The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirawat789.jp, 2022-01-04 17:23:13

นิยามธรรม ๑

นิยามธรรม ๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ไม่ติดใจคาสอพลอ รู้จกั ย่อ-ขยายความงดงาม
บรู ณาการ

ยสวัฑฒนิกธรรม ๗

๑. อ.ุ อฏุ ฐานวโต ขยนั ทาถกู ผกู จิตต่ืน

๒. ส. สติมโต สติรอบทวั่ ไมม่ ่ัวอบาย

๓. ส.ู สูจิกมั มะ สุจริตปดิ บาปธรรม

๔. น.ิ นิสสมั มการิโน ใครค่ รวญกอ่ นทา,พดู ,คดิ

๕. สํ. สัญญโม สารวม ระวัง ไมท่ าผดิ

๖. ธ. ธัมมชีวี เลี้ยงชีวิตชอบธรรม

๗. อ. อัปปมาทะ ไมท่ าตนประมาท

บทนิยาม

o อ.ุ ขยนั ตืน่ ตวั ส. สติถงึ ท่ัว

ส.ู งานตัวสะอาดน.ิ ไม่ขาดใครค่ รวญ

ส. สงวนตวั ดี ธ. ชวี ชี อบธรรม

หน้า ๑๕๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อ. ไม่ทาประมาท ใครค่ รวญก่อน
ชวี ีชอบธรรม
o ขยนั ทาดี สตวิ อ่ งไว
ใครค่ รวญก่อน
ทากจิ อยา่ ร้อน สังวรเต็มที่ ชวี รี ักษา

ไม่ทาตนประมาท ดารกิ อ่ นทา
หวงั ธรรมาชพี
o ขยนั ดี สติไว

จิตใจอย่าร้อน สังวรเตม็ ที่

หนา้ ท่สี ุจริต

o ตอ้ งสู้ อย่สู ติ

เดินนาสุจรติ เดน่ ฮิตระวัง

ไม่รบี ร้อนประมาท

อริยทรัพย์ ๗

ทรพั ย์อันประเสริฐ ความปล้มื ใจทห่ี ่างไกลขา้ ศึก

๑. ส. สทั ธา เชอ่ื ม่นั จุดหมาย

๒. สี. สลี ระวัง รกั ษาใจกาย

๓. หิ. หริ ิ อายทาชัว่

หนา้ ๑๕๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. โอ. โอตตปั ปะ เกรงกลวั บาป
๕. จ. จาคะ ปราบตระหน่ี
๖. พ. พหุสตุ ตะ มกี ารศึกษา
๗. ป. ปัญญา ปญั ญารอบรู้

บทนยิ าม
o เชอ่ื ตรง ทรงศลี สนิ้ ชั่ว

กลวั บาป ขนาบตระหนี่ มีศึกษา
ปัญญาเรืองรอง
o เช่อื กรรม สารวมตวั อายทาช่วั
กลวั บาปเวร งดเว้นถนัด ขัดเจนศกึ ษา
ปญั ญาฉลาด

วตั ตบท ๗

๑. มา. มาตาปติ อุ ุปัฏฐานงั บารุงบิดามารดร
๒. ก.ุ กุเล เชฏฐาปจายิโนอ่อนนอ้ มผใู้ หญ่

หน้า ๑๕๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. ส. สัจจะวาที พดู ไปล้วนจริง
๔. อ. อผรสุ วาจงั ละทิ้งพดู หยาบ
๕. อ. อปสิ ุณาวาจัง การาบส่อเสยี ด
๖. ม. มัจเฉรวนิ ยัง รังเกยี จตระหนี่
๗. อ. อักโกธัง ไมม่ โี กรธเคือง

บทนยิ าม

o ม. รู้คุณตอบแทน ก.ุ แนบแนน่ สกลุ

จ. สละอดุ หนุน อ. วาจาคา้ จุน

อ. อ่อนน้อมเพิ่มพูน อ. ทาบญุ ไม่โกรธ

ส. โปรดปรานสัจจะ

o ส. ถอื สตั ว์ อ. ตดั โกรธ

อ. เวน้ โทษวาจา อ. อ่อนน้อมกายา

จ. ให้ทานเถดิ หนา ก.ุ เคารพตระกูลนา

ม. เลย้ี งดูบดิ ามารดา

หน้า ๑๕๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

สปั ปรุ ิสธรรม ๗

หลักเกณฑข์ องผรู้ ู้ การเป็นอยู่ของบณั ฑิต บท

ฝกึ ฝนของนกั การศึกษา จรรยาของผ้นู า

๑. ธ. ธมมฺ ญฺญตุ า รเู้ หตุ

๒. อ. อตฺถญฺญตุ า รผู้ ล

๓. อ. อตตฺ ญญฺ ตุ า รตู้ น

๔. ม. มตตฺ ญฺญุตา รูป้ ระมาณ

๕. ก. กาลญญฺ ุตา รู้กาล

๖. ป. ปรสิ ญฺญุตา รู้ประชมุ ชน

๗. ปุ. ปุคฺคลปโรปรญฺญุตา ร้บู คุ คล

บทนยิ าม
o รู้เหตุ ไม่สบั สน

ร้ผู ล ไม่มดื มน
ร้ตู น ไม่จุน้ จ้าน
รู้ประมาณ สขุ อุรา

หน้า ๑๕๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

รูเ้ วลา ประโยชน์ล้น

รู้ชุมชน เกิดราศี

รู้จักคนดี มีราคา

o มีหลักเกณฑ์ เหน็ เป้าหมาย

ไมข่ ายตน สนประมาณ

รูก้ าลเวลา มีลลี าในชุมชน

รจู้ กั คนทุกชนั้

อนุสัย ๗

สงิ่ ตดิ ตามจิต พษิ ภัยในชวี ติ ความวิปริตจาก

การศกึ ษา

๑. ก. กามราคานุสโย มีกาหนดั

๒. ป. ปฏิฆานุสโย ขัดเคอื งจติ

๓. ทิ. ทิฏฺ านุสโย มีเห็นผิด

๔. ว.ิ วจิ ิกิจฉานุสโย คิดกงั ขา

๕. มา. มานานสุ โย มานะถอื ตัว

หนา้ ๑๕๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๖. ภ. ภวราคานสุ โย เมามวั ในภพ
๗. อ. อวิชชฺ านุสโย สยบในอวิชชา

บทนิยาม

o เมาหมกในกาม ตดิ ตามปฏิฆะ

มานะถอื ตวั เมามัวทฏิ ฐิ

ดาริกังขา เริงรา่ ในภพ

สยบตอ่ อวชิ ชา

o ราคะ ใหบ้ างเบา ไมเ่ อา ขดั ใจ

ทิง้ ไป ทิฏฐิ ไมด่ าริ ถือตัว

เลกิ มวั สงสัย ภพภูมิ ตดั ไป

หนไี กล มดื มน

คณุ สมบตั ิอุบาสก อบุ าสิกา ๗

๑. ท. ทสฺสนภาวี ไมข่ าดการเย่ียมเยยี นพระ

๒. ธ. ธมมฺ สฺสวนํ ไมล่ ะเลยการฟงั ธรรม

๓. อ. อธิสีลํ ศกึ ษาอธิศลี ประจา

หนา้ ๑๕๗

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๔. อ. อนปุ ารมฺภจติ ฺโต ฟังธรรมไม่ตเิ ตยี น

๕. อ. อจลสทฺธา เลื่อมใสไม่แปรเปลีย่ น

๖. ก. อเิ ธว ทกฺขณิ ํ คเวสติ แนบเนยี นทาบุญ

๗. ปุ. อเิ ธว ปพุ พฺ การํ ค้าจุนกจิ กรรมพระศาสนา

บทนยิ าม

o ชว่ ยเหลือกจิ กรรม ฟงั ธรรมไม่ตัดรอน

ทาบญุ ตามคาสอน แนน่ อนในศรทั ธา

มน่ั ใจในศลี สิกขา หม่ันเสวนา

พระสงฆ์

มุ่งเจาะจงการฟงั ธรรม

อปริหานิยธรรม ๗

ความเจริญของโยคี ความเสถียรของนกั บวช

๑. น กมฺมรามตา ไมเ่ พลินการงาน

๒. น ภสฺสารามตา ไมพ่ าลขคี้ ุย

หน้า ๑๕๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๓. น นิททฺ ารามตา ไม่ลยุ แตน่ อน
๔. น สงฺคณิการามตา ไมว่ อนคลกุ คลี
๕. น ปาปิจฺฉตา ไมม่ ลี ามก
๖. น ปาปมิตฺตา ไม่กกมติ รชั่ว
๗. น อนฺตรา โวสานํ ไมม่ ัวนง่ิ นอนใจ

บทนิยาม นอนนิด
o งานหยุด พูดถอน จากพาล

คิดปลีก หลีกอยาก ไมม่ ั่วลามก
หาญสู้ ไมว่ อนพดู เกนิ
o ไมน่ ่ิงนอนใจ ไม่คบมิตรชว่ั
ไม่ยกคลกุ คลี ไม่มกี ารนอน ขดู นอน
ไมเ่ พลินการงาน จากเพือ่ น
o งานน้อย ด้อยพดู
ถอนคบ ลบอยาก
เลอ่ื นข้ัน

หนา้ ๑๕๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

สัมปทาคุณ ๗

๑. ก. กัลยาณมิตตสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยกัลยาณมติ ร

๒. สี. สีลสมั ปทา ถงึ พรอ้ มดว้ ยศลี

๓. ฉ. ฉนั ทสมั ปทา ถึงพรอ้ มด้วยฉนั ทะ

๔. อ. อัตตสมั ปทา ถึงพร้อมด้วยตน

๕. ท.ิ ทฏิ ฐิสมั ปทา ถึงพรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ

๖. อ. อปั ปมาทสมั ปทา ถึงพร้อมดว้ ยอปั ปมาทะ

๗. โย. โยนิโสมนสิการสมั ปทา ถงึ พรอ้ มด้วยโยนิโส

มนสกิ าร

บทนยิ าม

o มมี ิตรล้อม พร้อมศีลทรัพย์ พอใจรบั รอง

ถูกต้องตัวตน เข้าใจเหตผุ ล ทาการแยบยล

รู้ตน้ สายปลายเหตุ

o เพื่อนดี สใี ส ใจตงั้

หวงั ตน เห็นผล แยบยล

หนา้ ๑๖๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ขุดค้น สี. รสู้ ว่ นสึกหรอ
o ก. รู้ต้นตอ อ. รทู้ ี่ต่อ
อ. รู้จกั แก่นขอ้
ฉ. รเู้ ห็นเพยี งพอ
ทิ. รจู้ กั แหนงหน่อ
โย. รจู้ กั รากพอ

อายุสสวัฑฒนกิ ธรรม ๗

เหตใุ ห้อายยุ ืน พน้ื ฐานในการมชี ีวติ อยนู่ านๆ

๑. ส. สปั ปายการีทาสิง่ ที่เป็นสปั ปายะ

๒. ส. สัปปายมตั ตัญญู รู้จกั ประมาณในสง่ิ ท่สี ัปปายะ

๓. ป. ปริณตโภชี บริโภคของท่ียอ่ ยง่าย

๔. ก. กาลจารี ปฏิบัติถูก กาล อากาศ ฤดู

๕. พ. พรหมจารี ประพฤติพรหมจรรย์

๖. ส.ี สลี วา มีศลี

๗. ก. กลั ยาณมติ ตตา มีกัลยาณมิตร

หน้า ๑๖๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

บทนิยาม

o ทาการเหมาะสม ชื่นชมประมาณ

ยอ่ ยง่ายอาหาร ประพฤตเิ หมาะกาล

สมาทานพรหมจรรย์ มีศลี เปน็ สีสัน

คบมั่นมิตรดี

o มมี ิตรน่ายนิ มศี ลี น่าชม อยู่อย่างพรหม

รกู้ าลเหมาะสม อาหารนยิ ม รืน่ รมยป์ ระมาณ

ทาการเหมาะควร

o มมี ิตรดี มศี ลี งามงดเว้นกาม

ทาตามกาล ยอ่ ยงา่ ยอาหาร รูจ้ ักประมาณ

ทาการสบาย

คณุ สมบัติของผ้นู ำ

๑. ข.ิ ขปิ ปฺ นิสนฺติ ปัญญาว่องไว เข้าใจอะไรงา่ ย
๒. ธา. ธารกชาติโก ทรงจา ทรงธรรม ทรงวินยั
๓. อ. อตฺถปุ ปฺ ริกฺขี เพ่งเลง็ สู่ประโยชน์ เขา้ ใจเนื้อความชัด

หน้า ๑๖๒

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔.ธ. ธมฺมานธุ มฺมปฏิปนฺโน ปฏิบตั ิตนเหมาะสมกับฐานะ

๕. สํ. สนฺทฏิ ฺฐิโก ประจักษด์ ้วยตนเอง ลงมือทา

๖. ส. สมาทปโก ฉลาดแนะนา ชี้แจง ชกั ชวน

๗. ก. กลฺยาณวาโจ กล่าวแตส่ ิ่งดงี าม พดู จาไพเราะ

บทนยิ าม

o ขิ.ไหวพริบว่องไว ธา. ทรงธรรม

วินัย

อ. เขา้ ใจประโยชน์ ธ. โปรดการปฏบิ ตั ิ

ส. กระทาสันทดั ส. ชดั เจนช้ีแจง

ถ. แถลงการณด์ ี

o พูดแตส่ ่ิงดี ช้แี จงแจ่มชัด

สันทดั กระทา แนะนาปฏบิ ัติ

เจนจัดประโยชน์ โคตรทรงธรรม

เลิศล้าไหวพริบ

o เช่ียวชาญเป็นนสิ สยั ธรรมวนิ ัยเป็นสันดาน

หน้า ๑๖๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o ประโยชน์สืบสาน ปฏบิ ัติชานาญ
o อาจหาญองอาจ ฉลาดชี้ชวน
o ใครค่ รวญกอ่ นพดู

อนุปัสสนา ๗

๑. อ. อนจิ จานปุ สั สนา ต้องเปลย่ี นไป

๒. ทุ. ทกุ ขานุปัสสนา ทนอยไู่ ม่ได้

๓. อ. อนัตตานุปสั สนา ไรอ้ ัตตา

๔. น. นิพพิทานุปัสสนา น่าเบอื่ หนา่ ย

๕. ว.ิ วิราคานปุ สั สนา คลายกาหนัด

๖. นิ. นิโรธานุปสั สนา ดับ, ตดั

๗. ป. ปฏินสิ สคั คานปุ ัสสนา สลดั คืน

บทนยิ าม

o อ. แปรปรวน ทุ. ล้วนทกุ ข์ อ. ว่างสุข

นิ. คกุ หนา่ ย วิ. งา่ ยละ น.ิ ราคะเลกิ

ป. เอิกเกรกิ ส่งคืน

หน้า ๑๖๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. อาวาส สัปปายะ ๗
๒. โคจร
๓. ภัสสะ ท่ีอยอู่ าศยั
๔. บุคคล
๕. โภชนะ ที่โคจร
๖. อตุ ุ
๗. อิริยาบถ กลั ยาณวาจา ธรรมวาที

บคุ คล กลั ยาณมติ ร

อาหาร ปัจจัย

ฤดูกาล อากาศ

อิรยิ าอาการ

o ท่ีอยอู่ าศัย บทนิยาม ถ้อยคาชื่นใจ
มติ รคูใ่ จ ทเี่ ที่ยวไป กาลสมยั
สไตล์ ปจั จยั

ภรรยำ, สำมี ๗
๑. วธกา, วธกี ผเู้ ปน็ เช่น เพชฌฆาต

หนา้ ๑๖๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๒. โจรา, โจรี ผเู้ ป็นเช่น โจร

๓. อยั ยา,สามี ผู้เป็นเช่น เจา้ นาย

๔. ภาตา,ภคนิ ี ผู้เปน็ เช่น พี่นอ้ ง

๕. สขา,สขี ผเู้ ป็นเช่น เพ่อื น

๖. ทาสา,ทาสี ผูเ้ ป็นเช่น ทาส

๗. มาตา,ปติ า ผู้เป็นเช่น พ่อแม่

บทนิยาม

o ผูฆ้ ่า ผู้โคน่ โจรรา้ ย เจา้ นาย

พน่ี ้อง เพื่อนพ้อง ทาสรอง

แมพ่ ่อ

หัวใจอภญิ ญาเทสติ ธรรม

๑. ส. สตปิ ัฏฐาน ๔ ฝกึ ฝน
๒. อ.ิ อนิ ทรยี ์ ๕ อบรม
๓. พ. พละ ๕ บม่ ไว้

๔. ส. สัมมัปปธาน ๔ ให้ต้งั มนั่

หนา้ ๑๖๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. อิ. อทิ ธิบาท ๔ หม่นั รักษา
๖. โพ. โพชฌงค์ ๗ เกิดปัญญา
๗. ม. มรรค ๘ พาถกู ทาง

โพธปิ ักขิยธรรม ๗

๑. มรรค ๘ เดินถกู ทาง
๒. โพชฌงค์ ๗ สว่างปัญญา

๓. อิทธิบาท ๔ รกั ษาขยนั

๔. ปธาน ๔ หมั่นทาเพยี ร

๕. พละ ๔ เสถียรพลงั

๖. อนิ ทรีย์ ๕ พร้อมพร่งั อนิ ทรยี ์

๗. สติ ๔ สตมิ ตี ลอด

ธดุ งค์น้าร่องต้อง.......

๑. ประธาน คือ ความเพยี ร
๒. บทเรยี น คือ อิทธิบาท

หนา้ ๑๖๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๓. ฉลาด คือ สตปิ ัฏฐาน
๔. เชี่ยวชาญ คือ อนิ ทรีย์
๕. ทาดี คือ พลงั
๖. สมหวัง คือ โพชฌงค์
๗. สายตรง คือ มรรค

หมวด ๘

๑. ว.ิ วิราคะ ธรรมวนิ ยั ๘
๒. ว.ิ วิสงั โยคะ
๓. อ. อปจยะ เปน็ ไปเพื่อความคลายกาหนัด
๔. อปั .อปั ปิจฉตา เป็นไปเพอ่ื ไม่คลุกคลีดว้ ยหมู่คณะ
๕. สํ. สนั ตุฏฐี เป็นไปเพอ่ื ไมส่ ะสมกองทุกข์
๖. ป. ปริเวกะ เปน็ ไปเพอ่ื ความปรารถนาน้อย
๗. วิ. วิริยารัมภะ เปน็ ไปเพอ่ื ความสนั โดษ
เป็นไปเพือ่ ความสงบวเิ วก
เปน็ ไปเพือ่ ความปรารภความเพียร

หนา้ ๑๖๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๘. ส.ุ สุภรตา เปน็ ไปเพื่อเปน็ คนเลยี้ งง่าย

บทนยิ าม

o คลายกาหนดั ตดั คลกุ คลี

หนสี ะสม นยิ มมักนอ้ ย

พลอยสนั โดษ โปรดสงัด

เจนจัดบาเพ็ญ เป็นคนเลีย้ งง่าย

o วิ. คลายกาหนดั ว.ิ ตัดทกุ ขท์ ับถม

อ. ไมส่ ะสมกองกิเลส อปั .เป็นเหตมุ ักนอ้ ย

ส. พลอยสันโดษ ป. โปรดปรานสงดั

ว.ิ ขจัดเกียจครา้ น ส.ุ สาราญเลยี้ งง่าย

o คลายกาหนัด ตัดทุกข์

ไม่คลกุ คลี หนีเกียจครา้ น

ไม่ตอ้ งการอยากใหญ่ ไมส่ ะสมกองกิเลส

เป็นเหตเุ ลี้ยงง่าย ม่งุ หมายสนั โดษ

หน้า ๑๖๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ไวพจนพ์ ระนิพพาน ๘

๑. ม. มทนิมมทโน เปน็ ท่ีดบั ความมัวเมา

๒. ปิ. ปปิ าสวนิ โย เปน็ ท่ดี บั ความหวิ กระหาย

๓.อา. อาลยสมคุ ฆาโต เปน็ ที่ดับความอาลยั

๔. ว. วฎฎฺ ูปัจเฉโท เป็นทด่ี บั วฏั ฏะสงสาร

๕. ต. ตัณหกั ขโย เปน็ ทด่ี ับตณั หา

๖. วิ. วิราโค เปน็ ที่ดบั ราคะ

๗. น.ิ นิโรโธ เปน็ ท่ดี บั ความสนทิ

๘. นิ. นิพพานัง เปน็ ทด่ี ับเย็น

บทนิยาม

o ม. สร่างเมา ปิ. บรรเทาระหาย

อา. หนา่ ยอาลยั ว. ไกลวัฏฏะ

ต. ชนะอยาก ว.ิ พรากตดิ ใจ

นิ. ดบั ไฟสนทิ นิ. จิตเยือกเย็น

หน้า ๑๗๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

พลงั ชีวติ ๘

กองกาลงั ที่เด็ดขาด อานาจทไ่ี ม่มีโทษ

ประโยชนท์ ่ชี อบธรรม ความสาเรจ็ ผลในชีวิต

๑. กายพละ กองกาลังทางกาย

๒. โภคพละ กองกาลงั โภคทรัพย์

๓. ปรวิ ารพละ กองกาลังมติ รบริวาร

๔. อภชิ ัจจพละ กองกาลังชาติกาเนดิ

๕. ปัญญาพละ กองกาลังปัญญา

๖. วริ ยิ พละ กองกาลงั ความเพยี ร

๗. อนวัชชพละ กองกาลังสุจรติ

๘. สงั คหพละ กองกาลังการสงเคราะห์ชว่ ยเหลือ

o กาลงั กายา บทนิยาม
กาลงั ปริวารา กาลงั โภคา
กาลงั ปญั ญา กาลังอภชิ าตา
กาลังวริ ยิ า

หนา้ ๑๗๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

กาลงั สุจริตา กาลงั สังคหา

หวั ใจมรรค ๘

๑. ทิ. สัมมาทิฏฐิ เห็นถูกจับใจ
๒. ส.ํ สัมมาสงั กัปปะ ดารผิ ่องใส

๓. วา. สัมมาวาจา วาจาละมยั

๔. ก. สัมมากัมมันตะ ทางานว่องไว

๕. อา. สมั มาอาชวี ะ อาชพี สดใส

๖. วา. สัมมาวายามะ พากเพียรย่งิ ใหญ่
๗. ส. สมั มาสติ ระลกึ ทันใจ

๘. ส. สมั มาสมาธิ กายใจม่ันคง

หัวใจฆราวาส

o อุ. ขยนั หา อา. รกั ษาดี

ก. มมี ติ ร ส. ชวี ติ ชอบธรรม

ส. เชอื่ จีรัง ส.ี ระวังจรงิ

หน้า ๑๗๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

จ. ท้ิงตระหนี่ ป. มฉี ลาด

๑. ราคมุ มตุ ตกะ บา้ ๘
๒. โทสมุ มตุ ตกะ เปน็ บ้าเพราะ ราคะกลัดกลมุ้
๓. โมหุมมุตตกะ เปน็ บา้ เพราะ โทสะจบั กุม
๔. ทฏิ ฐมุ มุตตกะ เปน็ บา้ เพราะ หลง มวั เมา
ความคิดเห็น
๕. ยกั ขมุ มตุ ตกะ เปน็ บา้ เพราะ ยดึ ถือ
๖. ปิตตมุ มุตตกะ
๗. สรุ มุ มุตตกะ เปน็ บ้าเพราะ ผีสงิ
๘.ภยสนุมมุตตกะ เป็นบ้าเพราะ ดเี ดือด
เปน็ บ้าเพราะ พิษสุรา ยาเมา
เป็นบา้ เพราะ อบุ ัติภยั ผจญ

๑. ขดั แยง้ เหตุ ๘
๒. ขีโ้ กรธ
เพราะประโยชน์
เพราะกาม

หน้า ๑๗๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๓. สวยงาม เพราะศีล
๔. พออยพู่ อกิน
๕. สขุ สันต์ เพราะขยนั
๖. สน้ิ ตัณหา
๗. บริสุทธ์ิ เพราะภาวนา
๘. ดบั อวชิ ชา
เพราะวมิ ตุ ติ

เพราะปัญญา

เพราะนพิ พาน

หวั ใจสมถะ ๘

๑. จ. จตธุ าตวิ วฏั ฐาน ถอนธาตุ

๒. อา. อาหาเรปฏฺกลู สัญญา ฉลาดกนิ

๓. อ. อรปู ฌาน ๔ รู้สนิ้ อรูป

๔. พ. พรหมวิหาร ๔ ไม่สบู อาจม

๕. ก. กสิณ ๑๐ นยิ มเพง่ เพียร

๖. อ. อสุภะ ๑๐ เล่าเรยี นอสุภะ

๗. ส. สตปิ ัฏฐาน ๔ เลิกละอบาย

๘. ร.ู รูปนาม กายใจรอบรู้

หน้า ๑๗๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. ชงั ลกู ศร ๘
๒. รกั
๓. แยง้ ศรปกั (พยาบาท)
๔. เอาเปรียบ
๕. ไมน่ มิ่ ศรแทง (ราคะ)
๖. ระยา
๗. ดา่ ป้อย ศรเสียบ (ปฏิฆะ)
๘. สลดั
ศรจิม้ (ริษยา)

ศรตา (ถมั ภะ)

ศรร้อย (สารมั ภะ)

ศรรัด (โกธะ)

ศรหาย (วริ าคะ)

หมวด ๙

มลทิน ๙ สนิมใจ

สนมิ กินใจ เภทภัยจากการศึกษา อุปสรรคของการ

พฒั นา

๑. โกธะ โกรธครู

หน้า ๑๗๕

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๒. มักขะ หลคู่ ุณ
๓. อิสสา คุ้นอิจฉา
๔. มจั ฉรยิ ะ บา้ ตระหนี่
๕. มายา มีมารยา
๖. สาเถยยะ สาเถยยะ
๗. มสุ าวาท มสุ าวาท
๘. ปาปจิ ฉา ปรารถนาชวั่
๙. มิจฉาทฏิ ฐิ เมามัวเห็นผดิ

บทนิยาม

o มีใจเคืองขนุ่ คณุ ไมบ่ ูชา อิจฉาตาขงึ

หึงหวงตระหนี่ มักมีเหล่ียมเล่ห์ ขเี้ กอ๊ วดโต

โมเมโกหก ลามกปรารถนา ดวงตามืดบอด

o เหน็ ผิด คดิ ลามก โกหกโลเล

อวดโตหนกั หนามารยาล่อบวง หึงหวงตระหนี่

มกั มีริษยา คณุ ไมบ่ ูชา โกรธาโหดรา้ ย

หน้า ๑๗๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o โกรธฉุน บญุ คณุ ทงิ้ หยิ่ง

รษิ ยา

นาพาหวงแหน แดนเจา้ เลห่ ์ เสเพลอวด

กวดขันปด หมดอารยี ์ มีเห็นผิด

๑. เมตตา ธรรมช้าระมลทนิ ๙
๒. คารวตา
๓. กรุณาจิต อภัยไมโ่ กรธ
๔. ทาน คุณโปรดบชู า
๕. สัมมาชีพ เลิกราอิจฉา
๖. มทั วัง เขน่ ฆา่ หึงหวง
๗. สัจจะ ล่อลวงไม่เอา
๘. มุทิตาจิต ปัดเป่าอวดโต
๙. สมั มาทฏิ ฐิ โกหกทิง้ ไว
คดิ ไปทางดี
มีความเหน็ ถูก

หน้า ๑๗๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o เมตตาชอบ นิยาม
เพ่ิมสจั จะ
สนคาสจั จ์ ตอบแทนคุณ หนุนสง่ เสรมิ

o อภัยไม่โกรธ ชนะเทจ็ สาเร็จฝกึ ตน
สจั จะ
มานะไมม่ ี ถนัดมักนอ้ ย เหน็ ถูกรอคอย
กรณุ าปราณี
คุณโทษตระหนกั พิทักษ์

ทาลายตระหนี่ ชน่ื ชมยินดี
ไมม่ เี ลห่ เ์ หลย่ี ม ยอดเย่ียมทัศนะ

หวั ใจพทุ ธคุณ ๙ โลกคุรุกธรรม

หัวใจบรมครูผูส้ อนโลก ศุภโชคของผนู้ าทาง

๑. อ. อรหงั เป็นผไู้ กลจากกเิ ลส

๒. สํ. สมั มาสัมพทุ โธ รอบรดู้ ้วยตนเอง

๓. วิ. วิชชาจรณสมั ปนั โนถงึ พร้อมดว้ ยวชิ ชาจรณะ

๔. ส.ุ สุคโต ไปดที กุ แหง่

๕. โล. โลกวิทู รโู้ ลกถ่ถี ้วน

หน้า ๑๗๘

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๖.ป.ุ ปริสทัมมสารถิ ยอดสารถี
๗. ส. สัตถา
๘. พุ. พุทโธ ผูส้ อนโลก
๙. ภ. ภควา
รู้ ตนื่ เบิกบาน

ผู้โชคดี

บทนยิ าม

o อ. ขา้ ศึกไม่มี ส. รดู้ ที างชอบ

ว.ิ รอบคอบจรรยา สุ. เขา้ หาทางดี

โล.แจ่มแจ้งโลกยี ์ ปุ.ยอดเยี่ยมสารถี

ส. สอนส่งั หวังดี พ.ุ เบกิ บานเตม็ ท่ี

ภ. เป็นผู้โชคดี

o ภ. โชคดที ุกด้าน พ.ุ รู้ ตน่ื เบกิ บาน

ส. ชานาญฝกึ ฝน ป.ุ ยอดคนสารถี

โล. โลกียร์ ู้ซึ้ง ส.ุ เขา้ ถงึ ความดี

วิ. มีวชิ าจารี ส. รดู้ ผี ่องใส

อ. ห่างไกลขา้ ศึก

หน้า ๑๗๙

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o ภ. จาแนกแจกแจง พ.ุ ทกุ แหล่งรอบรู้

ส. สอนสัง่ อย่างครู ป. อย่อู ย่างกปั ตนั

โล. รู้ทนั โลกกวา้ ง ส.ุ ก้าวย่างทางเย็น

วิ. รเู้ หน็ เชี่ยวชาญ ส. ทุกดา้ นรู้ดี

อ. ไมม่ ีเวรภยั

o อ. ห่างไกลกเิ ลส ส. หมดเหตุหมน่ หมอง

วิ. วชิ ชาจรณะรับรอง สุ. เดินทางถูกตอ้ ง

โล. ไม่ข้องโลกยี ์ ปุ. ยอดเยีย่ มสารถี

ส. แตง่ ตั้งศาสนี พ.ุ ต่ืนตัวเต็มท่ี

ภ. เปน็ ผู้โชคดี

o กิเลสหา่ งไกล ตรัสร้สู ดใส

เช่ยี วชาญว่องไว ไป-มาปลอดภัย

รโู้ ลกโปรง่ ใส โปรดสตั ว์ท่ัวไป

บรมครยู งิ่ ใหญ่ รู้ ตน่ื เบกิ บาน ตลอดไป

จาแนกธรรมสวา่ งไสว

หนา้ ๑๘๐

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

หวั ใจสงั ฆคุณ ๙

๑. ส.ุ สปุ ฏปิ นั โน เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิดี

๒. อ.ุ อชุ ุปฏิปนั โน เป็นผ้ปู ฏบิ ตั ติ รง

๓. ญา. ญายปฏิปนั โน เปน็ ผู้ปฏบิ ตั เิ พ่ือร้ธู รรม

๔. ส. สามีจิปฏิปนั โน เป็นผปู้ ฏิบัตสิ มควร

๕. อา. อาหุเนยโย เป็นผ้ปู ฏิบัติควรแกก่ ารตอ้ นรับ

๖. ปา. ปาหเุ นยโย เป็นผู้ปฏบิ ัติควรแกก่ ารบูชา

๗. ท. ทักขิเณยโย เป็นผ้ปู ฏิบตั ิควรแกก่ ารรบั ทกั ษิณา

๘. อ.ํ อัญชลีกรณโี ย เปน็ ผู้ควรแกก่ ารไวก้ ราบ

๙. อ. อนุตตรงั ปุญญกั เขตตัง เป็นนาบุญอันยอดเยย่ี ม

บทนิยาม

o สุ. ดีคง อ.ุ ซ่ือตรง

ญา. บ่งรู้ ส. อยคู่ วร

อา. ชวนรับ ปา. คานับบชู า

ท. ทกั ษณิ าทาน อ. การไหวก้ ราบ

หนา้ ๑๘๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

อ. เอบิ อาบนาบุญ อ.ุ ตรงลา้
o สุ.ดีคง สา.เห็นควร
ปา.ปราณยี กให้
ญา.ธรรมเด่น อ.กราบไหว้เทดิ ทนู
อา.ชวนอารยี ์
ท.ทักษิณาชอบใจ ปฏบิ ัติตรงเลศิ ล้า
อ.นาบญุ เตม็ ร้อย รเู้ ห็นสมควร
o ประพฤติดีมัน่ คง ควรคานบั บชู า
ทรงธรรมสูงเดน่ นา่ กราบน่าไหว้
ควรแกก่ ารตอ้ นรับ
ควรแกท่ กั ษิณา อ. ทรงคณุ นา่ ไหว้
เปน็ นาบุญยิง่ ใหญ่ ปา. ควรคานบั บูชา
o อ. เป็นยอดนาบุญ ส. สมควรสรรเสรญิ
ท. ควรใหท้ กั ษิณา อุ. เดินทางสายตรง
อา. ควรคา่ คาเชิญ
ญา. ร้ธู รรมดาเนนิ หนา้ ๑๘๒
สุ. จานงทาดี

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

อาคาริยธรรม ๙

หลักการครองเรือน หลกั เตอื นครองบา้ น

หลักการพฒั นาสูค่ วามก้าวหน้าของฆราวาสวสิ ยั

๑. อุ. อฏุ ฺ าตา ขยนั หมน่ั เพียร

๒. อ. อปปฺ มตฺโต ไมป่ ระมาท

๓. ว.ิ วธิ านวา ร้จู ักบริหารจดั การ

๔. ส. สมํ กปฺเปติชีวิต เลย้ี งชพี ถกู ต้อง

๕. สํ. สมภฺ ตํ อนรุ กฺขติ รจู้ กั รักษาทรัพยท์ ีห่ ามา

๖. ส. สทธฺ า มีศรทั ธา

๗. ส.ี สเี ลน สมฺปนฺโน มศี ลี พร้อม

๘. ว. วทญฺญู รู้จักภาษาพดู จา

๙. ว.ี วีตมจฉฺ รา ปราศจากตระหนี่

บทนยิ าม

o อุ. ตื่นตวั อ. ไมม่ ัวเมา

ว.ิ เอาการงาน ส. รู้หลักการ

หนา้ ๑๘๓

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ส. รกั ษาธนสาร ส. มีปสาทการ

สี. มีศีลสาร ว. มีวาทการ

วี. รู้จักใหท้ าน

o ต่นื ตัว ไม่หลบั ใหล ก้าวไป ไม่หลับหลง

ทรงงาน ทรงวทิ ย์ ทรงชีวิต เบ็ดเสรจ็

ร้สู าเร็จ อารักขา มศี รัทธา ถกู ต้อง

ทรงศลี ปกครอง รคู้ รรลองพดู จา

เลิกลาตระหน่ี

o ขยันต่ืนตัว ไมม่ ัวเมาประมาท

ฉลาดการงาน มหี ลักการชีวติ

รกั ษาสทิ ธิท์ รัพยส์ ิน เชื่อฟังพระมนุ ิน

มศี ลี ประจา ถ้อยคาฉลาด

ปราศจากตระหน่ี

หวั ใจพระโยคาวจร ๙

๑. ส.ี สีลสงั วร ระวังทกุ ตอน

หนา้ ๑๘๔

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๒. อ.ิ อนิ ทรีย์สงั วร สังวรอินทรยี ์
๓. โภ. โภชเนมัตตญั ญตุ า รู้ดปี ระมาณ
๔. ชา. ชาคริยานโุ ยค เกียจคร้านสลดั
๕. อ. อสังสคั โค ตัดคลกุ คลี
๖. ว.ิ วิริยารัมโภ มเี พียรตดิ ตอ่
๗. ป. ปวิเวโก สงดั เพยี งพอ
๘. ส. สันตุฏฐิโก ไมก่ อ่ โลภจดั
๙. อัป. อปั ปจิ ฉตา ฝึกหดั มกั น้อย

สญั ญา ๙ จา้ เอาไวว้ ่า..........

๑. อ. อนิจจสัญญา รา่ งกายไหลผ่าน

๒. ม. มรณสญั ญา ไมน่ านสลาย

๓. อา.อาหาเรปฏิกลู สญั ญา อาหารนา่ เบื่อหน่าย

๔. อ. อสุภสญั ญา ไม่เทยี่ งรา่ งกาย

๕. ทุ. ทกุ ขสัญญา ทกุ ขห์ ลายมากมี

หน้า ๑๘๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๖. อ. อนตั ตสัญญา ว่างเปลา่ อย่างน้ี
๗. ส.สพั เพโลเก อนภริ ตสัญญา จาเอาไว้ว่า จะยนิ ดีอะไร
๘. ว.ิ วิราคสัญญา ปล่อยละเรว็ ไว
๙. นิ. นิโรธสัญญา ดับไปเสยี ที

หัวใจนวังคสตั ถุศาสน์ ๙

๑. สุ. สุตตะ เชิญฟัง

๒. เค. เคยยะ หยงั่ รู้

๓. เว. เวยยากรณะ ดไู ด้

๔. คา. คาถา ใช้คา

๕. อ.ุ อุทาน ทาพดู

๖. อิ. อิตวิ ุตตกะ หยดุ สู้

๗. ชา. ชาตกะ ครเู รา

๘. อัพ. อัพภูตะ เอาจรงิ

๙. เว. เวทลั ละ ยง่ิ ลกึ

หน้า ๑๘๖

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๑. ป. ปญั ญา หวั ใจพุทธานุภาพ ๙
๒. ก. กรณุ า
๓. ว.ิ วสิ ทุ ธา รอบรกู้ องสงั ขาร
๔. ญา. ญาณัง เอ้อื เฟื้อตลอดกาล
๕. ส. สติ บริสุทธิ์ กาย วาจา ใจ
๖. อ. อวิหงิ สา รู้ทั่วถึงธรรมท้งั ปวง
๗. อ. อนาสวะ ต่นื จากโมหะเตม็ ๑๐๐ %
๘. ว.ิ วชิ ชา เว้นเบียดเบยี นสัตว์โลก
๙. วิ. วิโมกข์ ปราศจากอาสวะท้งั ปวง
รู้ทกุ สงิ่ เหน็ จรงิ รูปนาม
หลดุ พน้ จากโลกยี ว์ ิสัยสิ้นเชิง

หมวด ๑๐

หวั ใจบารมี ๑๐

๑. ท. ทานปารมี ทาลายตระหน่ี

๒. ส.ี สีลปารมี สารวมอยา่ งดี

๓. เน. เนกขมั มปารมี ออกหนีจากกาม

หนา้ ๑๘๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๔. ป. ปญั ญาปารมี รตู้ ามสังขาร

๕. ว.ิ วริ ิยปารมี ชานาญบาเพ็ญ

๖. ข. ขนั ติปารมี อดทนพน้ เวร

๗. ส. สจั จปารมี ถอื เป็นสจั จะ

๘. อ. อธิษฐานปารมี ตั้งจิตชนะ

๙. เม. เมตตาปารมี ไม่ละไมตรี

๑๐. อุ. อุเบกขาปารมีมีใจเป็นกลาง

บทนิยาม

o สละ ไม่มตี ระหนี่ ระวงั อินทรีย์

หวงั ดี ไมข่ าด มฉี ลาด ทกุ วนั

ทาสขยันทวั่ หมด หมนั่ อด ทุกสิง่

สดจริง ท้งั นน้ั ย่งิ มนั่ ทากนั

ฉันมติ ร เสริมสร้าง จิตกลาง เสมอ

o นยิ มสละ ชนะกาลี

เอาดีวินัย ตาดมี องไกล

หน้า ๑๘๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ทาไปประโยชน์ เหยี้ มโหดไม่ทา

ด่มื ด่าสัจจ์จรงิ ยอดย่งิ อบรม

เหมาะสมกบั นายทาลายศัตรู

o ทา. เสยี สละ สี. ระวงั

เน. หวงั สุข ป. ปลกุ ใจ

วิ. ใหท้ า ข. ล้าอดทน

ส. สนสจั จจ์ ัง อ. ใหต้ ัง้ จิต

เม. เป็นมิตรทัว่ อ.ุ ไม่เกลือกกลั้วบาป

o สี. สารวมอย่างดี ท. กาจดั ตระหนี่

เน. หนกี ามโภคี ป. ไม่มีตอ้ งการ

ว.ิ หา้ วหาญสละข. อดทนจนชนะ

ส. ไมท่ ิง้ สจั จะ อ. สละหว่นั ไหว

เม. อภยั ให้เพื่อนอุ. เลอะเลือนไม่มี

o ทา. ท้ิงตระหนี่ ส.ี มรี ะวัง

เน. ตงั้ สัจจะ ป. ชนะอยาก

ว.ิ จากขีเ้ กียจ ข. ละเอียดอด

หน้า ๑๘๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ส. หมดโกหก อ. ยกจติ สู้
เม. อยู่กับมิตร อุ. จิตเป็นกลาง

นาถกรณธรรม ๑๐

คณุ ธรรมที่ทาตนให้เป็นทพี่ ง่ึ ของตนได้

๑. สี. สลี มสี ารวมระวัง

๒. พา. พาหุสัจจะ มฟี ังดี

๓. ก. กัลยาณมิตตตา มีกัลยาณมติ ร

๔. กิง. กงิ กรณีเยสุ ทกั ขตา ทากจิ ล้า

๕. ธ. ธัมมกามตา ใคร่ธรรมเลศิ

๖. วิ. วริ ิยารัมภะ เชดิ ชเู พยี ร

๗. สํ. สันตุฏฐี เซียนสันโดษ

๘. โส.โสวจสั สตา โปรดสอนง่าย

๙. ส. สติ สตหิ ลากหลาย

๑๐. ป. ปัญญา ปญั ญามากมาย

หน้า ๑๙๐

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

นยิ าม

o ก. สัมพันธไ์ มต่ รี พา. ฟังดีทกุ ครง้ั

ส.ี ยบั ย้งั อย่เู ยน็ กิง. มองเหน็ โทษภยั

ธ. ธรรมะอย่ใู จ ว.ิ วนิ ยั อยูก่ าย

โส. วา่ งา่ ยสอนง่าย ส. ทาลายเลิกลา

ส. สตอิ อกหนา้ ป. ยอดเยี่ยมปญั ญา

o ป. มีวิสัยทัศน์ ส. เจนจัดสติ
ส. มติเพียงพอ ว.ิ พากเพียรไม่ทอ้
ธ. ขึน้ ตรงต่อธรรม กิง.งามลา้ เกอ้ื หนุน
โส.ทรงคณุ ว่างา่ ย ก. สหายน่าคบ
พา.เจนจบศกึ ษา ส.ี หา่ งไกลเวรา

o สี. หา่ งภัยไกลเวร พา. มุง่ เนน้ ศกึ ษา
ก. มงิ่ มิตรโสภา โส. วา่ ง่ายอ่อนโยน
กิง.เปยี่ มล้นช่วยเหลือ ธ. เอ้ือเฟอ้ ต่อธรรม
ว.ิ ทาเพียรไม่ท้อ ส. เพยี งพอสันโดษ

หนา้ ๑๙๑

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

ส. เว้นโทษลืมหลง ป. มนั่ คงรอบรู้

o ส.ี ระวงั เป็นดี พา. ไม่มีหวั ดื้อ
ก. ถือมติ รอภัย กงิ . จติ ใจไม่โหด
ธ. ตัดโทษทางกาย ว.ิ มุ่งหมายทาเพียร
ส แนบเนียนประหยดั โส.ถนดั สอนง่าย
ส.วุน่ วายไม่สน ป. รักตนฉลาด

o สี.รักษาชีวิน พา.ฟงั ส้นิ ทางดี
ก.ได้มติ รสขุ ี กิง.ทางานเตม็ ที่
ธ. อนิ ทรียส์ งบ วิ. อยู่จบทาเพยี ร
ส. เรยี นรปู้ ระหยัด โส. รชู้ ัดทางงา่ ย
ส. เห็นกายเร็วไว ป. สดใสจิตรู้

หวั ใจกถาวตั ถุ ๑๐

ถอ้ ยคาท่ีนาสู่ความเจรญิ เรื่องราวทค่ี วรกล่าวสรรเสริญ

๑. อปั . อัปปิจฉกถา ชวนมกั น้อย

หน้า ๑๙๒

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๒. สํ. สนั ตุฏฐิกถา ถอ้ ยสนั โดษ

๓. ป. ปวิเวกกถา โปรดสงดั

๔. อ. อสังสัคคกถา ตดั คลุกคลี

๕. ว.ิ วิรยิ ารมั ภกถา มีความเพียร

๖. สี. สีลกถา เซียรระวงั

๗. ส. สมาธกิ ถา ต้งั มัน่ จิตตรง

๘. ป. ปัญญากถา ลงปัญญา

๙. ว.ิ วิมตุ ตกิ ถา พาหลุดพน้

๑๐. ญา. ญาณทสั สนกถา ปนวิสยั ทัศน์

o ปราถนานอ้ ย นิยาม
โปรดสงดั พลอยสันโดษ
มีความเพยี ร ตัดคลกุ คลี
เลิกสน้ิ ฟงุ้ ซา่ น เสถยี รในศลี
หลดุ พ้นเวรภยั เบกิ บานไร้กงั วล
รู้ไวแจ่มแจ้ง

หนา้ ๑๙๓

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o พูดนอ้ ย ค่ามาก ตัดอยาก ทางใจ
ทาไป สงดั เรง่ รัด สงบ
มคี รบ ทาเพียร แนบเนียน ระวัง
ใจต้งั คงอยู่ รอบรู้ ทางเสอื่ ม
ยอดเยย่ี ม หลดุ พน้ สง่ ผล สบาย

o พูดนอ้ ย คอยประหยัด
สงัดครบ สงบพอ
ก่อทางเพียร ไม่เพ้ียนระวัง
ต้งั ตรงทางจิต ดับพษิ หมูก่ าม
ตา่ ทรามปล่อยวาง สรรสรา้ งทางสขุ

โทษของการดม่ื นาเมา ๑๐

๑. ธนชานิ เสียทรัพย์

๒. กลหัปปวัฑฒนี กอ่ การทะเลาะวิวาท

๓. โรคานัง อายตนัง นาโรคมาสรู่ ่างกาย

๔. อกติ ติ สญั ชนนี ถกู ตาหนิตเิ ตียน

หนา้ ๑๙๔

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. หริ โิ กปินนิททงั สนี ไม่รู้จกั อาย

๖. ปญั ญาย ทพุ พลี กรณี บ่ันทอนกาลงั สตปิ ัญญา

๗. ปิปาโสสิ เปน็ คนขี้เมา

๘. อตั ถปาคโต ปราศจากประโยชน์

๙. อกิจฉโน ไม่สามารถเล้ยี งชีวติ ตนได้

๑๐.อธโน ไม่มีทนุ ทรัพยไ์ ว้

บทนยิ าม

o เสยี ทรพั ย์ กลับวิวาท

พยาธเิ บยี ดเบยี น ถกู ตเิ ตยี นนินทา

หน้าดา้ นไม่อาย ทาลายสตปิ ัญญา

เปน็ ขี้ข้าขี้ยา หาประโยชน์มไิ ด้

เล้ียงชพี งมงาย ไรท้ รพั ย์สาหรบั ตวั

o ประมาท ววิ าท
อาพาธ ขาดละอาย

หนา้ ๑๙๕

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

ทาลายทรพั ย์ อบั ปัญญา
ไมน่ ่าเชอ่ื ถือ ดอ้ื เมา
เขลาประโยชน์ ชวี ติ มีโทษ

๑. สมั มาทิฏฐิ สมั มตั ตะ ๑๐
๒. สัมมาสงั กัปปะ มีความเหน็ ชอบ
๓. สัมมาวาจา มคี วามดารชิ อบ
๔. สมั มากมั มันตะ มีการเจรจาชอบ
๕. สัมมาอาชวี ะ มีการงานชอบ
๖. สมั มาวายามะ มีการเลีย้ งชีวติ ชอบ
๗. สัมมาสติ มคี วามพยายามชอบ
๘. สัมมาสมาธิ มคี วามระลึกชอบ
๙. สมั มาญาณะ มีความตัง้ ใจมั่นชอบ
มีความหยงั่ รชู้ อบ
๑๐.สมั มาวิมุติ มคี วามหลดุ พ้นชอบ

นิยามธรรม

หนา้ ๑๙๖

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

o เห็นชอบเนืองนิตย์ คิดถูกประจา
ทาดที กุ ทา่ วาจาไม่ถอ่ ย
มักนอ้ ยอาชีพ เร่งรีบสร้างงาน
รกู้ าลไม่เผลอพลงั้ ตั้งใจใหส้ ขุ มุ
ลมุ่ ลึกในธรรม ข้ามพ้นทางสายต่า

o ความเหน็ ถูกทศิ ความคิดถกู สตู ร
การพดู ถูกธรรม การทาถกู ต้อง
ครองชีพสัมมา พากเพียรกา้ วหน้า
สติตรวจตรา ทกุ เวลาต้ังใจ
หย่ังรู้สดใส หลดุ พน้ ออกไป

o พน้ ไปไม่ตดิ อยู่ รอบรู้ไมต่ ิดขัด
สันทดั ตั้งม่ัน ระลกึ รูเ้ ทยี มทนั
บากบั่นทาเพยี ร แนบเนียนอาชีพ
รีบทาไม่ลา่ ชา้ วาจาสุภาษติ
หลักคดิ แจม่ ชัด ทศั นะถูกตรง

หน้า ๑๙๗

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

o เหน็ ชอบอยา่ งดี ดาริออกหนี
ทาดีออกหน้า วาจาอ่อนหวาน
อาชีพสาราญ ความเพียรอาจหาญ
ระลึกถกู กาล ต้งั ม่นั ทนทาน
เบกิ บานโปร่งใส หลุดพ้นออกไป

o เหน็ รอบ ชอบคิด
o ผิดงด ปดท้งิ
o จรงิ ทา นาเพยี ร
o เซียนระลึก นกึ ตั้งมนั่
o เห็นทันสดุ หลดุ พ้นจริง

อานสิ งคศ์ ลี ๑๐

๑. อ. อวปิ ปฏสิ าร เดอื ดร้อนไม่มี

๒. ปี. ปีติ อ่ิมดที างใจ

๓. ปา. ปาโมชชงั โปรง่ ใสอุรา

๔. ป.ํ ปัสสทั ธิ สงบก้าวหนา้

หนา้ ๑๙๘

นยิ ามธรรม รวมรวมโดย มหาน้อย

๕. สุ. สขุ สุขามากมาย
๖. ส. สมาธิ ตั้งมัน่ สบาย
๗. น.ิ นิพพิทา เบอ่ื หนา่ ยสังขาร
๘. ว.ิ วิราคะ ราคะไมร่ ับประทาน
๙. ว.ิ วมิ ตุ ติ แจ่มแจ้งสังขาร
๑๐. ญา. ญาณทัสสนะ เกดิ ญาณสงา่

ประภสั สรธมั โม ๑๐

o ไมร่ บั อามิส ไม่ติดอาราม

ไม่ตามอคั คี ไมม่ หี ม่นหมอง

ไมข่ อ้ งงายงม ไมช่ มโลกยี ์

ไม่มจี องหอง ไมม่ องแงร่ ้าย

ไมห่ มายโลกธรรม ไมน่ ายดึ ถือ

ภำรกิจของเรา, ธรรมทตู

๑. ธมั โมวภิ าโค แจกธรรม

หน้า ๑๙๙

นิยามธรรม รวมรวมโดย มหานอ้ ย

๒. มัคคนายก นาทาง
๓. ธมั มกรโก
๔. วิวโฏ สะสางความเห็นผดิ
๕. อุตตานัง กรโณ
๖. ปทีโป เปดิ ของปิด
๗. จกั ขุทานัง
๘. มัคคเทสกะ หงายของคว่า
๙. มคั คานคุ า
๑๐. พุทธานุสาสนี จดุ โคมไฟ

ให้ดวงตา

บอกมรรคาแก่คนหลง

เดนิ ทางสายตรง

ดารงคาสอนพุทธะ

ปัจฉมิ สาวก

๑. เนกขัมมะ นอ้ มออกจิต

๒. อพั ยาปชั ฌะ ไม่ตดิ พยาบาท

๓. ปวเิ วกะ เลิกทาสวุ่นวาย

๔. ตัณหกั ขยะ เป็นนายความอยาก

๕. อุปาทานักขยะ จากความยดึ

หนา้ ๒๐๐


Click to View FlipBook Version