The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawat789.jp, 2022-01-04 17:23:13

นิยามธรรม ๑

นิยามธรรม ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๖. อสมั โมหะ จดื จากหลง
๗. วิราคะ
๘. วิมุตติ ทรงไว้ธรรมขาว
๙. นโิ รธ
๑๐. นพิ พาน หลุดพน้ เรอื่ งราว

เข้าถึงดบั ลง

เหลอื ตรงเยือกเยน็

คุณอากาศ คณุ พระนพิ พาน

๑. น ชรี ติ ไมแ่ ก่

๒. น มียติ ไม่ตาย

๓. น จวติ ไม่เคลอ่ื นไหว

๔. น อุปปชชฺ ติ ไม่เกดิ

๕. อุปสยฺหํ ไม่มีใครข่มขี่ได้

๖. อโจรคหนยี ํ โจรลกั ไปไม่ได้
๗. อนิสฺสิตัง ไม่มที ่ีตั้งอาศัย

๘. วิหหึ ํ คมนํ เป็นที่ไปของสัตว์ในเวหา

๙. นิวาวรณํ ไม่มเี ขตแดน

หน้า ๒๐๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๑๐. อนนฺตํ ไม่มีทสี่ ุด

บุญกิริยาวตั ถุ ๑๐

ทางแห่งความดี วถิ แี หง่ บญุ กองทนุ สนั ติภาพ

๑. ทา. ทานมยั สละไม่หวัง

๒. ส.ี สลี มัย ระวงั ไมห่ นี

๓. ภ. ภาวนามยั ภาวนาเตม็ ที่

๔. อ. อปจายนมัย มีความอ่อนน้อม

๕. เว. เวยยาวัจจมัย เพียบพรอ้ มขวนขวาย

๖. ป. ปัตติทานมัย ให้มสี ว่ น

๗. ป.ปัตตานุโมทนามยั ชวนยินดี

๘. ธ. ธัมมัสสวนมยั มีฟังธรรม

๙. ธ. ธัมมเทสนามัย ตอกยา้ แสดง

๑๐. ทิ. ทฏิ ฐชุ กุ มั ม์ แจงเห็นตรง

นิยาม

หน้า ๒๐๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o สละได้ดี ระวงั ศักดศิ์ รี

อบรมสมองดี เอือ้ เฟอื้ อารยี ์
อ่อนน้อมกายี ใหผ้ ลสามัคคี
พอใจไมต่ รี ไพรหี ายวบั
สดบั หายโง่ โมโหหมดไป

o ดี เพราะการให้
ดี เพราะการสารวม
ดี เพราะกาอบรม
ดี เพราะการชว่ ยเหลือ
ดี เพราะความอ่อนนอ้ ม
ดี เพราะให้มีส่วนดี
ดี เพราะพลอยยนิ ดี
ดี เพราะการฟังธรรม
ดี เพราะการแสดงธรรม

หนา้ ๒๐๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ดี เพราะความเห็นถกู ตรง

o สละจริงจัง ระวังทกุ อย่าง

สรรสรา้ งเสมอ ชว่ ยเธอไมข่ าด ฉลาด

ออ่ นน้อม หยุดยอมต่อเพอ่ื น

ติเตยี นไม่เอา บอกเขาทาดี

ทุกทเ่ี ชอ่ื ฟัง ตั้งตรงทสั สนะ

o สละ ระวัง

ตัง้ ใจ อ่อนนอ้ มผูใ้ หญ่

เรว็ ไวชว่ ยเหลอื เผื่อแผ่บญุ ไป

ใจพลอยยนิ ดี การฟงั มีครบ

ปรารภบอกต่อ พอใจถูกตอ้ ง

๑. ธงั ลี อสัทธรรม ๑๐
๒. ปคพั โภ
กาจดั คณุ
คะนองกาย วาจา

หน้า ๒๐๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. ตณิ ตโิ น โลภมาก ตน้ื เขิน
๔. มหัคฆาโส กนิ จุ
๕. ลุทโธ ดุร้าย
๖. อการณุ โิ ก ไม่มกี ารุณย์
๗. ทพุ พโล อ่อนแอ
๘. โอรวี มีลบั ลมคมใน
๙. มฏุ ฐสติ หลงลมื สติ
๑๐. เนจยโิ ก สัง่ สมกองกเิ ลส

อสัทธรรม ๑๐

๑. อสัทธา ไมม่ ศี รัทธา

๒. ทสุ สลี วา ทศุ ีล

๓. อหริ ิกา ไรย้ างอาย
๔. อโนตตปั ปา ไม่เกรงกลวั บาป

๕. อสปั ปรุ สิ ภัตตโิ นไ มค่ บหาสัตบุรษุ

๖. อตั ตกุ กงั สปั ปรวมั ภกา ยกตนข่มทา่ น

หนา้ ๒๐๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๗. สันทิฏฐิปรามาสิ ลูบคลาทิฏฐขิ องตน
๘. กหุ นา โกหก
๙. ปาปจิ ฉา
๑๐. มิจฉาทฏิ ฐิ ปรารถนาลามก
มีความเหน็ ผิด

มูลธรรม ๑๐

๑. ฉ. ฉันทมลู กา ฉนั ทะเปน็ มลู เหตุ

๒. โย. โยนโิ สมนสกิ ารสมั ภวา มโี ยนโิ สฯเปน็ แดนเกดิ

๓. ผ. ผสั สะสมทุ ยา มีผสั สะเปน็ สมุฏฐาน

๔. เว. เวทนา สโมสรณา มเี วทนาเป็นทป่ี ระชมุ ลง

๕. ส. สติปมขุ า มสี ติเปน็ ประมขุ

๖. ส. สมาธิปปเตยยา มีสมาธิเป็นใหญ่

๗. ป. ปัญญุตตรา มปี ัญญาเป็นยอด

๘. ว.ิ วมิ ุตตสิ ารา มีวิมตุ เิ ปน็ แก่น

๙. อ. อมโตคธา มีอมตะเป็นที่หยั่งลง

๑๐. นิ. นพิ พานะปรโิ ยสานา มนี พิ พานเปน็ ท่สี ุด

หนา้ ๒๐๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

นยิ ามธรรม

o ฉ.พอใจ โย.ใครธ่ รรม

ผ.นาถูก เว.ผกู ไว้

ส.ไดเ้ ห็น ส.เย็นจติ

ป.คิดรู้ ว.ิ สู้หลุด

อ.หยดุ ดีน.ิ มีว่าง

o นิ.มวี า่ ง อ.ทางดี
วิ.หนหี ลดุ ป.สดุ รู้
ส.ดูเยน็ ส.เปน็ ได้
เว.ติดไว้ ผ.ได้ถูก
โย.ผกู ธรรม ฉ.นาสุข

พรหมจรรย์ ๑๐

๑. ทา. ทานมัย การให้ การสละ

๒. เว. เวยยาวัจจมัย การขยันขวนขวาย

๓. ส.ี สีลมัย การสารวมระวงั กายวาจา

หนา้ ๒๐๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. อัป. อปั ปมญั ญาฯ เมตตาไม่มปี ระมาณ
๕. เม. เมถนุ วริ ัติ งดเว้นเมถนุ
๖. ส. สทารสันโดษ ยินดีพอใจเฉพาะคู่ของตน
๗. อุ. อุโบสถ ถอื อุโบสถศลี
๘. อ. อริยมรรค ดาเนินตามทางมรรค
๙. ส. สาสนะ ศึกษาปฏิบตั ิตามคาสอน
๑๐.ภ. ภาวนา เจริญสมถะวปิ ัสสนา

นิยามธรรม

o มีบริจาคทาน มกี ารขวนขวาย

ระวงั รกั ษากาย เมตตาไรป้ ระมาณ

พน้ ผา่ นเมถนุ รคู้ ้นุ แตค่ ตู่ น

ยลอโุ บสถศลี ยินดีทางมรรค

รกั ษาคาสอนสัจจ์ ปฏบิ ตั ภิ าวนา

หน้า ๒๐๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. อาวาสปลิโพธ ปลโิ พธ ๑๐
๒. กุลปลโิ พธ
๓. ลาภปลิโพธ กงั วลด้วยอาวาสทอ่ี ยู่
๔. คณปลโิ พธ
๕. กัมมปลิโพธ กังวลด้วยตระกลู
๖. อัทธานปลิโพธ
๗. ญาตปิ ลิโพธ กงั วลดว้ ยลาภสกั การะ
๘. อาพาธปลโิ พธ
๙. คนั ถปลโิ พธ กงั วลดว้ ยหมคู่ ณะ
๑๐.อิทธิปลิโพธ
กังวลดว้ ยกจิ การงาน

กังวลด้วยการเดินทาง

กังวลดว้ ยญาติ

กังวลด้วยความป่วยไข้

กงั วลดว้ ยการศึกษาเลา่ เรยี น

กังวลด้วยฤทธ์ิปาฏิหารยิ ์

๑. อสังวร เสียนหนาม ๑๐
๒. สภุ สัญญา โลเลกาย วาจา จิต
๓. อตั ตสัญญา ติดงาม
ตามตน

หน้า ๒๐๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. นนั ทิราคะ กงั วลหญงิ
๕. กามสญั ญา หย่งิ กาม
๖. วิตกวิจาร งามตรึก
๗. ปีติสขุ นกึ สบาย
๘. ราคะ หมายรกั
๙. โทสะ หนักรา้ ย
๑๐.โมหะ นายหลง

ธรรมของลูกสะใภ้ ๑๐

๑. อนโฺ ต อคคฺ ิ พหิ น หริตพโฺ พ
ไฟในอยา่ นาออก

๒. พหิ อคคฺ ิ อนฺโต น ปเวเสตพโฺ พ
ไฟนอกอย่านาเข้า

๓. ททนฺตสฺเสว ทาตพฺพํ
พงึ ใหแ้ ก่ผคู้ วรให้

๔. อททฺ นฺตสสฺ น ทาตพพฺ ํ

หนา้ ๒๑๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ไมพ่ ึงใหแ้ กผ่ ้ไู มส่ มควรให้

๕. ททนตฺ สฺสาปิ อทฺทนฺตสฺสาปิ ทาตพพฺ ํ

ควรหรือไมค่ วรก็ตามพึงให้เขา(ญาติ)

๖. สุขํ นิสีทติ พพฺ ํ

พงึ นัง่ ใหเ้ ป็นสขุ

๗. สขุ ํ ภุญชฺ ติ พฺพํ

พงึ บรโิ ภคให้เปน็ สุข

๘. สขุ ํ นปิ ชฺชิตพพฺ ํ

พงึ นอนให้เป็นสขุ

๙. อคฺคิ ปรจิ ริตพฺพํ

พึงบชู าไฟ

๑๐. อนโฺ ต เทวตา นมสฺสิตพฺพา

พึงนอบน้อมต่อเทวดาในเรือน

สัญโยชน์ ๑๐

๑. ส. สักกายทิฏฐิ หลงขันธห์ ้าว่าตัวตน

หน้า ๒๑๑

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๒. ว.ิ วจิ กิ จิ ฉา มดื มนไมร่ ทู้ าง

๓. ส.ี สลี พพฺ ตปรามาส ติดค้างศลี พระ

๔. ก. กามฉนทฺ ไมก่ าหนดมีแตก่ าหนัด

๕. ป. ปฏฆิ ไม่สลดั มแี ต่ขดั ใจ

๖. ร.ู รูปราค หลงใหลในรปู ารมณ์

๗. อ. อรูปราค ตกจมในอรปู ฌาน

๘. มา. มาน เปน็ มารถือตวั

๙. อุ. อจุ ธัจจะ เมามวั กบั ธรรมารมณ์

๑๐. อ. อวิชชา ชนื่ ชมอยใู่ นความมดื

ทา้ ลายสัญโยชน์ ๑๐

เหน็ ผดิ บรรลัย สงสยั สูญสิน้

ศีลพรตหดหาย สลายกาหนดั

สลดั ขดั ใจ ทง้ิ ไปรปู า

เลกิ ลาอรปู ะ สละมานะ

เลกิ ละฟุ้งซ่าน เบกิ บานเยอื กเย็น

หนา้ ๒๑๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

อานิสงส์พระวินยั ๑๐

๑. สงฆฺ สุฏฐตุ าย เพอ่ื ความดีงามแหง่ สงฆ์

๒. สงฆฺ ผาสตุ าย เพือ่ ความผาสกุ แหง่ สงฆ์

๓. ทมุ ฺมงกฺ นู ํ ปคุ คฺ ลานํ นิคคฺ หาย
เพื่อข่มบุคคลผ้เู ก้อยาก

๔. เปสลานํ ภิกขฺ นู ํ ผาสวุ ิหาราย
เพอื่ อย่สู าราญแหง่ ภกิ ษผุ มู้ ศี ีลเปน็ ท่รี ัก

๕. ทิฏฐฺ ธมฺมกิ านํ อาสวานํ สงฺวราย
เพ่ือขจัดอาสวะอันเกดิ ในปัจจบุ ัน

๖. สมฺปรายกิ านํ อาสวานํ ปฏิฆาตาย
เพื่อป้องกันอาสวะอันจะเกดิ ในอนาคต

๗. ปสนฺนานํ ภยิ ฺโยภาวาย
เพอ่ื ความเล่ือมใสยิ่งของชุมชนทีเ่ ลอื่ มใสแลว้

๘. อปปฺ สนนฺ านํ ปสาทาย

เพอ่ื ความเล่ือมใสของชมุ ชนท่ียงั ไมเ่ ล่อื มใส

๙. สทธฺ มฺมฏฺฐติ ิยา เพ่ือความตั้งม่ันแห่งพระสทั ธรรม

หน้า ๒๑๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑๐. วินยานุคฺคหาย เพ่ือถือตามพระวนิ ัย

กาลามสตู ร ๑๐

๑. มา อนุสฺสเวน อยา่ เชือ่ โดยฟงั ตามๆกันมา

๒. มา ปรมฺปราย อย่าเชื่อโดยทาสบื ๆกนั มา

๓. มา อติ ิกริ ิยาย
อย่าเชือ่ โดยต่ืนขา่ วทีเ่ ล่าลือกระฉอ่ นอยู่

๔. มา ปฎิ กสมฺปทาเนน อยา่ เช่ือโดยมีในตารา

๕. มา ตกฺกเหตุอยา่ เชอื่ โดยตรองตรกึ นกึ เดาเอา

๖. มา นยเหตุ อยา่ เชื่อโดยการคาดคะเนเอา

๗. มา อาการปรวิ ติ กฺเกน
อย่าเชอ่ื โดยตรึกตรองตามอาการ

๘. มา ทิฏฺฐนิ ิชฌฺ านกฺขนตฺ ยิ า
อยา่ เชือ่ โดยทนต่อการเพ่งพนิ ิจ

๙. มา ภพฺพรปู ตาย อย่าเช่ือโดยผู้พูดน่าเชื่อถอื

๑๐. มา สมโณ โน ครูติ อยา่ เชอ่ื โดยผนู้ ้ีเปน็ ครเู รา

หน้า ๒๑๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. โลภะ กเิ ลส ๑๐
๒. โทสะ
๓. โมหะ ความโลภ
๔. มานะ
๕. ทฏิ ฐิ ความโกรธ
๖. วจิ กิ จิ ฉา
๗. ถนี มิทธะ ความหลง
๘. อุทธัจจะ
๙. อหริ ิกะ ความถือตวั
๑๐. อโนตตปั ปะ
ความคิดเห็น

ความสงสัย

ความง่วง

ความฟงุ้ ซ่าน

ความไม่ละอาย

ความไมเ่ กรงกลวั

พุทธกสิกรรม ๑๐

๑. สัทธา พีชัง ศรทั ธาเปน็ พชื

๒. ตโป วฏุ ฐิ ตบะเปน็ ฝน

๓. ปญั ญา เม ยุคนังคะลัง ปญั ญาเปน็ แอกและไถ

หนา้ ๒๑๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. หิริ อสี า หิริเป็นงอนไถ

๕.มโน โยตตัง ใจเป็นเชือก

๖. สตงั เม ผาลจาปนัง สติเปน็ ผาลและปฏัก

๗. วจคี ุตโต กายคตุ โต อาหาเร อุทเร ยโต

สารวมกาย-วาจา

๘. สัจจงั กโรมิ นิททานัง ทาสจั จะให้เปน็ เคียวเกี่ยวพชื ผล

๙. โสรจั จัง เม ปโมจนงั โสรัจจะเปน็ การปลดแอกไถ

๑๐. วริ ยิ ัง เม ธุรโธรัยหัง ความเพียรเป็นโคเทยี มแอก

คณุ สมบตั อิ ุบาสก-อบุ าสกิ า ๑๐

๑. ภิกฺขสุ งเฺ ฆหิ สมานสุขทกุ โฺ ข สขุ ทุกขร์ ่วมกนั กบั

พระสงฆ์

๒. กายกิ วาจสิกญจฺ สฺส สรุ กฺขติ ํ คุ้มครองกาย วาจาดี

๓. ธมมฺ าธปิ เตยเฺ ยว ถอื ระบบธมั มาธิปไตย

๔. ยถาพลํ สํวิภาครโต ยนิ ดกี ารแบง่ ปนั ตามกาลงั

๕. ชนิ สาสนํ ชานิตญุ ฺจ ศกึ ษาเรยี นรู้อนสุ าสนี

หนา้ ๒๑๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๖. สมฺมาทิฏฐฺ ิโก เป็นสมั มาทิฏฐิ

๗. อปคตโกตหุ ลิกมงฺคลิโก ไม่ถอื มงคลต่ืนข่าว

๘. ชวี ติ เหตปุ ิ อญญฺ ํ สตฺถารํ น อุทฺทสิ สฺ ติ

แม้จะเสียชีวติ กไ็ มย่ อมถอื ศาสดาอนื่

๙. สมคคฺ รโต อนุยุญฺชนโก โหติ

เป็นผ้บู ันเทงิ ยนิ ดี ชกั ชวนเพ่ือความสามัคคี

๑๐. น กุหนวเสน สาสเน จรติ

ไมป่ ระพฤติตนหลอกลวงตอ่ ศาสนา

๑. สทั โธ ผ้สู มควรสมาทานธุดงค์
๒. หิรมิ า
๓. ธติ ิมา มศี รทั ธา
๔. อัตถวสี อายชัว่ กลัวเกรงต่อบาป
๕. อกุโห ทรงอรรถ ทรงธรรม ทรงวินัย
๖. อโลเล หวังสาเรจ็ ประโยชน์

ไมค่ ดโกง ซอ่ื ตรง
ไม่โลเล เหลาะแหละ

หน้า ๒๑๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๗. สกิ ขากาโม ใครศ่ ึกษา
๘. ทฬั หสมาทาโน
๙. อนุชฌานพหุโล ถือเอามัน่ คงจริงจงั
๑๐. เมตตาวิหารี
ไม่มากด้วยการเพ่งโทษ

อยดู่ ว้ ยเมตตา

การสบื ต่อความเร่ารอ้ น

๑. อปุ ะ เข้าใกล้
๒. วญิ ญาณ รบั รู้
๓. สงั ขาร ปรงุ แตง่
๔. สัญญา จดจา
๕. เวทนา รู้สกึ
๖. ตณั หา ความปรารถนา
๗. อปุ าทาน ความยึดถือ
๘. อาสวะ ความเศรา้ หมอง
๙. อารัมภะ ความปรารภ
๑๐.อนิ ชติ ะ ความหว่ันไหว

หนา้ ๒๑๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

คุณแห่งรุกขมูล ๑๐

๑. อปฺปสารมภฺ ตา สาระนอ้ ย ราคาญน้อย

๒. อปฺปฏชิ คคฺ นตา ไม่ต้องประดบั ตกแต่ง

๓. อนุฏฐฺ าปนยิ ภาโว ส่ิงรบกวนนอ้ ย

๔. ครหาย อปปฺ ฏจิ ฺฉาทนภาโว ไม่เป็นท่ปี กปิดครหา

๕. กายสสฺ อสสฺ ณฺฐมาภนภาโว ปลอดภัย

๖. ปรคิ ฺคหการณาภาโว ไม่เปน็ ทีห่ วงแหน

๗. เคหาลยปฏกิ ฺเขโป ตัดความอาลัยในเรือนได้

๘. นีหรณภาโว ไมห่ นกั ใจกับการถกู ขบั ไล่

๙. วสนตฺ สฺส สปปฺ ีตกิ ภาโว ย่ิงอยู่ ยง่ิ สบาย

๑๐. อนเปกฺขภาโว ไม่เสียดายเมื่อจะจากไป

๑. อริ ิยาปถจรยิ า จริยา ๑๐
๒. อายตนจริยา ความประพฤติในอิรยิ าบถ
๓. สติจริยา ความประพฤติทางอายตนะ
ความประพฤติตามสติ

หนา้ ๒๑๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. สมาธจิ รยิ า ความประพฤติตามสมาธิ
๕. ญาณจรยิ า ความประพฤตดิ ว้ ยญาณ
๖. มัคคจรยิ า ความประพฤติในมรรค
๗. ปัตตจิ ริยา ความประพฤติในผล
๘. โลกัตถจรยิ า ประพฤตเิ พ่ือประโยชนแ์ ก่โลก
๙. ญาตัตถจรยิ า ประพฤติเพื่อประโยชนแ์ ก่ญาติ
๑๐. พทุ ธตั ถจรยิ า ประพฤตเิ พอ่ื ประโยชน์แกพ่ ุทธะ

๑. รตั ตญั ญู เถรธรรม
๒. สลี วา บวชนาน
๓. พหสุ สตุ า มศี ีล
๔. ปาฏโิ มกขธโร มีการศึกษา
๕. ธัมมกาโม ทรงปาฏโิ มกข์
๖. ปาสารทโก ใคร่ธรรม
๗. สันตุฏฐิโก นา่ เล่ือมใส
สันโดษ

หนา้ ๒๒๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๘. อธิกรณกุสโล ฉลาดในเรื่องอธกิ รณ์
๙. ฌานลาภี ทรงได้ฌาน
๑๐. วิมุตติ รูเ้ รอื่ งวิมุตติ

บทนยิ าม

o ม่นั คง ทรงศลี

ทรงธรรม นาวินยั

ใครศ่ กึ ษา นา่ เลอ่ื มใส

ใฝส่ นั โดษ โปรดสามัคคี

ทรงฌานทัง้ ส่ี มวี ิมุตติทงั้ สอง

อาหารของจติ ๑๐

๑. เมตตา มคี วามเป็นมติ ร

๒. สมั มาทิฏฐิ มีความเหน็ ถูกต้อง

๓. สงั วร มีความสารวม
๔. สัจจะ มคี วามจรงิ ใจ มีสัจจะ

หน้า ๒๒๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. สติ มสี ติ
๖. หริ ิ มคี วามละอาย
๗. โอตตปั ปะ มีความเกรงกลวั ต่อบาป
๘. ญาณ มคี วามหยัง่ รู้
๙. วิชชา มีความรู้แจง้
๑๐. ปญั ญา มีความรอบรู้

o เป็นมติ รเน้น นยิ าม
สงั วร ชัด เหน็ ถูก ตง้ั
หนาดี สติ สจั จะ มี
โอตตัปปะสาน หริ ิ โปรด
วชิ ชา ควบคู่ ญาณ หย่งั รู้
ปัญญา ตรวจดู

หนา้ ๒๒๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

หมวดเกิน ๑๐

๑. ชาติ เมา ๑๑
๒. สกลุ
๓. อิสสริยะ ชาติ ชนั้ วรรณะ
๔. ปรวิ าร ตระกลู สกุล โคตร
๕. ลาภ
๖. ยศ อานาจ ความเป็นใหญ่
๗. สรรเสริญ บริวาร ญาติ มิตร
๘. สุข ลาภ สกั การะ ทรัพยส์ มบัติ
๙. วยั ยศฐาน์ บรรดาศกั ด์ิ
๑๐. อาโรคยะ เสยี งสรรเสริญเยนิ ยอ
๑๑. ชีวิต ความสุข
วัย วยั วุฒิ
ความไม่มโี รค
ชีวติ ความเป็นอยู่

นยิ าม

หนา้ ๒๒๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o เมาชาติทาให้ขาดทุน เมาตระกลู มีมานะ
อิสริยะทาใหข้ ม่ ทา่ น บริวารพาให้หลงหาบ
ลาภก่อให้เกดิ กบฏ ยศพาใหห้ ลงเพลนิ
สรรเสริญพาให้ตดิ คุก เมาสขุ พาใหห้ ลงใหล
เมาวัยทาใหเ้ สยี โชค เมาโรค ทาใหเ้ สียสิทธ์ิ
เมาชีวิตทาให้ประมาท

คณุ ภาพของพทุ ธศาสนาโดยเฉพาะ ๑๑

๑. อวปิ ปฏิสาร ไมเ่ ดือดเนื้อร้อนใจ

๒. ปีติ เอิบอิ่มสขุ กายสบายใจ

๓. ปราโมทย์ ยนิ ดบี นั เทงิ ในอารมณแ์ หง่ จิต

๔. ปสั สทั ธิ สงบรางับไมว่ ุน่ วาย แปรปรวน

๕. สขุ สุขกาย สขุ ใจ เบาจิตไมม่ พี ิษ

๖. สมาธิ ต้ังมนั่ คงทรงอยู่รู้แจง้ ตามจรงิ

๗. ยถาภตู ญาณ แจ่มแจง้ แสงธรรมตามเปน็ จรงิ

๘. นิพพิทา เบอื่ ต่อส่ิงกลับกลอกหลอกลวง

หน้า ๒๒๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๙. วิราคะ ถอนความติดใจ ไหลกาหนัด

๑๐. วิมตุ ติ หลุดพ้นออกไปไมม่ ัวเมา

๑๑. วมิ ุตตญิ าณทัสสนะ

มวี สิ ัยทัศนเ์ หน็ ทั่วถึงในสังขารธรรมทง้ั ปวง

อานสิ งค์เมตตา ๑๑

๑. สุขํ สุปติ หลับเป็นสุข

๒. สขุ ํ ปฏพิ ุชฌฺ ติ ตื่นเป็นสุข

๓. น ปาปกํ สปุ นิ ํ ปสฺสติ ไม่ฝันรา้ ย
๔. มนุสสฺ านํ ปิโย โหติ มนุษยร์ ักใคร่

๕. อมนสุ ฺสานํ ปโิ ย โหติ อมนุษยร์ กั ใคร่

๖. เทวตา รกขฺ นตฺ ิ เทวดารกั ษา

๗. นาสสฺ อคคฺ ิ วา วสิ ํ วา สตฺถํ วา กมติ
ไฟ ยาพิษ ศาตรา ไม่กล้ากลาย

๘. ตุวฏํ จิตฺตํ สมาธยิ ติ ทาสมาธิได้งา่ ย

๙. มขุ วณฺโณ วปิ ฺปสีทติ สหี นา้ ผอ่ งใส

หน้า ๒๒๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑๐. อสมฺมุฬฺโห กาลํ กโรติ ไมห่ ลงตาย

๑๑. อุตรํ อปปฺ ฏิวชชฺ นฺโต พรฺ หมฺโลกปู โก โหติ

มพี รหมโลกเป็นท่รี องรับหลังกาลกริ ิยา

เบอ้ื งต้น อริยธรรม ๑๑
ท่ามกลาง
ท่ีสดุ อริยสจั จ์ทกุ ข์
สมัย
นโิ รธ
มรรค

อริยกจิ ปรญิ ญา
ปหานะ
สัจฉกิ รณะ
ภาวนา

อริยญาณ สจั จญาณ
กิจจญาณ
กตญาณ

หนา้ ๒๒๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อุปกเิ ลส ๑๑

๑. วิจิกิจฉา ลังเลสงสัย

๒. อมนสกิ าร ไมใ่ ส่ใจ

๓. ถีนมทิ ธะ ง่วง ทอ้ แท้

๔. ฉมั ภิตัตตะ สะดงุ้ กลัว หวน่ั ไหว

๕. อุพพิละ ปราบปลม้ื ยินดี

๖. ทุฏฐลุ ละ หยาบ ชว่ั

๗. อัจจารัทธวริ ิยะ เพง่ เพียรมากเกนิ ไป

๘. อตลิ นี วิรยิ ะ เพยี รน้อย ข้ีเกยี จ

๙. อภิชปั ปา อยาก ปรารถนากระซบิ หู

๑๐. นานตั ตสัญญา ความแตกตา่ ง

๑๑. อตินชิ ฌายติ ัตตงั เพง่ เกนิ ไป

โคปาลกธรรม ๑๑

๑. รจู้ กั รูป (รูป ๒ ,๒๘

๒. รจู้ กั ลักษณะ (รจู้ ักลักษณะพาล-บัณฑิต

หน้า ๒๒๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๓. รจู้ ักเข่ียไข่ขาง (บรรเทาอกศุ ลจิต

๔. รูจ้ ักปดิ แผล (อินทรียส์ งั วร

๕. ร้จู กั สมุ ควัน (แสดงธรรม

๖. รจู้ กั ทา่ นา้ (การเขา้ หาผูร้ ู้

๗. รู้จกั นา้ ด่ืม (เข้าใจอรรถธรรม

๘. รจู้ ักทาง (อริยมรรค

๙. ฉลาดในโคจร (สติปฏั ฐาน

๑๐. ไมร่ ดี นมจนหมด(มัตตัญญตุ าธรรม

๑๑. บูชาโคผ้จู ่าฝงู (เคารพผใู้ หญ่ เคารพธรรม

คณุ ภาพของชาวพทุ ธ

๑. เนกขมั มะ รจู้ ักงดเวร เว้นละ ผละออก

๒. อัพยาปชั ฌะ ไมพ่ ยาบาทเบียดเบยี น

๓. ปวิเวกะ ชอบความสงบสงัด

๔. ตณั หกั ขยะ สนิ้ ตณั หา

หนา้ ๒๒๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๕. อุปาทานักขยะ ไมม่ อี ปุ าทาน

๖. อสมั โมหะ ไม่มคี วามหลงใหล

๗. สังวระ สังวรระวังถ้วนถ่ี

๘. ปหานะ รจู้ กั ฆ่า ลด ละ เลิก

๙. นิโรธะ ร้จู ักดบั ระงบั อารมณ์

๑๐. วิราคะ รู้จักเบ่ือหนา่ ยต่อทุกข์

๑๑. ธัมมวนิ ยะ รจู้ ักพระธรรมวินัย

๑๒.อุปนิสสรณะ รู้จกั ทางออกเฉพาะ

นยิ ามธรรม

o ออกจากกาม หกั ห้ามพยาบาท

ทาสสงดั ตดั ตณั หา

ลายึดติด ปิดทางหลง

ทรงระวัง ต้ังจิตยบั ย้งั

ระงบั ดับไปเสยี บา้ ง ห่างติดใจ

หนอี อกให้ได้ รูจ้ กั ทรงไว้ - นาออก

หนา้ ๒๒๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

หน้า ๒๓๐


Click to View FlipBook Version