The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการสอบสวนจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (ปี 2561)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

442

และ (๔) ตอ งนําเงนิ ภาษีท่ีตนมีหนา ท่ีตอ งหักไปสง ณ ท่ีวาการอําเภอ
ภายในเจด็ วนั นบั แตวันท่ีจายเงนิ ไมว าตนจะไดหักภาษีไวแ ลว หรือไม

ภาษีท่ีคํานวณหักไวตามมาตรา ๕๐ (๕) และ (๖)
ใหผูมีหนาที่หักภาษีนําสงตอพนักงานเจาหนาท่ีผูรับจดทะเบียนสิทธิ
และนิตกิ รรมในขณะทมี่ กี ารจดทะเบียน และหา มพนกั งานเจา หนา ที่
ลงนามรับรู ยอมใหทําหรือบันทึกไวจนกวาจะไดรับเงินภาษีท่ีนําสงไว
ครบถวนถูกตองแลว และในกรณที ่ีไมมกี ารจดทะเบยี นสทิ ธิและนิตกิ รรม
ใหนาํ สงตามวรรคหนึ่ง

ภาษีหัก ณ ที่จาย ตามวรรคสองใหสงเปนรายได
แผนดินตามระเบยี บทีร่ ัฐมนตรีกาํ หนด

มาตรา ๖๓ บุคคลใดถูกหักภาษีไว ณ ท่ีจาย และ
นาํ สงแลวเปนจาํ นวนเกนิ กวา ท่ีควรตองเสียภาษีตามสวนน้ี บุคคลนั้น
มสี ิทธิไดรบั เงินจํานวนที่เกินนั้นคืนแตตองย่ืนคํารองตอเจาพนักงาน
ประเมินภายใน ๓ ป นบั แตว นั สุดทา ยแหงปซ่งึ ถกู หักภาษเี กนิ ไป
 ประกาศกระทรวงการคลัง วา ดว ยการแตงตง้ั เจา พนักงาน (ฉบบั ท่ี ๑๐)

เรอื่ ง แตง ตง้ั เจาพนักงานประเมนิ ตามประมวลรษั ฎากร
กํ าหนดให พนั กงานเจ าหน าท่ี ผู รั บจดทะเบี ยนสิ ทธิ และนิ ติ ก ร ร ม
เก่ียวกับอสังหาริมทรัพย เปนเจาพนกั งานประเมนิ ตามมาตรา ๑๖
แหง ประมวลรษั ฎากร เฉพาะในกรณีที่เกย่ี วกบั การจดั เก็บภาษเี งินได
จากการขายอสังหาริมทรัพย โดยเร่ิมใชบังคับต้ังแตวันท่ี ๒๗
กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๒๕ เปน ตน ไป
 คําสั่งกรมสรรพากรท่ี ป. ๑๐๐/๒๕๔๓ ลงวันท่ี ๒๔
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓ เรื่อง การเสียภาษีเงินไดบุคคล
ธรรมดาและอากรแสตมป กรณี การขาย การโอนกรรมสทิ ธหิ์ รือ
สิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย (เวียนโดยหนังสือกรมท่ีดิน
ที่ มท ๐๗๒๘/ว ๓๑๒๒๒ ลงวนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔)

443

ขอ ๒ คําวา “ขาย” ในการจัดเก็บภาษีเงินได
หมายความรวมถึง ขายฝาก แลกเปลีย่ น ให โอนกรรมสิทธิห์ รือ
สิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยไมวาดวยวิธีใด และไมวาจะมี
คา ตอบแทนหรอื ไม ตามมาตรา ๓๙ แหง ประมวลรษั ฎากร แตไมร วมถงึ

(๑) การขาย แลกเปลี่ยน ให โอนกรรมสิทธิ์หรือ
สิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยใหแกสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
ท่ีมใิ ชบ รษิ ัทหรอื หางหนุ สวนนติ บิ ุคคลในกรณดี งั ตอไปน้ี

(ก) การให การโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง
ในอสงั หารมิ ทรัพยโดยไมมคี าตอบแทน

(ข) การแลกเปล่ียนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครอง
ในอสังหาริมทรัพยกับสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มิใชบริษัทหรือ
หา งหนุ สวนนติ ิบุคคลเฉพาะในกรณที ่ีสว นราชการหรือรัฐวิสาหกิจนั้น
มิไดมีการจายคาตอบแทนเปนอยางอืน่ นอกจากอสังหาริมทรัพย
ที่แลกเปลย่ี นน้ัน

(๒) การโอนโดยทางมรดกใหแกทายาท ซ่ึงกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย

ขอ ๓ ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา หมายถึง
บคุ คลธรรมดา ผูถึงแกความตาย กองมรดกทีย่ ังไมไดแบง หางหุนสวน
สามญั หรอื คณะบคุ คลทมี่ ใิ ชน ติ บิ ุคคล

ขอ ๔ การขายอสังหาริมทรัพย กรณีท่ีมีการ
ถือกรรมสิทธ์ิรวม ผูม ีหนาทีเ่ สียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาตามขอ ๓
มหี นาท่ตี องเสยี ภาษี ดงั น้ี

(๑) กรณีการถือกรรมสิทธิ์รวมเกิดขึ้นเนือ่ งจากการ
ไดรับมรดก การใหโดยเสนหา การครอบครองปรปกษ หรือจากการท่ี
เจาของอสังหาริมทรัพยใหบุคคลอืน่ เขาถือกรรมสิทธิร์ วมในภายหลัง
ใหบ ุคคลแตละคนทถ่ี ือกรรมสิทธร์ิ วมเสยี ภาษีเงินไดในฐานะบคุ คลธรรมดา

444

โดยแยกเงินไดตามสวนของแตละคนที่มีสวนอยูใ นอสังหาริมทรัพย
ท่ีถอื กรรมสทิ ธิ์รวม

(๒) กรณีการถือกรรมสิทธิร์ วมเกิดขึน้ เนือ่ งจากการทํา
นิติกรรมซื้อขาย ขายฝาก หรือแลกเปลี่ยน โดยเขาถือกรรมสิทธิ์
รวมพรอ มกนั ใหเสยี ภาษีเงนิ ไดใ นฐานะหา งหุนสวนสามัญหรือคณะบุคคล
ทีม่ ิใชนิติบุคคล แตหากไมไดมีการเขาถือกรรมสิทธิร์ วมพรอมกัน
ใหบุคคลแตละคนที่ถอื กรรมสทิ ธ์ิรวมเสียภาษเี งินไดใ นฐานะบคุ คลธรรมดา
โดยแยกเงินไดตามสวนของแตละคนทีม่ ีสวนอยูในอสังหาริมทรัพย
ท่ถี ือกรรมสิทธ์ิรวม

ขอ ๕ การคํานวณภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจากการขาย
อสังหาริมทรัพย ใหคํานวณจากราคาขายอสังหาริมทรัพยที่เจาพนักงาน
ประเมินกําหนดขึน้ ในกรณีโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยโดยมีหรือไมมีคาตอบแทน ไมวาราคาที่ซ้ือขายกัน
ตามปกติในทองตลาดของอสังหาริมทรัพยนัน้ จะเปนอยางไรก็ตาม
โดยถือตามราคาประเมินทุนทรัพยเพื่อเรียกเก็บคาธรรมเนียม
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน ซ่ึงเปน
ราคาที่ใชอยูใ นวันทีม่ ีการโอนนั้น ตามมาตรา ๔๙ ทวิ แหงประมวล
รษั ฎากร

ขอ ๖ วิธีปฏิบัติในการเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา
ผจู ายเงินไดใหแ กผ รู ับซ่ึงขายอสงั หารมิ ทรัพยมีหนาที่หักภาษี ณ ท่ีจาย
และนาํ สงเงนิ ภาษีตอพนักงานเจาหนา ท่ผี รู ับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ในขณะทมี่ กี ารจดทะเบยี น ดงั น้ี

(๑) สําหรับอสังหาริมทรัพยอันเปนมรดกหรืออสังหาริมทรัพย
ท่ีไดรับจากการใหโดยเสนหา ใหหักคาใชจายรอยละ ๕๐ ของเงินได
เหลือเทาใดถือเปนเงินไดสุทธิแลวหารดวยจํานวนปที่ถือครองไดผลลัพธ
เปนเงินเทาใด ใหคํานวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได ไดเทาใดใหคูณดวย
จํานวนปท ถ่ี อื ครอง ผลลัพธท ่ไี ดเ ปนเงนิ ภาษที ่ีตอ งเสีย

445

(๒) สําหรับอสังหาริมทรัพยที่ไดมาโดยทางอื่นนอกจาก
(๑) ใหหักคาใชจายเปนการเหมาตามทีก่ ําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการกําหนดคาใชจายทีย่ อมใหหัก
จากเงินไดพึงประเมินจากการขายอสังหาริมทรัพย เหลือเทาใดถือเปน
เงินไดสุทธิแลวหารดวยจํานวนปที่ถือครองไดผลลัพธเปนเงินเทาใด
ใหคํานวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได ไดเทาใดใหคูณดวยจํานวนปที่ถือครอง
ผลลัพธท ี่ไดเ ปนเงินภาษีทต่ี อ งเสยี

คําวา “จํานวนปที่ถือครอง” ตามวรรคหนึง่ (๑)
และ (๒) หมายถึง จํานวนปนับตั้งแตปที่ไดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพย ถึงปทีโ่ อนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพยนั้น ถาเกินสิบปใหนับเพียงสิบปและ
เศษของปใ หน ับเปนหนึ่งป

ก ร ณี ก า ร โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธิ ์ห รื อ สิ ท ธิ ค ร อ บ ค ร อ ง ใ น
อสงั หาริมทรัพยโ ดยไมมคี าตอบแทน ถอื วาผูโ อนเปนผูจายเงินได ผูโอน
มีหนาที่หักภาษี ณ ท่ีจาย และนําสงเงินภาษีตอพนักงานเจาหนาที่
ผูร ับจดทะเบียนสิทธิและนติ ิกรรมในขณะท่ีมีการจดทะเบียน โดยถือปฏิบัติ
ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการตามวรรคหนงึ่

ภาษีหัก ณ ทีจ่ าย ตาม (๑) และ (๒) เฉพาะกรณี
เงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยทีไ่ ดมาโดยมิไดมุง ในทางการคา
หรือหากําไรที่ตองชําระในขณะที่มีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ณ สํานักงานที่ดิน เมื่อคํานวณภาษีแลวตองไมเกินรอยละ ๒๐
ของราคาขาย

ขอ ๗ ผูม ีเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยตามขอ ๖
จ ะ เ ล ือ ก เ ส ีย ภ า ษ ีโ ด ย ไ ม นํ า ไ ป ร ว ม คํ า น ว ณ ภ า ษ ีก ับ เ ง ิน ไ ด อื ่น
ตามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) แหง ประมวลรษั ฎากร ไดด งั น้ี

(๑) เงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยอันเปนมรดก
อสังหาริมทรัพยที่ไดรับจากการใหโดยเสนหา หรืออสังหาริมทรัพยที่
ไดมาโดยมิไดมุง ในทางการคาหรือหากําไร ซ่ึงไดถูกหักภาษี ณ ท่ีจาย
นาํ สงไวแ ลว

446

(๒) เงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยที่ไดมาโดยมิได
มุงในทางการคาหรือหากําไร แตไดย่ืนรายการแสดงเงินไดจากการขาย
อสงั หารมิ ทรพั ยดงั กลาว และคํานวณภาษีโดยหักคาใชจายตามความ
จาํ เปน และสมควร โดยจํานวนภาษีทีค่ ํานวณไดตองไมเกินรอยละ ๒๐
ของราคาขาย และเมือ่ นําภาษีหัก ณ ทีจ่ าย ตามขอ ๖ มาหักออกแลว
มีภาษีท่ชี าํ ระไวเ กนิ ผูม เี งินไดมสี ิทธขิ อคนื ภาษี

เ งิ น ไ ด จ า ก ก า ร ข า ย อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย ต า ม ว ร ร ค ห นึ ่ ง
หมายความรวมถึงเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยทีไ่ มเขาลักษณะ
เปนการขายอสังหาริมทรัพย ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความใน
ประมวลรัษฎากร วาดวยการขายอสังหาริมทรัพยที่เปนทางคา
หรือหากําไร (ฉบับท่ี ๓๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึง่ ไดถูกหักภาษี ณ ท่ีจาย
และนาํ สง ตามขอ ๖ ไวแ ลว

ขอ ๘ ผูม ีเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพย
ตามมาตรา ๔ (๖) แหงพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รัษฎากร วาดวยการขายอสังหาริมทรัพยทีเ่ ปนทางคาหรือหากําไร
(ฉบับท่ี ๓๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ท่ีไดกระทําภายในหาปนับแตวันที่
ไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยนั้น ซึ่งไดถูกหักภาษี ณ ที่จาย นําสง
ตามขอ ๖ และไดเสียภาษีธุรกิจเฉพาะไวแลว เมื่อถึงกําหนด
ย่ืนรายการเพ่ือเสียภาษีเงินได ใหไดรับยกเวนไมตองนําเงินไดจากการ
ขายอสังหาริมทรัพยดังกลาวมารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได
เฉพาะกรณีผูม ีเงินไดดังกลาว ไมขอรับเงินภาษีที่ถูกหักไวนัน้ คืน
หรือไมข อเครดิตเงินภาษีที่ถกู หกั ไวน ั้นไมวาทง้ั หมดหรอื บางสว น

ขอ ๙ ผูมีเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยที่ไดมา
โดยมุงในทางการคาหรือหากําไร ซึ่งไดถูกหักภาษี ณ ที่จาย
และนําสงไวตามขอ ๖ ตองนําเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยมารวม
คาํ นวณภาษีกับเงินไดอ่ืนตามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) แหงประมวล
รษั ฎากร โดยตอ งคํานวณหักคา ใชจ ายตามความจาํ เปน และสมควร

447

ขอ ๑๐ การโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรพั ยด งั ตอ ไปนี้ ไมอยใู นบงั คบั ตองเสยี ภาษเี งินไดบคุ คลธรรมดา

(๑) การโอนโดยทางมรดกซึง่ กรรมสิทธิห์ รือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพยใหแกทายาท ไมวาจะเปนทายาท
โดยธรรมหรือทายาทโดยพินัยกรรม

(๒) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยใหแกบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของตนเองโดยไมมี
คา ตอบแทน บุตรชอบดว ยกฎหมายดังกลา วไมรวมถงึ บุตรบญุ ธรรม

(๓) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสงั หาริมทรพั ยอ ันเปน มรดกหรอื ท่ไี ดรบั จากการใหโ ดยเสนหาที่ตั้งอยู
นอกเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล หรือเมืองพัทยา
หรือการปกครองทองถ่ินอ่ืนท่ีมีกฎหมายจัดต้ังข้ึนโดยเฉพาะ ท้ังน้ี
เฉพาะการโอนในสว นทไ่ี มเ กิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดปภ าษีนัน้

(๔) การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินใหแกสวนราชการ
หรือรัฐวิสาหกิจที่มิใชบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล เฉพาะกรณี
ทีผ่ ูโอนไดรับคาตอบแทนเปนสิทธิในการใชทรัพยสินทีโ่ อนนั้น
เพอ่ื กิจการผลิตสินคาของตนเอง

(๕) การเวนคืนอสังหาริมทรัพยตามกฎหมายวาดวย
การเวนคืนอสังหาริมทรัพย ทั้งนี้ เฉพาะทีด่ ินที่ตองเวนคืนและ
อสังหารมิ ทรัพยอ่นื บนที่ดินท่ีตอ งเวนคืน

(๖) กรณีสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยตองตกไป
เปนของบุคคลอืน่ ตามมาตรา ๑๓๖๗ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย หรือโดยการถูกแยงการครอบครองและมิไดฟองคดี
เพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองนัน้ ภายในหนึง่ ปนับแตเวลาถูกแยงการ
ครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๕ แหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย หรือโดยการสละเจตนาครอบครองหรือไมยึดถืออสังหาริมทรัพย
นั้นตอไป ซึง่ เปนเหตุใหการครอบครองสิน้ สุดลงตามมาตรา ๑๓๗๗

448

แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เจาของสิทธิครอบครองเดิม
ไมอยใู นขายตอ งเสียภาษเี งินได

อสังหาริมทรัพยที่บุคคลอืน่ ไดสิทธิครอบครองไป
ตามวรรคหน่ึง เปนเงินไดพึงประเมินตามมาตรา ๓๙ แหงประมวล
รษั ฎากร ผไู ดส ิทธิครอบครองจะตองนํามาคํานวณภาษเี งินไดต ามปกติ

(๗) กรณีกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพยตองตกไปเปน
กรรมสทิ ธข์ิ องบคุ คลอน่ื โดยการครอบครองปรปกษ ตามมาตรา ๑๓๘๒
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เจาของกรรมสิทธิ์เดิมไมอยู
ในขา ยตอ งเสยี ภาษเี งนิ ได

อสังหาริมทรัพยทีไ่ ดเปนกรรมสิทธิ์โดยการครอบครอง
ปรปกษตามวรรคหน่ึงเปนเงินไดพึงประเมินตามมาตรา ๓๙ แหงประมวล
รัษฎากรของผูไดกรรมสิทธิ์ ซึ่งจะตองนํามาคํานวณภาษีเงินได
ตามปกติ

(๘) การแบงสินสมรสที่เปนอสังหาริมทรัพยซึ่งมีราคา
ของแตละฝายเทากัน ไมถือเปนการ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙
แหงประมวลรัษฎากร ไมตอ งเสียภาษเี งนิ ได

(๙) การแกไขหรือการเพ่ิมเติมช่ือคูสมรสในเอกสารสิทธิ
เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยซึ่งเปนสินสมรส ไมถือเปนการ “ขาย”
ตามมาตรา ๓๙ แหง ประมวลรษั ฎากร ไมต อ งเสยี ภาษีเงินได

(๑๐) กรณีครอบครองอสังหาริมทรัพยทีอ่ ยูใกลเคียงกัน
เนื้อที่เทากัน แตถือโฉนดที่ดินไวผิดสับเปลี่ยนกัน เมื่อไดขอให
เจาพนักงานที่ดินแกไขชือ่ ในโฉนดใหเปนการถูกตองแลวโดยมิได
มีเจตนาแลกเปล่ียนท่ีดินกัน ไมถือเปนการ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙
แหง ประมวลรษั ฎากร ไมตอ งเสยี ภาษเี งนิ ได

(๑๑) กรณีปรากฏหลักฐานชัดแจงวาเปนตัวแทน
ถือกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยแทนตัวการ
เมื่อตัวแทนจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธิครอบครองใน

449

อสังหาริมทรัพยคืนใหแกตัวการโดยไมไดรับเงินหรือประโยชนอื่นใด
เปนการตอบแทนการโอนดังกลาว ไมถือเปนการ “ขาย” ตามมาตรา ๓๙
แหง ประมวลรษั ฎากร ไมตอ งเสยี ภาษเี งินได

ขอ ๑๑ การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยในกรณีดังตอไปน้ี พนักงานเจาหนาทีไ่ มตองกําหนด
จาํ นวนเงินเพิม่ ข้ึนในการจัดเกบ็ อากรแสตมป ตามมาตรา ๑๒๓ ตรี
แหง ประมวลรษั ฎากร

(๑) กรณีการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยโดยการขายใหแกสวนราชการ องคการของรัฐบาล
ตามความในมาตรา ๒ แหงประมวลรัษฎากร เทศบาล สุขาภิบาล
องคการบริหารราชการสวนทองถิน่ หรือรัฐวิสาหกิจ ใหถือวาจํานวน
เงินทีผ่ ูจายเงินดังกลาวจายนัน้ เปนจํานวนเงินทีไ่ ดรับจากการขาย
อสังหารมิ ทรัพยนนั้ ตามปกติแลว

(๒) กรณีการขายทอดตลาดอสังหาริมทรัพย ซ่ึงสวน
ราชการหรือหนวยงานตามท่ีกลาวใน (๑) เปนผูทอดตลาด ใหถือวา
จํานวนเงินคาขายทอดตลาดนั้นเปนจํานวนเงินทีไ่ ดรับจากการขาย
อสงั หาริมทรพั ยน ัน้ ตามปกติแลว

(๓) กรณีที่มีการเวนคืนอสังหาริมทรัพยตามกฎหมาย
วาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพยใหถือวาจํานวนเงินคาทดแทน
จากการเวนคืนดังกลาวเปนจํานวนเงินท่ีไดรับจากการขายอสังหาริมทรัพย
นัน้ ตามปกติแลว

ขอ ๑๒ ระเบียบ ขอบังคับ คําสัง่ หนังสือตอบขอหารือ
หรือทางปฏิบตั ใิ ดทขี่ ดั หรอื แยง กบั คาํ สง่ั นีใ้ หเ ปน อันยกเลกิ

๒. ภาษเี งนิ ไดน ติ บิ คุ คลหกั ณ ทจ่ี า ย กรณีนติ บิ ุคคล
ตามมาตรา ๓๙ แหงประมวลรัษฎากร ไดแก บริษัทหรือหางหุน สวน
นิ ติ บุ คคลเป นผู ข ายหรื อผู โ อนกรรมสิ ทธิ์หรื อสิ ทธิ ครอบครอง
ในอสังหาริมทรัพย ตามประมวลรัษฎากรกําหนดใหผูจ ายเงินได

450

หกั ภาษีเงนิ ไดไ ว ณ ท่จี า ยในอัตรารอยละ ๑ ของราคาขาย (ทนุ ทรัพย
ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม) หรือราคาประเมินทุนทรัพย
ในการเรยี กเกบ็ คา ธรรมเนยี มตามประมวลกฎหมายทด่ี ิน แลวแตจํานวน
เงินใดจะสูงกวากัน (หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๒๐๖๒๗
ลงวันท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๓๔) แลวนําสงพนักงานเจาหนาทีผ่ ูรับ
จดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรมในขณะที่มีการจดทะเบียน
• ประมวลรัษฎากรเฉพาะมาตราที่เก่ียวของกับการเรียกเก็บภาษี
เงนิ ไดน ิติบคุ คลหัก ณ ท่ีจา ย ในหนา ทข่ี องเจาพนักงานท่ดี นิ

มาตรา ๓๙ “บริษัทหรือหางหุน สวนนิติบุคคล”
หมายความวาบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลทีต่ ัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย
หรือทีต่ งั้ ข้นึ ตามกฎหมายของตางประเทศ และใหห มายความรวมถงึ

(๑) กิจการซ่ึงดําเนินการเปนทางคาหรือหากําไรโดยรัฐบาล
ตา งประเทศ องคการของรัฐบาลตางประเทศ หรือนิติบุคคลอืน่ ทีต่ ัง้ ข้ึน
ตามกฎหมายของตา งประเทศ

(๒) กิจการรวมคา ซึง่ ไดแกกิจการทีด่ ําเนินการรวมกัน
เปนทางคาหรือหากําไรระหวางบริษัทกับบริษัท บริษัทกับหางหุนสวน
นติ บิ ุคคล หา งหุนสวนนิติบุคคลกับหางหุน สวนนิติบุคคล หรือระหวาง
บริษัท และ/หรือหางหุน สวนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา คณะบุคคล
ทีม่ ิใชน ิตบิ คุ คล หางหนุ สวนสามญั หรอื นติ ิบุคคลอ่ืน

(๓) มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได
แ ต ไ ม ร ว ม ถ ึง ม ูล น ิธ ิห ร ือ ส ม า ค ม ที ่ร ัฐ ม น ต ร ีป ร ะ ก า ศ กํ า ห น ด
มาตรา ๔๗ (๗) (ข)

(๔) นิติบุคคลที่อธิบดีกําหนด โดยอนุมัติรัฐมนตรี
และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๖๙ ทวิ ภายใตบังคับมาตรา ๗๐ ถารัฐบาล
องคการของรัฐบาล เทศบาล สุขาภิบาลหรือองคการบริหารราชการ
สวนทองถน่ิ อน่ื เปนผูจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา ๔๐ ใหกับบริษัท
หรือหางหุน สวนนิติบุคคลใด ใหคํานวณหักภาษีเงินไดไว ณ ทีจ่ าย

451

ในอัตรารอยละ ๑ ภาษีทีห่ กั ไวน ใ้ี หถ ือเปน เครดติ ในการคํานวณภาษี
เงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตามรอบระยะเวลาบัญชี
ท่ีหักไวนั้น ในการนี้ใหนํามาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔
มาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๖๙ ตรี ใหบ คุ คล หางหุนสวน บรษิ ทั สมาคม
หรอื คณะบุคคลผูจ ายเงนิ ไดพ งึ ประเมินตามมาตรา ๔๐ (๘) เฉพาะท่ี
จายใหกับบริษัทหรือหางหุน สวนนิติบุคคลซึง่ ขายอสังหาริมทรัพย
คํานวณหักภาษีเงินไดไว ณ ที่จายในอัตรารอยละ ๑ แลวนําสง
พนักงานเจาหนาทีผ่ ูร ับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในขณะที่มีการ
จดทะเบียนและใหนําความในมาตรา ๕๒ วรรคสอง และวรรคสาม
มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม

ภาษีทีห่ ักไวและนําสงตามวรรคหน่ึง ใหถือเปนเครดิต
ในการคาํ นวณภาษีเงินไดของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ถูก
หักภาษีตามรอบระยะเวลาบัญชที ห่ี กั ไวน นั้
• ภาษธี ุรกจิ เฉพาะ

กรมสรรพากรไดม กี ารปรบั ปรงุ การเสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับ
การขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร ตามพระราชบัญญัติ
แกไขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับท่ี ๓๔) พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงผลของ
กฎหมายดังกลาว เปนเหตุใหผูม ีหนาที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับ
การขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร ตามมาตรา ๙๑/๒ (๖)
แหงประมวลรัษฎากร มีหนาที่ตองยืน่ แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจ
เฉพาะในขณะจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย
พรอมกบั ชาํ ระภาษีตอพนกั งานเจา หนาทผ่ี ูรับจดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรม
และกรมทด่ี นิ ตอ งเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะเพ่ือกรมสรรพากรตามกฎหมาย
ดังกลาว ท้ังน้ี วันเริม่ ใชบังคับในการเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะของ
กรมที่ดินเพือ่ กรมสรรพากรเริม่ ใชบังคับสําหรับการจดทะเบียนสิทธิ
และนติ ิกรรมต้งั แตวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๒ เปน ตน มา

452

• ประมวลรษั ฎากรเฉพาะมาตราทีเ่ กีย่ วของกับการเรียกเกบ็ ภาษีธุรกิจ
เฉพาะ ในหนา ทขี่ องเจาพนักงานที่ดิน

มาตรา ๙๑ ภาษธี ุรกิจเฉพาะเปนภาษีอากรประเมิน
มาตรา ๙๑/๑ ในหมวดน้ี
(๑) “รายรับ” หมายความวา เงิน ทรัพยสิน คาตอบแทน
หรือประโยชนใด ๆ อันมีมูลคาที่ไดรับหรือพึงไดรับไมวาในหรือ
นอกราชอาณาจกั รอนั เนื่องมาจากการประกอบกจิ การ
(๒) “มูลคา” หมายความวา ราคาตลาดของทรัพยสิน
ของกจิ การ ของคา ตอบแทน หรือของประโยชนใด ๆ
(๓) “ราคาตลาด” หมายความวา ราคาท่ีซื้อขายกัน
หรือที่คิดคาบริการกันตามความเปนจริงทัว่ ไปในขณะใดขณะหนึ่ง
ในกรณีที่ราคาตลาดมีหลายราคาหรือไมอาจทราบราคาตลาดได
แนนอน ใหอธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศใชเกณฑ
คาํ นวณเพอ่ื ใหไ ดราคาตลาดเปน มูลคาของสินคาหรือบรกิ ารได
(๔) “ขาย” หมายความรวมถงึ สัญญาจะขาย ขายฝาก
แลกเปลยี่ น ให ใหเชาซอ้ื หรอื จําหนายจายโอนไมวาจะมีประโยชน
ตอบแทนหรอื ไม
ใหนําบทนิยามคําวา “บุคคล” “บุคคลธรรมดา”
“คณะบุคคลทีม่ ิใชนิติบุคคล” “นิติบุคคล” “ตัวแทน” “สถาน
ประกอบการ” และ “เดอื นภาษี” ตามมาตรา ๗๗/๑ มาใชบ งั คับ
(มาตรา ๗๗/๑ ในหมวดน้ี เวนแตขอความจะแสดงให
เหน็ เปนอยา งอนื่ )
(๑) “บุคคล” หมายความวา บคุ คลธรรมดา คณะบุคคล
ทม่ี ิใชน ิติบุคคลหรือนติ ิบุคคล
(๒) “บุคคลธรรมดา” หมายความรวมถงึ กองมรดก
(๓) “คณะบุคคลทีม่ ิใชนิติบุคคล” หมายความวา
หางหุน สวนสามัญ กองทุน หรือมูลนิธิทีม่ ิใชนิติบุคคล และให

453

หมายความรวมถึงหนวยงาน หรือกิจการของเอกชนที่กระทําโดย
บุคคลธรรมดาตั้งแตสองคนขึ้นไปอันมิใชนิติบุคคล

(๔) “นิติบุคคล” หมายความวา บริษัทหรือหาง
หุนสวนนิติบุคคลตามมาตรา ๓๙ องคการของรัฐบาลตามมาตรา ๒
สหกรณ และองคก รอ่ืนท่กี ฎหมายกําหนดใหเ ปนนติ บิ คุ คล

……….ฯลฯ……….
(๘) “ขาย” หมายความวา จําหนาย จาย โอนสินคา
ไมวาจะมปี ระโยชนห รือคา ตอบแทนหรือไม ……….)
มาตรา ๙๑/๒ ภายใตบังคบั มาตรา ๙๑/๔ การประกอบ
กิจการดังตอไปนีใ้ นราชอาณาจักรใหอยูใ นบังคับตองเสียภาษีธุรกิจ
เฉพาะตามบทบัญญัติในหมวดน้ี

……….ฯลฯ……….
(๖) การขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร
ไมวาอสังหาริมทรัพยน้ันจะไดมาโดยวิธีใดก็ตาม ทั้งน้ี เฉพาะท่ีเปนไป
ตามหลกั เกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขตามทก่ี าํ หนดโดยพระราชกฤษฎกี า

……….ฯลฯ……….
มาตรา ๙๑/๕ ฐานภาษีสําหรับการประกอบกิจการ
ตามบทบัญญตั ใิ นหมวดนี้ ไดแ ก รายรบั ดังตอไปน้ี ทีผ่ มู ีหนาท่ีเสียภาษี
ไดรบั หรือพงึ ไดรับเน่ืองจากการประกอบกจิ การ

……….ฯลฯ……….
(๖) สําหรับกจิ การขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือ
หากําไรตามมาตรา ๙๑/๒ (๖) รายรับจากการประกอบกิจการ
คือรายรับกอนหักรายจายใด ๆ ท้ังส้ิน

……….ฯลฯ……….
มาตรา ๙๑/๖ อัตราภาษีธุรกจิ เฉพาะมดี ังตอ ไปน้ี

……….ฯลฯ……….
(๓) รอยละ ๓.๐ สําหรับรายรับตามมาตรา ๙๑/๕
นอกจากกรณตี าม (๑) และ (๒)

454

มาตรา ๙๑/๗ ใหบุคคลซึง่ ประกอบกิจการที่อยูภ ายใต
บงั คับของหมวดน้มี หี นา ที่เสยี ภาษตี ามบทบัญญตั ใิ นหมวดนี้

มาตรา ๙๑/๘ ใหผูม ีหนาทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ เสียภาษี
โดยคาํ นวณจากฐานภาษตี ามมาตรา ๙๑/๕ ในเดือนภาษีของผูม ีหนาที่
เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามอัตราภาษีทีก่ ําหนดไวตามมาตรา ๙๑/๖
แตผูม ีหนาที่เสียภาษีมีสิทธิอุทธรณการประเมินภาษีตามบทบัญญัติ
วา ดว ยการอทุ ธรณในสวน ๒ หมวด ๒ ลกั ษณะ ๒

……….ฯลฯ……….
(วรรคสาม) “ความในวรรคหนง่ึ และวรรคสองมใิ หใ ชบ งั คับ
แกผูม ีหนาที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการขายอสังหาริมทรัพย
เปน ทางคา หรอื หากาํ ไรตามมาตรา ๙๑/๒ (๖) และใหผูม ีหนาทีเ่ สียภาษี
กรณดี งั กลา วเสยี ภาษโี ดยคาํ นวณจากฐานภาษตี ามมาตรา ๙๑/๕ (๖)
ในขณะที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพยนัน้
ตามอัตราภาษีที่กําหนดไวในมาตรา ๙๑/๖ รวมทั้งมีสิทธิอุทธรณ
การประเมนิ ภาษตี ามบทบัญญัติวาดว ยการอุทธรณใ นสวน ๒ หมวด ๒
ลกั ษณะ ๒”
มาตรา ๙๑/๑๐ ใหผูม ีหนาทีเ่ สียภาษียืน่ แบบแสดง
รายการภาษีตามแบบทีอ่ ธิบดีกําหนดโดยใหยื่นเปนรายเดือนภาษี
พรอ มกับชําระภาษี ถามี ไมว าผูม ีหนา ทเ่ี สียภาษีจะมีรายรับในเดือน
ภาษหี รอื ไมก ต็ าม

……….ฯลฯ……….
(วรรคหา) “ความในวรรคหนึง่ ถึงวรรคสีม่ ิใหใชบังคับ
แกการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและการชําระภาษีของผูม ีหนาที่
เสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคา
หรือหากําไรตามมาตรา ๙๑/๒ (๖) และใหผูม ีหนาทีเ่ สียภาษี
กรณีดังกลาวย่ืนแบบแสดงรายการภาษีตามแบบท่ีอธิบดีกําหนดในขณะ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย พรอมกับ
ชาํ ระภาษตี อพนกั งานเจา หนาทผ่ี รู ับจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิติกรรมน้ัน

455

ในการชําระภาษีตามวรรคหา ใหกรมทีด่ ินเรียกเก็บ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ เพือ่ กรมสรรพากรและหามพนักงานเจาหนาที่
ลงนามรับรู ยอมใหทําหรือบันทึกไวจนกวาจะไดรับเงินภาษีทีต่ อง
ชาํ ระใหค รบถวนถกู ตอ งแลว

ภาษีที่ไดชําระแลวตามวรรคหาใหสงเปนรายไดแผนดิน
ตามระเบียบทรี่ ัฐมนตรีกาํ หนด

มาตรา ๙๑/๑๑ การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ ใหกระทําได
ตามเง่อื นไขดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ใหผูม ีหนาที่เสียภาษีมีสิทธิยื่นคํารองขอคืนภาษี ภายใน
สามปนับแตว นั พน กาํ หนดเวลาย่นื แบบแสดงรายการภาษี

……….ฯลฯ……….
• หลกั เกณฑก ารจัดเกบ็ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ

หนงั สอื กรมสรรพากร ดวนท่ีสดุ ท่ี กค ๐๘๑๑/๐๐๐๘๑
ลงวนั ท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๒ เวียนโดยหนังสือกรมทีด่ ิน ดวนทีส่ ุด ท่ี
มท ๐๗๑๐/ว ๐๐๙๐๕ ลงวันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒ ไดซอม
ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับการขาย
อสังหาริมทรัพยเ ปนทางคาหรือหากําไร ตามพระราชกฤษฎีกาออกตาม
ความในประมวลรัษฎากร วา ดว ยการขายอสงั หาริมทรพั ยเปน ทางคา
หรอื หากาํ ไร (ฉบบั ท่ี ๓๔๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ไวดังน้ี

๑. คําวา “ขาย” ในการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ
หมายความรวมถึง สัญญาจะขาย ขายฝาก แลกเปล่ียน ให ใหเชาซื้อ
หรือจําหนายจายโอน ไมวาจะมีประโยชนตอบแทนหรือไม
ตามมาตรา ๙๑/๑ (๔) แหง ประมวลรษั ฎากร

(๑) กรณีเจาของอสังหาริมทรัพยยอมใหบุคคลอื่น
เขาถือกรรมสิทธิ์รวมในอสังหาริมทรัพยโดยไดรับคาตอบแทนหรือไม
ก็ตามถือเปนการ “ขาย” ตามมาตรา ๙๑/๑ (๔) แหงประมวล
รษั ฎากร ตามสดั สวนท่ีใหบ คุ คลอน่ื เขา ถอื กรรมสทิ ธร์ิ วม

456

(๒) กรณีคูสมรสฝายใดยกกรรมสิทธิ์ในสินสมรส
ในสวนของคูสมรสฝายนัน้ ใหแกคูส มรสอีกฝายหนึง่ ถือเปนการขาย
ตามมาตรา ๙๑/๑ (๔) แหง ประมวลรษั ฎากร ตามสัดสว นที่ยกให

(๓) กรณีการไดกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพยโดยการ
ครอบครองปรปกษ ตามมาตรา ๑๓๘๒ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย ยังถอื ไมไดวา เปน การขายตามมาตรา ๙๑/๑ (๔) แหงประมวล
รษั ฎากร เจาของกรรมสทิ ธเ์ิ ดิมจึงไมใ ชผูขายอสังหารมิ ทรัพยแตอ ยางใด

๒. คําวา “นิติบุคคล” ตามมาตรา ๗๗/๑ แหงประมวล
รษั ฎากร หมายความวา

(๑) บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ซึ่งไดแก บริษัท
หรือหางหุนสวนนิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย หรือท่ีตั้งข้ึน
ตามกฎหมายของตา งประเทศ

(๒) กิจการซง่ึ ดาํ เนนิ การเปน ทางคา หรอื หากาํ ไรโดยรัฐบาล
ตา งประเทศ องคการของรัฐบาลตางประเทศ หรือนิติบุคคลอืน่ ทีต่ ัง้ ข้ึน
ตามกฎหมายของตางประเทศ

(๓) กิจการรวมคา ซ่ึงไดแก กิจการทีด่ ําเนินการ
รวมกันเปนทางคาหรือหากําไรระหวางบริษัทกับบริษัท บริษัทกับ
หางหุน สวนนิติบุคคล หางหุน สวนนิติบุคคลกับหางหุนสวนนิติบุคคล
หรือระหวางบริษัทและ/หรือหางหุน สวนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา
คณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล หางหุนสวนสามญั หรอื นิตบิ คุ คลอน่ื

(๔) มูลนิธิหรือสมาคม
(๕) องคการของรัฐบาลตามมาตรา ๒ แหงประมวล
รัษฎากร ซึ่งไดแกองคการของรัฐตามกฎหมายวาดวยการจัดตัง้
องคการของรัฐบาล และกิจการของรัฐตามกฎหมายที่จัดตัง้ กิจการน้ัน
และหมายความรวมถึงหนวยงานธุรกิจทีร่ ัฐบาลเปนเจาของ ซ่ึงไมมี
ฐานะเปนนติ บิ คุ คลดว ย
(๖) สหกรณ
(๗) องคก รอนื่ ทกี่ ฎหมายกําหนดใหเ ปนนิติบคุ คล

457

๓. การขายอสังหาริมทรัพยท่ีตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
ไดแก การขายอสังหาริมทรัพยเฉพาะท่ีตองจดทะเบียนสิทธิและ
นิตกิ รรม ดังตอไปน้ี

(๑) การขายอสังหาริมทรพั ยข องผซู งึ่ ไดร ับอนญุ าตใหท าํ
การจดั สรรทีด่ นิ ตามกฎหมายวา ดว ยการควบคุมการจดั สรรที่ดิน

(๒) การขายหองชุดของผูประกอบกิจการซ่ึงเปน
ผจู ดทะเบียนอาคารชดุ ตามกฎหมายวาดว ยอาคารชดุ

(๓) การขายอสังหาริมทรัพยที่เปนอาคารที่สรางข้ึน
เพ่อื ขายรวมถึงการขายทีด่ นิ อันเปน ทตี่ ้ังของอาคารดังกลาว

(๔) การขายอสังหาริมทรัพยท ไี่ มเขาลกั ษณะตาม (๑)
(๒) หรอื (๓) เฉพาะกรณีที่มีการแบงขายหรือแบงแยกไวเพื่อขาย
โดยไดจ ดั ทําถนนหรือส่งิ สาธารณูปโภคอ่ืน หรือใหคาํ มน่ั วา จะจดั ใหมี
สงิ่ ดงั กลาว

(๕) การขายอสังหาริมทรัพยที่ผูขายมีไวในการประกอบ
กิจการเฉพาะของนติ ิบคุ คลตามมาตรา ๗๗/๑ แหงประมวลรัษฎากร
เวนแตกรณีที่บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ไดถูกสวนราชการ
องคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงมิใชบริษัทหรือหางหุนสวน
นิติบุคคล เวนคืนที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพยบนท่ีดินพรอมท่ีดิน ซ่ึงมี
สิทธทิ ่จี ะไดร ับเงนิ ทดแทนตามกฎหมายวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย
แตบ ริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลน้ันไมขอรับเงินคาทดแทนดังกลาว
การขายอสงั หารมิ ทรพั ยท่มี ีไวใ นการประกอบกิจการโดยการถูกเวนคืน
ดังกลาวไมต อ งเสียภาษธี ุรกิจเฉพาะ ท้ังนี้ ตามมาตรา ๓ แหงพระราช-
กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากร วาดว ยการยกเวนรัษฎากร
(ฉบบั ท่ี ๒๙๕) พ.ศ. ๒๕๓๙

(๖) การขายอสงั หารมิ ทรพั ยทไี่ มเขา ลกั ษณะตาม (๑)
(๒) (๓) (๔) หรือ (๕) ท่ไี ดกระทําภายในหาปนับแตวันท่ีไดมาซ่ึง
อสงั หารมิ ทรัพยน ั้น เวนแตจะเขาขอ ยกเวน ตามทกี่ ลาวใน ๔.

458

(ก) “วนั ทไี่ ดม า” ไดแ กว ันท่จี ดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธ์ิ
หรอื สทิ ธคิ รอบครองในอสังหาริมทรัพย

(ข) “การนับระยะเวลาการไดมา” ใหเริ่มนับระยะเวลา
ต้ังแตวันที่ไดมาจนถึงวันโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยน้ัน โดยการนับระยะเวลาใหนับตามมาตรา ๑๙๓/๕
แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย

ในกรณที ี่ท่ีดนิ และอาคารหรอื สิง่ ปลกู สรา งไดม าไมพรอมกัน
กําหนดเวลาหาปใหถือตามระยะเวลาการไดมาซ่ึงท่ีดิน หรืออาคาร
หรือสง่ิ ปลูกสรา งท่ไี ดมาภายหลงั

๔. การขายอสังหาริมทรัพยที่ไมเขาลักษณะเปนการขาย
อสงั หารมิ ทรพั ย ตาม ๓. (๑) ถงึ (๕) และเฉพาะกรณีที่เขาลกั ษณะ
ดังตอไปน้ี ไมตอ งเสียภาษีธรุ กจิ เฉพาะ

(๑) การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมายวาดวย
การเวนคนื อสงั หารมิ ทรัพย

(๒) การขายอสงั หาริมทรัพยท ไ่ี ดม าโดยทางมรดก
(ก) กรณีการขายอสังหารมิ ทรพั ยซึ่งเปน สนิ สมรส

ของผูตาย สวนของสินสมรสของคูสมรส (กึ่งหนึ่ง) ตองเสียภาษี
ธุรกิจเฉพาะ สวนของสินสมรส (อีกกึ่งหนึ่ง) ที่เปนมรดกไมตอง
เสียภาษธี รุ กจิ เฉพาะ เชน สามีและภริยาไมมีบุตรดวยกัน สามีถึง
แกความตาย ตอมาภริยาไดขายสินสมรสที่เปนอสังหาริมทรัพยไป
ทง้ั หมดภายใน ๕ ป นับแตวันท่ีไดมา สวนที่เปนของภริยา (กึ่งหน่ึง)
ตองเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ สวนทเี่ ปน มรดก (อีกก่ึงหน่ึง) ไมตองเสีย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ

(ข) กรณีผจู ัดการมรดกขายอสังหารมิ ทรพั ยท เ่ี ปน
มรดกท่ียงั ไมไ ดแบงถอื วา ทายาทหรือผรู บั พนิ ยั กรรมขายอสงั หารมิ ทรัพย
ท่ไี ดม าโดยทางมรดก

459

(๓) การขายอสังหารมิ ทรัพยท ีใ่ ชเปนสถานที่อยูอาศัย
อนั เปน แหลงสาํ คญั ที่ผูขายมชี อ่ื อยใู นทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวย
การทะเบียนราษฎร เปนเวลาไมนอยกวาหน่ึงปนับแตวันที่ไดมาซึ่ง
อสังหารมิ ทรัพยน้นั

(ก) กรณีผขู ายอสงั หาริมทรัพยม ชี อ่ื อยใู นทะเบยี นบาน
ตามกฎหมายวาดวยทะเบียนราษฎร ชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือหลาย
ระยะเวลารวมทั้งหมดถึงหนึ่งป ใหถือวามีช่ืออยูในทะเบียนบานตาม
กฎหมายวาดวยทะเบียนราษฎรไมน อยกวา หนง่ึ ปแลว

(ข) กรณีผูขายอสังหาริมทรัพยที่ถือกรรมสิทธิ์
รวมแตมีหนา ท่ตี อ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแยกเปนรายบุคคลตามสวน
ในกรรมสิทธิ์รวมตาม ๗ (๑) บุคคลท่ีมีหนาท่ีตองเสียภาษีธุรกิจ
เฉพาะตองมีชื่ออยูในทะเบียนบานท่ีใชเปนสถานท่ีอยูอาศัยอันเปน
แหลง สาํ คญั เปน เวลาไมน อยกวา ๑ ป

(ค) กรณีผูขายอสงั หาริมทรัพยที่ถือกรรมสิทธิ์รวม
แตม ีหนา ทตี่ องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในฐานะหางหุนสวนสามัญหรือ
คณะบุคคลที่มใิ ชนติ บิ ุคคลตาม ๗ (๒) ไมใหนําเงอื่ นไขการมีช่ืออยูใน
ทะเบียนบานมาใชสิทธใิ นกรณดี งั กลาว

(ง) กรณกี ารขายอสังหาริมทรัพยทเี่ ปนสินสมรส
คูสมรสทัง้ สองฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งตองมีช่ืออยูในทะเบียนบาน
ทใี่ ชเปนสถานที่อยอู าศัยอนั เปน แหลงสาํ คัญเปนเวลาไมนอ ยกวา ๑ ป

(จ) กรณีคูสมรสฝายใดยกกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพยที่เปนสินสมรสในสวนของตนใหแก
คูสมรสอีกฝายหนึ่ง ถาคูสมรสฝายที่ยกใหมีช่ืออยูในทะเบียนบาน
ทใ่ี ชเ ปนสถานทอี่ ยอู าศยั อนั เปน แหลงสาํ คญั เปน เวลาไมนอยกวา ๑ ป
กรณีดงั กลาวไมตอ งเสยี ภาษธี รุ กิจเฉพาะ

460

(๔) การโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธคิ รอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ย
โดยไมมีคาตอบแทนใหแกบุตรชอบดวยกฎหมายของตน แตไมรวมถึง
บตุ รบุญธรรม

(๕) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสงั หาริมทรพั ยทางมรดกใหแกท ายาทโดยธรรมหรือผูรับพินัยกรรม
ซงึ่ เปนทายาทโดยธรรม

(๖) การโอนกรรมสิทธ์ิหรือสทิ ธิครอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ย
ใหแ กสวนราชการหรือองคการของรัฐบาลตามมาตรา ๒ แหงประมวล
รัษฎากร โดยไมม คี าตอบแทน

(๗) การแลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองใน
อสังหาริมทรัพยกับสวนราชการหรือองคการของรัฐบาลตามมาตรา ๒
แหงประมวลรัษฎากร เฉพาะในกรณีท่ีสวนราชการหรือองคการของ
รฐั บาลนน้ั มไิ ดม กี ารจายคา ตอบแทนเปนอยางอื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย
ท่แี ลกเปลีย่ นน้นั

หมายเหตุ มาตรา ๒ แหงประมวลรัษฎากร ใหความหมาย
ของคาํ วา “องคก ารของรฐั บาล” ไววา “องคการของรฐั บาลตามกฎหมาย
วา ดว ยการจดั ตงั้ องคก ารของรฐั บาล และกจิ การของรัฐตามกฎหมาย
ทีจ่ ดั ต้ังกิจการนั้น และหมายความรวมถึงหนวยงานธุรกิจที่รัฐบาล
เปน เจา ของซึง่ ไมมฐี านะเปน นิติบุคคลดวย”

๕. วิธีปฏิบัติในการเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ
เจา พนกั งานท่ดี ินผูรบั จดทะเบยี นสิทธิและนิติกรรมตอ งเรยี กเกบ็ ภาษี
ธรุ กจิ เฉพาะจากผขู ายอสงั หาริมทรัพย ณ วันท่ีรับจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรม โดยผูขายอสังหาริมทรัพยมีหนาท่ีตองยื่นแบบแสดง
ร า ย ก า ร ภ า ษี ธุ ร กิ จ เ ฉ พ า ะ พ ร อ ม กั บ ชํ า ร ะ ภ า ษี ธุ ร กิ จ เ ฉ พ า ะ ต อ
เจาพนักงานท่ีดินผูรับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ขอ ๕ นี้มี
แกไขเพิ่มเติมตามหนังสือกรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๑/๑๒๑๐๗

461

ลงวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ แตไมเกีย่ วกับงานในหนาที่ของ
กรมที่ดนิ จึงไมนํามาลงพิมพ)

๖. การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ใหคํานวณจากยอด
รายรับจากการขายอสังหาริมทรัพยกอนหักรายจายใด ๆ ตามอัตรา
ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ

(๑) กรณีราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพยตามบันทึก
ถอยคําการชําระภาษีอากร (ท.ด. ๑๖) สูงกวาราคาประเมินทุนทรัพย
เพ่ือเรียกเก็บคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวล
กฎหมายที่ดิน ซึ่งเปนราคาทีใ่ ชอยูใ นวันที่มีการโอนนัน้ ใหคํานวณ
ภาษีธุรกิจเฉพาะตามราคาซือ้ ขายอสังหาริมทรัพยตามบันทึกถอยคํา
การชาํ ระภาษีอากร (ท.ด. ๑๖)

(๒) กรณีราคาซื้อขายอสังหาริมทรัพยตามบันทึก
ถอยคําการชําระภาษีอากร (ท.ด.๑๖) ตํ่ากวาราคาประเมินทุนทรัพย
เพือ่ เรียกเก็บคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวล
กฎหมายทีด่ นิ ใหค าํ นวณภาษธี รุ กจิ เฉพาะตามราคาประเมนิ ทนุ ทรัพย

(๓) ภายใตบังคับ (๑) และ (๒) กรณีที่เปนการขาย
อสังหาริมทรัพยที่ติดจํานองใหคํานวณยอดรายรับจากการขาย
อสงั หารมิ ทรพั ยร วมกบั ภาระจาํ นองทตี่ ิดกับทรัพยด วย

(๔) กรณีการขายอสังหาริมทรัพยทีผ่ ูซ ือ้ อสังหาริมทรัพย
ตกลงเปนผูออกคาภาษีธุรกิจเฉพาะ และหรือคาธรรมเนียมในการ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมทีผ่ ูข ายอสังหาริมทรัพยมีหนาทีต่ องเสีย
ตามกฎหมายแทนผูขายอสังหาริมทรัพย ใหนําเงินคาภาษีธุรกิจเฉพาะ
และหรือคาธรรมเนียมที่ผูซ ื้อออกแทนใหดังกลาวรวมกับรายรับตาม
(๑) (๒) หรือ (๓) เปนฐานภาษีในการคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
ดว ย (ขอ ๖ (๔) นีแ้ กไขเพิ่มเตมิ ตามหนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค
๐๘๑๑/๑๒๑๐๗ ลงวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ เวียนโดยหนังสือ
กรมทด่ี นิ ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๔๓๙๕๓ ลงวนั ที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๔๒)

462

แตอยางไรก็ตามหากปรากฏหลักฐานจากการตรวจสอบ
ของเจาพนกั งานประเมินของกรมสรรพากรในภายหลัง พบวาราคา
ซ้อื ขายทีแ่ ทจรงิ ของอสงั หาริมทรพั ยด งั กลาวมรี าคาสูงกวาราคาซื้อขาย
ตามบันทึกถอยคําการชําระภาษีอากร (ท.ด. ๑๖) หรือราคาประเมิน
ทุนทรพั ย เจา พนักงานประเมินของกรมสรรพากรยังคงมีอํานาจใน
การตดิ ตามประเมนิ เรียกเกบ็ ภาษธี ุรกิจเฉพาะจากราคาซือ้ ขายทแี่ ทจ ริง
ทสี่ ูงกวา ตอไปได

อตั ราภาษธี รุ กิจเฉพาะใหคํานวณในอัตรารอยละ ๓.๓
(รวมภาษีทองถ่ิน) (หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๓๒๐๕๖
ลงวนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน ๒๕๔๒)

๗. การขายอสังหารมิ ทรพั ยกรณีที่มกี ารถอื กรรมสิทธิ์รวม
ท่ีไดข ายไปภายใน ๕ ปนบั แตว นั ที่ไดมาซ่งึ ตองเสยี ภาษธี ุรกิจเฉพาะ
ตาม ๓ (๖)

(๑) กรณีการถอื กรรมสิทธิ์รวมเกิดขึ้นเนื่องจากการให
โดยเสนหา การครอบครองปรปกษ หรือจากการที่เจาของอสังหาริมทรัพย
ใหบคุ คลอน่ื เขา ถอื กรรมสทิ ธริ์ วมในภายหลัง ใหบ คุ คลแตละคนที่ถือ
กรรมสทิ ธร์ิ วมเสยี ภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยแยกรายรับตามสวนของแต
ละคนทีม่ ีสว นอยใู นอสังหาริมทรัพยที่ถือกรรมสทิ ธริ์ วม

(๒) กรณีการถือกรรมสิทธิ์รวมเกิดข้ึนเนื่องจากการ
ทาํ นิติกรรม ซือ้ ขาย ขายฝาก หรอื แลกเปล่ยี นโดยเขา ถือกรรมสิทธ์ิ
รวมพรอมกัน ใหเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในฐานะหางหุนสวนสามัญ
หรอื คณะบคุ คลทม่ี ิใชนิติบุคคล แตหากไมไ ดม ีการเขาถอื กรรมสทิ ธริ์ วม
พรอมกนั ใหบคุ คลแตละคนทถ่ี ือกรรมสิทธร์ิ วมเสยี ภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยแยก
รายรบั ของแตล ะคนท่มี สี ว นอยใู นอสังหาริมทรัพยท ถี่ ือกรรมสิทธ์ริ วม

๘. กรณีการขายฝากเฉพาะกรณี ๓. (๖)
(ความในขอ ๘ ตอไปน้ี แกไขเพ่ิมเติมตามหนังสือ
กรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๑/๔๙๗๐ ลงวันท่ี ๑๙ มิถุนายน ๒๕๔๓

463

เวยี นโดยหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๑๙๖๓๕ ลงวันท่ี ๒๘
มถิ ุนายน ๒๕๔๓)

(๑) การขายฝากอสังหาริมทรัพย ถาไดกระทําภายใน
๕ ป นับแตวันที่ไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยนั้น เขาลักษณะเปนการ
ขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร อยูใ นบังคับตองเสีย
ภาษธี ุรกจิ เฉพาะ

(๒) กรณีการรับไถอสังหาริมทรัพยจากการขายฝาก
ภายในเวลาทีก่ ําหนดไวในสัญญาหรือภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด
กอ นวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ ไมถือเปนการขายตามมาตรา ๙๑/๑ (๔)
แหง ประมวลรษั ฎากร เนือ่ งจากการใชสิทธิไถทรัพยสินทีข่ ายฝากคืน
เปนการใชสิทธิเรียกรองตามมาตรา ๔๙๑ แหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย และถือวากรรมสิทธิ์ในทรัพยสินทีข่ ายฝากไมเคย
ตกไปแกผ รู ับซื้อฝากเลย ตามมาตรา ๔๙๒ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย กอนการแกไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ผูรับไถ
อสังหารมิ ทรพั ยจึงไมตอ งนาํ สนิ ไถไปเสยี ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ

กรณกี ารรับไถอสังหาริมทรัพยจากการขายฝาก หรือการ
ไถอสังหาริมทรัพยจากการขายฝากโดยการวางทรัพยตอสํานักงาน
วางทรัพยภายในเวลาท่ีกําหนดไวในสัญญาหรือภายในเวลาท่ีกฎหมาย
กําหนดตั้งแตวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ ทรัพยสินที่ขายฝาก
ยอมตกเปนกรรมสิทธิข์ องผูไ ถตัง้ แตเวลาชําระสินไถหรือวางทรัพย
ตามมาตรา ๔๙๒ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งแกไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ดังนั้น การไถอสังหาริมทรัพย
จากการขายฝากภายใน ๕ ป นับแตวันทีร่ ับซื้อฝากยอมเขาลักษณะ
เปน การขายอสงั หารมิ ทรพั ยเ ปน ทางคา หรอื หากําไรตามมาตรา ๙๑/๒ (๖)
แหง ประมวลรษั ฎากร แตไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา ๓ (๑๕)
แหงพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวย

464

การกําหนดกิจการทีไ่ ดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับท่ี ๒๔๐)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับท่ี ๓๖๕)
พ.ศ. ๒๕๔๓ ผูร ับไถอสังหาริมทรพั ยจึงไมตองเสียภาษธี รุ กจิ เฉพาะ

(๓) กรณีผูขายฝากอสังหาริมทรัพยไถถอนการขายฝาก
ภายหลังกําหนดเวลาไถตามสัญญาหรือภายหลังกําหนดเวลาท่ีกฎหมาย
กําหนดเขาลักษณะเปนการขายอสังหาริมทรัพยระหวางผูรับซื้อฝาก
กับผูขายฝากถาการขายอสังหาริมทรัพยของผูร ับซื้อฝากดังกลาว
ไดกระทําภายใน ๕ ป นับแตวันที่รับซื้อฝากอสังหาริมทรัพยน้ัน
เขาลักษณะเปนการขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร
ผรู บั ซ้ือฝากมหี นา ทีต่ องเสียภาษธี ุรกิจเฉพาะ

(๔) การขายอสังหาริมทรัพยท่ีไดกรรมสิทธ์ิในทรัพยสิน
โดยเด็ดขาดจากการขายฝาก ถาการขายอสังหาริมทรัพยดังกลาว
ไดกระทําภายใน ๕ ป นับแตวันที่รับซื้อฝากอสังหาริมทรัพยนั้น
เขาลักษณะเปนการขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากําไร
ผรู ับซ้อื ฝากมีหนา ทตี่ อ งเสียภาษธี รุ กิจเฉพาะ

(๕) กรณีผูขายฝากไดไถถอนการขายฝาก และตอมา
ไดขายอสังหาริมทรัพยนัน้ ไป

(ก) กรณีไถถอนการขายฝากภายในเวลาที่
กําหนดไวในสัญญา หรือภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนดทีไ่ ดกระทํา
กอนวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ การนับระยะเวลาการไดมาใหนับ
ระยะเวลาที่ขายฝากรวมเขาดวย เนื่องจากทรัพยสินทีข่ ายฝากนั้น
ถาไถภายในกําหนดเวลาตามสัญญา ถือวากรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน
ไมเ คยตกไปเปนของผูซ ้ือฝากตามมาตรา ๔๙๒ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย กอนการแกไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๑

กรณีไถถอนการขายฝากภายในเวลาทีก่ ําหนดไว
ในสัญญาหรือภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด ที่ไดกระทําต้ังแตวันท่ี
๑๐ เมษายน ๒๕๔๑ ทรัพยสินที่ขายฝากยอมตกเปนกรรมสิทธิ์

465

ของผูไ ถตั้งแตเวลาทีช่ ําระสินไถหรือวางทรัพย ตามมาตรา ๔๙๒
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
(ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ อยางไรก็ดี หากตอมาไดมีการขาย
อสังหาริมทรัพยภายหลังที่ไดไถจากการขายฝาก ซ่ึงเมื่อรวม
ระยะเวลาการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยกอนการขายฝาก ระยะเวลา
ระหวา งการขายฝากและระยะเวลาภายหลังจากการขายฝากแลวเกิน ๕ ป
ยอมไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามมาตรา ๓ (๑๕) แหงพระราช
กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการกําหนด
กิจการที่ไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับท่ี ๒๔๐) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซง่ึ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบบั ท่ี ๓๖๕) พ.ศ. ๒๕๔๓

(ข) กรณีไถถอนการขายฝากภายหลังกําหนดเวลาไถ
ตามสัญญาหรือภายหลังกําหนดเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด การนับ
ระยะเวลาการไดม าใหเร่ิมนับต้งั แตวนั ท่ีไดไ ถถอนการขายฝาก”

๙. วันเริ่มใชบังคับในการเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะ
ของกรมทีด่ ินเพือ่ กรมสรรพากร ใหเริม่ ใชบังคับสําหรับการจด
ทะเบียนสทิ ธิและนติ กิ รรมต้งั แตว ันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๔๒
• อากรแสตมป

ในการจดทะเบียนโอนหรือกอตั้งสิทธิใด ๆ เก่ียวกับ
อสังหาริมทรัพย พนักงานเจาหนาที่ผูรับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ในฐานะพนกั งานเจา หนา ท่ีอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร (ตามประกาศ
กระทรวงการคลงั วาดวยการแตงต้ังเจาพนักงาน (ฉบับท่ี ๑๑) มีหนาท่ี
เรียกเก็บอากรแสตมปเปนตัวเงินในฐานะใบรับตามลักษณะตราสาร
๒๘. (ข) แหงบัญชีอัตราอากรแสตมป ทายหมวด ๖ ลักษณะ ๒
แหงประมวลรัษฎากร สําหรับจํานวนเงินตัง้ แต ๒๐๐ บาทขึ้นไป
ทกุ ๒๐๐ บาท หรอื เศษของ ๒๐๐ บาท ตอ ๑ บาท และตาม
มาตรา ๑๑๙ แหงประมวลรัษฎากร กําหนดหามมิใหพนักงาน

466

เจาหนา ทล่ี งนามรับรู ยอมใหท ําหรือบนั ทกึ ไวจนกวาการจดทะเบียน
โอนหรือกอ ตง้ั สทิ ธินัน้ จะไดเ สียอากรโดยปดแสตมปครบจํานวนตาม
อตั ราทก่ี ําหนดแลว เวน แตใ นการโอนกรรมสิทธหิ์ รือสทิ ธิครอบครอง
ในอสงั หาริมทรพั ยน ้ันไดเสยี ภาษีธุรกิจเฉพาะแลว หรือมีกรณีไดรับ
ยกเวน อากรแสตมปตามประมวลรษั ฎากร พนกั งานเจา หนาทีจ่ ึงไมตอ ง
เรียกเก็บอากรแสตมปใบรับ ซ่ึงการรับชําระอากรแสตมปเปนตัวเงิน
พนักงานเจาหนาที่ยอมตองบันทึกขอความไวในตราสารตนฉบับ
คูฉบับ และสําเนาทุกฉบับวา “ไดชําระคาอากรแสตมปเปนตัว
เงนิ ………....บาท แลว ตามใบเสรจ็ รบั เงินเลมที่…..….เลขที่…………..…
ลงวันท่ี……….” พรอมกับลงลายมือชื่อในฐานะพนักงานเจาหนาท่ี
อากรแสตมปและวันเดือนปท ่ีบันทึกขอความในเอกสารดังกลาวดวย
(ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับชําระและนําสงภาษีอากร
จากการขายอสงั หารมิ ทรพั ย พ.ศ.๒๕๔๒ ลงวันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๒)
 ประมวลรัษฎากรเฉพาะมาตราที่เกยี่ วขอ ง

มาตรา ๑๐๓ ในหมวดนี้ เวนแตขอความจะแสดงใหเห็น
เปน อยา งอ่ืน

……….ฯลฯ……….
“ใบรบั ” หมายความวา
(ก) บันทึก หรือหนงั สือใด ๆ ที่เปนหลกั ฐานแสดงวาไดร บั
ไดรบั ฝากหรอื ไดร ับชาํ ระเงนิ หรอื ต๋วั เงนิ หรอื
(ข) บันทึกหรือหนังสอื ใด ๆ ท่ีเปนหลักฐานแสดงวา
หนหี้ รอื สทิ ธเิ รียกรองไดช าํ ระหนปี้ ลดใหแลว
บันทกึ หรอื หนังสอื ทกี่ ลา วน้ันจะมีลายมอื ชอ่ื ของบุคคลใด ๆ
หรอื ไม ไมส ําคญั
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา เจาพนักงาน
ซึ่งรัฐมนตรแี ตง ตงั้

……….ฯลฯ………

467

มาตรา ๑๑๙ ตราสารซึ่งเจาพนักงานรัฐบาลหรือ
เทศบาลตองลงนามหรือรับรูก ็ดี ตราสารซึ่งตองทําตอหนา
เจาพนักงานรัฐบาลหรือเทศบาลก็ดี ตราสารซึง่ ตองใชเจาพนักงาน
รัฐบาลหรือเทศบาลลงบันทึกก็ดี หามมิใหเจาพนักงานลงนามรับรู
ยอมใหทําหรือบันทึกไวจนกวาจะไดเสียอากรโดยปดแสตมปครบ
จํานวนตามอัตราในบัญชีทายหมวดนี้และขีดฆาแลว แตทัง้ นีไ้ มเปน
การเส่อื มสทิ ธทิ จ่ี ะเรยี กเงินเพม่ิ อากรตามมาตรา ๑๑๓ และมาตรา ๑๑

มาตรา ๑๒๑ ถา ฝา ยทีต่ อ งเสียอากรเปนรัฐบาล เจาพนักงาน
ผูกระทาํ งานของรฐั บาลโดยหนาท่ี บุคคลผูกระทําการในนามของรัฐบาล
องคการบริหารราชการสวนทองถิ่น สภากาชาดไทย วัดวาอาราม
และองคการศาสนาใด ๆ ในราชอาณาจักรซึง่ เปนนิติบุคคล อากร
เปนอันไมตองเสียแตขอยกเวนนีม้ ิใหใชแกองคการของรัฐบาลทีใ่ ชทุน
หรือทุนหมุนเวียนเพื่อประกอบการพาณิชย หรือการพาณิชย
ซึ่งองคการบริหารราชการสวนทอ งถน่ิ เปนผูจ ัดทาํ

มาตรา ๑๒๓ ตรี ถาพนักงานเจาหนาทีม่ ีเหตุอันควร
เชือ่ วาจํานวนเงินที่แสดงไวในใบรับตามลักษณะแหงตราสาร ๒๘.
(ข) และ (ค) แหงบัญชีอัตราอากรแสตมปตํ่าไป พนักงานเจาหนาที่
มีอํานาจกําหนดจํานวนเงินทีแ่ สดงไวในใบรับนั้นตามจํานวนเงิน
ทีส่ มควรไดรับตามปกติและใหผูออกใบรับมีหนาทีเ่ สียคาอากรจาก
จาํ นวนเงนิ ท่กี ําหนดนน้ั

ผูออกใบรบั ซง่ึ ถกู กาํ หนดจํานวนเงินตามวรรคหน่ึงจะอุทธรณ
การกาํ หนดจาํ นวนเงนิ น้ันก็ได ทั้งน้ี ใหนาํ บทบญั ญัติวา ดวยการอทุ ธรณ
ตามสว น ๒ หมวด ๒ ลกั ษณะ ๒ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม
• ประกาศกระทรวงการคลัง วาดวยการแตงตัง้ เจาพนักงาน
(ฉบับท่ี ๑๑) เรื่อง แตงตั้งพนักงานเจาหนาทีอ่ ากรแสตมป
ตามประมวลรัษฎากร ประกาศ ณ วันท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๒๕
กําหนดใหพนักงานเจาหนาทีผ่ ูร ับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม

468

เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยตามประมวลกฎหมายทีด่ ิน เปนพนักงาน
เจาหนาที่อากรแสตมปตามมาตรา ๑๐๓ แหงประมวลรัษฎากร
เฉพาะกรณีการจดทะเบียนสิทธิและนติ กิ รรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย
ประกาศฉบับน้ีมีผลใชบงั คับเมือ่ พนกาํ หนด ๖๐ วันนับแตวนั ถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เม่อื วันที่ ๒๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๒๕)
• การรับชําระและนําสงภาษีอากรจากการขายอสังหาริมทรัพย
พนักงานเจาหนาที่ตองถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง
วา ดว ยการรบั ชาํ ระและนําสงภาษีอากรจากการขายอสังหาริมทรัพย
พ.ศ. ๒๕๔๒ ลงวันท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ ๒๕๔๒
• วิธีการคํานวณเพ่อื เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหัก ณ ท่ีจา ย
วธิ ีการคาํ นวณ

กรณีบุคคลธรรมดา หางหุนสวนสามัญ คณะบุคคลท่ีมิใช
นิติบุคคลหรือกองมรดกที่ยังไมไดแบงเปนผูข ายหรือผูโอนกรรมสิทธิ์
หรือสทิ ธคิ รอบครองในอสงั หารมิ ทรพั ย จะตองเสียภาษีเงินไดหัก ณ ทีจ่ าย
โดยคํานวณตามราคาประเมนิ ทนุ ทรัพยดงั นี้

๑. การขายหรือโอนอสังหาริมทรัพยอันเปนมรดกหรือ
อสังหาริมทรัพย ท่ีไดรับจากการใหโดยเสนหา ใหหักคาใชจายเหมา
รอยละ ๕๐ ของเงินได เหลือเทาใดถือเปนเงินไดสุทธิ แลวหาร
ดวยจํานวนปทีถ่ ือครอง ไดผลลัพธเปนเงินเทาใด ใหคํานวณภาษี
ตามอัตราภาษีเงินไดใน ๖. ไดเทาใดใหคูณดวยจํานวนปทีถ่ ือครอง
เปนภาษีทัง้ สิ้นเทาใด ใหหกั เปนเงนิ ภาษีไวเทา น้นั

กรณีการขายหรือโอนอสังหาริมทรัพยตามวรรคหนึง่ ซึ่ง
ต้ังอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล หรือเมืองพัทยา
หรือการปกครองทองถ่ินอ่ืนท่ีมีกฎหมายจัดต้ังข้ึนโดยเฉพาะ ใหคํานวณ
ภาษี ณ ท่ีจาย ตามเกณฑในวรรคหนึ่งเฉพาะเงินไดจากการขาย

469

อสังหาริมทรัพยในสวนที่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดปภาษีนั้น
ซึ่งพนกั งานเจาหนา ทไี่ ดไตส วนแลว

๒. การขายหรือโอนอสังหาริมทรัพยที่ไดมาโดยทาง
อืน่ นอกจากในขอ ๑ ใหหักคาใชจายเปนการเหมาตามอัตรา
ที่กําหนดใน ๕. เหลอื เทาใดถอื เปนเงินไดสุทธิ แลวหารดวยจํานวน
ปทีถ่ ือครองไดผลลัพธเปนเงินเทาใด ใหคํานวณภาษีตามอัตราภาษี
เงินไดใน ๖. ไดเทาใดใหคูณดวยจํานวนปที่ถือครองเปนเงินภาษี
ทั้งสน้ิ เทา ใด ใหหักเปน เงนิ ภาษีไวเ ทานนั้

๓. การหักภาษีตาม ๑. และ ๒. กรณีการขาย
หรือโอนอสังหาริมทรัพยอันเปนมรดก หรืออสังหาริมทรัพยท่ีไดมา
โดยมิไดมุง ในทางคาหรือหากําไร เมื่อคํานวณภาษีแลวตองไมเกิน
รอยละ ๒๐ ของราคาขาย

๔. คําวา “จํานวนปทีถ่ ือครอง” สําหรับการคํานวณ
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จาย หมายถึง จํานวนปนับตั้งแตป
ท่ีไดกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยถึงปท่ีโอนกรรมสิทธิ์
หรือสทิ ธิครอบครองในอสงั หาริมทรัพยน้ัน ถาเกินสิบปใหนับเพียงสิบป
เศษของปใ หนบั เปนหนึ่งป ดังน้ี

๔.๑ การนับจํานวนปที่ถือครองสําหรับการขาย
อสังหาริมทรัพยที่ไดมาโดยทางมรดก ทัง้ กรณีทายาทจดทะเบียน
รับโอนมรดกมาแลว จดทะเบียนขายและกรณีผูจัดการมรดกเปนผูขาย
ใหเริ่มนับตัง้ แตปทีเ่ จามรดกถึงแกความตายจนถึงปที่จดทะเบียนขาย
เชน นายก. ตายเม่ือป พ.ศ. ๒๕๕๒ ทายาทรับโอนมรดกที่ดินของ
นาย ก. เมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๕๓ แลว มาจดทะเบยี นขายเมอ่ื ป พ.ศ. ๒๕๕๔
นับจํานวนปที่ทายาทถือครองตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึง ๒๕๕๔
รวม ๓ ป (หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๗๐๖/๑๗๑๐ ลงวันท่ี
๑ มีนาคม ๒๕๔๙ เวียนใหพนักงานเจาหนาที่ทราบและถือปฏิบัติ
ตามหนังสือกรมทีด่ ิน ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๐๘๒๘๖ ลงวันท่ี ๑๕
มีนาคม ๒๕๔๙)

470

๔.๒ การนับจํานวนปทีถ่ ือครองสําหรับการขาย
อสังหาริมทรัพยทีไ่ ดมาโดยทางอืน่ นอกจากทางมรดก ใหนับ
จํานวนปทีถ่ ือครองตัง้ แตปไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง
ในอสังหาริมทรัพยจนถึงปที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพยนั้น เชน นายแดง ซ้ือที่ดินโดยจดทะเบียน
รับโอนกรรมสทิ ธเ์ิ มื่อป พ.ศ. ๒๕๕๓ แลวจดทะเบียนขายตอไปในป
เดียวกัน นับจํานวนปที่ถือครองเปน ๑ ป หรือ นายดํา รับใหที่ดิน
โดยจดทะเบียนรับใหเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๕๑ แลวจดทะเบียนขายไป
เมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๕๒ นับจํานวนปที่ถือครองรวม ๒ ป เปน ตน

๔.๓ การนับจํานวนปทีถ่ ือครองสําหรับการจดทะเบียน
รับโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยที่ซื้อได
จากการขายทอดตลาด ใหนับจํานวนปทีถ่ ือครองตั้งแตปทีผ่ ูถ ือกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิครอบครอง (ผูขายทอดตลาด) ไดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
ครอบครองในอสังหาริมทรัพย จนถึงปทีจ่ ดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยใหแกผูซื้อทอดตลาด เชน
นายสมเกียรติ ซื้อทอดตลาดที่ดินของนางเจิดศรี เม่ือป พ.ศ. ๒๕๕๐
แตมาขอจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิต์ อพนักงานเจาหนาทีเ่ มือ่ ป
พ.ศ. ๒๕๕๓ ตามหลักฐานทางทะเบียนนางเจิดศรี (ผูขายทอดตลาด)
จดทะเบียนซ้ือท่ีดินดังกลาวมาเม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๙ นับจํานวนปทีถ่ ือครอง
ตั้งแตนางเจิดศรีซ้ือท่ีดินเม่ือป พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึงปท่ีนายสมเกียรติ
จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๓ รวมปทีน่ างเจิดศรี
ถือครองทีด่ ิน ๕ ป เปนตน (หนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค
๐๘๑๑/๓๒๔๕ ลงวันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๐ เวียนใหพนักงานเจาหนาที่
ทราบและถือปฏิบัติตามหนังสือกรมทีด่ ิน ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๑๒๑๗๙
ลงวนั ท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๔๐)

๕. การหักคาใชจายเหมา กรณีไดมาซึ่งกรรมสิทธิ์
หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยโดยทางอืน่ นอกจากรับมรดก
หรือรับใหโดยเสนหา ตาม ๒. ใหหักคาใชจายเหมาตามจํานวนป
ท่ถี อื ครองดังนี้

471

จาํ นวนปท ถ่ี ือครอง รอ ยละของเงนิ ได
๑ ป ๙๒
๒ ป ๘๔
๓ ป ๗๗
๔ ป ๗๑
๕ ป ๖๕
๖ ป ๖๐
๗ ป ๕๕
๕๐
๘ ปขนึ้ ไป

(ตามระเบยี บกระทรวงการคลัง วาดวยการรับชําระและนําสงภาษีอากร
จากการขายอสงั หารมิ ทรพั ย พ.ศ. ๒๕๔๒ ลงวนั ท่ี ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๒)

๖. บัญชีอตั ราภาษีเงนิ ไดส ําหรบั บคุ คลธรรมดา

เงนิ ได อตั ราภาษี
รอ ยละ

เงนิ ไดสุทธิไมเกนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๕
เงินไดสุทธิสวนท่ีเกนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท แตไมเกนิ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑๐
เงนิ ไดส ทุ ธสิ วนทเี่ กิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท แตไมเ กนิ ๗๕๐,๐๐๐ บาท ๑๕
เงนิ ไดสุทธสิ ว นที่เกนิ ๗๕๐,๐๐๐ บาท แตไ มเกิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒๐
เงินไดสทุ ธสิ วนท่ีเกนิ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท แตไ มเ กนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒๕
เงินไดส ทุ ธสิ ว นทีเ่ กนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท แตไ มเ กิน๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓๐
เงินไดสุทธิสวนท่เี กิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ขึ้นไป ๓๕

472

อตั ราภาษเี งินไดในแตล ะขัน้

เงนิ ได เงนิ ได อัตราภาษี ภาษแี ตล ะ ภาษีสะสม
(บาท) แตล ะขั้น (รอ ยละ) ขั้น (สงู สุด)
๑ - ๓๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐
๓๐๐,๐๐๑ - ๕๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๕ ๑๕,๐๐๐ ๓๕,๐๐๐
๕๐๐,๐๐๑ - ๗๕๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ ๑๐ ๒๐,๐๐๐ ๗๒,๕๐๐
๗๕๐,๐๐๑ - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑๕ ๓๗,๕๐๐
๑,๐๐๐,๐๐๑ - ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ ๒๐ ๑๒๒,๕๐๐
๒,๐๐๐,๐๐๑ - ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐
๕,๐๐๐,๐๐๑ ข้นึ ไป ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๒๕ ๓๗๒,๕๐๐
๓,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐ ๒๕๐,๐๐๐ ๑,๒๗๒,๕๐๐
๓๕ ๙๐๐,๐๐๐
ฯลฯ ฯลฯ
ฯลฯ

473

 ตัวอยางการคํานวณภาษีเงนิ ไดหกั ณ ทจ่ี า ย
ตัวอยางที่ ๑ การขายอสังหาริมทรัพยอันเปนมรดกหรือจากการ
รับให (ในเขตฯ)
๑. ขอ มลู
๑.๑ จดทะเบียนขาย ๒ มกราคม ๒๕๖๑
อสังหาริมทรัพยไดมาโดย รับให เม่ือพ.ศ. ๒๕๕๗ ถือครองมา ๕ ป
วนั นไ้ี ดตกลงโอนในราคา ๔,๘๐๐,๐๐๐ บาท และพนักงานเจาหนา ที่
คํานวณราคาประเมินทุนทรัพยตามบัญชีกําหนดราคาประเมินฯ
เปนเงนิ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๑.๒ กรณีไดม าโดยทางมรดกหรือไดรับจากการใหโดย
เสนห าใหห กั คาใชจ า ยรอยละ ๕๐ ของเงินได
๒. วธิ กี ารคาํ นวณ
๒.๑ ทนุ ทรัพยทีถ่ อื เปนเงนิ ได (ราคาประเมนิ ทุนทรัพย
ทีค่ ณะกรรมการกําหนด) เปน เงนิ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท
หกั คา ใชจา ย ร๒อ ย.๒ละเง๕ิน๐ไดห(๔ล,๐ัง๐ห๐ัก๑,๐ค๐๐า๐๐ใชxจ๕า๐ย) เปน เงนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
(๔,๐๐๐,๐๐๐ - ๒,๐๐๐,๐๐๐)
เปนเงนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๓ เงนิ ไดเ ฉล่ียตอ ป (ตาม ๒.๒ หารดว ยปท ถี่ ือครอง)
(พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑ = ๕ ป) (๒,๐๐๐,๐๐๐) เปน เงิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท
๕ ป
(ป.ล.๓๑๓๐๐๐๐๐๐,,๐๐,๐๐๐๐๒๐๐๐.๔xxบภา๑๑๑ทา๕๐๐๐แษ**ร๐๐เี *กงิน==ไอดยเ๑๑ฉูใลน๕๐ี่ยอ,,ต๐๐ัตอ๐๐รปา๐๐ภ (ตาาษมี+ร๒อ.๓ยคลูณะด๕วเปย*/อน๑เตัง๐รินา๐ภ๒,า๐๕ษ๐,๐ีเง๐๐นิ ๐ไดบฯบา)าทท
ตอ มา อยูใ นอัตราภาษรี อยละ ๑๐**)
๒.๕ ภาษีเงินไดทตี่ อ งชําระ (ตาม ๒.๔ คูณดวยปท่ีถือครอง)
๕ ป) ๒๕,๐๐๐ * ๕ ป เปนเงิน ๑๒๕,๐๐๐ บาท

474

ตวั อยางที่ ๒ การขายอสงั หาริมทรพั ยอันเปนมรดกหรือจากการรับให
(นอกเขตฯ)
๑. ขอ มูล

๑.๑ จ ด ท ะ เ บี ย น ข า ย ๒ ม ก ร า ค ม ๒ ๕ ๖ ๑
อสงั หาริมทรพั ยไดม า โดยรับให เมือ่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ถือครองมา ๕ ป
วันน้ีไดตกลงโอนในราคา ๔,๘๐๐,๐๐๐ บาท และพนักงาน
เจาหนาท่ีคํานวณราคาประเมินทุนทรัพยตามบัญชีกําหนดราคา
ประเมินฯ เปนเงนิ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๒ เฉพาะกรณีมรดกหรือไดรับใหโดยเสนหา สําหรับ
อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย ซ่ึ ง ต้ั ง อ ยู น อ ก เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร เ ท ศ บ า ล
สุขาภิบาลหรือเมืองพัทยา หรือการปกครองทองถิ่นอื่นท่ีมีกฎหมาย
จัดต้ังข้ึนโดยเฉพาะ ใหคํานวณภาษีเฉพาะเงินไดจากการขาย
อสงั หาริมทรัพยในสวนที่เกนิ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดปภ าษนี ัน้

๑.๓ หักคา ใชจา ยรอ ยละ ๕๐ ของเงินได

๒. วิธกี ารคาํ นวณ
๒.๑ ทนุ ทรพั ยท ถี่ ือเปน เงินได (ราคาประเมนิ ทุนทรัพย
ที่คณะกรรมการกําหนด) เปนเงิน ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท
หักดวยจาํ นวนเงนิ ทีไ่ ดร ับยกเวน
(กรณตี ัง้ อยูนอกเขตฯ ตามขอ ๑.๒)
๔,๐๐๐,๐๐๐ – ๒๐๐,๐๐๐ เปนเงนิ ๓,๘๐๐,๐๐๐ บาท

(๓,๘๐๐,๐๐๐ x ๕๐)
๑๐๐
หักคา ใชจาย รอ ยละ ๕๐ เปน เงิน ๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท

475

๒.๒ เงนิ ไดหลังหกั คา ใชจ าย
(๓,๘๐๐,๐๐๐ – ๑,๙๐๐,๐๐๐) เปน เงนิ ๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๓ เงินไดเฉล่ยี ตอ ป (ตาม ๒.๒ หารดว ยปท ี่ถอื ครอง)
(พ.ศ. ๒๕๕๗ –๒๒.๔๕๖ภ๑าษ=ีเ๕งินปไ)ดเ(๑ฉ,ล๙๐๕่ีย๐ตป,๐อ ๐ป๐ ) เปนเงนิ ๓๘๐,๐๐๐ บาท
(ตาม ๒.๓ คูณดวยอัตรา
ภาษีเงนิ ไดฯ)
๓๐๐,๐๐๐ x ๑๕๐*๐= ๑๕,๐๐๐ + เปนเงนิ ๒๓,๐๐๐ บาท
๘๐,๐๐๐ x ๑๑๐๐*๐*= ๘,๐๐๐

(ป.ล. ๓๐๐,๐๐๐ บาทแรก อยูในอัตราภาษีรอยละ ๕* /๘๐,๐๐๐ บาท
ตอมา อยใู นอัตราภาษรี อ ยละ ๑๐**)
๒.๕ ภาษีเงินไดที่ตองชําระ (ตาม ๒.๔ คูณดวยปท่ี
ถือครอง) (๕ ป)
๒๓,๐๐๐ X ๕ ป เปน เงนิ ๑๑๕,๐๐๐ บาท

ตัวอยา งท่ี ๓ การขายอสงั หารมิ ทรพั ยท ่ไี ดมาโดยทางอื่นนอกจาก
มรดกหรอื รบั ใหเชน การขาย
๑. ขอ มูล

๑.๑ จดทะเบียนขาย ๒ มกราคม ๒๕๖๑ อสงั หาริมทรพั ย
ไดม าโดยซือ้ มา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๗ ถือครองมา ๕ ป วันนี้ไดตกลงโอน
ในราคา ๖,๘๐๐,๐๐๐ บาท และพนักงานเจาหนาที่คํานวณราคา
ประเมินทุนทรัพยตามบัญชีกําหนดราคาประเมินฯ เปนเงิน
๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๑.๒ หักคาใชจายเหมาตามในบัญชี ๕ เฉพาะในกรณี
ไดม าโดยทางอ่ืนนอกจากมรดกหรอื รบั ให

476

๒. วธิ ีการคาํ นวณ
๒.๑ ทนุ ทรพั ยท ถ่ี ือเปนเงินได (ราคาประเมินทุนทรัพย
ทีค่ ณะกรรมการกําหนด) เปน เงนิ ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท
หักคาใชจ ายรอยละ๖๕* (๖,๐๐๐,๐๐๐ x ๖๕) เปน เงิน๓,๙๐๐,๐๐๐ บาท
๑๐๐
(ป.ล. การหักคาใชจา ยเหมา กรณีจํานวนปท ่ถี อื ครอง ๕ ป = รอยละ ๖๕)
๒.๒ เงินไดหลงั หักคาใชจาย
(๖,๐๐๐,๐๐๐ – ๓,๙๐๐,๐๐๐) เปน เงิน ๒,๑๐๐,๐๐๐ บาท
๒.๓ เงินไดเฉล่ียตอ ป (ตาม ๒.๒ หารดว ยปท ีถ่ อื ครอง)
(พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) (๒,๑๐๐,๐๐๐) เปนเงนิ ๔๒๐,๐๐๐ บาท
๕ ป
๒.๔ ภาษีเงินไดเฉล่ียตอป (ตาม ๒.๓ คูณดวยอัตรา
ภ(ปา.ษล๓.ีเ๑ง๓๐นิ๒๐๐ไ๐ด๐,,๐ฯ๐,๐๐)๐๐๐๐๐xxบ๑๑๑า๐๐๕ท๐*๐*แ*๐รก==อ๑ย๑๕ใู น๒,๐อ,๐๐ตั ๐๐ร+า๐ภาษีรอเยปลน ะเง๕นิ */๒๑๗๒,๐๐,๐๐๐๐๐บาท
บาทตอมา อยูใ นอตั ราภาษีรอ ยละ ๑๐**)
๒.๕ ภาษเี งนิ ไดท ี่ตอ งชาํ ระ (ตาม ๒.๔ คูณดวยปที่ถือครอง)
(๕ ป)
๒๗,๐๐๐ X ๕ ป เปนเงิน ๑๓๕,๐๐๐ บาท

............................................

477

คา ธรรมเนยี ม ภาษอี ากร ตามประเภทการจดทะเบียน
คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ
มีทนุ ทรัพยค าํ นวณจาก ทนุ ไทมรม พั ี ย ได ภาษธี ุรกจิ
ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น ปรราะคเมานิ ททนุแผ่ีทสูขดรพังอย แปลงละ อากร (๒) เฉพาะ
๑. ข๑แบา.๑ยง ขขาายย , ขายเฉพาะสว น , หกั ณ (๓)
๑.๒ ขายทอดตลาด (๓/๑) รอยละ ๒ - - ท่ีจาย เสยี เสยี เวน แต
(๑) สาํ นกั งาน จะอยใู น
๒. ข๒ขาา.๑ยยฝฝขาาากกยเฝฉาพกาะ,สว น รอยละ ๒ - - เสยี บังคับคดี หลักเกณฑ
เสยี ทไี่ มต องเสีย
รอยละ ๒ - - เปน ผู เสยี เวน แต
เสยี เรียกเก็บ จะอยใู น
หลักเกณฑ
เสยี ทีไ่ มตอ งเสีย

๒ขฝ๒๒จผรเเคข๒วสะาาาูสาูส....๒นน๒๒๓กกหยยืบมหแ..ฝฝขวรสโ๑,๒ไอตาาาาาสถันโไกกงยนอกกจดมผฝเเสนเารรฉฉามบูปาทิกณณสนพพีคกพุนธขทิ มีีไาาา กกิกามธ(ะะตีคห๓ยาาาิมกสสอารรรรฝ/าีคววตบไอืโกี๑ารถนอนาอรแับก)ไจตนะบถท,,าอโหจแไนกแดบถาวทขบยแกจา นางงทายไกนถ รรรอ ออยยยลลละะะ๐๒๒.๕ --- --- ไมเ สยี เสยี ไมเ สีย
- - ไมเ สยี เสยี ไมเสีย
ไมเ สยี เสยี ไมเสีย

๕๐ บาท เสยี เสยี -ไมเสีย ไมเสีย
(ดภู าค (ดภู าค (ดภู าค
ผนวก ผนวก ผนวก
เพิม่ เตมิ เพิม่ เตมิ ) เพม่ิ เตมิ )

(๑) - บุคคลธรรมดาเปน ผโู อน คํานวณตามราคาประเมนิ ทุนทรพั ย
- นติ บิ ุคคลเปน ผโู อน คํานวณตามราคาประเมินทนุ ทรัพยหรอื จาํ นวนทนุ ทรพั ยท ่ีผูข อแสดง
แลวแตอยา งใดจะสูงกวา

(๒) - อากรแสตมปใ บรบั เรยี กเกบ็ ในอตั รารอ ยละ ๐.๕ คํานวณตามราคาประเมินทนุ ทรพั ยหรอื จาํ นวน
ทนุ ทรัพยทีผ่ ูขอแสดงแลวแตอ ยา งใดจะสูงกวา กรณีเสยี ภาษีธรุ กจิ เฉพาะแลว ไดร ับยกเวน
อากรแสตมปใ บรบั

(๓) - ศึกษาหลักเกณฑการจัดเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะไดจากภาคผนวก
(๓/๑) - ศกึ ษาการเรียกเก็บภาษีเงนิ ไดห กั ณ ที่จา ย ภาษีธุรกจิ เฉพาะ และอากรแสตมป ไดจากภาคผนวก

478

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาเฉษ(พ๓ีธา)ุระกจิ
มีทุนทรพั ยคาํ นวณจาก ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย หกั ณ ไมเ สยี
ลําดบั ประเภท ปรราะคเมานิ ททนุ แี่ผทสูขดรพั อง ย ๕๐ บาท ทจี่ า ย อากร (๒)
ท่ี การจดทะเบยี น (๑) ไมเ สีย ไมเ สีย
๒.๔ ปลดเงื่อนไขการไถ -- ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สีย ไมเสีย
จากขายฝาก , ปลด ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สีย
เงอื่ นไขการไถจ ากขายฝาก -- ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สยี
เฉพาะสว น -- ไมเ สีย เสีย เวน
๒.๕ ระงบั สทิ ธิการไถ (หน้ี - ไมเสยี เสยี แตจ ะอยูใน
เกลอ่ื นกลนื กัน) -- เสยี (๔) หลกั เกณฑ
๒.๖ ขยายกาํ หนดเวลาไถ - เสยี เสยี (๔) ทไ่ี มตอ งเสยี
จากขายฝากครง้ั ที่... รอยละ ๒ - -
(กาํ หนด...) เสยี เสยี ”
๒.๗ โอนมรดกสทิ ธิการไถ รอยละ ๒ - - เสยี (๔/๑) เสีย เวน
๓. กรรมสทิ ธร์ิ วม รอยละ ๐.๕ - แตจ ะอยูใ น
กรรมสทิ ธิ์รวม หรือ เสยี หลกั เกณฑ
กรรมสทิ ธิ์รวมเฉพาะสวน รอยละ ๒ - ทไี่ มต อ ง
๓.๑ กรณมี คี า ตอบแทน เสยี (๔/๑)
เสีย เวน แต
๓.๒ กรณไี มม คี าตอบแทน จะอยใู น
เวน แต เปน การใหถ อื หลกั เกณฑ
กรรมสทิ ธิ์รวมโดยเสนหา ทไ่ี มต อ งเสีย
ไมมคี าตอบแทน ระหวา ง
ผูบพุ การกี บั ผสู บื สนั ดาน
หรือระหวางคสู มรส
๔. แลกเปลย่ี น
แลกเปลี่ยน หรอื
แลกเปลย่ี นเฉพาะสว น

(๔) - การใหโดยไมม คี า ตอบแทน ผรู บั โอนเปน ฝา ยเสยี อากร เวนแตผ ูรับโอนไดร ับยกเวนอากร
อากรจึงเปนอันไมต องเสีย (หนงั สอื กรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๓๖๙๕๗ ลงวันท่ี ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๔๕
ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๑๕๐๓๕ ลงวันท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๗ และ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๐๐๙๔๕ ลงวันท่ี
๑๓ มกราคม ๒๕๔๙)

(๔/๑) - ยกเวน กรณบี ดิ ามารดาใหบ ุตรท่ีชอบดว ยกฎหมายของตนเทา นน้ั จงึ ไมเ สยี ภาษีเงนิ ไดและภาษีธรุ กจิ เฉพาะ

479

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษธี รุ กจิ
มที ุนทรัพยคํานวณจาก ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย หัก ณ เฉพาะ
ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น ปรราะคเมานิ ททนุแผี่ทสขูดรพังอย - ที่จา ย อากร (๒) (๓)
๕. ให - (๑) เสยี (๔) เสยี เวน แต
๕.๑ ให , ให (สนิ สมรส) , รอยละ ๒ - - เสยี เสยี (๔) จะอยใู น
ใหเ ฉพาะสว น , แบง ให เสยี (๕) หลกั เกณฑ
เวน แต เปน การใหโดย รอ ยละ ๐.๕ - - เสีย เสยี ทไี่ มตอ งเสีย
เสนห าไมมคี า ตอบแทน - เสีย เวน
ระหวางผบู ุพการีกบั รอ ยละ ๒ - ไมเสยี ใหว ดั , แตจะอยใู น
ผูสืบสนั ดาน หรอื ระหวาง (๖) มสั ยดิ หลกั เกณฑ
คูสมรส รอ ยละ๐.๐๑ - เสยี ไมเ สีย ที่ไมต อ ง
๕.๒ ใหร ะหวางผูร บั บุตร รอ ยละ ๒ - (ดภู าค เสยี (๕)
บุญธรรมกบั บตุ รบญุ ธรรม ผนวก เสีย เวน
เพ่มิ เตมิ ) แตจะอยใู น
๕.๓ กรณีใหท ่ีดนิ แกว ัด , หลกั เกณฑ
วดั บาดหลวงโรมันคาทอลิก ท่ไี มตอ ง
หรอื มสั ยิด เพื่อใชเ ปน ท่ีตงั้ เสีย
ศาสนสถาน
๕.๓.๑ ในสวนที่ยกใหเ ม่ือรวม ไมเสยี
กบั ท่ดี นิ ที่มอี ยูก อนแลว ไมเกนิ (๖)
๕๐ ไร เสีย เวนแต
๕.๓.๒ ในสว นทย่ี กใหเ มื่อรวม จะอยใู น
กบั ทีด่ นิ ทีม่ อี ยูก อนแลวเกนิ หลกั เกณฑ
๕๐ ไร สวนท่ีเกิน ทไี่ มต องเสีย
๕.๔ กรณีใหท ี่ดนิ แกมูลนธิ ิ
หรอื สมาคมท่ีไดรบั การ
ประกาศใหเ ปน องคก ารกุศล
สาธารณะตามประกาศ
กระทรวงการคลัง

(๕) - ยกเวนกรณีบดิ ามารดาใหบตุ รทีช่ อบดวยกฎหมายของตนไมเสยี ภาษเี งนิ ไดแ ละภาษธี รุ กจิ เฉพาะ
(๖) - หนังสอื กรมทด่ี นิ ดวนที่สุด ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๐๖๒๓๒ ลงวนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๔๒

480

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษธี รุ กิจ
มที นุ ทรัพยค ํานวณจาก หกั ณ เฉพาะ
ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น ทนุ ทรพั ย ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย ที่จา ย อากร (๒) (๓)
๕.๔.๑ ในสวนท่ียกใหร วมกบั ปรราะคเมานิ ทแี่ผสขูดอง - (๑) เสยี เสีย เวน
ท่ดี นิ ท่ีมีอยูก อนแลว ไมเกิน - เสยี เสีย แตจะอยใู น
๒๕ ไร รอ ยละ๐.๐๑ - - เสยี เสยี หลักเกณฑ
๕.๔.๒ ในสว นทยี่ กใหรวมกับ (๖/๑) เสยี (ดภู าค ทไ่ี มต อ งเสีย
ทดี่ ินท่ีมอี ยูก อนแลวเกิน ๒๕ ๕๐ บาท (ดภู าค ผนวก) เสีย เวนแต
ไร สว นทเี่ กนิ รอ ยละ ๒ - - ผนวก) ไมเสีย จะอยใู น
๕.๕ ถอนคนื การใหตาม หลกั เกณฑ
คาํ สง่ั ศาล (ระบุคําสั่งหรอื รอยละ ๒ - - ไมเ สยี ไมเสีย (๗) ทีไ่ มตองเสีย
คาํ พพิ ากษาศาล) หรือ ๐.๕ ไมเสีย เสยี เวน แต
แลวแตก รณี ไมเ สีย จะอยใู น
๕.๖ คํามนั่ จะให ไมเสีย หลกั เกณฑ
๖. จํานอง -- ท่ีไมตองเสยี
- รอยละ ๑ (ดภู าค
๖.๑ จาํ นอง , จาํ นองเฉพาะ ผนวก)
สว น , ขึ้นเงนิ จากจํานอง , อยางสงู ไมเ สยี
จาํ นองลําดับท่สี องหรอื ไมเ กนิ ไมเ สีย
ทสี่ าม ฯลฯ , แกไ ข ๒๐๐,๐๐๐
เปลีย่ นแปลงจํานอง บาท ไมเสยี
(แปลงหนใ้ี หม) - รอยละ
๖.๑.๑ การจดทะเบียน ๐.๕
จาํ นองตาม ๖.๑ สาํ หรบั อยางสูง
การใหส ินเชอ่ื เพอ่ื ไมเกิน
การเกษตรของสถาบนั ๑๐๐,๐๐๐
การเงนิ ทร่ี ฐั มนตรกี ําหนด บาท

(๖/๑) - ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๔๕ เวียนตามหนงั สือกรมท่ีดนิ
ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๓๕๔๓๕ ลงวนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ (ไมมีกําหนดเวลาสิ้นสุด)

(๗) - หากคสู ญั ญามคี วามประสงคใหสญั ญาจํานองเปน หลักฐานการกยู ืมเงินหรือเบิกเงนิ เกนิ บัญชีจะตอ ง
ปด อากรแสตมปด วยในอตั ราทกุ จํานวนเงนิ ๒,๐๐๐ บาท ตอ งเสยี อากร ๑ บาท (รอ ยละ ๐.๐๕)
แตอ ยา งสงู ไมเ กิน ๑๐,๐๐๐ บาท (หนังสอื กรมที่ดนิ ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๑๕๙๐๙ ลงวันท่ี ๒๗
พฤษภาคม ๒๕๔๐)

481

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษธี รุ กจิ
ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น มีทุนทรพั ยคาํ นวณจาก ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย หัก ณ เฉพาะ
๖.๑.๒ กรณอี งคการบริหาร ปรราะคเมานิ ทท่ีผนุขู ทอรแพัสยดง ท่จี า ย อากร (๒) (๓)
สินเชอื่ อสงั หาริมทรพั ย - รอยละ๐.๐๑ - (๑) ไมเ สยี ไมเ สยี
หรอื บริษทั จํากดั ทส่ี ถาบัน อยางสงู ไมเสีย
การเงินตามพระราช ไมเ กนิ ไมเ สีย ไมเสีย
กฤษฎกี าจดั ตง้ั องคการ ๑๐๐,๐๐๐ ไมเสีย ไมเ สยี ไมเสีย
บริหารสนิ เชือ่ บาท ไมเสีย
อสงั หาริมทรพั ย
พ.ศ. ๒๕๔๐ จดั ตง้ั ขนึ้ เพอื่ - รอยละ๐.๐๑ -
ดําเนนิ การบริหารสนิ เชอื่ - รอยละ๐.๐๑ -
อสังหาริมทรัพยโดยความ
เห็นชอบของธนาคารแหง
ประเทศไทยเปนผูขอ
จดทะเบียนจํานอง
๖.๑.๓ การจดทะเบยี น
จาํ นองตาม ๖.๑ สาํ หรบั
การใหส นิ เชอื่ เพือ่ ฟน ฟูความ
เสยี หายจากอทุ กภยั อคั คภี ยั
วาตภัย หรือมหนั ตภัยอนื่
ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑท่ี
รัฐมนตรกี าํ หนด (๘)
๖.๑.๔ การจดทะเบยี น
จํานองในกรณที ี่
คณะรฐั มนตรีมมี ติให
ลดหยอนคาธรรมเนียมเปน
พเิ ศษเพ่ือประโยชน
สาธารณะหรือความมนั่ คง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ
ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑท่ี
คณะรฐั มนตรกี ําหนด
๖.๒ โอนสทิ ธกิ ารรับจํานอง,
โอนสทิ ธกิ ารรับจํานอง
บางสว น, โอนสทิ ธกิ ารรับ
จาํ นองบางราย

(๘) - ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา ดว ยหลกั เกณฑเ กย่ี วกับการจดทะเบยี นจาํ นองสาํ หรับการใหสินเชื่อเพื่อ
ฟน ฟคู วามเสยี หายจากอุทกภยั อคั คภี ยั วาตภัย หรือมหันตภยั อื่น พ.ศ. ๒๕๔๒

ลาํ

482

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษธี ุรกิจ
ลําทด่ี บั การปจรดะทเภะเทบยี น มที นุ ทรพั ยค าํ นวณจาก ไมม ี หกั ณ เฉพาะ
๖.๒.๑ กรณโี อนโดยการ ปรราะคเมานิ ททผ่ี นุูขทอรแพัสยดง ทนุ ทรัพย ทจี่ าย อากร (๒) (๓)
ตกลงกัน - รอยละ ๑ แปลงละ- (๑) ไมเ สีย ไมเ สยี
ไมเ สยี (๘/๒)
๖.๒.๒ กรณโี อนโดยมี แตอ ยา งสูง ไมเ สีย
กฏหมายเฉพาะใหโ อน ๒บ๐าไมท๐เ ,ก๐หนิ ๐รอื๐ ไมเ สีย ไมเ สีย ไมเสีย
๖.๒.๓ กรณที ส่ี ถาบนั รอยละ ๐.๕ ไมเสยี ไมเ สยี
การเงินรับโอนสิทธิเรียกรอ ง แตอยา งสูง เสยี เวนแต
จากการขายทรพั ยส นิ เพอ่ื ไมเ กิน เสยี เสยี จะอยูอ ยใู น
ชําระบญั ชขี องบริษทั ทถ่ี กู ๑๐๐,๐๐๐ หลักเกณฑ
ระงับการดาํ เนินกิจการตาม บาท แลว แต ทไี่ มต อ งเสยี
มาตรา ๓๐ แหง พระราช กรณี
กําหนด การปฏริ ูประบบ (๘/๑)
สถาบันการเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๐ - - ๕๐ บาท
เปน ผขู อจดทะเบยี น
๖.๓ หลดุ เปนสทิ ธิจาก - รอยละ๐.๐๑ -
จํานอง อยา งสูง
ไมเกิน
๑๐๐,๐๐๐
บาท

รอยละ - -


(๘/๑) - หนงั สอื กรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๕๑๕/ว ๔๐๖๘ ลงวนั ที่ ๑๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๐
(๘/๒) - หนังสอื กรมท่ดี นิ ดวนมาก ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๐๕๑๓๗ ลงวนั ท่ี ๑๔ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๓

483

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษธี ุรกิจ
ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น มที นุ ทรพั ยคาํ นวณจาก ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย หัก ณ เฉพาะ
๖.๔ จาํ นองเพม่ิ หลกั ทรพั ย ปรราะคเมานิ ทท่ผี นุูขทอรแพัสยดง ทจ่ี า ย อากร (๒) (๓)
จาํ นองลาํ ดับท่.ี ..เพิ่ม - - ๕๐ บาท (๑) ไมเสยี ไมเ สีย
หลกั ทรพั ย, แกไ ขหนอี้ ัน ไมเสยี
จํานองเปนประกนั , ไถถอน รอยละ - - เสยี เสีย เวน แต
จากจํานอง , ไถถอนจาก ๒ เสยี เสยี (๑๐) จะอยูใ น
จาํ นองบางราย, แบงไถถ อน ไมเ สีย หลักเกณฑ
จากจํานอง , ระงบั จํานอง - รอยละ ๑ - ทีไ่ มตอ งเสีย
(ปลดจาํ นอง),ปลอดจํานอง ,
ผอนตน เงนิ จากจํานอง , ไมเ สยี
ระงบั จาํ นอง (หนเี้ กลอื่ น
กลนื กัน),ลดเงนิ จากจํานอง ,
ระงับจํานอง (ศาลขายบงั คบั
จํานอง), เปลยี่ นชอ่ื ผูรับ
จํานอง (ระหวา งกิจการที่
เปนนิติบคุ คลเดยี วกนั ) (๙),
โอนมรดกสทิ ธิการรับจํานอง
(๙/๑)

๗. โอนชาํ ระหน้ี
โอนชําระหนี้ , โอนชาํ ระหน้ี
จํานอง

๘. เชา
๘.๑ เชา , แบง เชา , เชา
เฉพาะสว น , แบง เชา เฉพาะ
สว น , เชาชวง , เชา ชว ง
เฉพาะสว น , แบง เชาชว ง ,
แบง เชาชวงเฉพาะสวน ,
โอนสทิ ธกิ ารเชา , โอนสิทธิ
การเชา เฉพาะสว น , แบง
โอนสทิ ธกิ ารเชาเฉพาะสว น

(๙) - ระเบยี บกรมทดี่ นิ วาดว ยฯ การจํานองทีด่ นิ และอสงั หาริมทรัพยอ ยา งอน่ื พ.ศ. ๒๕๕๐
(๙/๑) - หนงั สอื กรมท่ีดนิ ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๒๑๗๘๙ ลงวันที่ ๑๔ สงิ หาคม ๒๕๔๑
(๑๐) - เสียในอัตรา ๑ บาท ตอ ทกุ จํานวนเงิน ๑,๐๐๐ บาท หรือเศษของ ๑,๐๐๐ บาท แหง คา เชาหรอื เงิน

กินเปลา หรอื ทัง้ สองอยา งรวมกนั ตลอดอายกุ ารเชา ยกเวน เชา ทรพั ยสนิ ใชในการทาํ นา ไร สวน ไม
ตอ งเสยี อากร
- การเสียอากรกรณีโอนสทิ ธกิ ารเชา ใหศึกษาจากหนงั สอื กรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๑๑/ก ๕๘๖
ลงวนั ท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๔๓ เวยี นโดยหนังสือกรมทีด่ นิ ท่ี มท ๐๗๒๘/ว ๓๓๕๑๓ ลงวนั ที่ ๓๐
ตลุ าคม ๒๕๔๓

484

คา ธรรมเนยี ม ภาษเี งนิ ได ภาษีธุรกจิ
ลําทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น มีทุนทรัพยค ํานวณจาก ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย หัก ณ เฉพาะ
ปรราะคเมานิ ทท่ีผนุขู ทอรแพัสยดง ทจี่ าย อากร (๒) (๓)
๘.๒ โอนมรดกสทิ ธกิ ารเชา - รอยละ ๑ - (๑) ไมเ สีย ไมเ สยี
๘.๓ แกไ ขเพม่ิ เตมิ สัญญาเชา - (๑๑) ไมเ สยี เสยี ไมเ สยี
๘.๓.๑ กรณมี ีผลใหคา เชา - - ไมเ สีย (๑๑/๒) ไมเ สยี
เพ่มิ ขน้ึ - รอยละ ๑ ๕๐ บาท ไมเสยี ไมเ สยี ไมเสยี
๘.๓.๒ กรณไี มม ีผลใหค า เชา (๑๑/๑) ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สีย
เพม่ิ ขน้ึ - ไมเ สีย
๘.๔ ปลอดการเชา , เลกิ เชา , - - ไมเสยี เสยี (๑๒) ไมเ สีย
เลิกแบงเชา , เลกิ เชา - - ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเสีย
บางสว น , เลิกเชาชว ง , เลกิ ไมเสยี ไมเสีย
เชาชว งบางสวน - รอยละ ๑ - ไมเสีย
๙. ภาระจาํ ยอม - - ๕๐ บาท ไมเสยี เสยี (๑๒) ไมเ สีย
๙.๑ ภาระจาํ ยอม , - - ๕๐ บาท ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเสีย
ภาระจาํ ยอมเฉพาะสว น , ไมเ สีย ไมเสีย
ภาระจาํ ยอมบางสว น รอยละ ๑ -
๙.๑.๑ กรณมี คี า ตอบแทน - ๕๐ บาท
๙.๑.๒ กรณีไมม ีคา ตอบแทน - ๕๐ บาท
๙.๒ ปลอดภาระจาํ ยอม ,
เลกิ ภาระจาํ ยอม , แกไ ข
เปลย่ี นแปลงภาระจาํ ยอม
๑๐. สิทธิเกบ็ กิน
๑๐.๑ สทิ ธเิ ก็บกนิ , สทิ ธิ
เก็บกนิ เฉพาะสว น
๑๐.๑.๑ กรณมี คี า ตอบแทน
๑๐.๑.๒ กรณไี มมี
คาตอบแทน
๑๐.๒ ปลอดสทิ ธเิ ก็บกิน ,
เลิกสทิ ธิเก็บกนิ

(๑๑) - เรยี กรอ ยละ ๑ จากจาํ นวนเงินคาเชาตามระยะเวลาการเชาที่เหลอื อยู
(๑๑/๑) - เรียกเกบ็ รอยละ ๑ จากจาํ นวนเงินคา เชา ท่เี พ่มิ ขนึ้
(๑๑/๒) - เสียอากรแสตมปเชน เดยี วกับ (๑๐) เฉพาะจาํ นวนเงินท่เี พม่ิ ขนึ้
(๑๒) - รอ ยละ ๐.๕ คาํ นวณจากเงินคา ตอบแทน (หนังสือกรมทีด่ นิ ที่ มท ๐๖๑๐/ว ๐๘๓๖๗ ลงวันที่

๒๑ มนี าคม ๒๕๓๗)

485

คา ธรรมเนยี ม ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย ภาษเี งนิ ได ภาษธี ุรกจิ
ลาํ ดบั ประเภท มีทนุ ทรัพยค ํานวณจาก หัก ณ เฉพาะ
ท่ี การจดทะเบยี น ปรราะคเมานิ ทที่ผนุูขทอรแพัสยดง ท่จี า ย อากร (๒) (๓)
๑๑. สทิ ธิเหนือพื้นดนิ (๑) ไมเสีย
๑๑.๑ สทิ ธเิ หนือพน้ื ดิน , - รอยละ ๑ - ไมเ สยี เสยี (๑๓) ไมเสยี
สทิ ธิเหนอื พ้ืนดินเฉพาะสว น , - - ๕๐ บาท ไมเสยี ไมเ สยี ไมเสีย
แบง กอ ตง้ั สทิ ธเิ หนอื พน้ื ดนิ - - ๕๐ บาท ไมเ สยี ไมเ สีย ไมเสีย
๑๑.๑.๑ กรณมี คี า ตอบแทน ไมเสยี เสยี (๑๓) ไมเสยี
๑๑.๑.๒ กรณไี มม ีคา ตอบแทน - รอยละ ๑ - ไมเสีย ไมเ สีย ไมเสยี
๑๑.๒ ปลอดสิทธเิ หนอื - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สยี
พ้นื ดิน , เลิกสิทธิเหนอื - - ๕๐ บาท ไมเ สีย
พ้นื ดนิ ไมเ สีย เสยี (๑๓) ไมเสยี
๑๒. สทิ ธิอาศยั - รอยละ ๑ - ไมเสีย ไมเสีย ไมเ สีย
๑๒.๑ กรณมี คี า ตอบแทน - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเสีย ไมเ สยี
๑๒.๒ กรณไี มม ีคา ตอบแทน - - ๕๐ บาท ไมเ สยี ไมเสยี
เลกิ สทิ ธอิ าศยั
๑๓. ภาระตดิ พนั ใน - - ๕๐ บาท
อสงั หารมิ ทรพั ย
๑๓.๑ ภาระตดิ พนั ใน
อสงั หาริมทรพั ย , ภาระตดิ
พันในอสงั หารมิ ทรพั ยเฉพาะ
สว น , แบงกอ ต้งั ภาระตดิ พนั
ในอสังหารมิ ทรัพย
๑๓.๑.๑ กรณมี คี าตอบแทน
๑๓.๑.๒ กรณีไมมีคาตอบแทน
๑๓.๒ ปลอดภาระตดิ พนั ใน
อสังหาริมทรัพย เลกิ ภาระ
ติดพันในอสังหาริมทรพั ย
๑๔. บรรยายสวน

(๑๓) - รอ ยละ ๐.๕ คาํ นวณจากเงินคาตอบแทน (หนงั สือกรมที่ดิน ท่ี มท ๐๖๑๐/ว ๐๘๓๖๗ ลงวันที่
๒๑ มนี าคม ๒๕๓๗)

486

คา ธรรมเนยี ม ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย ภาษเี งนิ ได ภาษธี รุ กจิ
ลําทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น มที นุ ทรพั ยคํานวณจาก หัก ณ เฉพาะ
ปรราะคเมานิ ททีผ่ นุขู ทอรแพัสยดง ท่จี าย อากร (๒) (๓)
(๑)
๑๕. โอนชาํ ระคา หนุ
โอนชาํ ระคา หนุ , โอนชําระ รอยละ ๒ - - เสยี เสยี เสีย เวนแต
คาหนุ เฉพาะสวน , แบงโอน จะอยใู น
ชาํ ระคาหุน หลักเกณฑ
ท่ไี มตอ งเสีย
๑๖. โอนใหต วั การ
โอนใหตวั การ , โอนให - - ๕๐ บาท ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเสีย
ตวั การเฉพาะสว น , แบง โอน
ใหต วั การ , กรรมสทิ ธ์ิรวม
(โอนใหตวั การ)
๑๗. บรุ ิมสิทธิ
๑๗.๑ บุริมสทิ ธิ - รอยละ ๑ - ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเ สยี
อยา งสงู (๑๔) (๑๔) (๑๔)
ไมเกิน
๒๐๐,๐๐๐
บาท
๑๗.๑.๑ คา จดทะเบยี น - รอยละ ๐.๕ - ไมเ สีย ไมเสีย ไมเสยี
บรุ ิมสิทธสิ าํ หรับการให อยางสงู
สินเชอื่ เพอื่ การเกษตรของ ไมเกิน
สถาบันการเงนิ ทร่ี ฐั มนตรกี าํ หนด ๑๐๐,๐๐๐
บาท
๑๗.๑.๒ กรณอี งคก าร - รอยละ - ไมเ สยี ไมเสยี ไมเสยี
บรหิ ารสินเช่อื ๐.๐๑
อสงั หารมิ ทรัพยหรอื บริษทั อยา งสงู
จาํ กัดท่ีสถาบันการเงนิ ตาม ไมเกิน
พระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั ๑๐๐,๐๐๐
องคก ารบริหารสนิ เชอื่ บาท
อสังหารมิ ทรัพย พ.ศ. ๒๕๔๐
จัดตัง้ เพอ่ื ดําเนนิ การบรหิ าร
สนิ เชอ่ื อสงั หารมิ ทรัพยโดย
ความเห็นชอบของธนาคาร
แหงประเทศไทยเปนผขู อ
จดทะเบียนบรุ ิมสทิ ธิ

(๑๔) - ศึกษารายละเอยี ดจากภาคผนวก (การจดทะเบยี นขายพรอ มจดทะเบยี นบุริมสิทธิ์ในมูลซ้อื ขาย
อสังหารมิ ทรัพย)



487

ลําทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น คา ธรรมเนยี ม ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย ภาษเี งนิ ได อากร (๒) ภาษีธุรกิจ
มที ุนทรพั ยคาํ นวณจาก หัก ณ เฉพาะ
ปรราะคเมานิ ททผ่ี นุูขทอรแพัสยดง ทจ่ี าย (๓)
(๑)
๑๗.๒ ปลอดบุรมิ สทิ ธิ , เลกิ - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สีย ไมเสีย
บรุ มิ สิทธิ
๑๘. หา มโอน
หามโอน , หา มโอนเฉพาะ - - ๕๐ บาท ไมเ สีย ไมเ สีย ไมเ สีย
สว น , เลิกหามโอน , เลกิ
หา มโอนเฉพาะสว น
๑๙. ลงชอ่ื คูส มรส - - ๕๐ บาท ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเสีย
๒๐. แบง ทรพั ยส นิ ระหวาง - - ๕๐ บาท เสยี ในสว น เสยี ในสว น เสียในสวนท่ี
คูส มรส ทแ่ี บงเกนิ ทีแ่ บงเกนิ แบงเกนิ กวา
กวาก่ึงหนงึ่ กวา ก่ึงหนง่ึ กึ่งหน่งึ เวน
แตจะอยใู น
หลักเกณฑ
ทไ่ี มต องเสยี
๒๑. แบง คนื ทรพั ยส นิ ของหา ง
หนุ สว นหรอื บรษิ ัทใหผ เู ปน
หนุ สวนหรือผูถอื หุน
แบง คืนใหผ เู ปน หนุ สว น , รอยละ ๒ - - เสยี เสยี เสีย เวนแต
แบงคนื ใหผ ูถอื หนุ , จะอยูใน
แบงแยกคืนใหผูเปน หุนสว น , หลักเกณฑ
แบง แยกคืนใหผ ูถ อื หนุ ทีไ่ มต อ งเสีย
๒๒. โอนตามคาํ สง่ั ศาล
ขายหรอื ใหตามคาํ สั่งศาล ,
โอนตามคาํ ส่งั ศาล
๒๒.๑ กรณมี ีทนุ ทรัพย รอยละ ๒ - - เสยี เสยี เสยี เวนแต
หรือ ๐.๕ จะอยใู น
แลวแต หลักเกณฑ
กรณี ทีไ่ มตองเสยี

๒๒.๒ กรณีไมม ที นุ ทรัพย - - ๕๐ บาท เสยี -ไมเสยี เสยี -ไมเสยี เสยี -ไมเ สยี
ดขู อ เท็จจริง ดขู อ เทจ็ จรงิ ดขู อ เทจ็ จรงิ
เปน กรณไี ป เปน กรณไี ป เปน กรณไี ป

488

ลาํ ทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น คา ธรรมเนยี ม ไมม ี ภาษเี งนิ ได อากร ภาษธี ุรกิจ
มที นุ ทรัพยค ํานวณจาก ทนุ ทรพั ย หัก ณ (๒) เฉพาะ
ปรราะคเมานิ ทที่ผนุูข ทอรแพัสยดง แปลงละ ทจ่ี า ย (๓)
(๑)
๒๓. โอนมรดก , ผจู ดั การมรดก
๒๓.๑ โอนมรดก , โอน รอยละ ๒ - - ไมเสยี ไมเ สีย ถา ผูรบั เปน
มรดกเฉพาะสวน , โอน ทายาทโดย
มรดกบางสว น , โอนมรดก ธรรมไม
เฉพาะสว นเพยี งบางสว น เสยี (๑๕)
เวน แต เปน การโอนมรดก รอยละ - - ไมเ สีย ไมเ สยี ไมเสยี
ระหวา งผูบุพการกี ับ ๐.๕
ผูสืบสนั ดาน หรือระหวาง
คสู มรส
๒๓.๒ ผูจัดการมรดก - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเสีย ไมเ สีย
ผูจดั การมรดกเฉพาะสว น ,
โอนเปลี่ยนนามผูจดั การ
มรดก , เปล่ียนผจู ดั การ
มรดก , เลกิ ผจู ัดการมรดก
๒๔. โอนตามกฎหมาย (....) - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเ สยี ไมเ สีย
(๑๖)
๒๕. ผปู กครองทรพั ย, - - ๕๐ บาท ไมเสยี ไมเ สีย ไมเ สยี
เลิกผปู กครองทรพั ย - - ๕๐ บาท ไมเสยี ไมเ สีย ไมเสยี
๒๖. ไดม าโดยการครอบครอง รอยละ ๒ - - ไมเ สยี ไมเ สยี ไมเสีย
ตาม ป.พ.พ. มาตรา (๑๗)
๑๓๖๗

(๑๕) - กรณีผูรับพินัยกรรมมิใชทายาทโดยธรรมตอ งเสียภาษธี ุรกิจเฉพาะ เวนแตจ ะอยใู นหลกั เกณฑทไ่ี มต อ งเสยี
(หนงั สอื กรมทด่ี ิน ดวนที่สุด ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๐๐๙๐๕ ลงวันท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๔๒)

(๑๖) - ภายในวงเลบ็ ใสช ือ่ ของกฎหมายทีใ่ หโอน
(๑๗) - ผไู ดม าฯ มีหนา ท่ตี อ งไปเสียรวมกบั ภาษีเงินไดตามปกติ (ไมตอ งเสียตอนจดทะเบียนไดม าฯ (หกั ณ ทจี่ าย))

489

คา ธรรมเนยี ม ทแนุปไทลมรงม พัลี ะย ภาษเี งนิ ได ภาษีธรุ กิจ
ลําทด่ี ับ การปจรดะทเภะเทบยี น มที นุ ทรพั ยคํานวณจาก หกั ณ อากร เฉพาะ
ปรราะคเมานิ ทนุ ทรพั ย ท่จี า ย (๒) (๓)
ทีผ่ ูข อแสดง (๑)
๒๗. ไดม าโดยการครอบครอง
ตาม ป.พ.พ. มาตรา
๑๓๘๒
ไดม าโดยการครอบครอง, รอยละ ๒ - - ไมเ สยี ไมเ สีย ไมเ สยี
ไดมาโดยการครอบครอง (๑๘)
เฉพาะสว น , กรรมสิทธริ์ วม
(ไดมาโดยการครอบครอง)
แบง ไดมาโดยการ
ครอบครอง
๒๘. โอนจากสุขาภบิ าลเปน ของ - - ๕๐ บาท ไมเสีย ไมเสีย ไมเ สยี
เทศบาล
๒๙. การแกไขหลกั ฐานทาง
ทะเบยี นในหนงั สอื แสดง
สทิ ธใิ นที่ดิน (กรณเี วนคนื )
๒๙.๑ กรณีผมู ชี ือ่ ในหนงั สอื ไมเ สยี - - ไมเ สยี ไมเ สยี ศกึ ษาจาก
แสดงสทิ ธใิ นที่ดินท่ถี กู ภาคผนวก
เวนคนื เปนบุคคลธรรมดา
๒๙.๒ กรณผี มู ีช่อื ในหนงั สอื ไมเสีย - - เสยี -ไมเ สยี ไมเ สีย ศกึ ษาจาก
แสดงสทิ ธิในทดี่ นิ ท่ีถกู (ศกึ ษาจาก ภาคผนวก
เวนคนื เปน นิติบุคคล ภาคผนวก)
๓๐. โอนทรพั ยส นิ ท่เี ปน ไมเสีย - - ไมเสีย ไมเ สยี ไมเ สีย
สาธารณูปโภคและบริการ
สาธารณะ (๑๙)

(๑๘) - ผูไดม าฯ มหี นาทตี่ อ งไปเสียรวมกบั ภาษีเงนิ ไดตามปกติ (ไมตอ งเสยี ตอนจดทะเบียนไดมาฯ (หกั ณ ทจี่ า ย))
(๑๙) - หนังสือกรมท่ีดนิ ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๓๗๘๓ ลงวนั ท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๖



คณะผู้อำนวยกำรจัดทำ

๑. ผู้อนมุ ตั ิโครงกำร

นำยประทีป กรี ติเรขำ อธิบดกี รมทีด่ ิน

๒. ผเู้ หน็ ชอบโครงกำร

นำยชยั ชำญ สิทธิวิรัชธรรม รองอธิบดีกรมทดี่ ิน

๓. ผเู้ สนอโครงกำร

นำยโศภนมติ ร์ บนุ นำค ผ้อู ำนวยกำรสำนักมำตรฐำนกำรทะเบยี นที่ดิน

๔. คณะผ้จู ดั ทำ

นำงสำวศริ ริ ตั น์ ทรัพย์ไพบูลย์ ผู้เชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนกำรทะเบียนทด่ี นิ

นำยสมพล ธนวิชชำบรู ณ์ หัวหน้ำกลุ่มพัฒนำกำรทะเบียนท่ีดนิ

นำงโสภำพชิ ญ์ แก้วจฬุ ำ นกั วิชำกำรทดี่ ินชำนำญกำร

นำงสำวชญั ญำ ม่นั คง นกั วชิ ำกำรที่ดินชำนำญกำร

นำยนิพนธ์ โพธิ์จไุ ร นกั วชิ ำกำรทด่ี นิ ปฏบิ ัติกำร

นำงสำววำสติ ำ นำมชุม่ พนกั งำนบันทกึ ข้อมลู

ว่ำท่ีรอ้ ยตรีหญิงภคมณ เอกวำรยี ์ เจ้ำพนกั งำนธรุ กำร

นำงสำวเพียงฝนั แกว้ ไตรรตั น์ เจำ้ พนกั งำนธุรกำร

ตลุ ำคม ๒๕๖๐ - กันยำยน ๒๕๖๑


Click to View FlipBook Version