The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการสอบสวนจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (ปี 2561)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

42

๔. ความแตกตางระหวางโมฆะกรรมกบั โมฆยี ะกรรม

โมฆะกรรม โมฆยี ะกรรม

๑. เปน การกระทาํ ที่เสียเปลามา ๑. เปนนิตกิ รรมทีม่ ีผลใชไดจนกวา
แตต น ไมมผี ลอยา งใดในกฎหมาย จะถูกบอกลา ง

๒. เสยี เปลาทนั ทีโดยไมต องบอกลาง ๒. เสียเปลาเมอื่ มีการบอกลาง
๓. ผูมสี ว นไดเ สียโดยท่วั ไปมสี ทิ ธิ ใหต กเปน โมฆะ

กลา วอางความเสียเปลา ได เชน ๓. ผูมีสิทธบิ อกลา งไดต องเปน
เจา หนี้ บุคคลทก่ี ฎหมายกาํ หนดไว
๔. ไมอ าจใหส ตั ยาบนั ได เพราะเปน โดยเฉพาะ ผมู สี ว นไดเสยี ทวั่ ไป
การกระทาํ ทเ่ี สยี เปลามาแตต น ไมม สี ทิ ธบิ อกลาง
๕. การกลา วอา งถงึ ความเสยี เปลา
ไมมีกําหนดอายุความหรือ ๔. อาจใหสัตยาบันได
กาํ หนดเวลา ๕. มกี ําหนดเวลาบอกลา ง ถา ไม

บอกลางภายในกาํ หนด เปน อัน
หมดสิทธิ

๕. บุคคลตามกฎหมาย
“บุคคล” หมายถึง ส่ิงซึ่งสามารถมีสิทธิและหนาที่ไดตาม

กฎหมาย แบงเปน ๒ ประเภท
๑) บุคคลธรรมดา หมายถงึ คนซึ่งมสี ิทธแิ ละหนา ทต่ี ามกฎหมาย

แตจะมสี ิทธแิ ละหนาท่ตี ามกฎหมายไดก ต็ อเมอื่ มีสภาพบุคคลแลว
๒) นติ บิ คุ คล หมายถึง กลุมบุคคลหรือองคกรซ่ึงกฎหมาย

บญั ญัตใิ หเปน บคุ คลอีกประเภทหนึ่งที่ไมใชบุคคลธรรมดาและมีสิทธิและ
หนาทตี่ ามกฎหมาย

43

- บุคคลซึ่งกฎหมายคุมครองในการใชส ิทธิทํานิตกิ รรม
บุคคลบางประเภทถูกขอจํากัดโดยธรรมชาติหรือกฎหมาย
กาํ หนดความสามารถในการใชสิทธทิ าํ นติ กิ รรมไว ทาํ ใหเ กิดผลตอนติ ิกรรม
ท่ที ําไป ดงั นน้ั เจา พนกั งานทดี่ ินจึงตองสอบสวนใหไ ดว า บุคคลท่ีมาขอจด
ทะเบียนน้ันเปน บุคคลซงึ่ กฎหมายถือวาเปน ผูหยอ นความสามารถในการใช
สิทธทิ าํ นติ กิ รรมหรือไม ผหู ยอนความสามารถท่ีกฎหมายกําหนดไวในการ
ควบคมุ การทาํ นิติกรรมเพ่ือประโยชนข องบุคคลนนั้ มี ๓ ประเภท คอื
๑. ผเู ยาว
๒. คนไรค วามสามารถ
๓. คนเสมือนไรค วามสามารถ
ผเู ยาว คอื บคุ คลซึ่งมีอายุไมถึงยี่สิบปบริบูรณ โดยจะพน
จากภาวะผเู ยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุย่ีสิบปบริบูรณ หรือเมื่อทํา
การสมรสอายสุ บิ เจ็ดปบรบิ ูรณแลว เวน แตในกรณที ่ีมีเหตุอันสมควรศาลอาจ
อนญุ าตใหท าํ การสมรสกอ นน้นั ได (ม. ๑๙, ๒๐ และ ๑๔๔๘ ป.พ.พ.)
๖. การทํานิติกรรมของผเู ยาว
ก. ผเู ยาวจ ะทํานติ กิ รรมใด ๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทน
โดยชอบธรรมกอน ถา ผเู ยาวไดทาํ ลงโดยไมไ ดรับความยนิ ยอม นิติกรรมนั้น
เปนโมฆยี ะ (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
เวนแต นิติกรรมที่ผูเยาวสามารถทําไดโดยลําพังโดยไมจําเปน
ตองไดรบั ความยินยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรม มีนติ กิ รรม ๓ ประเภท ดังน้ี
๑) นิตกิ รรมที่เปน คุณประโยชนแกผเู ยาวฝ ายเดยี ว คอื

(๑.๑) นิติกรรมซ่ึงไดมาซึ่งสิทธิอันใดอันหน่ึง เชน การรับให
ท่ดี ินท่ีมีผูใหโดยเสนห าหรือรับทรัพยส นิ ตามพนิ ยั กรรมอนั ไมม ีภาระตดิ พนั ใด
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

44

(๑.๒) นิติกรรมซึ่งทําใหผูเยาวหลุดพนจากหนาท่ีอันใด
อนั หน่งึ (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

๒) นิติกรรมท่ีผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว (ม. ๒๓ ป.พ.พ.)
ตลอดจนผูเ ยาวท าํ พนิ ยั กรรมไดเ มื่ออายุ ๑๕ ปบรบิ ูรณ (ม. ๒๕ ป.พ.พ.)

๓) นิติกรรมท่ีจําเปนในการดํารงชีพของผูเยาวตามสมควร
และสมแกฐ านานรุ ูป (ม. ๒๔ ป.พ.พ.)

ข. นิติกรรมที่ผูเยาวทําได โดยตองขออนุญาตศาลกอน
(ตาม ม. ๑๕๗๔ แหง ป.พ.พ.) มีดงั น้ี

๑) นิติกรรมเก่ียวทรัพยสินของผูเยาวบางประการท่ีผูใช
อํานาจปกครองหรือผูปกครองไมอาจทําไดโดยลําพัง ตองไดรับอนุญาต
จากศาลกอ น ดงั นี้

(๑.๑) ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ใหเ ชา ซื้อ จํานอง
ปลดจาํ นอง หรอื โอนสทิ ธิจาํ นองซ่งึ อสงั หาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพย
ทอ่ี าจจาํ นองได

(๑.๒) กระทําใหส ุดสนิ้ ลงทั้งหมดหรอื บางสวนซึ่งทรัพยสทิ ธิ
ของผเู ยาวอ นั เกยี่ วกับอสงั หารมิ ทรพั ย

(๑.๓) กอตง้ั ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพ้ืนดิน
สิทธิเก็บกิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยสิทธิอื่นใดใน
อสังหาริมทรัพย

(๑.๔) จาํ หนา ยไปทั้งหมดหรือบางสวนซ่ึงสิทธิเรียกรอง
ท่ีจะใหไดมาซึ่งทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยที่อาจ
จํานองได หรือสิทธิเรียกรองท่ีจะใหทรัพยสินเชนวานั้นของผูเยาวปลอด
จากทรัพยสทิ ธิท่มี ีอยเู หนือทรพั ยสนิ น้นั

(๑.๕) ใหเชาอสงั หาริมทรัพยเ กินสามป

45

(๑.๖) กอขอผูกพันใด ๆ ท่ีมุงใหเกิดผลตามขอ (๑.๑)
(๑.๒) หรือ (๑.๓)

(๑.๗) ใหก ูยืมเงนิ
(๑.๘) ใหโดยเสนหา เวนแตจะเอาเงินไดของผูเยาว
ใหแทนผูเยาวเพื่อการกุศลสาธารณะ เพ่ือการสังคม หรือตามหนาที่
ธรรมจรรยา ทั้งนพี้ อสมควรแกฐานานรุ ูปของผูเยาว
(๑.๙) รบั การใหโ ดยเสนหาทม่ี ีเงอ่ื นไข หรอื คาภาระตดิ พนั
หรอื ไมร ับการใหโดยเสนหา
(๑.๑๐) ประกันโดยประการใด ๆ อนั อาจมผี ลใหผูเยาว
ตอ งถกู บังคบั ชาํ ระหน้ีหรือทํานิติกรรมอื่นท่ีมีผลใหผูเยาวตองรับเปนผูรับ
ชําระหน้ขี องบคุ คลอื่นหรือแทนบคุ คลอ่ืน
(๑.๑๑) นําทรพั ยส นิ ไปแสวงหาผลประโยชนนอกจาก
ในกรณีทบ่ี ัญญตั ิไวใ นมาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรอื (๓)
(๑.๑๒) ประนีประนอมยอมความ
(๑.๑๓) มอบขอ พพิ าทใหอนุญาโตตลุ าการวนิ ิจฉัย
หากฝาฝนกระทําไปโดยไมไดรับอนุญาตจากศาล
กฎหมายไมไ ดบ ญั ญัติไววาใหเปนโมฆะ ผลจะเปนประการใดแลวแตเหตุ
ทจ่ี ะอา ง เชน อางวากระทําฝา ฝน ขอหามตามกฎหมาย หรือแตกตางกับ
บทบัญญัตขิ องกฎหมายอันเก่ียวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชนยอ มตกเปนโมฆะ แตถาอางวาผูแทนโดยชอบธรรมกระทํา
โดยไมมอี ํานาจ นติ กิ รรมนน้ั ยอมไมสมบรูณห รือไมมผี ลใชบังคับ เปน ตน
๒) ถาในกิจการใดประโยชนของผูใชอํานาจปกครองหรือ
ผปู กครองรวมทง้ั คูส มรสหรือบตุ ร รวมถึงประโยชนในกิจการตามมาตรา ๑๕๗๖
ดว ยขัดกบั ประโยชนข องผูเยาว ผใู ชอ ํานาจปกครองหรอื ผูปกครองตองไดรับ

46

อนุญาตจากศาลกอ นจงึ จะทํากิจการนน้ั ได มิฉะน้ันเปนโมฆะ (ฝาฝนมีผล
เปน โมฆะ) (ม. ๑๕๗๕ ๑๕๗๖ และ ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.)

๓) กรณีที่ผูใชอํานาจปกครองและผูปกครองไมอาจทําได
โดยลําพังแลว ก็ไมอาจใหความยินยอมใหผูเยาวเปนผูทําเองไดดวย
หากฝาฝนกระทํานติ ิกรรมไปยอ มมผี ลไมสมบรูณหรือตกเปนโมฆะใชไมได
นิตกิ รรมดงั กลา วขา งตนจะกระทาํ ไดกแ็ ตโ ดยไดรบั อนญุ าตจากศาลเทาน้นั

ค. กรณผี ูแ ทนโดยชอบธรรมไมม อี ํานาจจดั การทรัพยสินของผูเยาว
(นอกจาก ม. ๑๕๗๔, ๑๕๗๕, ๑๕๗๖ ป.พ.พ.) มดี ังนี้

๑) กรณีท่ีผูโอนทรัพยสินใหผูเยาวโดยพินัยกรรมหรือโดย
การใหโ ดยเสนห าซึง่ มีเง่ือนไขวาใหบุคคลอ่ืนนอกจากผูใชอํานาจปกครอง
หรือผปู กครองเปนผจู ัดการทรพั ยส ินท่โี อนใหจนกวา ผูเยาวจะบรรลุนิติภาวะ
กรณีเชนนี้ผูแทนโดยชอบธรรมไมมีอํานาจจัดการเก่ียวกับทรัพยสิน
(ม. ๑๕๗๗ ป.พ.พ.)

๒) กรณีทีผ่ ใู ชอ ํานาจปกครองสละมรดกและผูเยาวซึ่งเปน
ผสู ืบสนั ดานนั้นสืบมรดกไดต ามสิทธิของตน ผูใ ชอ าํ นาจปกครองซึ่งสละมรดกน้ัน
ไมมีสทิ ธิในสว นทรพั ยส นิ อันผเู ยาวซ ึง่ เปนผสู ืบสนั ดานของตนไดร บั มรดกมา
ในอันที่จะจัดการและใชท รัพยสนิ ทีผ่ ูเ ยาวไ ดรบั มรดกมา (ม. ๑๖๑๖ ป.พ.พ.)

๓) ผใู ชอํานาจปกครองและผูปกครองตองจัดการทรัพยสิน
ของผเู ยาวดว ยความระมัดระวังเชนวิญูชนจะพึงกระทํา จะจัดการตาม
อําเภอใจใหเ สียหายมไิ ด (ม. ๑๕๗๑ ป.พ.พ.)

๔) ผใู ชอ าํ นาจปกครองและผปู กครองจะทําหน้ีที่บุตรจะตอง
ทาํ เองโดยมิไดร ับความยินยอมของบุตรไมได (เปนหนี้ที่ตองอาศัยความรู
ความสามารถพิเศษของผูเยาว เชน สัญญารับจางรองเพลง แสดงภาพยนตร
เปน ตน) (ม. ๑๕๗๒ ป.พ.พ.)

47

- ประเภทผแู ทนโดยชอบธรรมของผูเยาว มี ๒ ประเภท คือ
๑) ผใู ชอาํ นาจปกครอง ไดแ ก บิดามารดาเปนผูใชอํานาจ
ปกครองรวมกนั ยกเวนบางกรณีท่ีอํานาจปกครองอยูกับบิดาหรือมารดา
เพียงฝา ยเดียว บดิ าหรอื มารดาฝายนั้นยอมเปนผูแทนโดยชอบธรรมของ
บุตรผูเ ยาว
๒) ผูปกครอง แตง ตง้ั โดยคําส่ังศาล มขี นึ้ ไดใน ๒ กรณี

(๒.๑) ผูเยาวไมม ีบดิ ามารดา (หมายถึง ตายหรอื ไมป รากฏ)
(๒.๒) บิดามารดาถกู ถอนอาํ นาจปกครองตามท่ีบัญญัติ
ไวในบรรพ ๕ แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย
 การสอบสวนสิทธิและความสามารถของผูเยาว
- ผูเยาว เปนผูยังไมบรรลุนิติภาวะอยูในความดูแลของผูใช
อํานาจปกครองหรือผูปกครอง นิติกรรมที่ผูเยาวไมสามารถทําไดดวย
ตนเองตองใหผ ูแ ทนโดยชอบธรรมทํานิติกรรมแทน เวนแตนิติกรรม ตาม
มาตรา ๑๕๗๔ แหง ป.พ.พ. ผูใ ชอ ํานาจปกครองจะทําไมไดตองขออนุญาต
จากศาลกอ น
- การยืน่ คาํ ขอแสดงตัวเปน ผใู ชอ าํ นาจปกครองเพือ่ ทําการแทน
ผเู ยาว โดยทําคาํ ขอแสดงตวั เปนผูใชอํานาจปกครองผูเยาว (ท.ด. ๙) ตองให
บิดามารดาย่ืนคําขอรวมกัน เวน แตอ าํ นาจปกครองอยูกับบิดาหรือมารดา
ในกรณดี งั นี้
๑. บดิ าหรอื มารดาตาย
๒. ไมแ นน อนวาบิดาหรือมารดามีชวี ิตอยูห รอื ตาย
๓. บิดาหรือมารดาถูกศาลส่ังใหเปนคนไรความสามารถ
หรอื เสมอื นไรความสามารถ
๔.บดิ าหรอื มารดาตอ งเขารักษาตัวในโรงพยาบาลเพราะจติ ฟน เฟอ น

48

๕. ศาลสงั่ ใหอ ํานาจปกครองอยกู บั บดิ าหรอื มารดา
อาํ นาจปกครองอยูก ับมารดาในกรณีที่บตุ รเกดิ จากหญิงท่ีไมได
มกี ารสมรสกบั ชายและยงั ไมไ ดเปนบุตรท่ีชอบดวยกฎหมาย
- กรณผี ูเยาวอายตุ ั้งแต ๗ ปข้ึนไป ผูเยาวจะตองมาใหถอยคํา
วาตนอยูในความปกครองและยินยอมใหผูใชอํานาจปกครองทํานิติกรรม
แทนตน (คาํ สั่งกรมที่ดิน ท่ี ๑๐/๒๔๗๕ ลว. ๒๐ มกราคม ๒๔๗๕)
- กรณผี ูเยาวรบั ใหท ่ดี ิน ถา ผเู ยาวอ ายุตง้ั แต ๗ ปข นึ้ ไป สามารถ
ทําเองได แตถา ผเู ยาวอายุไมถ ึง ๗ ป ผใู ชอํานาจปกครองทาํ แทน

49

แผนภมู ิการทํานติ กิ รรมของผเู ยาว

ลกั ษณะ ไมบ รรลุนิติภาวะ อายไุ มครบ
ตาม ม. ๑๙
การสมรสไมเปนไป
ตาม ม. ๑๔๔๘

ทาํ นติ กิ รรมโดยลาํ พัง
ไมได
เปนเรอ่ื ง ๆ
ผูเ ยาว (ม.๒๑)

หลกั ตองไดร บั อนุญาตจาก
ผูแ ทนโดยแทนชอบธรรม

ฝาฝน โมฆียะ กวาง ๆ
(ม. ๒๖ - ๒๗)

เพือ่ ใหไ ดส ิทธิ

เร่ืองเฉพาะตัว
ผล สมแกฐานานุรปู

และจําเปนในการ
ดาํ รงชพี

ขอ นติ กิ รรมตาม พินัยกรรม
ยกเวน ม. ๒๒ -๒๕

50

 สรปุ การทํานิตกิ รรมของผูเยาว

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานติ ิกรรม ๑. ถาไดรับคํา
ยนิ ยอมจากผูแทน
ผูเยาว โดยชอบธรรม
ผูเยาว คือ บุคคล - ผเู ยาวจ ะทํานติ กิ รรมใด ๆ พนักงานเจาหนาท่ี
ซ่ึงมีอายุไมถึงย่ีสิบป ตองไดร ับความยินยอมของ จดทะเบยี นได
บริบูรณ เวนแต ผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น ๒. กรณีไมมีคํา
ทาํ การสมรสเม่ืออายุ - ประเภทนิตกิ รรม มดี งั น้ี ยินยอมจากผูแทน
สิบเจด็ ปบ ริบูรณแลว ๑. ขาย (ผเู ยาวซ อื้ ) โดยชอบธรรม
พนักงานเจาหนาท่ี
๒. ขายฝาก (กรณีผูเยาว จะจดทะเบียนได
รับซือ้ ฝากจาํ นวนเงนิ ที่รับ ตอ เมอื่ คกู รณียนื ยนั
ซือ้ ฝากตองไมเกินก่ึงหนึ่ง ใหจ ดทะเบียน
ของราคาตลาดทรัพยนน้ั )
๓ . ก ร ร ม สิ ท ธ์ิ ร ว ม
(ผเู ยาวขอถอื กรรมสิทธร์ิ วม
โดยมคี า ตอบแทน (ซือ้ ))
๔. เวนคืน (กรณีมีการ
รงั วดั แบง เวนคืน)
๕. จํานอง (กรณีผูเยาว
รับ จํ าน อ งลํ า ดับ แ ร ก
จํานวนเงินท่ีรับจํานอง
ตองไมเกินกึ่งของราคา
ตลาดของทรพั ยนั้น)

51

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทํานติ กิ รรม ๑. กรณีผูเยาวอายุ
๖. เชา (ผเู ยาวเ ชา) ๗ ปข ้ึนไป พนักงาน
๗. ภาระจาํ ยอม/สทิ ธิ เจาหนา ที่สามารถ
เกบ็ กนิ /สทิ ธเิ หนอื พน้ื ดนิ / จดทะเบยี นได
สิทธิอาศยั /ภาระตดิ พันใน ๒. กรณีผเู ยาวอายุ
อสงั หาริมทรัพย/บุริมสิทธิ ตาํ่ กวา ๗ป พนกั งาน
(กรณีผูเยาวเปน ผไู ดรบั สทิ ธ)ิ เจา หนาท่จี ดทะเบียน
๘. สอบเขต แบงแยก ใหไ ดตอ เม่ือผแู ทน
ในนามเดิม และรวมโฉนด โดยชอบธรรมมา
(กรณไี มมีการคดั คานรังวัด) ทํานิติกรรมแทน
ผูเ ยาว
- นิตกิ รรมที่ผเู ยาวสามารถ
ทํ า ไ ด โ ด ย ลํ า พั ง โ ด ย ไ ม
จําเปน ตองไดรับความ
ยินยอมจากผูแ ทนโดยชอบ
ธรรม มีดังน้ี

๑. ให (กรณผี ูเยาวรับ
ใหโดยไมมีเงื่อนไขหรือ
คา ภาระติดพนั )

๒. กรรมสิทธ์ริ วม
(ผูเยาวขอถือกรรมสิทธ์ิ
รวมโดยไมมีคาตอบแทน
และไมมีเงื่อนไขหรือคา
ภาระติดพัน)

52

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทํานิติกรรม
๓. มรดก (ผูเยาวรับ
มรดก)
๔. โอนชําระคาหุน
๕. โอนตามคําสงั่ ศาล
๖. จาํ นอง (ผเู ยาวไถถอน
จากจาํ นอง)

- นติ กิ รรมเก่ียวกับทรัพยสิน ๑.พนักงานเจา หนาที่
ของผูเยาวบางประการท่ี จะจดทะเบียนได
ผูใชอํานาจปกครองหรือ ตอ เมื่อมีคําพพิ ากษา
ผปู กครองไมอ าจทําไดโดย ศาลในเร่ืองนั้นมา
ลําพัง ตองไดรับอนุญาต ประกอบการจด
จากศาลกอ น (นิตกิ รรมทีม่ ี ทะเบียน
ผลเปนการจาํ หนา ย จา ย ๒ . ก ร ณี ไม มี คํ า
โอน การกอตั้งสิทธิและ พิพากษาศาลใน
นิติกรรมท่ที าํ ใหผูเยาวเสีย เรื่องนั้น พนักงาน
สทิ ธิ) มีดังนี้ เจาหนาท่ีไมสามารถ
๑. ขาย (ผเู ยาวขาย) จดทะเบยี นได
๒. ขายฝาก (ผูเยาว
ขายฝาก หรอื เปนผูรับซ้ือ
ฝากกรณีจํานวนเงินที่รับ
ซื้อฝากเกินก่ึงราคาตลาด
ของทรัพยนนั้ )

53

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานติ ิกรรม
๓. ให (ผูเยาวให หรือ
กรณีรับใหโดยมีเง่ือนไข
หรือคาภาระติดพัน เชน
รับใหโ ดยมเี งอื่ นไขหามขาย,
รบั ใหแ ลว จดทะเบียนสิทธิ
เกบ็ กิน เปน ตน)
๔. กรรมสิทธ์ิรวม
(ผเู ยาวใหถือกรรมสิทธริ์ วม
หรือกรณีผู เยาวขอถื อ
กรรมสทิ ธริ์ วมไมมคี าตอบแทน
แตมีเงื่อนไขหรือคาภาระ
ติดพนั เชน กรรมสทิ ธิ์รวม
(รับให) โดยมีขอกาํ หนด
หามขาย, กรรมสิทธ์ิรวม
(รับให) แลวจดทะเบียน
สทิ ธเิ กบ็ กนิ เปน ตน
๕. มรดก (ผูเยาวสละ
มรดก)
๖. แลกเปลี่ยน
๗. โอนเปน ท่สี าธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปน
ท่สี าธารณประโยชน

54

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทํานติ กิ รรม
๘. จํานอง (ผูเยาว
จํานอง หรือกรณีผูเยาว
รับจํานองมิใชการจํานอง
ลําดับแรกและจํานวนเงนิ
ท่ีรับจํานองเกินก่ึงราคา
ตลาดของทรพั ยนน้ั )
๙. เชา (ผูเยาวใหเชา
เกนิ กวา ๓ ป)
๑๐. บรรยายสวน
๑๑. ภาระจาํ ยอม/สิทธิ
เกบ็ กนิ /สทิ ธิเหนือพ้ืนดิน/
สิทธอิ าศยั /ภาระตดิ พันใน
อสงั หาริมทรัพย/ บรุ มิ สิทธิ
(กรณผี ูเยาวเปนผูใหสิทธิ
กับบคุ คลอื่น หรอื ผเู ยาว
จดทะเบียนยกเลกิ สิทธิ)
๑๒. หามโอน (ผูเยาว
รับใหม ขี อ กําหนดหา มโอน
(ม. ๑๗๐๐ ป.พ.พ.) หรือ
ผูเ ย าวรับ ม ร ดก ตา ม
พินัยกรรมท่ีมีขอกําหนด
หามโอน)

55

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทาํ นติ ิกรรม
๑๓. สอบเขต แบงแยก
ในนามเดิม และรวมโฉนด
(กรณมี ีการคัดคานรังวดั )
๑๔. แบงกรรมสิทธิ์รวม,
แบงให, แบง ขาย

 การทาํ นติ กิ รรมของผูเ ยาวแ ตล ะประเภทจดทะเบียน

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิตกิ รรมของผูเยาว

๑. ขาย ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผูเยาวขาย ตองใหผูใชอาํ นาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผูเ ยาวซอื้ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแทนโดยชอบธรรมกอน และใหผูใช
อํานาจปกครองทําแทน (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๒. ขายฝาก ทาํ ไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผูเ ยาวข ายฝาก ตองใหผูใชอาํ นาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

56

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นติ ิกรรมของผูเยาว

- ผเู ยาวร บั ซอ้ื ฝาก ผูเยาวร ับซอื้ ฝากจํานวนเงินท่ีรับซ้ือฝาก
ตองไมเ กินกึง่ ราคาตลาดของอสังหารมิ ทรพั ย
น้ันทําได (ม. ๑๕๙๘/๔ (๒) ป.พ.พ.)
โดยตองไดรับความยินยอมจากผูแทน
โดยชอบธรรม แตหากไมเปนตามกรณี
ดงั กลาวขางตนตองขออนุญาตศาลกอน
และตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๓. ให ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
- ผูเยาวใ ห ตองใหผูใชอํานาจปกครองทาํ แทน
(ม. ๑๕๗๔ (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผูเยาวรับใหโดยไมมี ผูเยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
เงอื่ นไขหรอื คาภาระติดพัน ไดรบั ความยนิ ยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

- ผูเยาวรับใหโดยมี ผูเยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
ภาระผูกพันอยู เชน จาํ นอง ไดรับความยนิ ยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
ภาระจาํ ยอม เปน ตน (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

57

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิติกรรมของผเู ยาว

- ผูเ ยาวรับใหโดยมีเง่ือนไข ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
หรือคาภาระติดพัน เชน ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
รับใหโดยมีเงอื่ นไขหามขาย, (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
รับใหแลวจดทะเบียนสิทธิ
เก็บกนิ เปน ตน

๔. กรรมสิทธร์ิ วม ทาํ ไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
-ผูเยาวใ หถ อื กรรมสิทธิร์ วม ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑), (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

-ผูเยาวข อถอื กรรมสิทธิ์รวม ผูเยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
โดยไมม คี าตอบแทน และไมมี ไดร ับความยนิ ยอมจากผูแ ทนโดยชอบธรรม
เงือ่ นไขหรือคา ภาระติดพัน (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

-ผูเ ยาวขอถือกรรมสิทธิ์รวม ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ไมมคี าตอบแทน แตม ีเงอ่ื นไข ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
หรือคาภาระติดพัน เชน (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
ขอถือกรรมสทิ ธริ์ วม (รับให)
โดยมีขอกําหนดหามขาย,
ขอถอื กรรมสทิ ธิร์ วม (รบั ให)
แลว จดทะเบียนสิทธิเก็บกิน
เปน ตน

58

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ ิกรรมของผูเยาว

- ผูเ ยาวขอถือกรรมสิทธิ์ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
รวมโดยมคี าตอบแทน (ซื้อ) ผแู ทนโดยชอบธรรมกอน และตองให

ผใู ชอ ํานาจปกครองทําแทน (ม.๒๑ป.พ.พ.)

๕. มรดก ผเู ยาวทาํ ไดโดยลาํ พงั ไมจําเปนตองไดรับ
- ผเู ยาวร บั มรดก ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)

- ผูเยาวส ละมรดก ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแทนโดยชอบธรรม และขออนุญาต
ศาลกอน (ม. ๑๖๑๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวท าํ พินยั กรรม ผเู ยาวท าํ ไดเม่ือมีอายุ ๑๕ ปบริบูรณ
(ม. ๒๕ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวเ ปน ผจู ัดการมรดก ผูเยาวเ ปน ผจู ัดการมรดกไมได (ม. ๑๗๑๘
(๑) ป.พ.พ.) แตหากศาลมีคําสั่งต้ังผูเยาว
เปน ผจู ัดการมรดก กอ นดําเนินการให
สอบถามศาลโดยระบุใหชัดเจนวา คําส่ัง
ศาลดงั กลา วมีคําสั่งตัง้ ผูเยาวเ ปน ผูจัดการ
มรดกโดยใหผ แู ทนโดยชอบธรรมหรือผูใ ช

59

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานิตกิ รรมของผูเ ยาว

อาํ นาจปกครองดําเนินการแทนผูเยาว
หรอื ศาลมีคําส่งั ตั้งผแู ทนโดยชอบธรรม
หรอื ผใู ชอาํ นาจปกครองของผูเ ยาวเปน
ผจู ัดการมรดก หากศาลแจงยืนยันมา
ประการใดกใ็ หดําเนินการตอ ไป

๖. แลกเปล่ยี น ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตอ งใหผ ใู ชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๗. โอนชําระคา หุน ทําไดเนื่องจากมีฐานะเสมือนบุคคลท่ี
บรรลุนิติภาวะแลว (ม. ๒๗ วรรคสอง
ป.พ.พ.)

๘. โอนตามกฎหมาย เฉพาะกรณีมกี ฎหมายกาํ หนดใหทรัพย
ของผูเ ยาวต กเปน ของผรู บั โอน

๙. ลงชอ่ื คสู มรส/ ผูเยาวทําได เมื่อผูเยาวทําการสมรส
แบงทรัพยสินระหวา งคสู มรส โดยถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งถือวา
บรรลุนิติภาวะโดยการสมรส (ม. ๒๐
ป.พ.พ.)

60

ประเภทการจดทะเบยี น การทํานติ ิกรรมของผเู ยาว

๑๐. โอนตามคําสง่ั ศาล ทําไดโดยพิจารณาจากคําสั่งศาล และ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๑. โอนเปนท่สี าธารณ- ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
ประโยชน/แบงหกั เปนท่ี และตอ งใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
สาธารณประโยชน (ม. ๑๕๗๔ (๘) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๒. เวนคืน ในกรณนี ีพ้ นกั งานเจา หนา ทผ่ี จู ัดทาํ สญั ญา
-กรณีมพี ระราชกฤษฎีกา ซอ้ื ขายมิใชพ นกั งานเจา หนา ทก่ี รมที่ดิน
พนักงานเจาหนาที่กรมที่ดิน มีหนาท่ี
กาํ หนดเขตท่ีดินที่จะเวนคืน ดาํ เนินการแกไขหลักฐานทางทะเบียน
แลวผเู ยาวต กลงขายทีด่ ิน ในหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินเทานั้น
(ม. ๑๑ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสงั หาริมทรพั ย พ.ศ. ๒๕๓๐) หากมี
การรังวัดแบง เวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
ความยนิ ยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอ น
และตอ งใหผ ูใชอ ํานาจปกครองทาํ แทน

61

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นติ ิกรรมของผูเ ยาว
- กรณมี พี ระราชบญั ญัติ เน่ืองจากกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย
ท่ีถูกเวนคืนตกเปนของผูเวนคืนแลว
เวนคนื ที่ดินของผเู ยาว ตาม ม. ๑๖ พ.ร.บ. วา ดว ยการเวนคืน
อสังหารมิ ทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ หากมี
๑๓. จํานอง การรงั วดั แบงเวนคืนทําไดโดยตองไดรับ
- ผเู ยาวจาํ นอง ความยนิ ยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น
- ผเู ยาวรบั จาํ นอง และตอ งใหผ ูใชอ าํ นาจปกครองทําแทน
(ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
ผูเยาวรับจาํ นอง ลาํ ดับแรกจํานวนเงินที่
รบั จํานองตอ งไมเกินกึง่ ราคาตลาดของ
อสังหาริมทรัพยนน้ั ทําได (ม.๑๕๙๘/๔(๒)
ป.พ.พ.) โดยตองไดร บั ความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรม แตหากไมเ ปนตาม
กรณดี ังกลา วขางตนตอ งขออนุญาตศาลกอ น
และตองใหผใู ชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑๑) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

62

ประเภทการจดทะเบียน การทํานิติกรรมของผเู ยาว

-ผเู ยาวไถถ อนจากจาํ นอง ผูเยาวทําไดโดยลําพัง ไมจําเปนตอง
๑๔. เชา ไดร บั ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม
(ม. ๒๒ ป.พ.พ.)
- ผูเยาวใหเชาเกินกวา ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
๓ ป ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๕) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวเ ชา ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และตองให
ผใู ชอ ํานาจปกครองทําแทน (ม.๒๑ป.พ.พ.)

๑๕. บรรยายสวน ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๑๒) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๖. ภาระจํายอม/สิทธเิ ก็บกิน/ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอนและ
สิทธเิ หนอื พนื้ ดิน/สทิ ธอิ าศัย/ ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
ภาระตดิ พันในอสังหารมิ ทรพั ย/ (ม. ๑๕๗๔ (๓) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)
บรุ มิ สทิ ธิ

- ผูเยาวเปนผใู หส ิทธิ
กบั บคุ คลอื่น

63

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นิติกรรมของผเู ยาว

- ผเู ยาวเปน ผไู ดร บั สิทธิ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูแ ทนโดยชอบธรรมกอน และตอ งให
ผใู ชอํานาจปกครองทาํ แทน (ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

- ผเู ยาวจ ดทะเบยี น ทาํ ไดโดยตองขออนญุ าตศาลกอนและ
ยกเลกิ สทิ ธิ ตองใหผูใชอาํ นาจปกครองทาํ แทน
(ม. ๑๕๗๔ (๒) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

๑๗. หามโอน
- ผูเยาวรบั ใหมีขอ กาํ หนด ทําไดโ ดยตอ งขออนุญาตศาลกอน และ

หา มโอน (ม. ๑๗๐๐ ป.พ.พ.) ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๒๑ ป.พ.พ.
และหนังสอื ท่ี มท ๐๗๑๒/ว ๑๑๖๗๖
ลว. ๓๑ พ.ค. ๒๕๓๔)

- ผูเยาวร บั มรดกตาม ทาํ ไดโ ดยไดรบั ความยนิ ยอมจากผแู ทน
พนิ ยั กรรมทม่ี ขี อ กาํ หนด โดยชอบธรรมและตอ งขออนุญาตศาลกอน
หา มโอน (ม. ๑๖๑๑ (๒) ป.พ.พ.)

๑๘. สอบเขต แบงแยก ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ในนามเดิม และรวมโฉนด ผูแทนโดยชอบธรรม (ม. ๒๒ ป.พ.พ.)
แตหากรงั วดั แลวมีการคัดคาน ตองขอ
อนุญาตศาลกอ น และตองใหผใู ชอํานาจ
ปกครองทําแทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๒) และ
ม. ๒๑ ป.พ.พ.)

64

ประเภทการจดทะเบียน การทํานิตกิ รรมของผเู ยาว
๑๙. แบงกรรมสิทธร์ิ วม ทําไดโ ดยตองขออนุญาตศาลกอน และ
แบงให แบงขาย ตองใหผูใชอํานาจปกครองทําแทน
(ม. ๑๕๗๒ (๑), (๘), (๑๒) และ ม. ๒๑
ป.พ.พ.)

๘. การทาํ นิตกิ รรมของคนไรความสามารถ
- คนไรความสามารถ ไดแก บุคคลวิกลจริตท่ีศาลไดมีคําสั่ง

ใหเ ปน คนไรความสามารถและตองอยูในความอนุบาลของผูอนุบาล (บุคคล
วกิ ลจริตมิไดหมายเฉพาะถึงบุคคลผูมีจิตผิดปกติเทาน้ัน แตหมายรวมถึง
บคุ คลท่ีมีกิริยาอาการผิดปกตเิ พราะสติวปิ ลาส คือขาดความราํ ลกึ ขาดความรูสึก
และขาดความรสู ึกรบั ผดิ ชอบดว ย เพราะบคุ คลดังกลาวไมส ามารถประครอง
กิจการของตนหรอื ประกอบกิจสวนตัวไดท เี ดยี ว)

- คนไรความสามารถไมสามารถทํานติ ิกรรมไดโดยลําพงั หรอื แมจะ
ไดร บั ความยินยอมจากผอู นบุ าลใหทํานติ ิกรรม กไ็ มสามารถทํานิติกรรมได
หากฝาฝนกระทําไปยอมตกเปนโมฆียะ การทํานิติกรรมตองใหผูอนุบาล
เปน ผูทาํ แทน

- ผูอนบุ าลท่ศี าลจะมคี าํ สงั่ แตง ตง้ั มี ๔ ประเภท คอื
๑. ผูใชอํานาจปกครอง ในกรณีท่ีคนไรความสามารถยัง
เปนผูเยาวอ ยู
๒. บดิ ามารดา ในกรณที ค่ี นไรความสามารถไดบ รรลนุ ิติภาวะแลว
แตไมม ีคสู มรส

65

๓. สามีหรอื ภริยา ในกรณีที่คนไรความสามารถไดทําการ
สมรสโดยมสี ามีหรอื ภรยิ าโดยชอบดวยกฎหมายอยู

๔. บุคคลอน่ื นอกจาก ๓ กรณแี รก
- อํานาจในการทํานิติกรรมของผูอนุบาลเก่ียวกับทรัพยสิน
ของผไู รค วามสามารถ
๑. กรณศี าลต้งั บดิ ามารดาเปน ผอู นบุ าล (บุตรยงั ไมบรรลนุ ติ ิภาวะ)
ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคหนงึ่ ป.พ.พ.
๒. กรณศี าลตงั้ บิดามารดาเปน ผูอ นุบาล (บุตรบรรลุนิติภาวะแลว)
ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคหนึ่ง ประกอบ ม. ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.
๓. กรณศี าลต้ังบคุ คลอน่ื (ไมใชบ ดิ ามารดาหรือคูสมรส) เปน
ผอู นบุ าล ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๘ วรรคสอง ประกอบ ม. ๑๕๙๘/๓ ป.พ.พ.
กรณี ๑. - ๓. กฎหมายใหนําบทบญั ญัติวาดวยสิทธิและหนาที่
ของผใู ชอ าํ นาจปกครองหรอื ผปู กครองแลวแตกรณี มาใชบงั คับโดยอนุโลม
จึงนํา ม. ๑๕๗๔ ป.พ.พ. มาใชบังคับ ดังนั้น นิติกรรมตอไปนี้ผูอนุบาล
ตอ งไดร บั อนญุ าตจากศาลกอนเชนเดยี วกับผูเยาว ไดแ ก
๑) ขาย แลกเปลีย่ น ขายฝาก ใหเชาซื้อ จํานอง ปลดจํานอง
หรอื โอนสิทธิจํานองซงึ่ อสงั หาริมทรพั ย หรือสังหาริมทรพั ยท ่อี าจจํานองได
๒) กระทําใหสุดสิ้นลงทั้งหมดหรือบางสวนซ่ึงทรัพยสิทธิของ
ผูเยาวอ ันเกีย่ วกับอสงั หาริมทรัพย
๓) กอตง้ั ภาระจาํ ยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนอื พนื้ ดิน ภาระติดพัน
ในอสงั หารมิ ทรพั ย หรือทรัพยสทิ ธิอ่ืนใดในอสังหารมิ ทรัพย
๔) จาํ หนา ยไปทัง้ หมดหรอื บางสว นซ่งึ สิทธเิ รยี กรอง ที่จะให
ไดมาซึ่งทรัพยสิทธใิ นอสังหารมิ ทรพั ย หรือสังหาริมทรัพยที่อาจจํานองได

66

หรือสิทธิเรียกรองท่ีจะใหทรัพยสิทธิเชนวานั้นของผูเยาวปลอดจาก
ทรัพยสิทธิท่ีมีอยูเหนอื ทรัพยส นิ น้ัน

๕) ใหเชาอสงั หาริมทรัพยเกินสามป
๖) กอ ขอผูกพนั ใด ๆ ท่มี ุงใหเกดิ ผลตาม ๑) ๒) หรอื ๓)
๗) ใหกยู ืมเงิน
๘) ใหโดยเสนหา เวนแตจ ะเอาเงนิ ไดข องผูเยาวใหแ ทนผเู ยาว
เพื่อการกุศลสาธารณะ เพื่อการสังคม หรือตามหนาที่ธรรมจรรยา ท้ังน้ี
พอสมควรแกฐานานรุ ปู ของผูเยาว
๙) รับการใหโดยเสนหาท่ีมีเงื่อนไขหรือคาภาระติดพัน
หรอื ไมร ับการใหโ ดยเสนหา
๑๐) ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลใหผูเยาว ตอง
ถูกบังคับชําระหนี้ หรือทํานิติกรรมอ่ืนที่มีผลใหผูเยาวตองรับเปนผูรับ
ชาํ ระหนีข้ องบคุ คลอ่นื หรือแทนบุคคลอ่ืน
๑๑) นาํ ทรัพยส ินไปแสวงหาผลประโยชนนอกจากในกรณีท่ี
บญั ญตั ิไวในมาตรา ๑๕๙๘/๔ (๑) (๒) หรือ (๓)
๑๒) ประนปี ระนอมยอมความ
๑๓) มอบขอ พพิ าทใหอ นุญาโตตุลาการวินิจฉยั
๔. กรณีศาลต้ังสามีหรอื ภรรยาเปนผอู นุบาล ตาม ม. ๑๕๙๘/๑๕
ป.พ.พ.

กฎหมายใหน าํ บทบัญญัติวาดวยสทิ ธแิ ละหนา ทีข่ องผูใชอํานาจ
ปกครองมาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม และ ม. ๑๕๙๘/๑๖ ป.พ.พ. ใหคูสมรสท่ีเปน
ผูอ นุบาลมอี ํานาจจดั การ สินสว นตัวของคูสมรสอีกฝายหนึ่ง และอํานาจ
จดั การสินสมรสแตผูเดียวแตการจัดการสินสวนตัวของผูไรความสามารถ

67

และสนิ สมรสตอไปน้ี คูส มรสน้ันจะจัดการไมได เวนแตจะไดรับอนุญาต
จากศาลกอ น รวม ๘ ประการ ตาม ม. ๑๔๗๖ ป.พ.พ. คือ

๔.๑ ขาย แลกเปล่ียน ขายฝาก ใหเชาซ้ือ จํานอง
ปลดจาํ นอง หรือโอนสิทธิจํานอง ซ่ึงอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพย
ท่ีอาจจาํ นองได

๔.๒ กอตั้งหรือกระทําใหสุดส้ินลงทั้งหมดหรือบางสวน
ซึ่งภาระจาํ ยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนอื พื้นดนิ สิทธเิ ก็บกนิ หรือภาระตดิ พัน
ในอสงั หาริมทรพั ย

๔.๓ ใหเ ชาอสงั หารมิ ทรพั ยเ กินสามป
๔.๔ ใหกูยมื เงิน
๔.๕ ใหโ ดยเสนหา เวนแตการใหที่พอควรแกฐานานุรูป
ของครอบครวั เพ่อื การกุศล เพื่อการสังคม หรือตามหนาที่ธรรมจรรยา
๔.๖ ประนปี ระนอมยอมความ
๔.๗ มอบขอ พพิ าทใหอนุญาโตตลุ าการวนิ จิ ฉยั
๔.๘ นําทรัพยสินไปเปนประกันหรือหลักประกันตอ
เจา พนกั งานหรือศาล

68

แผนภูมิการทาํ นิติกรรมของคนไรค วามสามารถ

บคุ คลตาม ม.๒๘ รองขอ คสู มรส
บุพการี

ผูสบื สนั ดาน

ผูปกครอง

หลักเกณฑ ศาลสง่ั ผูซงึ่ ปกครองดแู ล
บุคคลน้นั อยู

คนไร ผูพทิ ักษ
ความสามารถ พนกั งานอยั การ
โฆษณาคําสั่งในราชกิจจานุเบกษา

ทํานติ ิกรรม
เองไมได

กรณีผูเยาว - ผแู ทนโดยชอบธรรม

ผอู นบุ าล มีคสู มรส สามี
ทาํ แทน

กรณผี ูบรรลุ ภรยิ า
นิตภิ าวะแลว
ผล ไมม คี ูสมรส บดิ ามารดา

ฝาฝน - โมฆียะ

69

 สรปุ การทํานติ กิ รรมของคนไรค วามสามารถ

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทํานิติกรรม

คนไรความสามารถ - คนไรความสามารถไม ๑.พนักงานเจา หนา ที่
คนไรความสามารถ สามารถทํานิติกรรมได จะจดทะเบียนได
ไดแ ก บุคคลวิกลจริต โดยลําพัง หรือแมจะ ตอ เมอื่ มีคาํ สง่ั ศาล
ท่ีศาลไดมีคําสั่งให ไดร ับความยินยอมจาก แ ต ง ตั้ ง ผู อ นุ บ า ล
เปนคนไรความสามารถ ผอู นบุ าลใหทํานติ ิกรรม และผูอนุบาลตอง
และตองอยูในความ ก็ไมสามารถทํานติ ิกรรมได มาดําเนินการแทน
อนบุ าลของผอู นุบาล การทํานิติกรรมตองให คนไรความสามารถ
(บุคคลวิกลจริตมิได ผูอนุบาลเปนผูทําแทน ๒. กรณไี มมีคําส่งั
ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ถึ ง มีดังน้ี ศาลและผูอนุบาล
บุคคลผูมีจติ ผดิ ปกติ มาดําเนินการแทน
เทา น้นั แตห มายรวม ๑. ขาย (คนไรค วาม คนไรความสามารถ
ถึ งบุ ค ค ล ที่ มี กิ ริ ย า สามารถซือ้ ) พนักงานเจาหนาที่
อาการผิดปกติเพราะ ๒. ขายฝาก (คนไรค วาม ไมส ามารถจดทะเบยี น
สติวิปลาส คือขาด สามารถรบั ซือ้ ฝาก) ใหไ ด (หากมกี ารจด
ความราํ ลกึ ขาดความ ทะเบียนไปนิตกิ รรม
รสู ึก และขาดความ ๓. ให (คนไรค วาม น้ันจะเปนโมฆียะ
รสู กึ รบั ผดิ ชอบดวย สามารถรับใหโ ดยไมม ี ตาม ม. ๒๙ ป.พ.พ.)
เพราะบคุ คลดงั กลา ว เง่อื นไขหรือคาภาระตดิ พัน
หรือกรณีรบั ใหท ่มี ีภาระ

70

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิติกรรม

ไมสามารถประคอง ผูกพนั อยู เชน จาํ นอง
กิจการของตนหรือ ภาระจาํ ยอม สทิ ธเิ ก็บกนิ )
ประกอบกิจสวนตัว
ไดทีเดียว) ๔. กรรมสิทธิ์รวม
(คนไรความสามารถขอ
ถอื กรรมสทิ ธิ์รวมโดยไม
มีคาตอบแทน และไมมี
เงือ่ นไข หรอื คาภาระตดิ พัน
หรือขอถือกรรมสิทธิ์
รวมโดยมีคาตอบแทน
(ซอื้ ))

๕. มรดก (คนไรค วาม
สามารถรับมรดก)

๖. ลงชอ่ื คูส มรส
๗. โอนตามคาํ สง่ั ศาล
๘. เวนคืน (กรณีมี
การรังวัดแบง เวนคืน)
๙.จํานอง (คนไรความ
สามารถไถถอนจากจาํ นอง)
๑๐. เชา (คนไรความ
สามารถเชา )

71

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทาํ นติ ิกรรม
๑๑. ภาระจํายอม/
สิทธิเก็บกิน/สิทธิเหนือ
พน้ื ดนิ /สิทธอิ าศัย/ภาระ
ตดิ พนั ใอสังหาริมทรัพย/
บุริมสิทธิ (กรณีคนไร
ความสามารถเปนผูไ ดร ับ
สทิ ธ)ิ
๑๒. หามโอน (คนไร
ความสามารถรับใหมี
ขอกําหนดหามโอนไป
ยังบคุ คลอน่ื (ม. ๑๗๐๐
ป.พ.พ.) กรณีสามีภรรยา
เปน ผูอนุบาล
๑๓. สอบเขต แบง แยก
และรวมโฉนด (กรณไี มมี
การคดั คา นหรือการรงั วัด
แบงกรรมสิทธริ์ วม)

72

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทาํ นติ กิ รรม

- นิติก ร ร ม เ กี่ย วกับ ๑.พนักงานเจาหนาที่
ทรัพยสิน ขอ งคนไร จะจดทะเบียนได
ความสามารถบางประการ ตอเม่ือมีคําสั่งศาล
ที่ผูอนุบาลไมอาจทํา แตงต้ังผูอนุบาล
ไดโ ดยลําพงั ตอ งไดรับ พรอ มทัง้ มีคาํ พพิ ากษา
อนุญาตจากศาลกอน ศาลในเรื่องน้ันมา
มีดังน้ี ประกอบการจด
๑. ขาย (คนไรค วาม ทะเบียนและผูอนบุ าล
สามารถขาย) ตองมาดําเนนิ การแทน
๒.ขายฝาก (คนไรค วาม คนไรค วามสามารถ
สามารถขายฝาก) ๒. กรณีไมมีคําสั่ง
๓. ให (คนไรความ ศาลแตงต้ังผูอนุบาล
สามารถให หรือรับให และคําพิพากษา
โดยมเี งอื่ นไขหรือคาภาระ ศาลในเรื่องนั้นมา
ตดิ พัน เชน รับใหโดย พนักงานเจาหนาท่ี
มเี งื่อนไขหามขาย, รับให ไ ม ส า ม า ร ถ จ ด
แลว จดทะเบียนสิทธเิ กบ็ กนิ ทะเบยี นได
เปน ตน)

73

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทาํ นิติกรรม
๔. กรรมสิทธ์ิรวม
(คนไรความสามารถให
ถอื กรรมสทิ ธิร์ วม หรือ
ขอถือกรรมสิทธิ์รวมไม
มคี า ตอบแทนแตม เี งื่อนไข
หรอื คาภาระติดพนั เชน
ขอถือกรรมสทิ ธร์ิ วม(รบั ให)
โดยมเี งื่อนไขหามขาย,
ข อ ถือ ก ร ร ม ส ิท ธิ์ร ว ม
(รับให) แลว จดทะเบียน
สิทธิเก็บกนิ เปน ตน )
๕. มรดก (คนไรค วาม
สามารถสละมรดก)
๖. แลกเปลี่ยน
๗. โอนชาํ ระคา หุน
๘ . แ บ ง ท รั พ ย สิ น
ระหวา งคสู มรส
๙. โอนเปนทีส่ าธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปน
ที่สาธารณประโยชน

74

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบียน
ในการทํานิติกรรม
๑๐.จํานอง (คนไรค วาม
สามารถจาํ นอง)
๑๑. เชา (คนไรความ
สามารถใหเชา )
๑๒. บรรยายสว น
๑๓. ภาระจํายอม/
สิทธเิ ก็บกิน/สิทธิเหนือ
พนื้ ดนิ /สทิ ธอิ าศยั /ภาระ
ติดพันในอสงั หารมิ ทรพั ย/
บุริมสทิ ธิ (กรณีคนไร
ความสามารถเปนผูให
สิทธิบคุ คลอื่น หรือจด
ทะเบียนยกเลิกสทิ ธิ)
๑๔. หา ม โ อ น
(คนไรค วามสามารถรบั ให
มีขอกําหนดหามโอนไป
ยังบคุ คลอ่นื (ม. ๑๗๐๐
ป.พ.พ.) (กรณีบุคคล
อ่นื นอกจากสามีภรรยา
เปนผูอ นุบาล) หรือรับ
มรดกตามพินัยกรรมที่
มขี อ กําหนดหามโอน)

75

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทํานิตกิ รรม
๑๕. สอบเขต แบง แยก
ในนามเดมิ และรวมโฉนด
(กรณมี ีการคัดคา นรังวัด)
๑๖. แบง กรรมสิทธริ์ วม
แบง ให แบงขาย

 การทาํ นิตกิ รรมของคนไรค วามสามารถแตล ะประเภทจดทะเบียน

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นติ กิ รรมของคนไรค วามสามารถ

๑. ขาย ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
- คนไรความสามารถขาย (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอ นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถซอื้ ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
(ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

76

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิติกรรมของคนไรค วามสามารถ
๒. ขายฝาก ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุญ า ต ศ า ล ก อ น
(ม. ๑๔๗๖ (๑) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
- คนไรค วามสามารถ และใหผ อู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ขายฝาก หรือ ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ - กรณีผูอนุบาลเปนคูสมรส ทําไดโดย
รบั ซอ้ื ฝาก ใหผ อู นบุ าลทําแทน (ม.๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
- กรณผี อู นบุ าลเปน บุคคลอื่นรับซื้อฝาก
จํานวนเงนิ ทีร่ บั ซอื้ ฝากตองไมเ กนิ กึ่งราคา
ตลาดของอสงั หาริมทรพั ยน น้ั (ม. ๑๕๙๘/๔
(๒) ป.พ.พ.) ทําไดตอ งใหผ ูอนบุ าลทําแทน
แตหากไมเปนตามกรณีดังกลาวขางตน
ตองขออนุญาตศาลกอน และตองให
ผอู นบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๑) และ
มาตรา ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๓. ให ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
- คนไรความสามารถให (ม. ๑๔๗๖ (๕) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๘) ป.พ.พ.)
และใหผอู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

77

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นติ ิกรรมของคนไรความสามารถ

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองใหผ ูอนุบาลทําแทน
รับใหโดยไมมีเง่ือนไขหรือ (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
คาภาระติดพัน

- คนไรความสามารถ ทาํ ไดโดยตอ งใหผ อู นุบาลทาํ แทน
รบั ให กรณที ่ีมภี าระผูกพันอยู (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรือ ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
เชน จํานอง ภาระจํายอม
สทิ ธิเก็บกิน เปน ตน

- คนไรความสามารถ - กรณีสามีภรรยาเปนผูอนุบาลทําไดโดย
รับใหโดยมีเงื่อนไขหรือ ใหผ อู นุบาลทําแทน (ม.๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
คาภาระติดพัน เชน รับให - กรณีบุคคลอนื่ เปนผอู นบุ าลทําไดโดย
โดยมีเงอ่ื นไขหามขาย, รับให ตอ งขออนญุ าตศาลกอ น และใหผูอนุบาล
แลวจดทะเบยี นสิทธิเก็บกิน ทําแทน (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๑๕๙๘/๑๘
เปนตน ป.พ.พ.)

๔. กรรมสิทธิ์รวม ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
- คนไรความสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ใหถอื กรรมสิทธร์ิ วม หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

78

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ กิ รรมของคนไรความสามารถ

- ค น ไ รค ว า ม ส า ม า ร ถ ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ นุ บ า ล ทํ า แ ท น
ข อ ถื อ ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ร ว ม โ ด ย (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรือ ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
ไมมีคาตอบแทน และไมมี
เงื่อนไขหรือคาภาระติดพัน

- คน ไรควา ม ส า ม า ร ถ - กรณีสามภี รรยาเปนผอู นบุ าลทําไดโ ดยให
ขอถือกรรมสิทธ์ิรวม ไมมี ผูอนุบาลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
คาตอบแทน แตมีเง่ือนไข -กรณบี คุ คลอื่นเปน ผูอนบุ าล ทําไดโดยตอ ง
หรือคาภาระติดพัน เชน ขออนุญาตศาลกอน และใหผ อู นบุ าลทาํ แทน
ขอถือกรรมสทิ ธ์ิรวม (รบั ให) (ม. ๑๕๗๔ (๙) และ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
โดยมีขอกําหนดหามขาย,
ขอถือกรรมสิทธิร์ วม (รบั ให)
แลวจดทะเบียนสิทธิเก็บกิน
เปน ตน

- คนไรค วามสามารถ ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ใ ห ผู อ นุบ า ล ทํ า แ ท น
ขอถอื กรรมสทิ ธร์ิ วมโดย (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
มคี า ตอบแทน (ซ้อื )

๕. มรดก ทําไดโดยตอ งใหผ อู นุบาลทําแทน
- คนไรความสามารถ (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

รบั มรดก

79

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

- คนไรค วามสามารถ ทําไดโ ดยตองขออนุญาตศาลกอน และให
สละมรดก ผอู นบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๖๑๑ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถทํา คนไรความสามารถทําพินัยกรรมไมได
พินัยกรรม เนื่องจากเปนบุคคลท่ีไมสามารถประกอบ
กจิ การสว นตวั ได (ม. ๑๗๐๔ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถเปน คนไรค วามสามารถเปน ผูจ ัดการมรดก
ผูจัดการมรดก ไมได เนอ่ื งจากขาดความสามารถในการ
เปน ผจู ัดการมรดก (ม. ๑๗๑๘ ป.พ.พ.)

๖. แลกเปลย่ี น ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
(ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผ อู นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๗. โอนชําระคาหนุ ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
๘. ลงชอ่ื คสู มรส/ (ม.๑๔๗๖(๑) หรอื ม.๑๕๗๔(๑๑) ป.พ.พ.)
แบง ทรัพยสนิ ระหวางคสู มรส และใหผอู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
- ลงชือ่ คสู มรส ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ นุ บ า ล ทํา แ ท น
(ม.๑๕๙๘/๑๕ หรือ ม.๑๕๙๘/๑๘ป.พ.พ.)

80

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ ิกรรมของคนไรค วามสามารถ

- แบง ทรพั ยส นิ ระหวาง ทาํ ไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน และ
คสู มรส ใหผ อู นบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๒)

และ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๙. โอนตามคําส่ังศาล กรณีเปนผูซื้อจากการขายทอดตลาด
ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ นุ บ า ล ทํ า แ ท น
(ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๐. โอนเปนท่ีสาธารณ- ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
ประโยชน/แบงหักเปนท่ี (ม. ๑๔๗๖ (๕) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๘) ป.พ.พ.)
สาธารณประโยชน และใหผ ูอ นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๑. เวนคืน ในกรณนี พี้ นักงานเจาหนา ท่ีผจู ดั ทําสญั ญา
- กรณีมีพระราชกฤษฎีกา ซอื้ ขายมิใชพนกั งานเจา หนาทีก่ รมทด่ี นิ
พนักงานเจาหนาท่ีกรมที่ดินมีหนาท่ี
กําหนดเขตทด่ี นิ ทจ่ี ะเวนคืน ดําเนินการแกไขหลักฐานทางทะเบียน
แลว คนไรความสามารถตกลง ในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเทานั้น
ขายทีด่ ิน (ม. ๑๑ พ.ร.บ. วาดวยการเวนคืน
อสงั หาริมทรพั ย พ.ศ. ๒๕๓๐) หากมี
การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองให
ผูอ นบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรอื
ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

81

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ กิ รรมของคนไรความสามารถ
- กรณมี ีพระราชบัญญัติ เน่ืองจากกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย
ท่ีถูกเวนคืนตกเปนของผูเวนคืนแลว
เวนคนื ทด่ี นิ ของคนไรความ ตาม ม. ๑๖ พ.ร.บ. วาดว ยการเวนคืน
สามารถ อสงั หาริมทรัพย พ.ศ. ๒๕๓๐ หากมี
การรังวัดแบงเวนคืนทําไดโดยตองให
๑๒. จํานอง ผอู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรือ
- คนไรความสามารถ ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

จาํ นอง ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
- คนไรความสามารถ (ม. ๑๔๗๖ (๑) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑) ป.พ.พ.)
และใหผอู นุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
รบั จํานอง หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
- กรณีผูอนุบาลเปนคูสมรสทําไดโดย
ใหผูอนบุ าลทําแทน (ม.๑๕๙๘/๑๕ป.พ.พ.)
- กรณบี คุ คลอื่นเปน ผอู นุบาล สามารถรับ
จาํ นองลําดบั แรกจาํ นวนเงินท่ีรบั จาํ นองตอ ง
ไมเกนิ กงึ่ ราคาตลาดของอสังหารมิ ทรพั ยน นั้
(ม.๑๕๙๘/๔ (๒) ป.พ.พ.) ทําไดโดยให
ผูอนุบาลทาํ แทน แตหากไมเ ปน ตามกรณี
ดังกลาวขา งตน ตองขออนญุ าตศาลกอ น
และใหผ ูอนบุ าลทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๑๑)
และ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

82

ประเภทการจดทะเบียน การทํานติ ิกรรมของคนไรความสามารถ

- คนไรค วามสามารถ ทํา ไ ด โ ด ย ต อ ง ใ ห ผู อ นุ บ า ล ทํา แ ท น
ไถถ อนจาํ นอง (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)
๑๓. เชา ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
(ม. ๑๔๗๖ (๓) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๕) ป.พ.พ.)
- คนไรความสามารถ และใหผ อู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
ใหเชาเกนิ กวา ๓ ป หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรค วามสามารถเชา ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
(ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๔. บรรยายสว น ทํ า ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล ก อ น
(ม.๑๔๗๖(๖) หรอื ม.๑๕๗๔(๑๒) ป.พ.พ.)
และใหผ ูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๕. ภาระจาํ ยอม/สิทธเิ กบ็ กิน/
สิทธเิ หนอื พ้นื ดนิ /สิทธิอาศัย/
ภาระตดิ พนั ในอสงั หารมิ ทรพั ย/
บุริมสทิ ธิ

- คนไรความสามารถ ทําไดโดยตองขออนุญาตศาลกอน
เปน ผูใ หสทิ ธิบุคคลอน่ื (ม. ๑๔๗๖ (๒) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๒) ป.พ.พ.)

และใหผูอนุบาลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

83

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นิตกิ รรมของคนไรความสามารถ

- คน ไร ความ ส าม าร ถ ทําไดโดยตองใหผูอนุบาลทําแทน
เปนผูไดร ับสิทธิ (ม.๑๕๙๘/๑๕ หรอื ม.๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทํา ไ ดโ ด ย ตอ ง ข อ อ น ุญ า ต ศ า ล กอ น
จดทะเบียนยกเลกิ สทิ ธิ (ม. ๑๔๗๖ (๒) หรอื ม. ๑๕๗๔ (๒) ป.พ.พ.)
และใหผอู นบุ าลทําแทน (ม. ๑๕๙๘/๑๖
หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.)

๑๖. หามโอน
- คนไรความสามารถ - กรณีสามีภรรยาเปนผูอนุบาลทําไดโดย

รับใหม ขี อกําหนดหามโอนไป ใหผ อู นุบาลทําแทน (ม.๑๕๙๘/๑๕ ป.พ.พ.)
ยังบุคคลอื่น (ม.๑๗๐๐ป.พ.พ.) - กรณีบคุ คลอน่ื เปนผูอ นบุ าลทําไดโดย

ตองขออนุญาตศาลกอ น และใหผ ูอนุบาล
ทาํ แทน (ม. ๑๕๗๔ (๙) ป.พ.พ.)

- คนไรความสามารถ ทํ า ไ ด โ ด ย ต อ ง ข อ อ นุ ญ า ต ศ า ล ก อ น
รับมรดกตามพนิ ัยกรรมทมี่ ี (ม.๑๖๑๑(๒)) และใหผูอนุบาลทําแทน
ขอ กาํ หนดหา มโอน (ม. ๑๕๙๘/๑๕ หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘
ป.พ.พ.)

๑๗. สอบเขต แบงแยก ทําไดโ ดยใหผ อู นบุ าลทําแทน (ม.๑๕๙๘/๑๕
ในนามเดมิ และรวมโฉนด หรอื ม. ๑๕๙๘/๑๘ ป.พ.พ.) แตหาก

รังวัดแลวมีการคัดคาน ตองขออนุญาต
ศาลกอ น (ม. ๑๔๗๖ (๖) หรือ ม. ๑๕๗๔
(๑๒) ป.พ.พ.)

84

ประเภทการจดทะเบยี น การทาํ นติ ิกรรมของคนไรความสามารถ
๑๙. แบงกรรมสิทธ์ิรวม ตอ งขออนญุ าตศาลกอน (ม. ๑๔๗๖ (๑),
แบงให แบง ขาย (๕), (๖) หรือ ม. ๑๕๗๔ (๑), (๘), (๑๒)
ป.พ.พ.) และใหผูอนุบาลทําแทน
(ม. ๑๕๙๘/๑๖ หรือ ม. ๑๕๙๘/๑๘
ป.พ.พ.)

๘. ความสามารถในการทาํ นติ ิกรรมของคนเสมือนไรความสามารถ
คนเสมือนไรความสามารถ คือ บุคคลที่ศาลสั่งใหเปน

คนเสมือนไรความสามารถและใหอยูในความดูแลของผูพิทักษ เนื่องจาก
บุคคลน้นั มกี ายพกิ ารหรือจติ ฟน เฟอนไมส มประกอบหรือประพฤติสุรุยสุราย
เสเพลเปนอาจิณหรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอ่ืนใดทํานองเดียวกันน้ัน
จนไมสามารถจะจดั การงานโดยตนเองได หรือจดั กิจการไปในทางที่อาจจะ
เส่ือมเสียแกท รัพยส ินของตนเอง หรือครอบครัว

คนเสมือนไรค วามสามารถ สามารถทํานติ ิกรรมไดดวยตนเอง
ท้ังสิน้ เวนแตบางกรณตี อไปนจี้ ะตอ งไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน
มิฉะนน้ั เปนโมฆยี ะ (ตาม ม. ๓๔ ป.พ.พ.) คอื

๑. นําทรพั ยสนิ ไปลงทนุ
๒. รบั คนื ทรพั ยส ินทไ่ี ปลงทุน ตนเงนิ หรอื ทุนอยา งอนื่
๓. กูยมื หรอื ใหกยู มื เงิน ยมื หรือใหสงั หารมิ ทรัพยอันมคี า
๔. รับประกันโดยประการใด ๆ อันมีผลใหตนเองถูกบังคับ
ชําระหน้ี
๕. เชา หรอื ใหเ ชา สงั หาริมทรพั ยมีกําหนดระยะเวลาเกินกวา
กําหนดหกเดอื น หรอื อสงั หาริมทรัพยมีกาํ หนดระยะเวลาเกนิ กวาสามป

85

๖. ใหโดยเสนหา เวนแตการใหที่พอสมควรแกฐานานุรูป
เพือ่ การกุศล การสงั คม หรือตามหนา ทีธ่ รรมจรรยา

๗. รับการใหโดยเสนห าทม่ี เี งอื่ นไขหรือคาภาระตดิ พัน หรือไมร ับ
การใหโดยเสนห า

๘. ทาํ การอยางหนึ่งอยางใดเพ่ือจะไดมาหรือปลอยไปซึ่งสิทธิ
ในอสังหารมิ ทรพั ยหรือในสงั หาริมทรัพยอ ันมีคา

๙. กอ สรา งหรอื ดดั แปลงโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืน
หรอื ซอ มแซมอยางใหญ

๑๐. เสนอคดตี อศาลหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ เวนแต
การรองขอตอศาลกรณีผูพิทักษไมยอมใหกระทําการตามขอ ๑. - ๑๑.
โดยปราศจากเหตุอันควร (ตาม ม. ๓๕ ป.พ.พ.) หรือการรองขอถอน
ผพู ทิ ักษ

๑๑. ประนีประนอมยอมความหรือมอบขอพิพาทให
อนุญาโตตลุ าการวนิ ิจฉยั

ในบางกรณีนอกจากกจิ การขา งตน ซึ่งคนเสมือนไรค วามสามารถ
จัดการไดเ อง แตอาจจัดการไปในทางที่เสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเอง
หรือครอบครัว ศาลอาจส่ังใหคนเสมือนไรความสามารถตองไดรับความ
ยนิ ยอมจากผูพิทกั ษก อ นจึงจะทําการน้นั ไดก ็ได

ผูพิทกั ษไมม อี ํานาจทํากจิ การแทนคนเสมือนไรค วามสามารถ
(มีแตอ ํานาจใหความยินยอมในกิจการตาม ๑. - ๑๑. เทาน้ัน) เวนแตกรณี
คนเสมือนไรค วามสามารถไมส ามารถทาํ การอยา งใดอยา งหน่งึ ไดด ว ยตนเอง
เพราะเหตมุ กี ายพกิ ารหรอื จิตฟน เฟอ นไมสมประกอบ ศาลจะส่ังใหผูพิทักษ
เปนผมู ีอํานาจกระทาํ การนัน้ แทนคนเสมอื นไรความสามารถกไ็ ด โดยกฎหมาย
กําหนดใหน ําบทบัญญัตเิ กี่ยวกับผูอนุบาลมาใชบ งั คบั กรณีนี้โดยอนโุ ลม

86

แผนภูมกิ ารทาํ นติ ิกรรมของคนเสมือนไรค วามสามารถ

กาย

บกพรอง ใจ

ลกั ษณะ จัดการงานเอง ความประพฤติ
ไมไดเ ตม็ ที่
จัดการงานแลว เสียหาย คูสมรส
บพุ การี

คนเสมอื นไร บุคคลตาม ม. ๒๘ รอ งขอ ผสู ืบสันดาน
ความสามารถ ศาลสั่ง ผปู กครอง
โฆษณาคําส่ังใน ผซู ึง่ ปกครองดแู ลบคุ คลนั้นอยู
ราชกิจจานุเบกษา
พนกั งานอัยการ

หลักเกณฑ หลกั - ทาํ นติ ิกรรมไดเ อง

ผล ตองไดร บั ความยินยอมจาก
ผูพทิ ักษกอ น
ขอ ยกเวน

ผูพิทักษท ําแทน - ม. ๓๔ ว. ๒

นิตกิ รรมตาม ม. ๓๔ ว. ๑ นติ ิกรรมอน่ื ตาม ม. ๓๔ ว.๒

87

 สรุปการทํานิติกรรมของคนเสมอื นไรความสามารถ

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทาํ นติ กิ รรม

คนเสมือนไร - คนเสมือนไรความสามารถ - พนกั งานเจาหนาท่ี
ความสามารถ สามารถทํานิติกรรมได จดทะเบยี นไดโดย
คนเสมือนไรค วาม ดวยตนเองทัง้ สิ้น เวนแต ไมตองมีคํายินยอม
สามารถ คือ บุคคล บางกรณีจะตองไดรับความ จากผพู ทิ กั ษ
ที่ศ า ล สั่ง ใหเ ปน ยินยอมจากผูพิทักษกอน
คนเสมอื นไรความสามารถ นิติกรรมท่ีสามารถทําได
และใหอยูในความ ดวยตนเอง มีดงั นี้
ดู แ ล ข อ ง ผู พิ ทั ก ษ
เน่ืองจากบุคคลนั้น ๑. มรดก (คนเสมือนไร
มี ก าย พิ กา รห รื อ ความสามารถรบั มรดก)
จติ ฟนเฟอนไมสม ๒. เวนคนื (กรณีมี พ.ร.บ.
ประกอบหรอื ประพฤติ เวนคืนทดี่ นิ ของคนเสมอื น
สรุ ยุ สุรายเสเพลเปน ไรความสามารถ)
อาจิณหรือติดสุรา
ยาเมา หรือมีเหตุอ่ืน ๓. โอนตามคําส่ังศาล
ใดทาํ นองเดยี วกันนน้ั ๔. สอบเขต แบงแยก
จนไมสามารถจะจดั ในนามเดิม และรวมโฉนด
การงานโดยตนเองได (กรณไี มม กี ารคดั คานรงั วดั )
ห รื อ จั ด กิ จ ก า ร ไ ป
ในทางที่อาจจะเสื่อม
เสยี แกทรพั ยสินของ
ตนเองหรอื ครอบครวั

88

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทาํ นติ กิ รรม ๑.พนักงานเจา หนาที่
- นติ กิ รรมท่ีคนเสมือนไร จดทะเบียนใหได
ค ว า ม ส า ม า ร ถ จ ะ ต อ ง เ ม่ื อ มี คํ า ยิ น ย อ ม
ไดรับความยินยอมจาก จากผพู ิทกั ษก อน
ผูพทิ ักษก อน มีดังนี้ ๒. ก ร ณี ไ ม มี
๑. ขาย คํา ยิน ย อ ม จ า ก
๒. ขายฝาก ผูพิทักษพนักงาน
๓. ให เ จา ห นา ที่จ ะ
๔. กรรมสิทธิ์รวม จ ด ท ะ เ บี ย น ไ ด
๕. แลกเปลยี่ น ตอ เม่อื คกู รณียนื ยัน
๖. โอนชําระคาหุน ใหจ ดทะเบยี น
๗. ลงช่ือคูสมรส/แบง
ทรพั ยส ินระหวางคสู มรส
๘. โอนเปน ท่ีสาธารณ-
ประโยชน/แบงหักเปนท่ี
สาธารณประโยชน
๙. จํานอง
๑๐. เชา (เกนิ กวา ๓ ป)
๑๑. บรรยายสวน
๑๒. ภาระจํายอม/
สิทธิเก็บกิน/สิทธิเหนือ
พนื้ ดิน/สิทธิอาศัย/ภาระ
ติดพนั ในอสังหาริมทรพั ย/
บรุ ิมสทิ ธิ

89

ประเภทของบุคคล ความสามารถ การจดทะเบยี น
ในการทาํ นิตกิ รรม
๑๓. หา มโอน (คนเสมอื น
ไรความสามารถรับใหมี
ขอกําหนดหามโอนไปยัง
บุคคลอื่นตองไดรับความ
ยิ น ย อ ม จ า ก ผู พิ ทั ก ษ
และกรณีรับมรดกตาม
พินัยกรรมท่ีมีขอกําหนด
หามโอนตองไดรับความ
ยินยอมจากผูพิทักษและ
ตอ งขออนุญาตศาลกอ น)
๑๔. สอบเขต แบงแยก
ในนามเดิม และรวมโฉนด
(กรณมี ีการคัดคานการรังวดั )
๑๕. แบง กรรมสทิ ธร์ิ วม
แบงให แบง ขาย
๑๖.สละมรดก(ตอ งไดรับ
ความยินยอมจากผูพิทักษ
และขออนญุ าตศาลกอ นดว ย)

90

 การทาํ นติ ิกรรมของคนเสมือนไรความสามารถแตล ะประเภทจดทะเบยี น

ประเภทการจดทะเบียน การทํานิตกิ รรมของ
คนเสมอื นไรความสามารถ
๑. ขาย
- คนเสมือนไร ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูพ ทิ ักษกอน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
ความสามารถขาย ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไร ผูพิทกั ษกอน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)

ความสามารถซอ้ื ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
๒. ขายฝาก ผพู ิทักษก อน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมือนไร ผพู ทิ ักษกอน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
ความสามารถขายฝาก
ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
- คนเสมอื นไร ผพู ิทกั ษก อน (ม. ๓๔ (๖) ป.พ.พ.)
ความสามารถรบั ซอื้ ฝาก
๓. ให

- คนเสมือนไร
ความสามารถให

91

ประเภทการจดทะเบียน การทาํ นิตกิ รรมของ
คนเสมือนไรความสามารถ

- คนเสมอื นไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
รับใหโ ดยไมมีเงอ่ื นไขหรือ ผพู ทิ ักษกอ น (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
คา ภาระตดิ พนั ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ผูพทิ กั ษก อน (ม. ๓๔ (๘) ป.พ.พ.)
- คนเสมือนไรความสามารถ
รับให กรณที ี่มภี าระผูกพันอยู ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
เชน จาํ นอง ภาระจาํ ยอม ผูพิทักษก อน (ม. ๓๔ (๗) ป.พ.พ.)
สิทธิเกบ็ กิน เปน ตน
- คน เ ส มื อ น ไร ควา ม
สามารถรับใหโดยมีเงอ่ื นไข
หรือคาภาระติดพัน เชน
รับใหโ ดยมีเง่ือนไขหามขาย,
รับใหแลวจดทะเบียนสิทธิ
เก็บกนิ เปน ตน

๔. กรรมสทิ ธิ์รวม
- คนเสมอื นไรค วามสามารถ ทําไดโดยตองไดรับความยินยอมจาก
ใหถอื กรรมสทิ ธ์ริ วม ผูพิทักษก อน (ม. ๓๔ (๖) ป.พ.พ.)


Click to View FlipBook Version