงบตามจริง สตอิ ยา่ งย่งิ

o เชือ่ ม่นั ขยนั ทา นาสว่าง

สร้างสงบ รู้ครบนอก-ใน

o เชือ่ ไมเ่ พย้ี น เพียรไมพ่ ลาด ฉลาดมั่นคง

หนา้ ๗๒

นิยามธรรม สามารถรทู้ นั รวมรวมโดย มหานอ้ ย
ปัญญาดี
ตงั้ ตรงองอาจ ยิง่ ใหญ่สติ สมาธเิ ด่น
o เชอ่ื หนา ทาเพยี ร เซียนรู้
เจนจบละทนั
เนน้ เพียรจรงิ
o เชอื่ กรรม

คู่สงบ

อารยวัฒิ ๕ โสตาปัตตยิ ังคะ ๕

ความเจริญกา้ วหนา้ ของอารยชน การฝกึ ฝนของ

คนรักความก้าวหน้า

๑. ส. สทั ธา มีศรัทธาต้ังม่นั

๒. สี. สลี มศี ลี

๓. ส.ุ สุตะ มคี วามยินดีฟงั ธรรม

๔. จ. จาคะ มีความเสียสละ, สลดั

๕. ป. ปัญญา มีปัญญารอบรู้

o เชอื่ เตม็ ท่ี บทนยิ าม ยนิ ดีการฟงั
มีระวัง หน้า ๗๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

สละไมห่ วงั ฉลาดจรงิ จัง

o รอบรฉู้ ลาด องอาจสงัด เจนจัดการฟัง

ระวังทุกเมือ่ เชือ่ ม่ันถกู จดุ

o เช่อื การกระทา สารวมอินทรยี ์

ฟงั อนุสาสนี ทาบุญถกู ที่ กาจัดไพรี

o เชอ่ื ฟัง ระวงั พร้อม ยอมสละ

ฟงั ธรรมะ ชนะโง่เขลา

o เชื่อมุนี หวงั ดีระวงั สละไม่หวัง

ฉลาดจรงิ จงั ได้ยนิ ทุกครง้ั

o เช่อื ไม่เพย้ี น เรยี นไมห่ ลง ระวังเจาะจง

ปลดปลงหวงแหน แนบแน่นปญั ญา

o เชือ่ ไมท่ งิ้ ระวังจรงิ ยิง่ ศึกษา

ลาตระหน่ี มฉี ลาด

o ศ. เชอื่ ถกู จดุ ส.ี ขุดถูกแหลง่

สุ. แขง็ ถูกท่ี จ. มีถกู เป้า

ป. ขาวถูกส่วน

หนา้ ๗๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

หัวใจบัณฑิต ๕

นิสยั นกั ปราชญ์ ธรรมชาตผิ ู้รู้ เมนูนักเรยี น

บทเรยี นนกั ศึกษา

๑. สุ. สตุ ะ ตงั้ ใจฟงั

๒. จ.ิ จิตตะ คิดใคร่ครวญ

๓. ป.ุ ปุจฉา สอบถาม

๔. ลิ. ลขิ ิต จดบนั ทกึ

๕. ภ. ภาวนา ทาใหเ้ กิดม,ี ปฏิบตั ิ

บทนยิ าม
o ฟงั ใหส้ นทิ คิดให้งดงาม ถามใหห้ มด

จดให้ส้ิน ยนิ ดีภาวนา
o ฟงั เกดิ ญาณ คดิ อ่านเกิดปญั ญา

จดจาทาวชิ า ปจุ ฉาตดั กงั ขา
ภาวนาสรา้ งดวงตา
o ฟงั ดแี ม่นยา จดจาถ้วนถี่ ถามดีสนิท

หนา้ ๗๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

คดิ ดีเหมาะสม อบรมตงั้ ใจ

o ฟงั คิด ถาม เขยี น ภาวนา

o ฟังได้ญาตสิ นิท คดิ ได้วชิ ชากล้า

ถามไดป้ ญั ญาเปล่ียน เขยี นได้พิจารณา ภาวนา

ได้อาโลกา

o ฟังติด คดิ ตาม ถามทัน บันทกึ นึกรู้

o ฟงั เคารพ สงบจิตใจ ใครส่ อบถาม

ตดิ ตามจด กาหนดรู้

o สุ. ฟังให้ดีถ่ถี ว้ นอย่าดว่ นหนี

จ. คิดใหด้ ีหลายรอบชอบวิธี

ป.ุ ถามให้ดีมบี ทบาทไมข่ าดตอน

ล.ิ เขยี นใหด้ มี บี ทกลอนทกุ ตอนไป

ภ. กจ็ ะไดม้ ีปัญญารักษาตน

วิมตุ ตมิ รรค ๕
ปพุ พภาคแห่งมรรค หลกั เบื้องต้น คนศึกษา

หนา้ ๗๖

นยิ ามธรรม มศี ีล รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. สี. สีล ยนิ ดีการฟงั
คบหาบัณฑิต
๒. สุ. สุตะ ทาจติ สงบ
มคี วามแจ่มแจ้ง
๓. เส. เสวนะ

๔. ส. สมถะ

๕. วิ. วิปสั สนา

บทนิยาม

o อบรมกายวาจา ใสใ่ จนักศึกษา

คบหาบณั ฑิต ทาจิตสงบ

พบความสว่าง

o ศีลมีเยน็ ใจ ฟงั ไปได้ปญั ญา เสวนาปญั หา

สงบอุรา สวา่ งแจม่ จ้า

o มีระวัง มฟี งั ดี มีมิตร มีจิตลา้ มีธรรมเลศิ

o ฉลาดครบ สงบพอ รอบณั ฑิต

สนทิ ฟัง ระวังเย่ียม

หน้า ๗๗

นิยามธรรม ฟงั ดีทุกจุด รวมรวมโดย มหาน้อย

o สังวรทุกท่ี หยุดคบคนพาล

ทุกกาลสงบ ร้คู รบโลกธรรม

o เส. เรียนรู้เพื่อดับตัณหา

สุ. ศึกษาเพ่ือดับอวชิ ชา

วิ. อบรมปัญญาเพอ่ื ดับอาสวะ

ส. เจริญสมถะเพือ่ ดบั อนสุ ยั

สี. ฝึกฝนกายใจเพื่อตรัสรู้

o ส.ี สารวมจรงิ จัง สุ. ยามฟังจดจอ่

เส. เสวนาต่อสงสยั ส. สงบว่องไว

วิ. วิจัยแนบเนียน

สาระธรรม ๕ ธมั มขันธ์ ๕

สาระของคน ดอกผลของธรรม

๑. ส.ี สลี สาระ ความสารวมระวงั

๒. ส. สมาธิสาระ ความต้ังมัน่ จิตใจ

๓. ป. ปัญญาสาระ สตปิ ัญญาว่องไว

หน้า ๗๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. วิ. วมิ ุตตสิ าระ หลุดพน้ ออกไป
๕. า. ญาณทัสสนะสาระ รอบรู้ทัว่ ไป

บทนยิ าม

o สะอาดครบ สงบทุกอยา่ ง สว่างทุกสงิ่

เหน็ จริงทุกอัน รู้ทันทกุ ทิศ

o สารวมอยา่ งดี ตั้งม่ันเตม็ ท่ี ฉลาดเร็วดี

รแู้ จ้งโปรง่ ดี มใี จหลุดพ้น

o เหน่ยี วรงั้ (ส.ี ) ตั้งมน่ั (ส.) ฟาดฟัน (ป.)

ขาดสะบัน้ (วิ.) คุ้มกนั า.)

o ระวงั ทัน ตั้งมน่ั รทู้ ัน ดบั ทนั

ปอ้ งกัน

o ส.ี เรยี นจา ส. ทาจริง ป. รู้แจง้

ว.ิ แซงมืด า. จดื หลง

o ส.ี สารวมกาย-ใจ ส. ทรงไวส้ งบ

ป. รูจ้ บสงั ขาร ว.ิ หลดุ พน้ บ่วงมาร

หนา้ ๗๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

า. เบิกบานชดั เจน ว.ิ ตัดท้งิ หม่มู าร
o า. เบิกบานเห็นชัด ส.สงบทรงไว้

ป. สงั ขารรจู้ บ
สี. กายใจสารวม

สงั วร ๕

กาแพงตอ่ ต้าน ปราการปอ้ งกนั ภัย เครื่องมือต่อสู้

มารร้าย เครื่องหมายนักรบผยู้ ่ิงใหญ่

๑. ส.ี สลี สงั วร สารวมด้วยศลี

๒. ส. สตสิ งั วร สารวมดว้ ยสติ

๓. า. ญาณสงั วร ปิดกัน้ ดว้ ยญาณ

๔. ข. ขนั ติสงั วร ปกป้องดว้ ยขนั ติ

๕. ว.ิ วริ ิยสงั วร ป้องกนั ดว้ ยความเพยี ร

บทนยิ าม

o ส.ี กายใจปกติ ส. สตเิ ริงรา่

า. ญาณกลา้ คงทน ข. หนาวร้อนไมส่ น

หนา้ ๘๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ว.ิ พากเพียรจนพ้น

o ข. อดทนจนพ้นภัย

ว.ิ พากเพียรไปจนพ้นทกุ ข์

า. ไมต่ ดิ สนุกมดื ทางใจ

ส. มีสติไวล้อมไว้

สี. รกั ษากายใจใหส้ งบ

o ศีลเป็นบ้าน สติเป็นปราการ

ญาณเป็นกาแพง ขนั ตเิ ป็นแสงสว่าง

วริ ิยะเป็นการเดนิ ทาง

o สารวมดีมีระลึก นึกฉลาด

ตัดขาดโกรธ โปรดทาเพยี ร

o ระแวดทุกแห่ง ระแวงทุกครัง้ ระวังทุกทาง

ระวางอย่าผละ ระหวา่ งอย่าใหม้ ี

หน้า ๘๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ขันธ์ ๕

ชีวิตพืน้ ฐาน พฒั นาการทางการศกึ ษาเรียนรู้

บทเรียนบาทรู้ ของครูสอนโลก

๑. ร.ู รปู รูปธรรม ร่างกายสงั ขาร

๒. เว. เวทนา ความรู้สกึ อารมณ์

๓. ส. สัญญา ความจาอารมณ์

๔. สํ. สงั ขาร ความคดิ ปรงุ แตง่ อารมณ์

๕. วิ. วญิ ญาณ ความรูแ้ จง้ อารมณ์

บทอุปมา
รูป อุปมาเชน่ ฟองนา้
เวทนา อปุ มาเชน่ ตอ่ มน้า
สัญญา อุปมาเชน่ พยบั แดด
สงั ขาร อปุ มาเชน่ ตน้ กล้วย
วญิ ญาณอปุ มาเช่น คนเล่นกล

บทนยิ าม

หนา้ ๘๒

นิยามธรรม เว. รับ รวมรวมโดย มหาน้อย
วิ. รู้
o รู. รอง เว. ลอ่ ส. จา
ส. คดิ วิ. ลมิ้
จดจับ (เว.) ส. ลวง
o ร.ู หลอก จดจ้อง (วิ.)
ส. หลง จดจา (ส.)

o จดจ่อ (รู.)
จดจอบ (ส)

นิวรณ์ ๕

อริราชศตั รขู องจิต ส่งิ ปดิ กั้นการพฒั นาชวี ิต

๑. ก. กามฉันทะ ความพอใจในกาม

๒. พ. พยาบาท ความพยาบาทปองร้าย

๓. ถี. ถีนมิทธะ ความงว่ งหาวนอน

๔. อุ. อุทธัจจกกุ กุจจะ ความฟงุ้ ซ่านราคาญ

๕. วิ. วิจิกิจฉา ความสงสัย

กามฉันทะ ข้ออุปมา
อปุ มาเชน่ เปน็ หน้ี

หนา้ ๘๓

นยิ ามธรรม อุปมาเชน่ รวมรวมโดย มหานอ้ ย

พยาบาท เป็นโรครา้ ย
คนตดิ คกุ
ถีนมทิ ธะ อปุ มาเช่น คนเปน็ ทาส
คนเดินทางกันดาร
อทุ ธจั จกกุ กุจจะ อุปมาเชน่

วจิ กิ จิ ฉา อุปมาเชน่

o หนีโ้ ขก บทนยิ าม
ทาสนาน โรคบุก คกุ ขาด
กันดารยาก
o สงบจากกาม หกั ห้ามพยาบาท
ตัดขาดถีนะฯ เลิกละฟงุ้ ซ่าน พ้นผ่านสงสัย
สงสัย (ว.ิ ) ใคร่ฟงุ้ (อุ.)
o ว่นุ ใจ (ถ.ี ) หมายกาม (ก.)
มุ่งรา้ ย (พ.)

คุณสมบตั ิอุบาสก-อบุ าสกิ า ๕

๑. ส. สทฺโธ มศี รทั ธา

๒. สี. สลี วา มศี ีล

๓. อโกตุหลมงฺคลิโก ไม่ถอื มงคลตนื่ ข่าว

หน้า ๘๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. น อโิ ต พหิทฺธา ทกฺขิเณยฺยํ คเวสติ ไมท่ าบญุ นอกศาสนา

๕. อิธ จ ปุพพฺ การํ กโรติ ชว่ ยเหลือกจิ การพระศาสนา

บทนิยาม

o ศรทั ธาอยา่ ให้เป็นพิษ

รักษาศลี เพอื่ ขจดั เวรภัย

อยา่ เปน็ คนหูเบาใจไวเชอ่ื ง่าย

อย่าเป็นคนใจรา้ ยทาบญุ นอกศาสนา

ให้มปี ญั ญาทาบุญในศาสนา

o เช่ืออยา่ มมี ลทิน รักษาศลี อยา่ มกี งั วล

ถอื เหตุผลเต็มท่ี ทาพธิ ีจงฉลาด

อยใู่ นศาสนด์ ว้ ยปัญญา

o ทาบญุ ในศาสนา อาลาบญุ นอกศาสน์

ฉลาดไมต่ น่ื ขา่ ว ไม่ก้าวร้าวให้ระวงั

มศี รัทธาเปน็ ตัวต้ัง

หนา้ ๘๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

อานสิ งส์ทาน ๕

๑. ป.ิ ปิยมนาโป เป็นทร่ี กั ใครข่ องคนทว่ั ไป

๒. ก.ิ กิตติสทฺโท มชี อ่ื เกยี รตยิ ศไปไกล

๓. ว.ิ วสิ ารโท แกล้วกลา้ ท่ามกลางฝูงชน

๔. อ. อสมมฺ ฬุ โฺ ห ไม่หลงทากาลกิริยา

๕. สุ. สคุ ตึ โส นคิ จฺฉติ มปี กติไปส่สู คุ ติ

o รกั ลอื บทนิยาม
ตัดขาดหลง ช่อื ดี มีองอาจ
มุ่งตรงตอ่ สุข

หนา้ ที่ลกู ท่ดี ี ๕

การทาดขี องลกู การทาถูกของบตุ รหลาน
๑. ภ. ภโต เนสํ ภริสสฺ ามิ ท่านเลี้ยงมาแล้วเลีย้ งท่านตอบ
๒. ก.ิ กจิ จฺ ํ เนสํ กรสิ สฺ ามิ ชว่ ยทากิจการงานของท่าน
๓. กุ. กุลวํสํ เปสสฺ ามิ ดารงวงศ์ตระกลู

หน้า ๘๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. ทา. ทายชฺชํ ปฏปิ ชฺชามิ ปฏิบตั ิตนใหเ้ ป็นทายาททด่ี ี

๕. เป. เปตานํ กาลกตานํ ทกฺขิณํ อนุปฺปทสฺสามิ

ท่านลว่ งลับไปแล้วทาบุญอทุ ิศให้ทา่ น

บทนยิ าม

o เล้ียงทา่ น ทางานชว่ ย อานวยสกลุ

เพิม่ พนู ทรพั ย์ ท่านล่วงลบั ทาบุญให้

o ทาบญุ ให้เม่ือตายสืบทอดไวส้ มบตั ิ

ปฏิบัตชิ อบต่อสกุล สนองคณุ การงาน

เล้ียงทา่ นตอบแทน

o เล้ียงทา่ นใหส้ ขุ ศานต์ ช่วยทากิจการงาน

ดารงวงศ์วานสกุล รกั ษาทรัพยใ์ ห้เพิ่มพูน

ทาบญุ อทุ ิศหาเม่อื ลาลบั

o ชักนาให้ศรทั ธา พาให้มีศลี

ใหย้ นิ ดฟี ังธรรม นาให้สลัด

ดดั ให้ฉลาด

หน้า ๘๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ทา่ นไม่มศี รทั ธา ชกั นาใหม้ ศี รทั ธา
ท่านไมม่ ศี ลี ชกั นาใหม้ ศี ีล
ทา่ นไม่ยินดีฟงั ธรรม ชกั นาให้ยนิ ดีฟังธรรม
ทา่ นไม่รจู้ ักบรจิ าค ชักนาให้รู้จกั บรจิ าค
ท่านไมม่ ปี ญั ญา ชกั นาให้มีปัญญา

พ่อแท้แม่ถูก ๕

หลกั ธรรมของพ่อ หลกั กอ่ ของแม่

๑. ปาปา นวิ าเรนตฺ ิ ห้ามมใิ ห้ทาชวั่

๒. กลฺยาเณ นิเวเสนตฺ ิ นาใหต้ ั้งอยู่ในความดี

๓. สปิ ปฺ ํ สิกฺขาเปนตฺ ิ ใหเ้ ขาได้เล่าเรยี นศึกษา

๔. ปฏริ ูเปน ทาเรน สญฺโยเชนตฺ ิ ให้เขาไดม้ ีครอบครัว

๕. สมเย ทายชฺชํ นิยฺยาเทนฺติ มอบมรดกให้ตามควร

บทนยิ าม

o หา้ มมิให้ทาทางบาป ขนาบให้ทาแตด่ ี

ชช้ี วนใหศ้ ึกษา หาผัว-เมียให้

หนา้ ๘๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

มอบทรัพยใ์ หเ้ ป็นทุน

o ใหท้ รพั ยต์ ดิ ตัว ให้มีครอบครัว

ให้มศี ลิ ปะติดตัว ให้ละเว้นความช่วั

ให้พาตัวทาดี

o ห้ามมใิ หท้ าชั่วฉิบหาย บอกลกู หญิงลกู ชาย

ประกอบกรรมดีล้วน ชวนให้เรยี นวชิ าดีทกุ อยา่ ง

หาผัวเมียผู้โก้ๆมาใหแ้ กเ่ ขา ปันมูลมังใหค้ นละ

ก้อน จาเอาถ่อนวธิ ีแปลงลกู ออ่ น ถือคาสอนข้อนี้

ดฮี อดตลอดตาย ท่านเอย...ฯ

หน้าที่ครูอาจารย์ ๕

๑. สวุ นิ ตี ํ วเิ นนตฺ ิ แนะนาทางดี

๒. สคุ หติ ํ คาหาเปนตฺ ิ ให้เรียนดๆี

๓. สพพฺ สิปฺเปสุ ตํ สมกฺขายิโน ภวนฺติ สอนให้หมดสิ้น

วิชา

๔. มิตฺตามจเฺ จสุ ปฏิเวเทนฺติ ยกยอ่ งในหมเู่ พือ่ น

หน้า ๘๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๕. ทสิ าสุ ปริตตฺ าณํ กโรนตฺ ิ ป้องกนั ภัยทกุ ทศิ

บทนิยาม
o ปอ้ งกันภัยในทุกทศิ ยกยอ่ งศษิ ยต์ ามสมควร

ให้ศึกษาจนถ่ถี ้วน สอนสง่ั ครบทุกกระบวน
ชี้นาชักชวนลว้ นดา้ นดี
o แนะนาทางดี ให้มีการศกึ ษา บอกส้นิ วชิ า
สถาปนา ปอ้ งกันเวรา

ลูกศิษยท์ ีด่ ี ๕

๑. อฏุ ฐฺ าเนน ลกุ ขึ้นยืนรับ (ขยนั )

๒. อุปฏฺฐาเนน เขา้ ไปคอยรับใช้

๓. สุสฺสุสาย เช่ือฟังตงั้ สดบั

๔. ปารจิ ริยาย คอยบารงุ ดูแลไมข่ าด

๕. สกกฺ จจฺ ํ สิปฺปํ ปฏิคคฺ หเณน ตงั้ ใจเล่าเรียน

บทนิยาม

หนา้ ๙๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ลกุ ขน้ึ ยืนรบั คานบั รบั ใช้ ใคร่ฟงั ถอ้ ยคา

บารุงพากเพียร เล่าเรยี นใสใ่ จ

o ตง้ั ใจศกึ ษา เข้าหาช่วยเหลือ เชือ่ ฟังถอ้ ยคา

ทาการรับใช้ ใหค้ วามเคารพ

o คานบั รับรอง สนองงาน

เชื่อฟงั คาขาน ศกึ ษาวิชาการ

o รับรอง รบั ใช้ รบั ฟัง รบั งาน รบั รู้

หนา้ ทส่ี ามที ่ดี ี ๕

๑. สมมฺ านนาย ยกย่องว่าเป็นภรรยา

๒. อวมิ านนาย ไมด่ ูหมน่ิ เหยียดหยาม

๓. อนติจริยาย ไมน่ อกใจ

๔. อสิ ฺสริยโวสฺสคเฺ คน มอบความเป็นใหญใ่ ห้

๕. อลงฺการานปุ ปฺ ทาเนน ใหเ้ ครื่องประดับตกแตง่

บทนิยาม

o ยกยอ่ งตวั เธอ ไมเ่ ผลอหยามเหยียด

หน้า ๙๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ไม่เบยี ดใครใคร ยกใหเ้ ธอเปน็ ใหญ่

เปน็ เครอื่ งประดบั ของเธอเสมอไป

o ให้เคร่ืองประดับ รบั รองความเป็นใหญ่

ไม่คดิ นอกใจ ไม่ประมาททกุ สมัย

ยกย่องเธอไวเ้ สมอ

หน้าท่ีภรรยาทดี่ ี ๕

๑.สสุ ํวหิ ิตกมฺมนตฺ า จัดการการงานดี

๒. สุสงฺคหติ ปรชิ นา สงเคราะห์ญาติมติ รของสามีดี

๓. อนติจารนิ ี ไม่ประพฤตินอกใจ

๔. สมภฺ ตญจฺ อนรุ กฺขติ รกั ษาทรัพย์ทห่ี ามาได้

๕. ทกฺขา จ โหติ อนลสา สพพฺ กจิ เฺ จสุ ขยนั ไมเ่ กียจ

ครา้ นในกจิ การงานน้อยใหญ่

บทนยิ าม

o จัดการการงานดี สงเคราะหญ์ าตี

ไมน่ อกใจสามี รกั ษาศกั ดิ์ศรี ไมม่ เี กียจครา้ น

หน้า ๙๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ขยันทากิจการ รกั ษาธนสาร ไม่ทาการนอกใจ

สงเคราะห์ผใู้ หญ่ ทาดใี ห้ชืน่ ใจ

๑. ทาเนน มิตรท่ดี ี ๕
๒. ปยิ วชเฺ ชน
๓. อตฺถจริยาย แบง่ ปนั ชว่ ยเหลอื
๔. สมานตตฺ ตาย พูดจาไพเราะจบั ใจ
๕. อสวํ วิ าทนตาย ทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อเพ่ือน
เสมอตน้ เสมอปลาย
ไม่พดู โกหกหลอกลวง

บทนยิ าม

o ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั พดู กนั

เสนาะ

ทาประโยชนเ์ หมาะเจาะ ไมท่ ะเลาะรงั แก

ไม่แยแสขอ้ ขัดแย้ง

o ไม่พูดขดั แย้ง ไม่แกลง้ ถอื ตัว

ทาตวั เป็นประโยชน์ เอย่ โอษฐไ์ พเราะ

หนา้ ๙๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

สงเคราะหช์ ่วยเหลือ

มติ รตอบแทนมิตร ๕

๑. ปมตฺตํ รกฺขนตฺ ิ รกั ษามิตรผปู้ ระมาท

๒. ปมตตฺ สสฺ สาปเตยฺยํ รกฺขนตฺ ิ รักษาทรพั ย์ของเพอ่ื นไว้ได้

๓. ภตี สสฺ สรณํ โหนตฺ ิ เปน็ ทพี่ ง่ึ ยามมีภัย

๔. อาปทาสุ น วชิ หนตฺ ิ ไม่ละทงิ้ ในยามวบิ ัติ

๕. อปรปชปํ สิ ฺส ปฏปิ เู ชนฺติ นบั ถอื ตระกูลของเพอ่ื น

บทนิยาม
o เพ่ือนประมาทตักเตอื น

สมบัตขิ องเพื่อนช่วยรกั ษา
ภัยมาชว่ ยขจดั
ยามวิบัตชิ ว่ ยดแู ล
พอ่ แมพ่ นี่ อ้ งของเพื่อนเคารพ

หน้า ๙๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

หวั หนา้ เจา้ นาย ผู้ประกอบการท่ีดี

๑. ยถาพลํ กมมฺ นฺตํ สํวธิ าเนน ให้ทางานตามกาลัง

๒. ภตตฺ เวตฺตนานุปฺปทาเนน อนุเคราะห์รางวลั ปัจจยั ๔

๓. คลิ านปุ ฏฺ าเนน ดูแลยามปว่ ยไข้

๔. อจฺฉริยานํ รสานํ สํววภิ า แจกของมีรสแปลกๆให้

๕. สมเย โวสสฺ คเฺ คน ใหพ้ ักตามกาลสมัย

บทนยิ าม

o ให้ทางานตามกาลงั ต้งั อนุเคราะห์ปัจจยั

แลยามปว่ ยไข้ ให้รบั ร้สู ่ิงใหม่ๆ

หยดุ งานตามสมยั

o ให้พักผอ่ นตามกาลสมยั ใหร้ ับรสู้ ิ่งใหมๆ่ เพื่อผูก

ใจ

ดแู ลยามป่วยไข้ ช่วยเหลอื ปจั จยั เล้ยี งชวี ติ

ให้ทากิจภาระตามกาลงั สามารถ

หน้า ๙๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

บา่ วไพรล่ ูกนอ้ งคนงานทีด่ ี

๑. ปพุ ฺพฎุ ฺ ายิโน มาเข้าทางานก่อน

๒. ปจฺฉานิปาตโิ น เลกิ งานทหี ลัง

๓. ทนิ ฺนาทายิโน เอาเฉพาะของที่เขาอนุญาตให้

๔. สุกตกมมฺ กรา ทางานให้ดียง่ิ ขึ้นไปทกุ วนั

๕. กติ ฺตวิ ณฺณหรา นาคุณของนายไปสรรเสรญิ

บทนิยาม

o เข้างานก่อนกาล เลกิ งานทหี ลัง

หวงั เอาแต่ของท่เี ขาให้ ทางานให้ดขี ้ึนไป

นาคณุ นายไปกลา่ วขาน

o ชว่ ยเชิดชูเกียรติ์ ละเอยี ดการงาน

ซอ่ื ตรงเป็นสนั ดาน เลิกงานทีหลงั

ตัง้ ตาทางานก่อนนาย

หน้า ๙๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

หน้าทอ่ี ุบาสก-อบุ าสกิ าตอ่ พระสงฆ์

๑. เมตเฺ ตน กายกมฺเมน มเี มตตาทางกาย

๒. เมตเฺ ตน วจีกมเฺ มน มีเมตตาทางวาจา

๓. เมตเฺ ตน มโนกมเฺ มน มีเมตตาทางใจ

๔. อนาวฏทฺวารตาย ไม่ปดิ ประตเู รือน

๕. อามิสานปุ ฺปทาเนน อนเุ คราะห์ด้วยอามสิ ปัจจยั

บทนยิ าม

o ทาดตี ่อท่าน พดู ดีต่อท่าน

คิดดตี ่อทา่ น ไม่ปิดประตบู ้าน

ใหอ้ ามิสทาน

o อนเุ คราะห์ปัจจยั ใหก้ ารต้อนรับ

คานบั บูชา เจรจาเหมาะควร

หวนนึกถึงคุณ

หนา้ ๙๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อภณิ หปจั จเวกขณ์ ๕

๑. ชราธมมฺ ตา เรามคี วามแกเ่ ป็นธรรมดา

๒. พยาธธิ มมฺ ตา เรามีความเจบ็ ไขเ้ ป็นธรรมดา

๓. มรณธมฺมตา เรามีความตายเป็นธรรมดา

๔. ปยิ วินาภาวตา เรามีความพลดั พรากเป็นธรรมดา

๕. กมฺมสสฺ กตา เรามีกรรมเป็นของตน

บทนยิ าม

o แกม่ นั แนมเหน็บ เจบ็ มันม่งุ หมาย

ตายมันฉุดลาก พลดั พรากมันจองจา

กรรมมันตดิ ตาม

o เกิดแน่ แก่เหน็บ เจบ็ หมาย

ตายจาก พรากพลดั ผูกมัดกรรม

หนา้ ๙๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ชีวติ ภยั ,ภยั ชวี ิต ๕

ความหวาดหวัน่ ของใจ ความหวนั่ ไหวของจิต

พชิ ิตให้พินาศไดด้ ้วยสงั คหวัตถุ

๑. อาชีวติ ภยั ภยั ในการดารงชีพ

๒. อสโิ ลกภัย ภัยจากปากเสียงของโลก

๓. ปรสิ ารชั ชภัย ภยั จากการหวาดหวน่ั สังคม

๔. มรณภยั ภัยจากความตาย

๕. ทุคคติภยั ภัยในทคุ คติ

บทนิยาม

o ชีวติ ลาบาก (เพราะยากจน)

อยากมสี สี ัน (แต่ประพฤติเสยี หาย)

หวาดหวั่นสงั คม (เพราะทจุ ริต)

งมงายความตาย (เพราะไม่อยากตาย)

เลวร้ายครอบงา (เพราะไมเ่ คยทาดี)

o ชวี ิตยากจน ทาตนเสียหาย

หน้า ๙๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ทจุ ริตใจกาย ทาลายศีลธรรม

ทาตนตกตา่

o ครองชวี ิตถกู ตอ้ ง ชอื่ เสียงไมม่ วั

หมอง

ไม่เกรงกลัวตอ่ ชุมชน ไม่สบั สนกบั ความตาย

มสี คุ ตเิ ปน็ เปา้ หมาย

o ไปดีมสี ขุ ตายไปไรท้ กุ ข์

มคี วามสขุ ในสงั คม ชาวโลกชื่นชม

ครองชีพเหมาะสม

มจั ฉริยะ ๕ (ตระหน่)ี

ความคับแคบของใจ ความบรรลัยของจิต

โทษภัยในชีวิต พิษภยั ต่อสนั ตภิ าพ

๑. อาวาสมจั ฉรยิ ะ ตระหนท่ี ี่อยู่

๒. กลุ มัจฉริยะ ตระหนี่ตระกลู

๓. ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ

หน้า ๑๐๐


Click to View FlipBook Version