The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการสอบสวนจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (ปี 2561)

สำนักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

343

การจดทะเบียนไดมาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมาย
แพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๓๖๗

 ความหมาย
การไดมาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพง

และพาณชิ ย มาตรา ๑๓๖๗ คือ การท่ีบุคคลหน่งึ เขา แยง การครอบครอง
ที่ดนิ ที่มหี นงั สอื รับรองการทําประโยชนข องบคุ คลอนื่ ดว ยเจตนายดึ ถอื
ครอบครองเปนของตนเองเกนิ กวา ๑ ป นบั แตเขา แยง การครอบครอง

ตัวอยาง ผขู อจดทะเบียนมีหลักฐานการซื้อขายที่ดิน
ตามหนังสือรับรองการทําประโยชนที่มีผูมีช่ือในหนังสือรับรอง
การทําประโยชนเปนผูขาย และผูขอเปนผูซื้อโดยสัญญาซื้อขาย
ทาํ กนั เองไมไดจ ดทะเบียนตอพนกั งานเจา หนา ที่ เมอ่ื ซือ้ แลว ผขู ายไดส ง
มอบการครอบครองผูขอ (ผูซื้อ) ไดเขาครอบครองติดตอกันมาเกิน
๑ ปแลว หรือผูมีชอื่ ในหนังสอื รบั รองการทําประโยชนไ ดเปน โจทกฟ อ ง
ขบั ไลศาลฟงไดวาท่ีดินตามหนังสือรับรองการทําประโยชนดังกลาว
จาํ เลยไดเ ขาแยงการครอบครองมาเกิน ๑ ปแลว โจทกไมไดฟอง
เอาคืนการครอบครอง จาํ เลยจงึ มีสิทธคิ รอบครองดกี วา โจทก

 กฎหมายและระเบียบท่เี ก่ยี วขอ ง

- ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย มาตรา ๑๓๖๗ – ๑๓๗๕
- กฎกระทรวงฉบับท่ี ๗ (พ.ศ.๒๔๙๗) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติใหใ ชป ระมวลกฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ขอ ๗
- ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกับท่ีดินซ่ึงไดมาโดยการครอบครอง พ.ศ. ๒๕๕๑

 ประเภทการจดทะเบยี น

๑. ไดมาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย มาตรา ๑๓๖๗ หมายถงึ กรณีผไู ดมาโดยการครอบครอง
มาขอจดทะเบยี นไดม าโดยการครอบครองในหนงั สือรับรองการทําประโยชน

344

ท่ีมีชื่อบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้ถือสิทธิครอบครอง โดยขอ
จดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองทดี่ นิ ทงั้ แปลง

๒. ได้มาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ เฉพาะส่วน หมายถึง กรณีผู้ได้มา
โดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองในหนังสือ
รับรองการทาประโยชน์ท่ีมีชื่อบุคคลหลายคนเป็นผู้ถือสิทธิครอบครอง
โดยขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วนของผู้ถือสิทธิ
ครอบครองคนใดคนหน่ึงหรือหลายคนหมดท้ังส่วนของบุคคลนั้น
แต่ไม่เตม็ ท้ังแปลง

๓. แบ่งได้มาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๖๗ หมายถึง กรณผี ู้ได้มาโดยการครอบครอง
มาขอจดทะเบยี นได้มาโดยการครอบครองในหนังสือรับรองการทาประโยชน์
ที่มีชื่อบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้ถือสิทธิครอบครอง โดยผู้ได้มา
โดยการครอบครองได้สทิ ธิครอบครองท่ีดินเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เต็ม
ทัง้ แปลง และขอรงั วดั แบ่งแยกส่วนที่ได้มาโดยการครอบครองออกเป็น
หนังสอื รับรองการทาประโยชน์ฉบับใหม่

๔. แบ่งได้มาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ (ครอบจานอง) หรือ (ครอบ
ภาระจายอม) หมายถึง กรณีการขอจดทะเบียนประเภทแบ่งได้มา
โดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗
ในหนงั สือรับรองการทาประโยชน์ โดยในขณะจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดิน
ดังกล่าว หนงั สอื รบั รองการทาประโยชน์มีภาระผูกพันติดอยู่ เช่น จานอง
เช่า ภาระจายอม เป็นตน้

หมายเหตุ
ชื่อประเภทการจดทะเบียนเก่ียวกับการได้มาโดยการ
ครอบครองในกรณีอื่นนอกจากระบุไว้ในระเบียบกรมที่ดินว่าด้วย
การจดทะเบยี นสทิ ธิและนิติกรรมเกี่ยวกับท่ีดินซึ่งได้มาโดยการครอบครอง

345

พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้เขียนชื่อโดยเทียบเคียงและปรับไปตามประเภท
การจดทะเบียนที่ระบไุ วใ้ นระเบียบน้ี โดยอนโุ ลม

 สาระสาคัญ

การจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ มีวิธีดาเนินการ ดงั น้ี

๑. การได้มาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ นั้น ผู้ครอบครองย่อมไม่อาจมีคาขอ
ฝา่ ยเดียวเพ่ือให้ศาลมีคาส่ังว่าตนได้มาโดยการครอบครองได้ (เทียบ
คาพิพากษาฎีกา ที่ ๗๖๗๙/๒๕๔๐) ในการจดทะเบียนได้มาโดย
การครอบครอง จึงไม่จาเป็นต้องมีคาส่ังหรือคาพิพากษาของศาลมา
ประกอบการดาเนินการแตอ่ ยา่ งใด เพยี งแตป่ รากฏว่าผู้ขอได้ครอบครอง
ทีด่ ินแปลงดงั กล่าวอยู่จรงิ พนักงานเจ้าหนา้ ที่กส็ ามารถจดทะเบียนใหไ้ ด้

๒. การจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๑๓๖๗ เป็นการจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรมเก่ยี วกบั อสงั หารมิ ทรัพย์ ตามความในมาตรา ๗๒ แห่งประมวล
กฎหมายทดี่ ิน ผขู้ อจดทะเบยี นจะต้องนาหนงั สอื รบั รองการทาประโยชน์
ฉบับเจ้าของที่ดินมาขอจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และการ
จดทะเบยี นในหนังสือรับรองการทาประโยชน์ดังกล่าวต้องอยู่ในบังคับ
ของมาตรา ๗๕ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน โดยจะต้องจดทะเบียน
ในหนงั สือรบั รองการทาประโยชน์ท้ังฉบับสานักงานท่ีดินและฉบับเจ้าของ
ที่ดนิ ใหถ้ กู ตอ้ งตรงกัน หากไม่ได้หนงั สอื รับรองการทาประโยชน์น้ันมา
ก็เป็นหน้าท่ขี องผู้ขอที่จะต้องขวนขวายนาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินนั้น
มาจดทะเบียนไม่อาจขอออกใบแทนหนังสือรับรองการทาประโยชน์ได้
(หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๑๖.๒/ว ๑๒๖๗๓ ลงวันที่ ๒๑
พฤษภาคม ๒๕๔๖)

๓. กรณีมีผู้ขอจดทะเบยี นได้มาโดยการครอบครองตาม
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ โดยไม่สามารถนา

346

หนังสือรับรองการทาประโยชน์มาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ แต่เป็น
เรื่องท่ีศาลได้มีคาส่ังหรือคาพิพากษาอันถึงท่ีสุดเก่ียวกับหนังสือรับรอง
การทาประโยชน์นั้น ๆ หรือเป็นกรณีที่ผู้ใดมีสิทธิจดทะเบียนตาม
คาพิพากษาของศาล และข้อเท็จจริงปรากฏตามคาสั่งหรือคาพิพากษา
ของศาลดังกล่าวว่า ศาลได้พิเคราะห์และวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดี
และรับฟังได้ว่า โจทก์หรือจาเลยซ่ึงเป็นผู้ขอจดทะเบียนเป็นผู้มีสิทธิ
ครอบครองในที่ดินนั้น พนักงานเจ้าหน้าที่ก็สามารถออกใบแทน
หนงั สอื รับรองการทาประโยชน์ เพื่อดาเนินการจดทะเบียนได้มาโดย
การครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗
ให้ได้ ตามนัยข้อ ๑๒ ประกอบกับข้อ ๑๗ (๓) แห่งกฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายทดี่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗

หากปรากฏว่าหนังสือรับรองการทาประโยชน์ดังกล่าว
ได้มีการจดทะเบียนโอนไปยังบุคคลที่มิได้เป็นคู่ความในคดีไปก่อน ท่ี
ผู้ขอมาจดทะเบียนแล้ว พนักงานเจ้าหน้าท่ีไม่สามารถออกใบแทน
หนงั สือรับรองการทาประโยชน์ เพ่ือดาเนินการจดทะเบียนได้มาโดย
การครอบครองให้แกผ่ ขู้ อได้ เนื่องจากคาส่งั หรือคาพิพากษาของศาล
นั้นไม่มีผลผูกพันบุคคลภายนอกท่ีมิได้เป็นคู่ความในคดีด้วย ทั้งน้ี
ตามนัยมาตรา ๑๔๕ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
(หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๑๖.๒/ว ๑๒๖๗๓ ลงวันท่ี ๒๑
พฤษภาคม ๒๕๔๖)

๔. เมอื่ รบั คาขอแล้วเจ้าหน้าที่ต้องออกไปรังวัดตรวจสอบ
ว่าที่ดินท่ีผู้ขออ้างว่ามีสิทธิครอบครองน้ันตรงกับ น.ส.๓ หรือไม่
เพียงใด การดาเนินการดังกล่าวอนุโลมปฏิบัติอย่างเรื่องการตรวจสอบ
เนอื้ ท่ี น.ส.๓ ตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการแบ่งแยกและตรวจสอบ
เน้ือที่หนังสอื รบั รองการทาประโยชน์ พ.ศ. ๒๕๒๙

347

๕. พนกั งานเจ้าหน้าท่ีสอบสวนพยานท่ีเช่ือถือได้และเป็น
ผู้รู้เร่ืองการครอบครองของผู้ขอดี ซ่ึงอาจจะเป็นเจ้าของท่ีดินข้างเคียง
หรือเจ้าของท่ีดินที่อยู่ในบริเวณเดียวกันกับผู้ปกครองท้องที่ไปร่วม
เป็นพยานดว้ ย

๖. ดาเนนิ การประกาศการขอจดทะเบียนตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๔๙๗)ฯ แม้เป็นที่ดินที่เป็นหนังสือรับรองการทา
ประโยชน์แบบ น.ส. ๓ ก. ก็ต้องประกาศการขอจดทะเบียนเพื่อหา
ผู้คัดค้านด้วย ซ่ึงถือว่าเป็นวิธีการสอบสวนเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงว่า
ผูข้ อได้ครอบครองจริงหรือไม่

๗. เม่ือครบกาหนดประกาศแล้วไม่มีผู้ใดคัดค้านก็
ดาเนินการจดทะเบยี นให้ผู้ขอได้

๘. หากมีการคดั คา้ น ให้ดาเนินการดงั น้ี
(๑) ใหส้ อบสวนพยานหลักฐานและพิจารณาคาคัดค้าน

ก่อนว่ามีเหตุผลเพียงพอหรือไม่ โดยพิจารณาถึงสิทธิของผู้คัดค้าน
ที่อ้างไว้ในคาคัดค้านว่า เป็นสิทธิประเภทเดียวกันกับสิทธิท่ีจะมี
การจดทะเบียนตามคาขอหรือไม่ หรือหากมีการจดทะเบียนตาม
คาขอแล้วจะกระทบตอ่ สทิ ธิของผู้คัดคา้ นหรอื ไม่

(๒) หากพิจารณาแล้วปรากฏว่าสิทธิของผู้คัดค้าน
เป็นคนละประเภทกบั สิทธทิ ีจ่ ะมีการจดทะเบียนตามคาขอ หรือมีการ
จดทะเบียนตามคาขอแล้วไม่กระทบต่อสิทธิของผู้คัดค้านก็สมควร
ท่ีจะสั่งไม่รับคาคัดค้านแล้วแจ้งให้ผู้คัดค้านทราบว่าพนักงานเจ้าหน้าที่
ไม่อาจระงับการจดทะเบียนได้เป็นเรื่องที่ผู้คัดค้านจะต้องไปฟ้องร้อง
ว่ากล่าวกันเอง และโดยที่คาส่ังไม่รับคัดค้านเป็นคาส่ังทางปกครอง
พนักงานเจ้าหนา้ ท่จี งึ ต้องแจ้งสทิ ธิอทุ ธรณห์ รือโต้แย้งคาสั่งทางปกครอง
ใหผ้ ู้คัดค้านทราบ ตามมาตรา ๔๐ และ ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติ
วิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
การแจ้งสิทธิในการฟอ้ งคดีปกครองตามมาตรา ๕๐ แหง่ พระราชบญั ญัติ

348

จัดตง้ั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ กรมท่ีดิน
ได้เวียนให้ถือปฏิบัติตามหนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๗๑๒/ว ๒๐๐๙๔
ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๔ เสร็จแล้วจึงดาเนินการจดทะเบียน
ใหก้ ับผู้ย่ืนคาขอตอ่ ไป

(๓) หากพิจารณาแล้วปรากฏว่าสิทธิของผู้คัดค้าน
เป็นประเภทเดยี วกบั สทิ ธทิ ี่จะมีการจดทะเบียนตามคาขอ หรือมีการ
จดทะเบียนตามคาขอแล้วกระทบต่อสิทธิของผู้คัดค้าน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ทาการเปรียบเทียบทั้งสองฝ่าย ถ้าตกลงกันได้ให้ทาเป็น
หนังสือสัญญาประนีประนอมยอมความไว้แล้วดาเนินการตามนั้น
ถ้าตกลงกันไมไ่ ดใ้ ห้งดดาเนินการไว้ แล้วแจ้งให้ท้ังสองฝ่ายไปจัดการ
ฟอ้ งรอ้ งว่ากลา่ วกนั ตอ่ ไปและเม่ือมคี าพพิ ากษาถึงที่สุดแล้ว จึงดาเนินการ
จดทะเบียนตามผลแห่งคาพิพากษา (หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท
๐๕๑๕/ว ๒๕๖๐๖ ลงวนั ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๗)

349

การจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๒

 ความหมาย
การจดทะเบยี นได้มาโดยการครอบครอง ตามประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๒ คือ การจดทะเบียนตาม
คาสัง่ ศาลหรอื คาพิพากษาของศาล ซ่ึงศาลได้มีคาส่ังหรือคาพิพากษา
ว่าผู้ขอได้กรรมสิทธ์ิมาโดยการครอบครองตามมาตรา ๑๓๘๒ แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ (ครอบครองปรปักษ์) มีได้เฉพาะ
โฉนดทด่ี นิ เท่าน้นั การครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๓๘๒ (ครอบครองปรปกั ษ)์ คือการครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น
โดยสงบและเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์
ไดค้ รอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ผู้ครอบครองน้ันย่อมได้กรรมสิทธิ์
ในทรัพย์น้ัน อสังหาริมทรัพย์ท่ีจะนามาจดทะเบียนประเภทน้ีกับ
สานักงานที่ดินมีได้เฉพาะที่ดินที่มีโฉนดที่ดินเท่านั้น หากเป็นที่ดิน
ที่เป็นหนงั สอื รับรองการทาประโยชน์ (น.ส.๓ , น.ส.๓ ก., น.ส.๓ ข.)
หากมกี ารแยง่ การครอบครองเกนิ ๑ ปี จะต้องขอจดทะเบียนในประเภท
ได้มาโดยการครอบครอง ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๓๖๗

ถ้าที่ดินมีเพยี งหลักฐานใบไตส่ วน ยังถือไม่ได้ว่าเป็นที่ดิน
ท่ีมีกรรมสิทธ์ิจึงไม่อาจจดทะเบียนการได้มาโดยการครอบครองตาม
มาตรา ๑๓๘๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้ (เทียบ
คาพิพากษาฎกี าที่ ๑๖๙๐/๒๕๐๕, ๑๘๖/๒๕๐๘, ๑๓๓๑/๒๕๐๘)
 กฎหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

- ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา ๑๓๘๒
- ประมวลกฎหมายทดี่ นิ มาตรา ๗๘

350

- กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความ
ในพระราชบญั ญัติให้ใชป้ ระมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ข้อ ๘

- ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการจดทะเบียนสิทธิ
และนติ กิ รรมเก่ยี วกับทีด่ นิ ซ่ึงได้มาโดยการครอบครอง พ.ศ. ๒๕๕๑
 ประเภทการจดทะเบยี น

๑. ได้มาโดยการครอบครอง หมายถึง กรณีผู้ได้มา
โดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองใน
โฉนดที่ดินที่มีชื่อบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิ
และศาลได้มคี าพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดให้ผู้ขอได้กรรมสิทธ์ิในท่ีดิน
เต็มตามโฉนดท่ดี ินทัง้ แปลง

๒. ไดม้ าโดยการครอบครองเฉพาะส่วน หมายถึง กรณี
ผู้ได้มาโดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง
ในโฉนดท่ีดินที่มีชื่อบุคคลหลายคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ และศาลได้มี
คาพพิ ากษาหรือคาสง่ั ถึงท่ีสุดให้ผู้ขอได้กรรมสิทธ์ิท่ีดินเฉพาะส่วนของผู้ถือ
กรรมสิทธิ์คนใดคนหนึ่งหรือหลายคนหมดทั้งส่วนของบุคคลนั้นแต่
ไมเ่ ตม็ ตามโฉนดทด่ี ินทั้งแปลง

๓. กรรมสิทธิ์รวม (ได้มาโดยการครอบครอง)
หรือ กรรมสิทธิ์รวมเฉพาะส่วน (ได้มาโดยการครอบครอง) หมายถึง
กรณีผู้ได้มาโดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง
ในโฉนดท่ีดินที่มีชื่อบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์
และศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งถึงที่สุดให้ผู้ขอได้กรรมสิทธิ์ที่ดิน
เฉพาะส่วนหน่ึงส่วนใดไม่เต็มตามโฉนดที่ดินทั้งแปลง และผู้ที่มีชื่อ
ถือกรรมสิทธิ์ทุกคนในโฉนดที่ดินกับผู้ได้มาโดยการครอบครอง
ได้ตกลงยอมให้ผู้ได้มาโดยการครอบครองมีชื่อถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน
ในโฉนดที่ดินด้วย

๔. แบ่งไดม้ าโดยการครอบครอง หมายถึง กรณีผู้ได้มา
โดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองในโฉนดท่ีดิน

351

ทีม่ ชี ื่อบคุ คลคนเดยี วหรือหลายคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธ์ิและศาลมีคาพิพากษา
หรือคาสง่ั ถึงทส่ี ุดใหผ้ ู้ขอได้กรรมสิทธิ์ท่ีดินเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดไม่เต็ม
ตามโฉนดท่ีดนิ ท้งั แปลง และผูม้ ีช่ือถอื กรรมสิทธ์ใิ นโฉนดที่ดินไม่ตกลง
ใหผ้ ู้ไดม้ ามีช่ือถอื กรรมสทิ ธิ์ร่วมกันในโฉนดที่ดินด้วย โดยตอ้ งมีการรังวัด
แบง่ แยกส่วนของผู้ไดม้ าโดยการครอบครองออกเปน็ โฉนดทีด่ นิ ใหม่

๕. แบ่งได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วน หมายถึง
กรณีผู้ไดม้ าโดยการครอบครองมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง
ในโฉนดที่ดินที่มีชื่อบุคคลหลายคนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ และศาลมี
คาพิพากษาหรือคาส่ังถึงท่ีสุดให้ผู้ขอได้กรรมสิทธิ์มาเฉพาะส่วนของ
ผู้ถือกรรมสิทธิ์คนใดคนหน่ึงหรือหลายคนหมดท้ังส่วนของบุคคลนั้น
แต่ไม่เต็มตามโฉนดที่ดินทั้งแปลง โดยคาพิพากษาหรือคาสั่งศาล
ระบุให้ได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วนของผู้ถือกรรมสิทธ์ิคนใดคนหนึ่ง
และได้กาหนดตาแหน่งท่ีตั้ง จานวนเน้ือท่ี และรูปแผนท่ีที่แน่นอน
อันเป็นการได้มาซ่ึงกรรมสิทธ์ิโดยการครอบครองที่ดินแยกต่างหาก
จากผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมคนอื่น ๆ อย่างชัดเจน หากผู้ขอได้มา
โดยการครอบครองเฉพาะส่วนนั้น มีความประสงค์จะขอรังวัด
แบง่ แยกท่ดี ินสว่ นท่ีตนไดม้ าโดยการครอบครองออกเป็นโฉนดท่ีดนิ ใหม่

๖. แบ่งได้มาโดยการครอบครอง (ครอบจานอง) หรือ
แบ่งได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วน (ครอบภาระจายอม)
หมายถึง กรณกี ารขอจดทะเบียนประเภทแบ่งได้มาโดยการครอบครอง
หรือแบ่งได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วน โดยในขณะจดทะเบียน
แบ่งแยกท่ีดินดังกล่าว โฉนดท่ีดินมีภาระผูกพันติดอยู่ เช่น จานอง
ภาระจายอม เป็นตน้ ซงึ่ ตอ้ งระบุการครอบภาระผูกพันแล้วแต่กรณี
ต่อท้ายชื่อประเภทการจดทะเบียนแบ่งได้มาโดยการครอบครอง
หรือแบง่ ได้มาโดยการครอบครองเฉพาะส่วนไวด้ ว้ ย

352

หมายเหตุ
ชื่อประเภทการจดทะเบียนเก่ียวกับการได้มาโดยการ
ครอบครองในกรณีอื่นนอกจากระบุไว้ในระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วย
การจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ ิกรรมเกยี่ วกบั ที่ดินซ่ึงได้มาโดยการครอบครอง
พ.ศ. ๒๕๕๑ ใหเ้ ขียนชอ่ื โดยเทียบเคยี งและปรับไปตามประเภทการ
จดทะเบียนทร่ี ะบไุ ว้ในระเบยี บนี้ โดยอนโุ ลม
 สาระสาคญั
การจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๒ มีวธิ ีดาเนนิ การ ดงั นี้
๑. ผไู้ ดม้ าโดยการครอบครองต้องย่ืนคาขอต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่พรอ้ มดว้ ยคาพิพากษาหรือคาสั่งศาลอันถึงที่สุดแสดงว่าตนมี
กรรมสิทธใิ์ นท่ีดินดังกลา่ วนัน้ คาพิพากษาที่นามาแสดงเพ่ือขอจดทะเบียน
ได้มาโดยการครอบครองนั้น อาจไม่ใช่คดีที่ผู้ขอจดทะเบียนได้มา
โดยการครอบครองเปน็ โจทก์หรือเป็นผรู้ ้องขอไดม้ าโดยการครอบครองก็ได้
คดีดังกล่าวอาจเป็นกรณีท่ีผู้ขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครอง
เปน็ จาเลยถูกฟ้อง ขับไล่ออกจากที่ดิน แต่ศาลวินิจฉัยแล้วรับฟังได้ว่า
จาเลยได้ครอบครองที่ดินจนได้กรรมสิทธิ์ตามมาตรา ๑๓๘๒
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จาเลยก็สามารถนาคาพิพากษา
ดังกล่าวมาขอจดทะเบียนได้มาโดยการครอบครองได้ (หนังสือกรมที่ดิน
ที่ มท ๐๖๐๘/ว ๒๑๙๖๗ ลงวันท่ี ๒๕ ธันวาคม ๒๕๑๒) แต่ถ้าเป็น
คาพิพากษาตามยอมที่โจทก์และจาเลยยอมรับกันว่าอีกฝ่ายหนึ่ง
ได้กรรมสิทธ์ิโดยการครอบครอง โดยศาลมิได้มีการวินิจฉัยหรือพิพากษา
วา่ ผ้ขู อจดทะเบยี นได้กรรมสทิ ธม์ิ าโดยการครอบครอง ก็ไม่อาจนามา
จดทะเบยี นได้มาโดยการครอบครองได้
๒. ถ้าผู้ขอได้กรรมสิทธ์ิท่ีดินมาเต็มตามโฉนดที่ดินก็ให้
จดทะเบียนประเภท ได้มาโดยการครอบครอง ถ้าโฉนดที่ดินมีช่ือ
บุคคลคนเดียวหรือหลายคน แต่ผู้ได้มาได้กรรมสิทธ์ิเฉพาะส่วนหนึ่ง

353

สว่ นใดไมเ่ ตม็ แปลงให้สอบสวนว่า ต่างฝ่ายต่างจะยอมให้ผู้ได้มามีชื่อ
ร่วมในโฉนดทด่ี ินหรอื ไม่

๒.๑ ถ้าตกลงกันได้โดยเจ้าของโฉนดที่ดินยอมให้
ผูไ้ ดม้ าโดยการครอบครองมชี อ่ื รว่ มในโฉนดทด่ี ินใหจ้ ดทะเบียนในประเภท
“กรรมสิทธ์ิรวม (ไดม้ าโดยการครอบครอง)”

๒.๒ ถ้าไมต่ กลงกันก็ให้แบ่งแยกส่วนของผู้ได้มาออก
โดยใหผ้ ไู้ ดม้ าและผู้มีช่อื ในโฉนดท่ีดนิ ทีย่ ังมีกรรมสิทธิ์อยูไ่ ปดแู ละระวัง
เขตท่ีดินในกรรมสิทธ์ิของตน และจดทะเบียนประเภท “แบ่งได้มา
โดยการครอบครอง”

คาว่า “ไม่ตกลงกัน” มตี วั อย่าง เช่น มีผู้ได้มา
โดยการครอบครองขอจดทะเบียนประเภทได้มาโดยการครอบครอง
แต่ไม่สามารถนาโฉนดท่ีดินมาได้ พนักงานเจ้าหน้าท่ีก็ได้มีหนังสือ
เรียกให้เจ้าของโฉนดที่ดินส่งมอบ และมาให้ถ้อยคาว่าจะยอมให้
ผู้ไดม้ าลงช่อื รว่ มในโฉนดทดี่ นิ ได้หรือไม่ ปรากฏว่าเจ้าของโฉนดที่ดิน
ไมย่ อมมา กรณนี ก้ี ็ถือไดว้ า่ เป็นกรณีไมต่ กลงกนั

กรณที ีม่ ปี ญั หาวา่ ไม่อาจหาตัวผู้เป็นเจ้าของที่ดินได้
เช่น ผ้มู ชี อ่ื เปน็ เจ้าของท่ีดนิ ในโฉนดท่ดี นิ ไดต้ ายไปนานแล้วไม่อาจหา
ตัวทายาทได้ กรณีน้ีหากผู้ได้มาโดยการครอบครองได้มาไม่เต็มตาม
โฉนดที่ดิน ก็ควรดาเนินการจดทะเบียนแบ่งได้มาโดยการครอบครอง
ให้แก่ผู้ขอ ในกรณีนี้เมื่อไม่ทราบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของโฉนดที่ดิน
ในการจดทะเบียนแบ่งได้มาโดยการครอบครองให้แก่ผู้ขอไม่อาจ
ดาเนินการตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗)
ข้อ ๘ (๓) ท่ีกาหนดให้ผู้ได้มาและผู้มีช่ือในโฉนดที่ดินที่ยังมีกรรมสิทธิ์
อยู่ไปดูแลระวังเขตที่ดินในกรรมสิทธิ์ของตนได้ กรณีนี้เพ่ือให้การ
ปฏิบัติทางทะเบียนเป็นไปตามคาสั่งศาล จึงแก้ไขปัญหาด้วยการ
แบ่งแยกเฉพาะส่วนที่ได้มาออกโดยไม่ต้องระวังรอบแปลง และไม่ต้อง
ทาการแก้ไขรูปแผนท่ี เนื้อท่ี อนุโลมตามคาสั่งกรมท่ีดิน ท่ี ๒/๒๕๐๓

354

ลงวันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๐๓ เร่ือง การรังวัดแบ่งแยกท่ีดินเพ่ือการ
ชลประทานตามโครงการของกรมชลประทานโดยดาเนินการรังวัด
แบง่ แยกสว่ นท่ไี ด้มาโดยการครอบครองออก เสร็จแล้วให้ส่งรูปแผนท่ี
ท่รี ังวัดตามทผ่ี ู้ขอนาชเี้ ขตไดม้ าโดยการครอบครองออกเสร็จแล้วให้ส่ง
รูปแผนที่ท่ีรังวัดตามท่ีผู้ขอนาชี้เขตได้มาโดยการครอบครองสอบถาม
ศาลไป หากศาลยืนยันมาว่าถูกต้องก็ให้ดาเนินการต่อไป และเมื่อ
จดทะเบียนเสรจ็ แล้วให้เจ้าหน้าที่บันทึกกลัดติดไว้ในโฉนดท่ีดินแปลง
คงเหลอื ฉบับสานักงานทด่ี ินว่า “เมื่อเจา้ ของที่ดินมาทานิติกรรมใด ๆ
เก่ียวกับที่ดินแปลงน้ีให้รังวัดสอบเขตเสียก่อน” แต่ถ้าคู่กรณีไม่ประสงค์
จะขอรังวัดสอบเขตและยืนยันให้จดทะเบียน ก็ให้บันทึกรับทราบ
แล้วจงึ จดทะเบียนให้ไป

355

การสอบเขต แบ่งแยกและรวมโฉนด
 ความหมาย

๑. “การสอบเขต” หมายถึง การรังวัดตรวจสอบแนวเขต
โฉนดทีด่ ินหรือการรังวัดตรวจสอบเนื้อท่ีตามหนังสือรับรองการทาประโยชน์
เพื่อให้ทราบที่ตั้งแนวเขตที่ดินและจานวนเนื้อท่ีของท่ีดินตามที่ได้
ครอบครองอยจู่ รงิ

๒. “การแบ่งแยก” หมายถึง การรังวัดแบ่งแยกที่ดิน
และขอออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินเป็นอีกแปลงหน่ึงหรือหลายแปลง
ต่างหาก

๓. “การรวมโฉนด หรือการรวมหนังสือรับรองการทา
ประโยชน์” หมายถึง การรังวัดรวมที่ดินจานวนตั้งแต่สองแปลง
ขึน้ ไปโดยให้มีหนงั สือแสดงสิทธิในทีด่ นิ เปน็ แปลงเดียวกัน
 กฎหมาย ระเบยี บ และคาสั่งทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

- ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๑, ๖๖, ๖๙, ๖๙ ทวิ,
๗๐ และ ๗๙

- กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๓๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
ว่าด้วยการแจ้งผู้มสี ิทธใิ นท่ดี นิ ขา้ งเคยี งให้มารับรองเขต

- คาสง่ั กรมทดี่ ิน ที่ ๔/๒๔๗๙ ลงวนั ที่ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๔๗๙
- คาส่ังกรมที่ดนิ ที่ ๓/๒๔๘๙ ลงวนั ที่ ๒๕ มีนาคม ๒๔๘๙
- คาสัง่ กรมทดี่ นิ ที่ ๑๒/๒๔๙๙ ลงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๔๙๙
- คาส่งั กรมทีด่ ิน ที่ ๑๒/๒๕๐๐ ลงวนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๐๐
- คาสง่ั กรมท่ีดิน ที่ ๑๔/๒๕๐๐ ลงวนั ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๐๐
- คาสั่งกรมที่ดิน ท่ี ๒/๒๕๐๓ ลงวันที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๐๓
- คาสั่งกรมท่ดี ิน ที่ ๑/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๐๔
- คาส่งั กรมทดี่ นิ ท่ี ๔/๒๕๐๔ ลงวนั ที่ ๙ มนี าคม ๒๕๐๔

356

- คาส่ังกรมที่ดิน ท่ี ๒๔/๒๕๑๓ ลงวันท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๑๓
- คาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๙๕๕/๒๕๕๒ ลงวันที่
๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒
- ระเบยี บกรมท่ีดิน ว่าด้วยการติดต่อหรือการแจ้งผู้มีสิทธิ
ในท่ีดินข้างเคียงให้มาลงชื่อรับรองแนวเขตหรือคัดค้านการรังวัด
พ.ศ. ๒๕๒๑
- ระเบียบกรมท่ดี นิ วา่ ดว้ ยการแบ่งแยกและตรวจสอบ
เนื้อท่ีหนงั สอื รบั รองการทาประโยชน์ พ.ศ. ๒๕๒๙
- ระเบยี บกรมท่ีดิน ว่าด้วยการให้ใช้บัญชีรับเร่ืองรังวัด
และแจ้งผขู้ อมาดาเนินการ (บ.ท.ด.๗๑) พ.ศ. ๒๕๓๐
- ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการรังวัดสอบเขต แบ่งแยก
และรวมโฉนดที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๗, (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๓๔ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔ (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๔
- ระเบยี บกรมทดี่ ิน ว่าด้วยการรับคาขอรังวดั การนัดรังวัด
และการเรยี กค่าใชจ้ า่ ยในการรังวดั เฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๔๗
- ระเบยี บกรมท่ดี ิน ว่าดว้ ยการต่อเลขที่ดนิ เลขหน้าสารวจ
เลขโฉนดทีด่ ิน การเขยี นชอ่ื ตาบล อาเภอ และตราประทับ พ.ศ. ๒๕๕๔
- ระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการรายงานผลการปฏิบัติงาน
และการจัดการงานคา้ งของสานักงานทดี่ นิ พ.ศ. ๒๕๕๕
 การสอบเขตท่ดี นิ
 สาระสาคัญ
- การรังวัดสอบเขตที่ดินซึ่งมีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกัน
หลายคน ผู้ถือกรรมสิทธิ์คนหนึ่งคนใดนาทาการสอบเขตโฉนดท่ีดิน
โดยไม่ต้องมีหนังสือมอบฉันทะของคนอื่นไปก่อนได้ แต่ถ้าปรากฏว่า
จานวนเน้ือท่ีดินหรือเขตท่ีดินที่ทาการสอบเขตใหม่คลาดเคลื่อนไป
จากเดิม จึงให้จัดการติดต่อให้ผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมทุกคนได้มีการ

357

ยินยอมรับรองไวเ ปน หลักฐานดวย (คําสั่งที่ ๑/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๔
มกราคม ๒๕๐๔)

- การรังวัดสอบเขตทด่ี ินผลปรากฏวา การครอบครอง
ไมต รงกับแผนทห่ี ลงั โฉนดทดี่ ินเดมิ คํานวณเนื้อทีใ่ หมไดน อ ยกวาเดิม
ผมู ีสทิ ธิในทดี่ นิ ขา งเคยี งรับรองแนวเขตครบ การสอบสวนไมปรากฏวา
มีการสมยอมเพ่ือหลีกเลี่ยงกฎหมาย เจาพนักงานที่ดินมีอํานาจท่ีจะสั่ง
แกไขรูปแผนที่และเน้ือที่ในโฉนดท่ีดินใหตรงกับความเปนจริงได
ตามมาตรา ๖๙ ทวิ วรรค ๒ แหง ประมวลกฎหมายท่ีดิน ถาผูขอ
ไมมีความประสงคจ ะดาํ เนินเร่อื งตอ ไปกย็ อ มเปนสทิ ธิของผขู อทจี่ ะขอ
เลิกเรอื่ งได แตข อใหพ นกั งานเจา หนาท่ีแจงใหเจาของท่ีดินทราบถึง
ผลการรงั วดั สอบเขตท่ดี ินดงั กลาวโดยชัดเจนอีกครั้งหน่ึง หากยินยอม
ใหแกไขรูปแผนทแี่ ละเนื้อที่ไดก ใ็ หพ นักงานเจาหนาท่ดี ําเนนิ การตอ ไป
แตถาไมย ินยอมกใ็ หบันทึกถอ ยคาํ ไวเปนหลักฐานพรอ มกับกลัดคําสั่ง
ใหส อบเขตที่ดิน (ท.ด. ๘๐) วา “ที่ดินแปลงนี้ไดมีการรังวัดสอบเขตที่ดิน
ปรากฏวาการครอบครองไมตรงกับแผนที่ในโฉนดที่ดินเดิม คํานวณ
เนื้อท่ีใหมไดนอยกวาเดิม ……. ตารางวา ใหทําการสอบเขตโฉนดที่ดิน
เสยี กอ น คกู รณียืนยันใหจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ก็ใหบันทึก
ถอยคําเปนหลักฐานไวแลวดําเนินการตอไปได” ติดไวในโฉนดที่ดิน
เสียกอน แลวจงึ ใหเลกิ เรื่องไปได ในกรณที ่ีมีการขอจดทะเบียนสทิ ธิ
และนิติกรรมเก่ียวกับโฉนดท่ีดินแปลงนี้ ถาคูกรณียืนยันเปน
ลายลักษณอักษรใหจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ก็ใหพนักงาน
เจา หนา ท่บี ันทึกถอ ยคาํ ของคกู รณีทกุ ฝายเพื่อใหทราบถึงผลการรงั วัด
สอบเขตท่ีดินคร้ังกอนวา การครอบครองไมตรงกับรูปแผนที่และเน้ือท่ี
ในโฉนดทดี่ ินเดิม ไวเ ปนหลักฐานดวยทุกครั้งจนกวาจะไดมีการสอบเขต
แกไขรูปแผนทแ่ี ละเนือ้ ทใี่ นโฉนดที่ดินใหถกู ตอง (ตอบขอหารือจังหวัด
สมุทรสงคราม ท่ี มท ๐๖๐๙/๒๐๕๒๔ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๒๓

358

เวยี นโดยหนังสอื กรมที่ดิน ท่ี มท๐๖๐๙/ว. ๒๒๓๖๗ ลงวันที่ ๒๗
ตลุ าคม ๒๕๒๓)

- การรังวัดสอบเขตหรือแบ่งแยกที่สภาพที่ดินมี
ทางสาธารณประโยชน์ผ่าน กรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติตามหนังสือ
กรมท่ดี นิ ท่ี มท ๐๗๑๐/ว ๙๗ ลงวนั ที่ ๓ มกราคม ๒๕๓๔ ดงั น้ี

(๑) ให้แนะนาเจา้ ของที่ดินผู้ขอรังวัดนารังวัดแบ่งแยก
หรอื กันเขตทางสาธารณประโยชนอ์ อกโดยการแบง่ หักเปน็ ทางสาธารณประโยชน์

(๒) หากผู้ขอรังวัดไม่ยอมแบ่งหักเป็นทางสาธารณประโยชน์
โดยอ้างว่าไม่ใช่ทางสาธารณประโยชน์ ให้บันทึกถ้อยคาของผู้ขอ
และใหง้ ดทาการรังวดั ไวก้ อ่ น แลว้ ทาหนงั สอื สอบถามไปยังผู้ดูแลรักษาว่า
ทางในทด่ี ินแปลงดงั กล่าวเป็นทางสาธารณประโยชน์หรือไม่ ถ้าได้รับ
การยืนยันว่าเป็นทางสาธารณประโยชน์ ให้แจ้งผู้ขอทราบเพื่อนา
ทาการรังวัดแบ่งหักเป็นทางสาธารณประโยชน์ แต่ถ้าผู้ขอรังวัดไม่ยอม
นารงั วดั แบง่ หักเป็นทางสาธารณประโยชน์ ก็ให้บันทึกถ้อยคาไว้แล้ว
งดการดาเนินการ

- เกี่ยวกับการบังคับให้เจ้าของท่ีดินต้องอุทิศที่ดิน
ใหเ้ ป็นการขยายทางสาธารณประโยชน์เพ่ิมเติม กระทรวงมหาดไทย
ไดม้ ีหนังสอื สั่งการไว้ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๙๐๒/๒๕๐๐
ลงวนั ท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๐๐ และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท
๐๖๑๘/ว ๑๒๓๘ ลงวนั ที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๓๕ ไว้ดังนี้

(๑) ก่อนท่ีจะดาเนินการกันเขตที่ดินสาธารณประโยชน์
เจ้าหน้าท่ีจะต้องศึกษาสภาพที่ดินเสียก่อน ถ้าปรากฏว่ามีที่
สาธารณประโยชน์อยู่ ควรจะต้องมีหลักฐานและเหตุผลโดยถ่องแท้
ว่าเป็นที่ดินสาธารณประโยชน์เพราะเหตุใด และถ้าเช่ือได้ก็ควร
จะยืนยันไปตามนั้น ไม่ใช่ว่าจะกันออกหรือไม่กันออกก็ได้ ซ่ึงเจ้าหน้าที่
ผรู้ บั มอบหมายไประวังแนวเขตเห็นควรกันเขตท่ีดินสาธารณะให้กว้าง
ออกไปจากเดมิ โดยรกุ ลา้ เขา้ ไปในท่ีดนิ ของเจา้ ของทีด่ นิ หรือเห็นสมควร

359

ขอกันท่ีดินเป็นทางสาธารณะเพ่ือความเจริญของท้องถ่ิน ซึ่งแม้จะเป็น
เจตนาอันบริสุทธิ์ก็ตามก็ไม่ควรกระทาไปในทานองให้เจ้าของที่ดิน
ใหค้ วามยนิ ยอมในขณะน้ัน เจ้าหน้าที่ควรเสนอเร่ืองให้ผู้มีอานาจในการ
ดูแลรักษาท่ีดินสาธารณประโยชน์พิจารณาว่าสมควรจะดาเนินการอย่างใด
ถ้าเห็นสมควรขอร้องให้เจ้าของที่ดินอุทิศท่ีดินให้เป็นที่ดินสาธารณประโยชน์
ก็ชอบท่ีจะเจรจาขอร้องให้เจ้าของท่ีดินอุทิศให้โดยความสมัครใจ
ถ้าไม่เป็นที่ตกลงกันก็จะถือเป็นเหตุไม่รับรองเขตที่ดินตามที่เจ้าของที่ดิน
ขอรังวัดออกโฉนดหรอื ขอรงั วัดแบ่งแยกหาได้ไม่

(๒) กรณีที่ดินติดต่อกันเป็นผืนใหญ่มีลักษณะเป็นการ
ปิดล้อมที่สาธารณประโยชน์หรือที่ดินของรัฐ ซึ่งสภาพข้อเท็จจริง
ทางท่ีประชาชนใช้สัญจรเข้า - ออกท่ีสาธารณประโยชน์ก็จะตกเป็น
ทางสาธารณะด้วย ดังนั้น เม่ือมีการออกโฉนดบริเวณนี้เจ้าหน้าท่ี
ควรกันเขตทางสาธารณะก่อน แล้วจึงออกโฉนดที่ดินให้ไป แต่หาก
เป็นกรณีที่ไม่มีทางเข้า - ออกท่ีสาธารณประโยชน์ในปัจจุบันยังไม่มี
กฎหมายหรอื ระเบยี บใดให้อานาจเจา้ หน้าท่ีหรือบงั คบั ให้เจ้าของที่ดิน
จะต้องกันที่ดินของตนให้เป็นทางไว้ ผู้ปกครองท้องที่อาจขอร้องให้
เจ้าของทดี่ ินเห็นแก่ประโยชน์ร่วมกันของประชาชน โดยบริจาคท่ีดิน
บางส่วนเป็นทาง ซงึ่ ไดร้ ับการยกเว้นคา่ ธรรมเนยี มในการจดทะเบยี นสทิ ธิ
และนติ กิ รรมตามประมวลกฎหมายที่ดนิ มาตรา ๑๐๓ ทวิ

- การสอบเขตท่ีดินกฎหมายมิได้ห้ามผู้เยาว์ดาเนินการ
และการสอบเขตท่ีดินไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม มาตรา ๑๕๗๔ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ผู้ใช้อานาจปกครองจะต้องได้รับ
อนุญาตจากศาลก่อน ผู้ใช้อานาจปกครองของผู้เยาว์นารังวัดสอบเขตได้
(ตอบข้อหารอื จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ที่ มท ๐๘๑๐/๑๘๔๖ ลงวันที่ ๒๗
มกราคม ๒๕๒๙) แต่อย่างไรก็ดี หากมีกรณีคัดค้านแนวเขตหรือมี
กรณีทตี่ อ้ งตกลงประนปี ระนอมยอมความผู้ใชอ้ านาจปกครองทาไม่ได้
ตอ้ งไดร้ ับอนญุ าตจากศาลก่อน

360

 การแบ่งแยก
 ประเภทการจดทะเบยี น
(๑) แบ่งแยกในนามเดิม หมายถึง เจ้าของท่ีดินมีความ

ประสงค์ที่จะแบ่งแยกที่ดินของตนและขอออกหนังสือแสดงสิทธิ
ในท่ีดินเป็นอีกแปลงหนึ่งหรือหลายแปลงในนามเดิมเช่นเดียวกับ
แปลงทขี่ อแบ่งแยก

(๒) แบ่งกรรมสิทธ์ิรวม หมายถึง เจ้าของที่ดินผู้ถือ
กรรมสทิ ธิ์รวมมีความประสงคแ์ บง่ แยกทด่ี นิ และขอออกหนังสอื แสดงสิทธิ
ในที่ดินเป็นกรรมสิทธ์ิของแต่ละคน คนละก่ีแปลงก็ได้โดยแต่ละแปลง
ถอื กรรมสทิ ธค์ิ นเดยี วหรือหลายคนก็ได้

(๓) แบ่งแยกประเภทอื่น ๆ เช่น แบ่งขาย แบ่งให้
แบ่งเวนคืน แบ่งหักท่ีสาธารณประโยชน์ หมายถึง การแบ่งแยกที่ดิน
ท่ีผู้รับสัญญามีความประสงค์ท่ีจะให้ที่ดินแปลงแยกไปออกหนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดินในนามของผู้รับ เช่น ในนามของผู้ซื้อ หรือผู้รับให้
แล้วแตก่ รณี

 สาระสาคัญ
- กรณีผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์หรือคนไร้ความสามารถ

ขอทาบันทึกข้อตกลงเรื่องแบ่งกรรมสิทธิ์รวมในที่ดินซึ่งผู้เยาว์หรือ
คนไร้ความสามารถถือกรรมสิทธิ์ร่วมกับบุคคลอ่ืนอยู่ จะต้องได้รับ
อนุญาตจากศาลก่อน เน่ืองจากบันทึกข้อตกลงเร่ืองกรรมสิทธิ์รวม
เป็นสัญญาประนีประนอมยอมความตามนัยมาตรา ๘๕๐ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ตอบข้อหารือจังหวัดนนทบุรี ท่ี มท
๐๖๐๘/๙๖๖๑ ลงวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๒ เวียนโดยหนังสือ
กรมทีด่ นิ ที่ มท ๐๖๐๘/ว ๙๙๑๐ ลงวนั ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๑๒)

- กรณผี ู้อนบุ าลกบั พวกขอจดทะเบียนแบ่งกรรมสิทธิ์รวม
และแบ่งหักถนนสาธารณประโยชน์ โดยที่พนักงานเจ้าหน้าท่ี
จะจดทะเบียนแบ่งกรรมสิทธ์ิรวมตามความประสงค์ของคู่กรณีได้

361

จะตองไปทําการรงั วดั แบง แยกในทดี่ ินเพ่อื ใหทราบเขตคนั และจาํ นวน
เน้ือท่ีท่ีแนนอนเสียกอน และการจะไปทําการรังวัดแบงแยกได
พนักงานเจาหนาที่ก็ตองอาศัยบันทึกขอตกลงของคูกรณีท่ีแสดงถึง
ความประสงควาจะแบงกันอยางใด เพราะลักษณะของทรัพยสิน
มิอาจจะแบงกันไดในทันที เชน สังหาริมทรัพยบางชนิด และบันทึก
ขอตกลงเชนวานี้ เปนบนั ทึกการตกลงแบงทรพั ยข องเจา ของรวมที่มีสวน
ในทรัพยสินพัวพันกันอยู โดยตกลงวาใครจะเปนเจาของสวนใด
การตกลงกันวาใครจะเปนเจาของสวนใดในกรรมสิทธิ์รวม จึงเปน
การระงับขอพิพาทที่จะมีข้ึนใหเสร็จไป ขอตกลงเชนวานี้ยอมเปน
สัญญาประนปี ระนอมยอมความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา ๘๕๐ คําพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๘/๒๔๙๖ ๕๓๐/๒๔๙๖
๑๓๐๐/๒๕๐๙ ๑๒๓๑ - ๑๒๓๒/๒๕๑๐ ๑๔๒๐/๒๕๑๐) เมื่อเปน
สัญญาประนีประนอมยอมความ ผูแทนโดยชอบธรรมจะทําสัญญา
ดังกลา วจงึ ตอ งไดรับอนญุ าตจากศาลกอนตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณชิ ย ๑๕๗๔ (๑๓) หากไมมีคําอนุญาตจากศาล พนักงาน
เจาหนา ที่หาอาจดาํ เนนิ การใหไ ดไ ม (ตอบขอ หารอื จงั หวดั สงขลา ที่ มท
๐๖๐๘/๑๓๔๑๖ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๑๓ เวียนโดยหนังสือ
กรมที่ดิน ที่ มท ๐๖๐๘/ว ๑๓๗๑๐ ลงวนั ท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๑๓)

- กรณีวัดนําท่ีดินซ่ึงเปนท่ีตั้งวัดขอแบงแยกเปนถนน
สาธารณประโยชนจ ะตองดําเนินการตามนัยคําส่ังกรมท่ีดิน ที่ ๒๔/๒๕๑๓
ลงวนั ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๑๓ ดังน้นั จงึ ตองดาํ เนนิ การออกเปน
พระราชบัญญัติตามนัยมาตรา ๓๔ แหงพระราชบัญญัติคณะสงฆ
พ.ศ. ๒๕๐๕ กอ น (ตอบขอหารือจังหวัดสุโขทัย ที่ มท ๐๖๐๘/๓๕๗๐๐
ลงวันท่ี ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๓ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดิน ที่ มท
๐๖๐๘/ว ๔๖๒๒๖ ลงวนั ท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๓)

- กรณีผูเยาวขอรับมรดกและขอสรวมสิทธิจดทะเบียน
แบงกรรมสิทธริ์ วมไปตามทเ่ี จา มรดกและผถู อื กรรมสิทธร์ิ วมคนอ่ืน ๆ

362

ตกลงกนั ไว้แลว้ ไมม่ ีกรณปี ระนปี ระนอมยอมความอนั จะต้องให้ผู้ใช้อานาจ
ปกครองไปขออนุญาตศาลตามมาตรา ๑๕๗๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ยแ์ ต่ประการใด (ตอบข้อหารือจังหวัดฉะเชิงเทรา ท่ี มท
๐๖๑๒/๑/๑๙๔๑๐ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๒๒ เวียนโดยหนังสือ
กรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๖๑๒/๑/ว ๑๙๗๒๗ ลงวนั ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๒๒)

- การจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดินแปลงภารยทรัพย์โดยที่
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภารจายอมตามท่ีได้จดทะเบียนไว้เดิม ไม่ถือ
เป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภารจายอมลดไป หรือเส่ือมความสะดวก
จึงไมต่ ้องใหเ้ จา้ ของท่ีดินแปลงสามยทรัพย์ให้ความยินยอมแต่อย่างใด
(ตอบขอ้ หารือจงั หวัดนครปฐม ที่ มท ๐๖๑๒/๑/๑๖๓๘๑ ลงวันท่ี ๑
สิงหาคม ๒๕๒๓ เวียนโดยหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๖๑๒/๑/ว ๑๖๖๘๑
ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๒๓)

- การจดทะเบียนภารจายอมบางส่วนไม่เต็มทั้งแปลง
โดยระบุแนวเขตทางภารจายอมไว้แน่นอน ทางภารจายอมจึงมีอยู่
แต่เฉพาะตามแนวเขตที่ระบุไว้เท่านั้น หาใช่จะตกเป็นทางภารจายอม
ท้ังแปลงไม่ ดังน้ัน ในการจดทะเบียนแบ่งแยกซ่ึงเจ้าของสามยทรัพย์
ไม่ได้ให้ความยินยอม ท่ีดินแปลงแยกใดจะมีภารจายอมครอบติดอยู่
หรือไม่มีภารจายอมครอบติดอยู่ จึงต้องพิจารณาตามข้อเท็จจริง
ประกอบกับหลักฐานที่ได้จดทะเบียนภารจายอมไว้ สาหรับการ
หมายเหตุว่าที่ดินแปลงแยกใดมีการครอบภารจายอมติดอยู่หรือไม่
ให้ถือปฏิบัติตามหนังสือตอบข้อหารือจังหวัดนครปฐม ที่ มท
๐๖๑๒/๑/๑๖๓๘๑ ลงวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๒๓ เวียนโดยหนังสือ
กรมท่ดี นิ ที่ มท ๐๖๑๒/๑/ว ๑๖๖๘๑ ลงวันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๒๓
ดงั น้ี

(๑) ที่ดินแปลงแยกและแปลงคงเหลือ หากมีทาง
ภารจายอมแตะต้องอยู่ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน จะต้องหมายเหตุการ
ครอบภารจายอมไวใ้ นรายการจดทะเบียนแบ่งแยกว่า “ท่ีดินแปลงท่ี

363

แยกไปนี้และแปลงคงเหลือ ยังมีภารจํายอมตามบันทึกขอตกลง
จดทะเบยี นภารจํายอมบางสวน ฉบับลงวันท่ี…..เดือน...…….พ.ศ. ....
ครอบติดอย”ู แตถาแปลงคงเหลือไมม ีภารจํายอมครอบติดอยู ก็ให
หมายเหตุวา “ทีด่ นิ แปลงทีแ่ ยกไปน้ียงั คงมีภารจํายอมตามบันทึกขอตกลง
จดทะเบียนภารจํายอมบางสวน ฉบับลงวันที่.…..เดือน…………พ.ศ. ....
ครอบติดอยู สวนแปลงคงเหลือไมมีภารจํายอมตามบันทึกขอตกลง
ดงั กลาวแตะตอ งแตอ ยา งใด”

(๒) ท่ีดินแปลงแยกและแปลงคงเหลือ ถาสามารถ
พิสูจนไดแนนอนวาไมมีทางภารจํายอมสวนหนึ่งสวนใดแตะตองอยู
ท่ีดนิ แปลงแยกและแปลงคงเหลอื นั้นยอ มไมม ีภารจํายอมครอบติดอยู
จึงใหห มายเหตุไวในรายการจดทะเบียนแบงแยกวา “ที่ดินแปลงที่
แยกไปนีแ้ ละแปลงคงเหลอื ไมมภี ารจํายอมตามบนั ทึกขอตกลงจดทะเบียน
ภารจํายอมบางสวน ฉบับลงวันที่…..เดือน……..……พ.ศ. .... แตะตอง
แตอยางใด” แตถาแปลงคงเหลือมีภารจํายอมครอบติดอยู ก็ให
หมายเหตวุ า “ที่ดินแปลงท่ีแยกไปน้ไี มม ีภารจํายอมตามบันทกึ ขอ ตกลง
จดทะเบียนภารจาํ ยอมบางสว น ฉบับลงวนั ท…่ี .....เดอื น….………พ.ศ. ....
แตะตองแตอยางใด สวนแปลงคงเหลอื ยังคงมภี ารจาํ ยอมตามบันทึก
ขอตกลงดงั กลาวครอบติดอย”ู

- กรณีนาํ โฉนดทดี่ นิ ท่ีจดทะเบียนจํานอง และโฉนดท่ีดิน
ทจ่ี ดทะเบยี นจาํ นองเพม่ิ หลักทรัพยมารวมโฉนด ซง่ึ ในการรวมโฉนด
ไดย กรายการจดทะเบยี นจํานองและจํานองเพ่ิมหลกั ทรพั ยมาจดแจง
ลงในโฉนดท่ดี นิ แปลงรวม และเมือ่ มีการแบงแยกโฉนดที่ดินแปลงรวม
โดยใหโฉนดท่ีดินแปลงแยกครอบการจํานอง พนักงานเจาหนาท่ี
จะตองยกรายการจดทะเบียนจํานองและจาํ นองเพิ่มหลักทรัพยมาจดแจง
ไวดวย ตอมาผูจํานองและผูรับจาํ นองไดตกลงกันใหโฉนดที่ดิน
แตละแปลงนั้นปลอดจํานองไปท้ังสัญญาจํานองและสัญญาจํานอง
เพมิ่ หลักทรัพยกรณีหน่ึง หรือผูจํานองไดทําการไถถอนจากจํานอง

364

แลวอีกกรณีหนึ่ง กรณีดังกลาวกรมที่ดินไดวางแนวทางปฏิบัติ
ตามหนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๓๖๐๐๒ ลงวันท่ี ๑๘
พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ดังนี้

(๑) กรณกี ารจดทะเบียนปลอดจาํ นองและปลอดจาํ นอง
เพิม่ หลักทรพั ย พนกั งานเจาหนาท่ีชอบที่จะดําเนินการจดทะเบียน
ปลอดจํานองเปนรายการเดียวได โดยใหหมายเหตุดว ยอกั ษรสแี ดงไว
ดา นขางคําขอจดจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมฯ (ท.ด. ๑) และสารบัญ
จดทะเบียนต้ังแตชองเน้ือท่ีดินตามสัญญาจนถึงชองโฉนดที่ดินใหม
วา “ปลอดจํานองตามสญั ญาจํานอง ลงวนั ท่ี…………….. และสัญญา
จาํ นองเพิ่มหลักทรพั ย ลงวนั ท่ี..............” และระบุในบันทกึ ขอตกลง
(ท.ด. ๑๖) ใหชัดเจนวาปลอดจํานองตามสัญญาจํานองและสัญญา
จํานองเพมิ่ หลกั ทรพั ยฉบับใด

(๒) กรณีไถถอนจากจาํ นอง โดยที่การจํานองเพิ่มหลักทรพั ย
เปน การนําเอาอสังหาริมทรัพยไปประกันหนซ้ี งึ่ ไดจดทะเบียนจํานอง
อสังหาริมทรพั ยอื่นเปน ประกนั ไวแ ลว ดงั นั้น หากไดมีการชําระหน้ี
ทจ่ี ํานองเปนประกนั แลว สญั ญาจาํ นองและสญั ญาจาํ นองเพ่ิมหลกั ทรัพย
ยอมระงับสน้ิ ไปดวย การจดทะเบียนไถถ อนจึงตอ งดาํ เนนิ การจดทะเบยี น
ไถถ อนจากจํานองและจาํ นองเพ่มิ หลกั ทรัพยไ ปพรอมกนั เปนรายการเดยี ว
โดยใหหมายเหตุดว ยอักษรสแี ดงไวดานขางคาํ ขอจดทะเบียนและนิติกรรมฯ
(ท.ด. ๑) และสารบัญจดทะเบียนตั้งแตชองเนื้อที่ดินตามสัญญา
จนถึงชองโฉนดที่ดินใหมวา “ไถถอนจากจํานองตามสัญญาจํานอง
ลงวนั ท…่ี …………… และสญั ญาจํานองเพ่ิมหลักทรัพย ลงวนั ท…่ี ……………..”

(๓) คา ธรรมเนยี มในการจดทะเบียนตาม (๑) และ (๒)
ใหเ รียกเกบ็ ในประเภทไมม ที ุนทรพั ย แปลงละ ๔๐ บาท (ปจจุบัน
แปลงละ ๕๐ บาท ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๑)
ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
ขอ ๒ (๗) (ฑ))

365

- การจดทะเบยี นแบงแยกกรณีโฉนดท่ีดนิ มีการจดทะเบยี น
บรรยายสวนไว กรมทีด่ นิ ไดว างแนวทางปฏบิ ตั ิไวต ามหนังสือกรมท่ีดิน
ที่ มท ๐๗๑๐/ว ๑๓๗๗๔ ลงวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒ ดงั นี้

(๑) กรณที มี่ ีการจดทะเบยี นบรรยายสวนท่ีดินไวแลว
และเจาของรวมขอรังวัดแบงกรรมสิทธิ์รวมที่ดินดังกลาว กอน
จดทะเบียนแบงกรรมสิทธ์ิรวมพนักงานเจาหนาท่ีตองตรวจสอบ
พิจารณาใหรอบคอบ โดยเปรียบเทียบจํานวนสวนท่ีบรรยายไวกับ
จํานวนเนอ้ื ที่ท่ีเจา ของแตละคนไดรับจากการแบงแยก ใหมีสัดสวน
สอดคลองกนั อยา ใหมีกรณโี อนทดี่ ินใหแ กก นั โดยหลบเลีย่ งการชาํ ระ
คา ธรรมเนยี ม หากผลการรังวัดปรากฏวาเจาของที่ดินบางคนไดรับ
แบงที่ดินมากกวาสวนที่บรรยายไว และบางคนไดรับแบงที่ดิน
นอยกวา สว นท่ีบรรยายไว จะตองจดทะเบียนโอนทด่ี นิ กันตามระเบียบ
และกฎหมายเสียกอน เสร็จแลวจึงจดทะเบียนแบงกรรมสิทธ์ิรวม
ไปตามผลการรงั วัดดงั กลา วได

(๒) กรณมี ิไดจดทะเบียนบรรยายสว นทดี่ ินไว กฎหมาย
สนั นษิ ฐานวา เจาของรวม มสี วนเทากัน หากเจา ของทกุ คนตกลงแบง
กรรมสิทธ์ิรวมที่ดิน แมผลการรังวัดจะปรากฏวาเจาของแตละคน
ไดรับแบง ทด่ี นิ ไมเทา กัน กเ็ ปนเร่ืองที่เจาของท่ีดินผูขอแบงสามารถ
ตกลงประนีประนอมยอมความเพื่อแบงแยกที่ดินใหตางไปจาก
ขอ สนั นิษฐานท่กี ฎหมายกาํ หนดได เมื่อพนักงานเจาหนาท่ีสอบสวน
แลวไมป รากฏหลกั ฐานวาผูขอแบงสมยอมแบง ปนแนวเขตกัน ก็ชอบที่
จะดําเนินการจดทะเบยี นแบง กรรมสทิ ธ์ริ วมตอ ไป

- การจดทะเบียนแบงแยกในนามเดิมท่ีดินซึ่งมีหนังสือ
แสดงสทิ ธใิ นทด่ี ินเปน น.ส. ๓ และ น.ส. ๓ ข. พนักงานเจา หนาที่
จะตองทาํ การประกาศการขอจดทะเบยี น ตามนยั ขอ ๕ แหงกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช

366

ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ (หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท
๐๗๑๐/ว ๐๙๙๖๖ ลงวนั ท่ี ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๒)

- กรณที ่ดี นิ ไดจดทะเบยี นจาํ นองไวแลว ตอมาเจาของท่ีดิน
มีความประสงคจะทําการแบงแยกที่ดิน พนักงานเจาหนาที่รับ
จดทะเบียนใหไ ดตอเมื่อผรู ับจาํ นองใหคํายินยอม โดยบันทึกถอยคํา
ยนิ ยอมไวเ ปนหลกั ฐาน หรอื ผูร บั จํานองจะทาํ เปนหนงั สือใหค วามยินยอม
มอบใหแ กผูจาํ นองมาดําเนินการได (ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการ
จดทะเบยี นสทิ ธิและนติ กิ รรมเกย่ี วกบั การจํานองท่ีดนิ และอสงั หารมิ ทรพั ย
อยา งอน่ื พ.ศ. ๒๕๕๐ ขอ ๑๑)

- การดําเนินการกรณีหนังสือสําคัญแสดงกรรมสิทธิ์ท่ีดิน
อยรู ะหวางขายฝาก อนุโลมปฏบิ ตั ิตามคําสัง่ กรมท่ีดิน ท่ี ๔/๒๕๐๔
ลงวนั ท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๐๔ เร่ือง การจดทะเบียนแบง แยกระหวาง
ขายฝาก ดังน้ี

(๑) การขอรังวัดแบง แยกทุกประเภทในระหวางขายฝาก
ใหผ ซู ื้อเปนผูย ่นื คําขอตามระเบียบโดยไดร ับความยินยอมจากผขู ายฝาก
คาํ ยินยอมน้จี ะทําบันทึกตอหนา พนักงานเจา หนา ท่ี หรอื จะใหคํายินยอม
เปนลายลกั ษณอ ักษรมากไ็ ด

(๒) เร่อื งราวขอจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ กิ รรม (ท.ด. ๑)
ในประเภทแบงแยกตา งๆ ใหบรรยายดว ยตัวอกั ษรแดงใหป รากฏการ
ขายฝากไว

(๓) ในรายการจดทะเบียนแปลงเดิมใหเขียนคําวา
“ระหวา งขายฝาก” ไวใ ตช่ือประเภทการท่จี ดทะเบียน และใหหมายเหตุ
ดวยตัวอักษรแดงวา “ที่ดินแปลงที่แยกไปน้ีการขายฝากยังคงมีอยู
ตามสญั ญาขายฝากฉบับท.่ี ......……ลงวนั ที่…….เดอื น…………..พ.ศ. ….”

(๔) โฉนดทีด่ ินแปลงแบง แยกใหเ ขียนช่ือผซู อื้ ฝากเปน
ผูถือกรรมสิทธไิ์ วดา นหนา และยกรายการจดทะเบยี นประเภทขายฝาก
ไปจดแจงไวในรายการจดทะเบียนหลังโฉนดโดยไมตองใหคูกรณี

367

ทาํ บันทกึ ขอตกลง (ท.ด. ๑๖) หรือย่ืนเรื่องราวขอจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรม (ท.ด. ๑) และไมเรียกเก็บคาธรรมเนียมประการใด
ถาช่ือผูขายฝากหรือผูซ้ือฝากเปล่ียนแปลงไป ก็ใหยกรายการที่
เปลี่ยนแปลงครงั้ สุดทาย เวนแตว ัน เดือน ปท่จี ดทะเบียน และชื่อ
พนักงานเจาหนาทีใ่ หใ ชค งเดิมในวนั ทจี่ ดทะเบียนขายฝาก

(๕) ที่ดินทไี่ ดมีการจดทะเบียนขายฝากเฉพาะสวนไว
ถาผูถือกรรมสิทธ์ิรวมและผูซ้ือฝากตกลงแบงแยกที่ดินออกจากกัน
ใหพยายามแบงสวนของผูซื้อฝากไวเปนแปลงคงเหลือ ถาสวนของ
ผูซ้ือฝากเปนแปลงแบง ก็ใหหมายเหตุในรายการจดทะเบียน
แบงแยกเฉพาะแปลงของผูซ้อื ฝากไวดว ยอักษรแดงวา “ท่ีดินแปลงที่
แยกน้ียังติดการขายฝากอยูตามสัญญาขายฝากฉบับท่ี…..…..ลงวันที่…….
เดือน…..……..พ.ศ. ….” สวนรายการจดทะเบียนขายฝากที่จะยกไป
จดแจงไวในโฉนดใหม ใหปฏิบัติตามขอ (๔) เวนแตชื่อคูสัญญา
ท้ัง ๒ ฝาย ในชองผูโอนนั้นใหยกมาแตเฉพาะช่ือคูสัญญาขายฝาก
เทานั้น ช่ือผูถือกรรมสิทธิ์อ่ืนซ่ึงมิไดเปนคูสัญญาไมตองยกมาดวย
สวนแปลงอ่นื ไมต อ งหมายเหตหุ รือจดแจง ประการใดเพราะการขายฝาก
มไิ ดครอบไปดว ย

(๖) ในการจดทะเบียนแบงแยก ถา ผูขายฝากยินยอม
ใหที่ดินท่แี บง แยกออกไปพนจากสิทธิการไถจากขายฝากกใ็ หจ ดทะเบยี น
ประเภท………….(ปลดเงือ่ นไขการไถจากขายฝาก) อนุโลมตามคําส่ัง
กรมท่ีดิน ท่ี ๑๔/๒๕๐๐ ลงวันท่ี ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ ในประเภท
“ปลอดจํานอง”

(๗) ในกรณที ่ที ีด่ นิ ที่ขายฝากแบงแยกออกเปนหลายแปลง
คูสัญญาจะตกลงกัน ไถการขายฝากแปลงใดแปลงหน่ึงกอนก็ได
การจดทะเบียนใหจ ดทะเบยี นเฉพาะแปลงทไ่ี ถใ นประเภทแบงไถจาก
ขายฝาก

368

(๘) การจดทะเบียนแบ่งแยกระหว่างขายฝากสาหรับท่ีดิน
ที่ไม่มีหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธิ์ ให้อนุโลมปฏิบัติตามวิธีการ
ในคาส่ังน้ี
 การรวมโฉนด

 สาระสาคญั
- การรวมโฉนด กรมที่ดินได้วางทางปฏิบัติเกี่ยวกับ

การรับคาขอรวมโฉนดที่ดินไว้ (คาสั่งที่ ๑๒/๒๕๐๐ ลงวันท่ี ๘
พฤศจกิ ายน ๒๕๐๐) ดังนี้

(๑) โฉนดที่ดนิ ทจี่ ะขอรวม
- ต้องเป็นหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธิ์

ประเภทเดียวกันเว้นแต่โฉนดแผนท่ีกบั โฉนดที่ดินใหร้ วมกันได้
- ชอ่ื ผูถ้ ือกรรมสิทธิ์ทด่ี ินในโฉนดที่ดนิ ต้องเหมือนกัน

ทุกฉบับ และยงั มีชวี ติ อย่ทู ุกคน
- ท่ีดินตอ้ งติดตอ่ เป็นผืนเดียวกัน ในจังหวัดและ

สานักงานท่ีดินเดียวกนั แมจ้ ะตา่ งตาบลอาเภอกท็ าได้
(๒) การยื่นคาขอ
- ใหผ้ ู้ถอื กรรมสทิ ธ์ิทกุ คนยื่นคาขอตามแบบพิมพ์

ท.ด. ๙
- กรณีหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิอยู่ระหว่าง

ขายฝาก ให้ผรู้ บั ซื้อฝากเป็นผูย้ นื่ คาขอรว่ มกันกบั ผ้รู ับซือ้ ฝาก
(๓) ที่ดนิ ท่ขี อรวมโฉนดมีภาระผูกพัน
- จะตอ้ งเปน็ กรณที ี่ภาระผูกพันน้ันๆ ได้จดทะเบียน

รวมโฉนดไว้ เช่น จานองรวมโฉนด ขายฝากรวมโฉนด เป็นต้น
- ต้องได้รับความยินยอมจากคู่กรณีทุกฝ่าย

คายินยอมน้ีคู่กรณีจะนาตัวมาบันทึกต่อหน้าเจ้าพนักงานหรือจะให้
คายนิ ยอมเป็นลายลักษณ์อกั ษรกไ็ ด้

369

- โฉนดทด่ี ินทีจ่ ดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ กิ รรมรวมโฉนดไว
จะขอรังวัดรวมโฉนดท้งั หมดหรอื เพยี งบางโฉนดกไ็ ด

(๔) วธิ ีดําเนนิ การ
- เมอ่ื รบั คําขอแลว ใหสง ชางรังวัดออกโฉนดรวม

ใหใ หมท้งั คฉู บับ ใหหมายเหตุดวยตัวแดงในโฉนดใหมใตรูปแผนท่ีวา
“โฉนดท่ีดินฉบับน้ีรวมจากโฉนดเดิม คือ โฉนดท่ี…….…..ตําบล….......
อาํ เภอ……..…จังหวัด……………

………………………………….
เจา พนกั งานที่ดนิ ”

ซึ่งวธิ ีปฏิบัติดังกลาวใชกับโฉนดแบบ น.ส. ๔ ก.
น.ส. ๔ ข. และ น.ส. ๔ ค. อันเปนแบบโฉนดที่จัดทําขึ้นตาม
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ซึง่ มีรปู แผนท่ีอยูดา นหลังโฉนดท่ดี ิน
เมื่อไดม กี ารเปล่ียนแปลงแบบโฉนดมรี ูปแผนท่ีดา นหนา โฉนด ตามแบบ
น.ส. ๔ ง. จงึ ใหพิจารณาปฏิบตั ิตามความเหมาะสม ดงั น้ี

กรณีท่มี ีการรวมโฉนดจากโฉนดจํานวนนอยแปลง
ใหหมายเหตุการณร วมโฉนดแทรกลงในชองวางใต หรอื ขางรปู แผนท่ี
ดานหนา โฉนดนนั้ แตไ มต อ งลงนามเจาพนกั งานทีด่ ินกํากบั ไว

กรณีที่มีการรวมโฉนดจากโฉนดจํานวนมากแปลง
ใหห มายเหตุการรวมโฉนดไวใ นสารบัญจดทะเบียนหลังโฉนด และให
ลงนามเจา พนักงานท่ดี นิ กาํ กบั ไวด ว ย (ตอบขอ หารอื จังหวดั สมุทรสงคราม
ดวนมาก ที่ มท ๐๖๐๘/๙๗๗๗ ลงวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๑๖
เวยี นโดยหนงั สือกรมทดี่ ิน ท่ี มท ๐๖๐๘/ว ๑๐๑๗๖ ลงวนั ท่ี ๒๐
เมษายน ๒๕๑๖)

- เมอ่ื ออกโฉนดแปลงรวมแลว โฉนดฉบับหลวง
ของเกาตอ งตัดออกจากเลม (การตัดใหมีล้ินไวสําหรับปดโฉนดรายอ่ืนดวย)
และใหนาํ โฉนดเกาฉบับสํานักงานที่ดิน โฉนดเกาฉบับเจาของท่ีดิน

370

และสิ่งสําคัญในสารบบยกไปเก็บรวมในสารบบหนาสํารวจแปลงท่ี
ออกโฉนดใหม และหมายเหตุในโฉนดท่ีดินเกา ทกุ แปลง และสิ่งสําคัญ
ดว ยอกั ษรสีแดงวา “ที่ดินแปลงน้ีไดมีการรวมโฉนดที่ดิน และออก
โฉนดไปใหมแลวแต วนั ที…่ …เดือน……………พ.ศ.….”

- ในเลม ของโฉนดเกาท่ตี ัดออกใหหมายเหตไุ วใ ห
ทราบดวยวา ตัดออกเพราะรวมโฉนดเปนโฉนดใหมเลขท่ีเทาใด
เพ่ือคนหางา ย

- การใชเลขโฉนดฉบับที่รวมใหใชเลขโฉนดเดิม
แปลงใดแปลงหนงึ่ กไ็ ด สว นเลขที่ดิน หนาสํารวจ ก็ใหเปนไปตาม
โฉนดที่ดนิ แปลงท่นี ําเอาเลขโฉนดนน้ั มาใช สวนเลขท่ีไมไดใชเปนเลขวาง
เพ่อื ใชสาํ หรับทด่ี ินแปลงอ่ืนตอ ไป

- โฉนดที่ดินตางตําบล อําเภอ เม่ือทําการ
รวมโฉนดแลว สําหรบั โฉนดท่ดี ินแปลงใหม ใหใชเลขโฉนดของที่ดิน
สว นทีอ่ ยูในเขตตาํ บลมาก

- รายงานการรวมโฉนดใหกรมทีด่ นิ ทราบ
(๕) กรณที ี่ดนิ ท่ีขอรวมโฉนดไดมีการจดทะเบียนสิทธิ
และนิตกิ รรมผกู พันอยู เม่ือรวมโฉนดแลวใหปฏบิ ัติ ดังนี้

- หมายเหตุในนิติกรรมที่กอใหเกิดสิทธิผูกพัน
นน้ั ๆ ดวยหมึกแดงใหปรากฏการรวมโฉนด เชน โฉนดติดจํานอง
รวม ๓ โฉนด ใหหมายเหตุสัญญาจํานองทุกฉบับวา “ท่ีดินตาม
สัญญาจํานองนี้ โฉนดท่ี……… ที่…….. ท่ี……… รวม ๓ โฉนด
(หรือรวมมาเพียง ๒ โฉนด) ไดทําการรังวัดรวมโฉนดเปนโฉนด
เลขท…ี่ …………… การจาํ นองยงั คงมีตามเดิม” แลวลงช่ือเจาพนักงานท่ีดิน
พรอมดว ยวัน เดือน ป กํากับไว

- หมายเหตใุ นชองจดทะเบียนจํานองหลังโฉนดที่ดินเดิม
ที่เลิกไปเพราะรวมโฉนดดวยหมึกแดงวา “ที่ดินแปลงนี้ไดรังวัด
รวมโฉนดเปนโฉนดหมายเลขที่……….. การจํานองยังคงมีอยูตามเดิม”
แลวลงชื่อเจา พนักงานท่ีดินพรอ มดวยวนั เดือน ป กาํ กับไว

371

- ให้ยกรายการจดทะเบียนจานองไปจดแจ้งไว้
ในสารบญั จดทะเบียนหลังโฉนดใหม่เฉพาะจานวนท่ีดินที่ได้สัญญาให้
ลงตามจานวนที่ดินตามโฉนดใหม่ วันจดทะเบียน และเจ้าพนักงานที่ดิน
ลงนามให้ใช้ชื่อ วัน เดือน ปีเดิม แล้วหมายเหตุด้วยหมึกแดงว่า
“ก า ร จา น อ ง ร า ย นี้ไ ด้จ ด ท ะเ บีย น ต า ม สัญ ญ า จา น อ ง ฉ บับ ที่ ….….
ลงวันที่..….เดือน…….….พ.ศ. ….” เจ้าพนักงานที่ดินลงชื่อพร้อมด้วย
วนั เดอื น ปี กากบั ไว้

(๖) การแก้สารบญั ท่ีดนิ
- การแก้สารบัญที่ดิน ให้ขีดฆ่าชื่อ เครื่องหมายท่ีดิน

ตลอดทงั้ บรรทดั ด้วยหมึกแดง เว้นไว้แต่เลขท่ีดินไม่ต้องขีดฆ่า แต่ให้
หมายเหตุไว้ในช่องหมายเหตุด้วยเส้นดินสอว่า “ว่าง” เมื่อมีการ
แบ่งแยกหรือเดินสารวจใหม่ให้ใช้เลขที่ว่างนี้ในแปลงอื่นต่อไป
ส่วนเลขที่ดินแปลงที่ออกโฉนดที่ดินใหม่ ให้ขีดฆ่าเช่นเดียวกัน
แล้วเขยี นใหม่ให้ตรงตามโฉนดที่ออกไปนั้น

(๗) การให้เลขทีด่ ิน เลขหนา้ สารวจ เลขโฉนดท่ีดนิ
- การให้เลขโฉนดที่ดินฉบับที่รวม ให้ใช้เลขโฉนดที่ดิน

แปลงเดิม แปลงใดแปลงหนึ่งก็ได้ ส่วนเลขที่ดิน เลขหน้าสารวจ
ก็ให้เป็นไปตามโฉนดที่ดินแปลงท่ีได้นาเอาเลขโฉนดที่ดินนั้นมาใช้
สว่ นเลขท่ีไม่ได้ใช้เปน็ เลขว่าง เพือ่ ใช้สาหรับทด่ี นิ แปลงอนื่ ต่อไป

- ในกรณีขอรวมโฉนดทด่ี นิ อยตู่ ิดเป็นผืนเดียวกัน
แต่ปรากฏว่าต่างตาบลและอาเภอ เม่ือทาการรวมโฉนดท่ีดินแล้ว
ให้ถือวา่ ท่ีดนิ ส่วนใดอยู่ในเขตตาบลใดมากกใ็ หใ้ ชต้ าบลและอาเภอนั้น

(๘) การลงบญั ชปี ระเภทและการเก็บสารบบ
- การยน่ื คาขอให้ลงบัญชีในช่องคาขอต่างๆ ในการ

ออกโฉนดใหมใ่ หล้ งบัญชใี นช่องรวมโฉนดทดี่ ิน
- การเกบ็ เรอ่ื งในสารบบ ให้เก็บคาขอรวมโฉนด

ไวข้ ้างหนา้ แลว้ เก็บใบไต่สวนและสิง่ สาคัญต่างๆ เรยี งลาดับกันไป

372

 ระเบียบท่ีควรรูเ้ ก่ียวกบั การรวมโฉนด
- ขอรวมโฉนดท่ีดินโดยโฉนดท่ีดินบางแปลงจดทะเบียน

ภารจายอมไว้ บางแปลงไม่ได้จดทะเบียนภารจายอมไว้ ซ่ึงขัดกับ
คาสั่งกรมที่ดิน ท่ี ๑๒/๒๕๐๐ ลงวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๐๐
ข้อ ๙ (ก) แต่ดาเนินการให้แก่ผู้ขอได้โดยอาศัยคาสั่งกรมที่ดิน
ที่ ๗/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๐๔ เร่ือง จดทะเบียน
ภารจายอม ข้อ ๕ แต่ก่อนท่ีจะดาเนินการควรให้ผู้ขอได้รับความยินยอม
จากเจ้าของสามยทรัพย์ตามระเบียบ (ตอบข้อหารือจังหวัดชลบุรี ที่ มท
๐๖๐๘/๙๘๐๘ ลงวนั ที่ ๗ ธนั วาคม ๒๕๐๙ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดิน
ที่ มท ๐๖๐๘/ว ๙๘๖๘ ลงวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๐๙)

- การรวมโฉนดที่ดินที่มีบุริมสิทธิติดอยู่กับท่ีดินท่ีไม่มี
บรุ ิมสทิ ธิ ตามมาตรา ๒๗๖ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บัญญตั ไิ วว้ ่าบรุ มิ สทิ ธใิ นมูลซ้ือขายอสังหาริมทรัพย์ใช้สาหรับเอาราคา
อสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละดอกเบยี้ ในราคาน้ัน และมีอยู่เหนืออสังหาริมทรัพย์
อันนั้นเท่านั้น ฉะนั้น การที่จะรวมโฉนดที่ดินทั้งสองเข้าด้วยกัน
จึงหาทาให้บุริมสิทธิเหนือที่ดินโฉนดแปลงหน่ึงครอบไปถึงโฉนดท่ีดิน
อีกแปลงหนึ่งด้วยไม่ แม้คู่กรณีจะยินยอมก็ตาม ดังนั้น การขอ
รวมโฉนดในกรณีดังกล่าวย่อมไม่อาจกระทาได้ เว้นแต่จะได้มีการ
จดทะเบียนเลิกบุริมสิทธิเสียก่อน (หนังสือกรมที่ดิน ที่ มท
๐๖๐๘/ว ๙๗๖๔ ลงวันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๑๓)

- กรณีที่มีการรวมโฉนดจากโฉนดจานวนน้อยแปลง
ให้หมายเหตุการรวมโฉนดแทรกลงในช่องว่างใต้หรือข้างรูปแผนท่ี
ด้านหน้าโฉนดนนั้ แตไ่ ม่ตอ้ งลงนามเจ้าพนักงานทด่ี นิ กากบั ไว้

ถ้าเป็นกรณีท่ีมีการรวมโฉนดจากจานวนโฉนดมาก
แปลงไม่เหมาะท่ีจะปฏิบัติตามข้างต้น ให้หมายเหตุการรวมโฉนดไว้
ในสารบัญจดทะเบียนหลังโฉนด และให้ลงนามเจ้าพนักงานที่ดิน
กากับไว้ด้วย (ตอบข้อหารือจังหวัดสมุทรสงคราม ด่วนมาก ท่ี มท

373

๐๖๐๘/๙๗๗๗ ลงวันท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๑๖ เวียนโดยหนังสือ
กรมท่ดี ิน ที่ มท ๐๖๐๘/ว ๑๐๑๗๖ ลงวนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๑๖)

- การรังวัดรวมโฉนดท่ีดินท่ีมีทางสาธารณประโยชนผาน
เม่อื ท่ดี นิ สวนหน่ึงของโฉนดท่ีดินเปนสาธารณประโยชนแลว ผูมีช่ือ
ในโฉนดทดี่ ินยอมไมมีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินในสวนน้ัน และไมมีอํานาจ
ทจ่ี ะนําไปรวมเพ่ือออกโฉนดที่ดนิ ใหมได ทางปฏิบัติควรตองแบงหัก
ทางสาธารณประโยชนเสียกอนแลวจึงรวมกับท่ีดินแปลงอื่นได
(ตอบขอ หารือจังหวดั ปทุมธานี ท่ี มท ๐๗๑๐/๒๓๑๐๗ ลงวันที่ ๒๖
กันยายน ๒๕๒๘ เวียนโดยหนังสอื กรมทด่ี ิน ท่ี มท ๐๗๐๑/ว ๒๕๐๕๘
ลงวันที่ ๑๕ ตลุ าคม ๒๕๒๘)
 ข้ันตอนการรังวัดสอบเขต รวมโฉนด แบงแยก

๑. การดําเนินการรังวัดสอบเขต รวมโฉนด แบงแยก
๑.๑ ฝา ยทะเบียนจัดทําคําขอ (ท.ด. ๙ หรือ ท.ด. ๑๖)

แลว แตกรณีวา จะเปนการขอรงั วัดประเภทใดจาํ ลองรปู แผนที่แปลงที่
ขอแบง แยกดวยกระดาษบาง (ทางปฏบิ ตั ิปจจบุ ันจะจาํ ลองรปู แผนท่ี
ทีข่ อแบง ลงในภาพถายแผนทีใ่ นหนงั สอื แสดงสทิ ธิในท่ีดิน) หรือหลัง
คําขอพรอ มดว ยชื่อเจา ของทด่ี นิ ขา งเคียง

- หามสํานักงานที่ดินทุกแหงมอบหมายให
ฝายรงั วดั เปนผูรบั คําขอรังวัด ทุกกรณี (ตามหนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท
๐๕๑๕.๑/ว ๒๙๙๑๒ ลงวนั ที่ ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๕)

๑.๒ ฝายรังวัดกําหนดวันท่ีจะออกไปทําการรังวัด
นัดชางผูทําการรังวัด และคาใชจายในการรังวัด ออกหมายหรือ
หนังสือแจงเจาของท่ีดินขางเคียงทราบ เพื่อใหไประวังชี้แนวเขต
และรบั รองแนวเขต โดยฝา ยทะเบียนคน หาที่อยูเจาของที่ดินขางเคียง
(ตามหนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๗๑๑.๑/ว ๑๙๐๙๑ ลงวันที่ ๑
กันยายน ๒๕๒๖)

374

- หนังสือแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียงเพ่ือให้ไป
ระวังช้ีแนวเขตและรับรองแนวเขต ให้ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
ตอบรบั (ตามหนงั สอื กรมทดี่ ิน ท่ี มท ๐๗๐๖/ว ๒๕๖๘๙ ลงวันที่
๒ สงิ หาคม ๒๕๔๒)

- ถึงกาหนดวันนัดรังวัด เจ้าของท่ีดินรับ
เจ้าหน้าท่ีไปทาการรังวัดและนาชี้เขตท่ีดินของตนท่ีครอบครองว่ามี
อาณาเขตเพียงไร และจะแบ่งที่ดินอย่างไร เพ่ือเจ้าหน้าที่จะได้
ดาเนินการรังวัดให้ตามความประสงค์ ให้เจ้าของที่ดินข้างเคียง
รับรองเขตทุกด้าน

- เจา้ หน้าที่ข้ึนรูปแผนท่ี คานวณเน้ือที่ จาลอง
รูปแผนที่ประกอบเร่ือง เพ่ือส่งกรมที่ดิน ๑ แผ่น เก็บเข้าสารบบ
๑ แผ่น ตรวจสอบเร่ืองรังวัด ถอนเงินค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย
สร้างโฉนดที่ดนิ หรอื น.ส. ๓ หรือ น.ส. ๓ ก. กรณีแบ่งแยกหรือรวมโฉนด

- ส่งเรอื่ งใหฝ้ า่ ยทะเบียน
๑.๓ ฝ่ายทะเบียนรับเร่ืองที่ฝ่ายรังวัดดาเนินการ
เสร็จแล้ว ให้มีหนังสือแจ้งผู้ขอ ให้มาติดต่อดาเนินการ ในเรื่องการ
รังวัดสอบเขตให้รับทราบตามผลการรังวัดสอบเขต กรณีการแบ่งแยก
รวมโฉนด ให้ดาเนนิ การจดทะเบียนตามคาขอ

- กรณี น.ส. ๓ ประกาศการจดทะเบยี น ๓๐ วนั
- กรณีการแบ่งแยก จัดทาคาขอ (ท.ด. ๑)
ตามจานวนแปลงทขี่ อแบ่งแยก
- ให้คู่กรณีตรวจสอบความถูกต้องรูปแผนท่ี
กระดาษบาง (ร.ว. ๙)
- กรณีจดทะเบียนประเภทแบ่งขาย แบ่งให้
ให้ชาระค่าธรรมเนียม ภาษีเงินได้หัก ณ ท่ีจ่าย อากรแสตมป์
แลว้ แตก่ รณี
- จดทะเบียนในโฉนดที่ดินและประทับตรา
ท้งั สองฉบับ

375

๒. การคดั ค้านและการไกลเ่ กลย่ี
หากปรากฏว่าเจ้าของท่ีดินข้างเคียงท่ีได้รับแจ้งแล้ว

ได้มาระวังแนวเขตและลงนามรับรองแนวเขตโดยมิได้คัดค้านการ
รังวัด ถือได้ว่าการรังวัดไม่มีการคัดค้าน สามารถดาเนินการให้ผู้ขอ
ต่อไปได้ แต่ถ้าเจ้าของท่ีดินข้างเคียงได้มาคัดค้านการรังวัด ซ่ึงอาจ
คัดค้านในขณะทาการรังวัดหรือคัดค้านภายหลังวันทาการรังวัดที่
สานักงานที่ดิน ผู้คัดค้านก็สามารถกระทาได้ (หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท
๐๗๐๕/ว ๙๐๐๒ ลงวนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๑) ดงั นี้

๒.๑ กรณีท่ีคดั ค้านในขณะทาการรังวัด ให้ช่างผู้ทา
การรังวัดรับคาคัดค้านได้ โดยใช้บันทึกถ้อยคา (ท.ด. ๑๖) และให้
ผู้คัดค้านนาชี้แนวเขต เพ่ือทาแผนที่แสดงเขตคัดค้านตามระเบียบฯ
และทาการสอบสวนไกลเ่ กล่ียเบื้องต้น โดยอาศัยหลักฐานแผนท่ีเป็น
หลักก่อน โดยการชี้แจงให้คู่กรณีทราบถึงแนวเขตของท่ีดินตาม
หลักฐานท่ีคู่กรณีนามาแสดง และช้ีแจงให้ทราบถึงผลเสียที่เกิดจาก
การที่จะนาคดีขึ้นสู่ศาล หากไม่อาจตกลงกันได้ก็ให้ทาการรังวัด
โดยถือปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการรังวัดสอบเขต
แบ่งแยก และรวมโฉนดที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๗ และระเบียบกรมที่ดิน
ว่าด้วยการแบ่งแยกและตรวจสอบเนื้อท่ีหนังสือรับรองการทาประโยชน์
พ.ศ. ๒๕๒๙ เพ่ือผู้มีอานาจตามกฎหมายจะได้พิจารณาไกล่เกล่ีย
ตามนัยมาตรา ๖๙ ทวิแห่งประมวลกฎหมายท่ีดินอีกครั้งหนึ่ง
(หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท ๐๖๑๙/ว ๐๙๑๗๓ ลงวันท่ี ๒๘
มีนาคม ๒๕๓๗)

ตัวอยา่ ง
นาย ก. ได้ขอรังวัดสอบเขตโฉนดท่ีดิน ในขณะท่ี
ชา่ งทาการรงั วัดปรากฏว่า นาย ข. เจ้าของที่ดินข้างเคียงเลขท่ีดิน………...
ด้านทิศตะวันออกได้คัดค้านว่า นาย ก. นารังวัดรุกล้าแนวเขตท่ีดิน
ด้านทศิ ตะวนั ตกของทดี่ ิน นาย ข.

376

ในกรณนี ้ใี หช า งผทู ําการรงั วดั ชแี้ จงให นาย ก. และ
นาย ข. ทราบแนวเขตที่ดนิ โดยยึดถือหลักฐานแผนท่ีและเขตการ
ครอบครองปจ จบุ นั ถา ตกลงกันไดก ็ดําเนินการตามทตี่ กลง หากไมอ าจ
ตกลงกันไดก ใ็ หนาย ก. และนาย ข. นําช้ีเขต ใหชางผูทําการรังวัด
ทําแผนที่แสดงเขตคัดคาน พรอมบันทึกการคัดคาน (ท.ด. ๑๖)
และรายงานเจา พนกั งานทด่ี นิ ทราบ พรอ มแจง ใหนาย ข. มายนื่ คาํ ขอ
คัดคานภายในเวลาที่กําหนด เมื่อนาย ข. มายื่นคําขอคัดคานให
เสนอเจา พนักงานทด่ี นิ สั่งรับคาํ ขอคดั คา น และแจงใหนาย ข. ทราบ
กาํ หนดวนั สอบสวนไกลเกลย่ี พรอ มมหี นงั สือแจง ใหน าย ก. ทราบดว ย

ในการสอบสวนไกลเกลยี่ เม่ือนาย ก. และ นาย ข.
มาพรอ มกันแลว ใหเ จาพนักงานท่ีดินชี้แจงให นาย ก. และ นาย ข.
ใหเจาหนาที่ทราบถึงแนวเขตที่ดิน โดยยึดถือหลักฐานแผนที่เดิม
และหลักฐานแผนที่แสดงเขตคัดคานซง่ึ นาย ก. และ นาย ข. ไดนํา
เจาหนาที่ทาํ การรงั วดั เปนหลัก หากตกลงกันไดก็ดําเนินการตามที่
ตกลงกัน หากตกลงกันไมไดก็ใหเสนอเรื่องใหเจาพนักงานที่ดินจังหวัด
สั่งให นาย ก. หรือ นาย ข. ไปฟอ งตอ ศาลภายใน ๙๐ วัน นบั แตวัน
รับแจงคําสั่ง เมื่อ นาย ก. หรือ นาย ข. ไดไปฟองศาล และนํา
หลกั ฐานการย่ืนฟองพรอ มสําเนาคําฟองมาแสดงตอเจา พนกั งานทีด่ นิ
ภายในกําหนดเวลา ๙๐ วัน ใหรอเร่ืองการสอบเขตโฉนดที่ดินไว
จนกวา ศาลจะมคี าํ สงั่ หรอื คําพิพากษาถึงที่สดุ พรอ มมีหนังสือแจงให
ฝา ยท่ีมิไดฟองตอศาลทราบ หาก นาย ก. หรือ นาย ข. ไมมีการ
ฟองตอศาลภายในกําหนดเวลา ๙๐ วัน ใหถือวานาย ก. ไมประสงค
จะสอบเขตโฉนดท่ีดินนัน้ ตอไป

๒.๒ กรณคี ัดคานภายหลังวนั ทาํ การรังวัดท่ีสํานักงานท่ีดิน
ใหผูคัดคานย่ืนคําขอคัดคานตอพนักงานเจาหนาที่ โดยใชคําขอ
(ท.ด. ๙) เม่ือเจาพนักงานที่ดินส่ังรับคําคัดคานแลวใหฝายรังวัด

377

ดาํ เนินการนดั ผูขอและผคู ดั คา นไปชี้แนวเขตในที่ดินเพื่อใหชางรังวัด
ทาํ แผนที่แสดงเขตคัดคานตามระเบียบฯ

ตัวอยา ง
นาย ก. ไดขอรังวดั สอบเขตโฉนดท่ดี ิน ชางรงั วัดได
ทําการรังวัดเสร็จแลว อยูระหวางการดําเนินการข้ันตอนตอไป
ปรากฏวานาย ข. เจาของที่ดินขางเคียงเลขที่ดิน…….….. ดานทิศ
ตะวนั ออกไดม าขอคัดคา นทสี่ ํานักงานที่ดนิ วา นาย ก. นาํ รังวัดรุกลํ้า
แนวเขตทด่ี ินดา นทศิ ตะวนั ตกของท่ีดนิ นาย ข.
ในกรณีนี้ใหนาย ข. ยื่นคําขอคัดคาน (ท.ด. ๙)
เมอื่ เจา พนักงานท่ดี นิ สง่ั รบั คําขอคดั คานแลว ใหฝา ยรังวัดดําเนินการนัด
นาย ก. และ นาย ข. ไปช้ีแนวเขตในที่ดิน โดยชางรังวัดตอง
สอบสวนไกลเกล่ยี เบอ้ื งตนกอน หากตกลงกันไดก็ดําเนินการตามท่ี
ตกลงกัน หากตกลงกันไมไดใหชางรังวัดทําแผนท่ีแสดงเขตคัดคาน
ตามท่ี นาย ก. และ นาย ข. นําช้แี ละบนั ทึกการคัดคา น (ท.ด. ๑๖)
แลว เสนอเจาพนกั งานที่ดินกาํ หนดวนั สอบสวนไกลเ กลีย่ และแจงให
นาย ข. ทราบ พรอ มมีหนังสือแจง นาย ก. ทราบดว ย
๒.๓ ผมู ีอาํ นาจพิจารณาไกลเ กล่ีย คือ เจาพนักงานท่ีดิน
(คาํ ส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี ๙๕๕/๒๕๕๒ ลงวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒
เรื่อง แตง ตง้ั เจาพนักงานท่ีดนิ ) การสอบสวนไกลเ กลยี่ กรณมี ีผูคัดคาน
แนวเขตตามมาตรา ๖๙ ทวิ แหงประมวลกฎหมายท่ีดิน มีแนวทาง
ปฏิบตั ติ ามหนงั สอื กรมท่ดี ิน ท่ี มท ๐๖๑๒/๑/ว. ๑๓๐๙๘ ลงวันที่
๓๐ กรกฎาคม ๒๕๑๙ ดังนี้

(๑) ในสาํ นักงานทีด่ นิ จังหวัดใหเจา พนักงานที่ดิน
จังหวัดกาํ หนดตวั พนกั งานเจา หนาที่ผทู ําการสอบสวนไกลเกล่ียไวให
แนนอน วาจะใหเ จาพนกั งานทด่ี นิ ซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนงระดบั ใดเปน ผมู ีหนา ที่
สอบสวนไกลเกล่ีย สวนในสํานักงานที่ดินอําเภอใหเปนหนาที่ของ
นายอาํ เภอหรอื ผูท าํ การแทนเปนผูสอบสวนไกลเกลยี่

378

(๒) การสอบสวน ใหส อบสวนไกลเ กล่ียเฉพาะ
เร่อื งแนวเขตเทานน้ั โดยถอื หลักฐานแผนท่เี ปนหลักในการพิจารณา
ถาตกลงกันไดใ หดําเนนิ การไปตามท่ีตกลง แตตองไมเปนการสมยอมกัน
เพ่ือหลีกเล่ียงกฎหมาย สวนขอตกลงหรือเงื่อนไขอื่น ๆ ที่คูกรณี
ตกลงกันใหเปนเรื่องของคูกรณีเอง ไมควรบันทึกลงในรายการ
สอบสวนไกลเกลีย่

(๓) หากสอบสวนไกลเกลี่ยแลว คกู รณีไมส ามารถ
จะตกลงกันได กอนที่จะแจงใหคูกรณีไปฟองรองตอศาล ใหเสนอ
เจาพนกั งานทด่ี นิ จังหวดั หรอื นายอาํ เภอ แลวแตกรณี เปนผูพิจารณา
ส่งั การทุกครั้ง

๒.๔ การคดั คา นเรอ่ื งกรรมสทิ ธหิ์ รือสทิ ธิครอบครองทดี่ นิ
ไมใชการคัดคานแนวเขตท่ีดิน ตามนัยมาตรา ๖๙ ทวิ วรรคหา
แหง ประมวลกฎหมายท่ีดนิ เชน เจาของท่ีดินขอรังวัดแบงแยกในนามเดิม
ปรากฏวามีผูคัดคานอางวาไดครอบครองท่ีดินแปลงท่ีขอรังวัดนั้น
บางสวนจนไดก รรมสทิ ธิ์แลว กรณีเชนนีไ้ มใ ชการคัดคานแนวเขตท่ีดิน
เจาพนักงานทดี่ ินจึงไมม อี าํ นาจสอบสวนไกลเกล่ยี ได (หนงั สือกรมท่ีดนิ
ท่ี มท ๐๗๒๘/ว ๔๐๑๒๑ ลงวนั ท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๓)

- การแจงใหคูกรณีไปฟองศาลภายใน ๙๐ วัน
นับแตวันท่ีไดรับแจง ถาคูกรณีไดมีการฟองตอศาลภายในกําหนด
๙๐ วัน ใหรอเร่ืองการสอบเขตโฉนดท่ีดินไวจนกวาศาลจะมีคําสั่ง
หรือคําพพิ ากษาถึงท่สี ุด พรอมมีหนงั สอื แจงใหคูกรณีฝายท่ีมิไดฟอง
ตอศาลทราบดว ย

ถา คูกรณีไมมีการฟองตอศาลภายในกําหนด ๙๐ วัน
ใหถอื วาผูข อไมป ระสงคจะสอบเขตโฉนดทดี่ ินน้นั ตอไป

๓. การตอ เลขท่ีดนิ เลขหนาสํารวจ และเลขโฉนดท่ดี นิ
- ระเบยี บกรมทีด่ ิน วาดวยการตอ เลขท่ีดิน เลขหนาสํารวจ

เลขโฉนดที่ดิน การเขยี นชอ่ื ตําบล อําเภอและการประทับตรา พ.ศ. ๒๕๕๔
วางระเบียบปฏิบัตไิ ว ดงั นี้

379

๓.๑ การตอ เลขทดี่ นิ
การตอ เลขทด่ี นิ ใหจัดทําบัญชี (บ.ท.ด. ๓๙)

สําหรับการตอเลขท่ีดินระวางแผนที่ระบบศูนยกําเนิด หรือบัญชี
สารบัญทีด่ นิ (บ.ท.ด. ๓๙ ก.) สําหรับการตอเลขท่ีดินระวางแผนที่
ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม เปน ระวาง ๆ ไป โดยใหเ ลขทด่ี ินต้ังแต ๑
เปนตนไป และใหเจาหนาที่ของฝายรังวัดเปนผูมีหนาที่รับผิดชอบ
ในการใหเลขที่ดินตามทช่ี างรังวัดเปนผูขอ และใหหัวหนาฝายรังวัด
มหี นา ท่คี วบคมุ เก็บรกั ษา และรบั ผิดชอบ

๓.๒ การตอ เลขหนา สาํ รวจ เลขโฉนดทด่ี ิน
(๑) ใหต อ เลขหนา สํารวจ เลขโฉนดทดี่ นิ และ

เขียนช่ือตําบล อําเภอ จงั หวดั ตามเขตการปกครอง
(๒) การตอเลขหนาสํารวจ ใหจัดทําบัญชีตอ

เลขหนา สาํ รวจ (บ.ท.ด. ๖๖) แยกเปนตําบล ๆ ไป โดยใหเลขหนาสํารวจ
ตั้งแต ๑ เปนตนไป และใหเจาหนาท่ีของฝายรังวัดเปนผูมีหนาที่
รับผิดชอบในการใหเลขหนาสํารวจตามที่ชางผูทําการรังวัดเปนผูขอ
และใหห ัวหนา ฝายรงั วดั มหี นาที่ควบคมุ เกบ็ รักษา และรับผดิ ชอบ

ในกรณมี ีการแบงเขตการปกครองตําบลใหม
ในภายหลัง ใหจัดทําบัญชีตอเลขหนาสํารวจ (บ.ท.ด. ๖๖) ใหม
ตามตําบลใหมท แี่ ยกไป

(๓) การตอเลขโฉนดท่ีดิน ใหจัดทําบัญชีตอ
เลขเลมหนาโฉนดที่ดนิ (บ.ท.ด. ๗๐) แยกเลม เปนอาํ เภอ ๆ ไปโดยให
เลขโฉนดท่ีดินต้ังแต ๑ เปนตนไป และใหเจาหนาท่ีฝายทะเบียน
เปนผูมหี นา ท่ีรับผิดชอบในการใหเลขโฉนดที่ดิน และใหหัวหนาฝายทะเบียน
มหี นา ทีค่ วบคมุ เก็บรกั ษา และรบั ผิดชอบ

380

ในกรณีมีการแบ่งเขตการปกครองอาเภอใหม่
ในภายหลัง ให้จัดทาบัญชีต่อเลขเล่มหน้าโฉนดที่ดิน (บ.ท.ด. ๗๐) ใหม่
ตามอาเภอใหม่ทีแ่ ยกไป

๓.๓ การต่อเลขหน้าสารวจ กรณีเปลี่ยนแปลงเขต
การปกครองตาบล

ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงเขตการปกครอง
เขตตาบล การต่อเลขหน้าสารวจ กรณีมีการแบ่งแยกโฉนดท่ีดิน
การรวมโฉนดที่ดิน และการสอบเขตโฉนดที่ดินภายหลังมีการ
เปลยี่ นแปลงเขตการปกครอง ใหด้ าเนินการดังน้ี

(๑) การดาเนินการกรณแี บง่ แยกโฉนดที่ดนิ
(ก) กรณีแยกส่วนหนึ่งของตาบลไปรวม

กับตาบลอ่ืนหรือต้ังเป็นตาบลข้ึนใหม่ การต่อเลขหน้าสารวจแปลงแยก
ใหต้ ่อในบญั ชีต่อเลขหนา้ สารวจ (บ.ท.ด. ๖๖) ของตาบลใหม่ที่ที่ดินแยก
ไปรวมกับตาบลอ่ืนตามเขตการปกครองใหม่ หรือตาบลท่ีต้ังขึ้นใหม่
โดยให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุของบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ
(บ.ท.ด. ๖๖) และมุมขวาด้านบนของโฉนดท่ีดินแปลงแยกให้ชัดเจนว่า
โฉนดที่ดินแปลงนี้ได้แยกมาจากโฉนดที่ดินเลขท่ี ตาบล อาเภอใด
โดยหากโฉนดทดี่ ินแปลงคงเหลอื ไดเ้ ปลี่ยนแปลงเขตการปกครองด้วย
ใหร้ ะบุตาบล อาเภอ ตามเขตการปกครองใหมแ่ ทนตาบล อาเภอเดิม

กรณีโฉนดท่ีดินแปลงคงเหลือ เม่ือแบ่งแยก
แล้วยังคงอยู่ตามตาบลเดิม เลขหน้าสารวจ ตาบลให้คงใช้ตามเดิม
แต่หากโฉนดท่ีดินแปลงคงเหลือได้เปล่ียนแปลงเขตการปกครองไป
เป็นตาบลใหม่ด้วย ไม่ว่าโฉนดที่ดินแปลงคงเหลือเดิมจะระบุช่ือเป็น
ตาบลเดิมหรือตาบลใหม่ (ตาบลเดิม) ก็ตาม ให้ต่อเลขหน้าสารวจใหม่
ตามตาบลใหม่ โดยให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุของเลขหน้าสารวจ
ท่ีต่อใหม่ในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ (บ.ท.ด. ๖๖) ของตาบลใหม่
ด้วยหมึกสีแดงว่า “เลขหน้าสารวจนี้เดิมเป็นเลขหน้าสารวจ...............

381

ตาบล................ โดยให้เลขหน้าสารวจใหม่เน่ืองจากการ
เปลี่ยนแปลงเขตการปกครองแล้วแต่วันที่................” และให้แก้ไข
เลขหน้าสารวจ ตาบล ในโฉนดที่ดินแปลงคงเหลือ โดยการขีดฆ่า
เลขหน้าสารวจและตาบลเดิมนั้น กลางตัวเลขและตัวอักษรตาม
แนวนอนจานวน ๒ เส้น ด้วยหมึกสีแดง และให้เขียนเลขหน้า
สารวจใหม่ และตาบลใหม่ ด้วยหมึกสีดา พร้อมทั้งให้หมายเหตุใน
ช่องหมายเหตุของเลขหน้าสารวจเดิมในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ
(บ.ท.ด. ๖๖) ของตาบลเดิมด้วยหมึกสีแดงว่า “เลขหน้าสารวจน้ี
ยกเลิกเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงเขตการปกครอง โดยให้เลขหน้า
สารวจ................ ตาบล...................ใหมแ่ ล้วแตว่ ันที่......................”

การคืนเลขหน้าสารวจตาบลเดิม ให้นา
เลขหน้าสารวจของตาบลเดิมนามาลงไว้ในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ
ของตาบลเดิม โดยต่อจากเลขสุดท้ายด้วยหมึกสีแดง และหมายเหตุ
ในช่องหมายเหตุดว้ ยหมึกสีแดงวา่ “ว่าง” เพ่ือนาไปใชอ้ กี

การแกไ้ ขเอกสารสารบบที่ดินเดิมให้แก้ไข
เลขหน้าสารวจและช่ือตาบลเฉพาะปกสารบบที่ดิน (ก.ท.ด. ๑๒)
และกระดาษยอ่ เรอ่ื ง (ท.ด. ๒๙) โดยการขีดฆ่าด้วยหมึกสีแดง และ
ใหเ้ ขียนเลขหนา้ สารวจใหม่และตาบลใหม่ด้วยหมึกสีดาแล้วให้จัดเก็บ
สารบบท่ีดนิ ไว้ในตาบลใหม่

(ข) กรณียกทั้งตาบลไปรวมกับตาบลอื่น
การต่อเลขหน้าสารวจใหม่ และการหมายเหตุในบัญชีต่อเลขหน้า
สารวจของตาบลใหม่และตาบลเดิมให้ดาเนินการตามนัย (ก) โดยอนุโลม
แต่ไม่ต้องนาเลขหน้าสารวจเดิมไปคืนไว้ในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ
ของตาบลเดิมเพ่ือนาไปใช้อีก เนื่องจากตาบลเดิมถูกยกเลิกแล้ว
และบัญชตี อ่ เลขหน้าสารวจของตาบลเดิมยังมีไว้เพ่ือตรวจสอบข้อมูล
เดิมเทา่ น้นั

382

(ค) กรณีหลายตาบลรวมกันตั้งเป็นตาบลใหม่
แตเ่ รยี กชื่อตามตาบลเดิม ตาบลใดตาบลหน่ึง การต่อเลขหน้าสารวจ
ให้ดาเนนิ การตามนยั (ก) และ (ข) โดยอนโุ ลม

(ง) กรณีหลายตาบลรวมกนั ต้ังเป็นตาบลใหม่
และตั้งช่ือขึ้นใหม่ ให้ต้ังบัญชีต่อเลขหน้าสารวจข้ึนใหม่ และให้เลข
หนา้ สารวจตง้ั แต่ ๑ เป็นต้นไป โดยให้ดาเนินการตามนัย (ก) และ (ข)
โดยอนุโลม

(๒) การดาเนนิ การกรณีรวมโฉนดท่ีดิน หากมี
การเปลีย่ นแปลงเขตการปกครองตาบลให้ต่อเลขหนา้ สารวจของโฉนดที่ดิน
แปลงรวม ตามเขตการปกครองตาบลใหม่ การคืนเลขหน้าสารวจ
ตาบลเดิมให้คืนโดยนาเลขหน้าสารวจมาลงไว้ในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ
(บ.ท.ด. ๖๖) ของตาบลเดิมโดยต่อจากเลขสุดท้ายด้วยหมึกสีแดง
และให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุด้วยหมึกสีแดงว่า “ว่าง”
เพื่อนาไปใช้อีก และให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุของ เลขหน้าสารวจ
เดิมในบัญชีต่อเลขหน้าสารวจ (บ.ท.ด. ๖๖) ของตาบลเดิมด้วย
หมึกสีแดงว่า “เลขหน้าสารวจน้ียกเลิกเน่ืองจากการรวมโฉนดที่ดิน
และเปล่ียนแปลงเขตการปกครองโดยให้เลขหน้าสารวจ .............
ตาบล........... ใหม่แล้วแต่วันที่............” โดยให้ดาเนินการตามนัย (๑)
โดยอนุโลม

(๓) การดาเนินการกรณีสอบเขตโฉนดท่ีดิน
หากมีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองให้ขีดฆ่าตาบลเดิมออกด้วย
หมึกสีแดง แล้วเขียนชื่อตาบลใหม่ด้วยหมึกสีดา ต่อจากตาบลเดิม
ส่วนการต่อเลขหน้าสารวจใหม่ และการคืนเลขหน้าสารวจเดิมให้
ดาเนนิ การตามนยั (๑) โดยอนุโลม

383

๓.๔ การตอเลขโฉนดที่ดิน กรณีเปลี่ยนแปลงเขต
การปกครองอําเภอ

ในกรณีที่มีการเปล่ียนแปลงเขตการปกครอง
เขตอําเภอ การตอเลขโฉนดที่ดินกรณีการแบงแยกโฉนดที่ดิน
การรวมโฉนดที่ดิน การสอบเขตโฉนดที่ดนิ ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลง
เขตการปกครองอาํ เภอ ใหใชต ามเขตการปกครองปจ จุบนั โดยไมตอง
นําอาํ เภอเดิมมาใชอกี โดยดาํ เนนิ การดงั นี้

(๑) การดําเนินการกรณีแบงแยกโฉนดท่ีดิน
หากมีการเปล่ียนแปลงเขตการปกครองอําเภอไมวาโฉนดที่ดินเดิม
ระบุชื่อเปนอาํ เภอเดิมหรืออาํ เภอใหม (อําเภอเดมิ ) กต็ าม ใหต อเลข
โฉนดท่ีดินตามเขตการปกครองอําเภอใหม ทั้งโฉนดท่ีดินแปลง
คงเหลือและแปลงแบงแยก โดยโฉนดที่ดนิ แปลงคงเหลือใหข ีดฆาชื่อ
อาํ เภอเดมิ ออกดว ยหมึกสีแดง แลว เขยี นช่อื อาํ เภอใหมดวยหมึกสีดํา
วิธีการตอเลขโฉนดท่ีดินใหม และการคืนเลขโฉนดท่ีดินเดิมให
ดําเนินการตามนยั ขอ ๓.๓ (๑) โดยอนโุ ลม

(๒) การดําเนินการกรณรี วมโฉนดท่ีดิน หากมี
การเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองอําเภอ ใหตอเลขโฉนดท่ีดิน
แปลงรวมตามเขตการปกครองอาํ เภอใหม สวนเลขโฉนดทด่ี นิ เดมิ ใหค ืน
โดยนํามาลงในบัญชีตอเลขเลมหนาโฉนดท่ีดิน (บ.ท.ด. ๗๐) ของ
อาํ เภอเดมิ โดยตอ จากเลขสุดทายดวยหมึกสีแดง และใหหมายเหตุ
ในชอ งหมายเหตุดวยหมึกสแี ดงวา “วาง” เพ่ือนําไปใชอีก และให
หมายเหตุในชองหมายเหตุของเลขโฉนดที่ดินเดิมในบัญชีตอเลข
เลม หนา โฉนดทีด่ ิน (บ.ท.ด. ๗๐) ของอําเภอเดิมดวยหมึกสีแดงวา
“เลขโฉนดท่ดี นิ นยี้ กเลกิ เน่ืองจากการรวมโฉนดท่ีดินและเปลย่ี นแปลง
เขตการปกครองโดยใหเ ลขโฉนดทีด่ ินเลขท.ี่ ................ อําเภอ.............
ใหมแลว แตว ันท.่ี ..............”

384

(๓)การดาเนินการกรณีสอบเขตโฉนดท่ีดิน
หากมีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองอาเภอให้ขีดฆ่าชื่ออาเภอเดิม
ออกด้วยหมึกสีแดง แล้วเขียนช่ืออาเภอใหม่ด้วยหมึกสีดา ต่อจาก
อาเภอเดิม ส่วนการต่อเลขโฉนดท่ีดินใหม่และการคืนเลขโฉนดที่ดิน
เดมิ ใหด้ าเนินการตามนยั (๑) โดยอนโุ ลม

๓.๕ กรณีเปล่ียนแปลงเขตการปกครองใหม่ แต่ไม่มี
การรงั วดั ทด่ี นิ และอ่นื ๆ

(๑) กรณที ่มี กี ารเปล่ยี นแปลงเขตการปกครอง
ใหม่แล้ว และไม่มีการรังวัดที่ดินแปลงที่ถูกเปลี่ยนแปลงเขต
การปกครองใหม่ หากการตรวจสอบและสอบสวนเป็นท่ยี ุติโดยชัดแจ้งว่า
ทด่ี ินแปลงน้ันไดต้ ้งั อยู่บนเขตการปกครองใหม่จริง ไม่ว่าจะเป็นกรณี
ที่เจ้าของที่ดินมาย่ืนคาขอหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบเอง ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ดาเนินการแก้ไขเปล่ียนแปลงเลขหน้าสารวจหรือเลขโฉนดท่ีดิน
ตลอดจนชอื่ ตาบล อาเภอ ตามเขตการปกครองใหม่ได้ โดยให้ดาเนินการ
แกไ้ ขทานองเดียวกับกรณีสอบเขตโฉนดท่ีดิน และเม่ือแก้ไขเสร็จแล้วให้
แจ้งให้เจ้าของที่ดินทราบเพ่ือนาโฉนดที่ดินฉบับเจ้าของท่ีดินมาแก้ไข
ให้ถูกต้องตรงกันกับโฉนดที่ดินฉบับสานักงานที่ดิน ในกรณีท่ีพนักงาน
เจ้าหน้าที่ตรวจพบเอง โดยเจ้าของท่ีดินไม่ได้ย่ืนคาขอให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่แจง้ สิทธอิ ทุ ธรณต์ ามนัยข้อ ๔.๖ (๕) ด้วยโดยอนโุ ลม

(๒) ในการดาเนินการแก้ไขเลขหน้าสารวจ
และเลขโฉนดทีด่ ินในโฉนดทีด่ นิ เดิมตามขอ้ ๓.๓ และข้อ ๓.๔ ให้บนั ทึก
เจ้าของที่ดินรับทราบถึงการเปล่ียนแปลงเขตการปกครองของท่ีดิน
และยินยอมให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแก้ไขเลขหน้าสารวจหรือเลขโฉนดท่ีดิน
ตลอดจนช่อื ตาบลหรอื อาเภอใหมไ่ ว้เปน็ หลกั ฐานดว้ ย

(๓) สานักงานที่ดินจังหวัด สาขา และส่วนแยก
ที่มีการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลแล้ว การต่อเลขหน้าสารวจ

385

เลขโฉนดท่ดี ิน ตามนัยขอ ๓.๓ และ ขอ ๓.๔ ใหค ืนเลขหนาสํารวจ
และเลขโฉนดทีด่ นิ เดิม และแกไขขอ มลู ใหเ ปน ปจจบุ ัน

๓.๖ การตอ เลขหนา สํารวจหรือเลขโฉนดทีด่ นิ ซาํ้ กนั
กรณีท่ีดินแปลงใดมีการตอเลขหนาสํารวจ

หรอื เลขโฉนดที่ดินซํ้ากับที่ดินแปลงอื่นท่ีไดมีการใหเลขไปกอนหนา
นัน้ แลว กรณีเชน นี้ถอื เปนกรณีทจ่ี ะตองดําเนินการตอเลขหนาสํารวจ
หรือเลขโฉนดที่ดินใหที่ดินแปลงที่ตอเลขซํ้านั้นใหม โดยให
เจาพนักงานที่ดินมีคําสั่งใหเปลี่ยนแปลงเลขหนาสํารวจหรือ
เลขโฉนดทีด่ ินน้ัน แลว ใหพ นกั งานเจาหนา ทดี่ าํ เนินการตอไป ดังนี้

(๑) โฉนดท่ีดินแปลงใดไดตอเลขหนาสํารวจ
หรือเลขโฉนดที่ดินไวกอนและถูกตองใหใชเลขหนาสํารวจหรือ
เลขโฉนดท่ดี นิ เลขเดมิ สว นแปลงทต่ี อ เลขหนาสาํ รวจหรือเลขโฉนดที่ดินซํ้า
หากเปนทด่ี นิ ท่ีอยูในเขตการปกครองเดยี วกัน ใหตอเลขหนาสํารวจ
หรือเลขโฉนดท่ีดินสําหรับที่ดินแปลงนั้นเสียใหม โดยตอจากเลขสุดทาย
ในบัญชตี อ เลขหนา สํารวจ (บ.ท.ด. ๖๖) หรือบัญชีตอเลขเลมหนา
โฉนดทด่ี นิ (บ.ท.ด. ๗๐) ของตําบล อําเภอน้นั แลว แตก รณี

ห า ก แ ป ล ง ท่ี ต อ เ ล ข ห น า สํ า ร ว จ ห รื อ
เลขโฉนดที่ดินซ้ํา เปนที่ดินที่อยูคนละเขตการปกครองใหตอ
เลขหนาสํารวจหรือเลขโฉนดท่ีดินสําหรับที่ดินแปลงน้ันเสียใหม
โดยตอจากเลขสุดทายในบัญชีตอเลขหนาสํารวจ (บ.ท.ด. ๖๖)
หรือบัญชีตอเลขเลมหนาโฉนดที่ดิน (บ.ท.ด. ๗๐) ของตําบล
อาํ เภอ ตามเขตการปกครองที่ท่ีดินแปลงน้ันตั้งอยูแลวแตกรณี

(๒) การแกไขเลขหนาสํารวจ และเลขโฉนด
ท่ีดินในบัญชีตอเลข สําหรับเลขหนาสํารวจใหพนักงานเจาหนาที่
ดําเนินการหมายเหตุในชองหมายเหตุของบัญชีตอเลขหนาสํารวจ
(บ.ท.ด. ๖๖) ของตําบลใหมด วยหมกึ สีแดงวา “เลขหนาสํารวจของ
ทีด่ นิ แปลงน้เี ดิมเปน เลขหนา สํารวจ............... ตําบล............ ซึ่งซํ้า
กับเลขหนาสํารวจตําบลเดียวกัน โดยไดตอเลขหนาสํารวจใหม
แลว แตว ันท.ี่ .....................” พรอ มท้ังใหขีดฆา เลขหนาสาํ รวจทซี่ ํ้าน้นั

386

ออกและหมายเหตุในช่องหมายเหตุของบัญชีต่อเลขหน้าสารวจของ
ตาบลเดมิ ด้วยหมกึ สแี ดงว่า “เลขหน้าสารวจแปลงน้ียกเลิกเน่ืองจาก
ต่อเลขหน้าสารวจซ้าโดยให้เลขหน้าสารวจเลขที่.............. ตาบล
................ ใหม่แล้วแต่วันท่ี..................” ส่วนเลขโฉนดที่ดินให้
พนักงานเจา้ หน้าท่ีดาเนินการหมายเหตุในช่องหมายเหตุของบัญชีต่อ
เลขเล่มหน้าโฉนดที่ดิน (บ.ท.ด. ๗๐) ของอาเภอใหม่ด้วยหมึกสีแดงว่า
“เลขโฉนดที่ดินแปลงนี้เดิมเป็นเลขโฉนดที่ดินเลขที่..................
อาเภอ................... ซ่ึงซ้ากับโฉนดท่ีดินเลขท่ีเดียวกัน โดยได้ต่อเลข
โฉนดทด่ี นิ ใหมแ่ ล้วแตว่ นั ท่.ี ..............” พร้อมท้ังให้ขีดฆ่าเลขโฉนดที่ดิน
ที่ซ้าน้ันออกและหมายเหตุในช่องหมายเหตุของบัญชีต่อเลขเล่มหน้า
โฉนดที่ดินของอาเภอเดิมด้วยหมึกสีแดงว่า “เลขโฉนดท่ีดินแปลงนี้
ยกเลิกเนื่องจากต่อเลขโฉนดที่ดินซ้าโดยให้เลขโฉนดท่ีดินเลขที่
.................. อาเภอ............. ใหม่แล้วแต่วันที่......................”

(๓) การเปล่ียนแปลงเลขหน้าสารวจหรือ
เลขโฉนดทดี่ นิ ในโฉนดทด่ี นิ แปลงท่ใี ห้เลขหน้าสารวจ หรือเลขโฉนดทดี่ ินซ้า
ให้ขีดฆ่าเลขหน้าสารวจ หรือเลขโฉนดที่ดินที่ซ้าออกด้วยหมึกสีแดง
แลว้ เขียนเลขหน้าสารวจ หรือเลขโฉนดที่ดินใหม่ให้ถูกต้องตาม (๑)
ดว้ ยหมึกสีดา โดยใหเ้ ปล่ียนแปลงในโฉนดที่ดินฉบับสานักงานที่ดินก่อน
เมอ่ื ได้โฉนดที่ดนิ ฉบับเจ้าของท่ดี นิ มา จึงให้เปล่ยี นแปลงให้ตรงกันต่อไป

(๔) การเปล่ียนแปลงเลขหน้าสารวจในสารบบที่ดิน
ให้แก้ไขเฉพาะปกสารบบที่ดิน (ก.ท.ด. ๑๒) และกระดาษย่อเร่ือง
(ท.ด. ๒๙) ให้ถูกต้องตรงกันโดยการขีดฆ่าด้วยหมึกสีแดง และให้
เขยี นเลขหนา้ สารวจใหม่ด้วยหมกึ สีดา

(๕) เม่ือได้แก้ไขเปล่ียนแปลงเลขหน้าสารวจ
เลขโฉนดทดี่ ิน ท่ีไดต้ อ่ เลขไว้ซา้ ในโฉนดที่ดินฉบับสานักงานท่ีดินตาม
(๑) - (๔) เป็นการถูกต้องแล้ว ให้เจ้าพนักงานที่ดินแจ้งเร่ืองการ
แก้ไขดังกล่าวให้เจ้าของที่ดินทราบ เพื่อนาโฉนดท่ีดินมาแก้ไขให้
ถูกต้องต่อไป พร้อมแจ้งสิทธิอุทธรณ์คาสั่งเปล่ียนแปลงเลขหน้าสารวจ

387

หรือเลขโฉนดที่ดนิ ใหม ทางไปรษณียล งทะเบยี นตอบรบั โดยแจง ให
เจาของทดี่ ินทราบวา สามารถอทุ ธรณค ําสั่งภายใน ๑๕ วนั นบั แตว นั ท่ี
ไดร บั แจง คําสง่ั ดงั กลา ว และหากไมโตแยงภายในกําหนดถือวาเจาของที่ดิน
ยินยอมใหเปลี่ยนแปลงได โดยการดําเนินการแจงสิทธิอุทธรณ
และการพิจารณาอุทธรณใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตาม
กฎหมายวา ดวยวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

๓.๗ การหมายเหตุการแกไขและการรายงาน
เม่อื พนักงานเจา หนาทีไ่ ดแกไ ขหรือเปลยี่ นแปลง

เลขหนาสํารวจ เลขโฉนดทดี่ ิน และชื่อตําบล อาํ เภอ ในโฉนดทด่ี ิน
และแกไ ขเลขหนา สํารวจ และช่ือตําบลในปกสารบบทด่ี นิ (ก.ท.ด. ๑๒)
รวมทงั้ กระดาษยอเรื่อง (ท.ด. ๒๙) ตลอดจนบญั ชีตอ เลขและขอมูล
ในระบบคอมพิวเตอรข องสาํ นักงานที่ดินใหตรงกัน แลวใหพนักงาน
เจา หนาทีล่ งลายมอื ชอื่ และประทับตรา ช่ือ สกุล และวันท่ี กาํ กับไว
เวน แตใ นโฉนดทีด่ นิ ใหล งลายมือช่ือและประทับเพียงตรา ชื่อ สกุล
ดวยตัวอักษรขนาดเล็กเทาน้ัน โดยสํานักงานที่ดินจังหวัดซ่ึงไมมี
ฝา ยควบคมุ และรกั ษาหลกั ฐานทดี่ ิน ใหร ายงานการเปลี่ยนแปลงโฉนดท่ีดิน
ใหกรมทีด่ ินทราบ เพอื่ ปรบั ปรุงขอ มลู ท่ีดนิ ทางสวนกลางใหเปนปจจุบัน
สําหรบั กรณสี ํานกั งานที่ดนิ จังหวดั ซึง่ มีฝา ยควบคุมและรกั ษาหลกั ฐานท่ีดิน
ใหร ายงานการเปลีย่ นแปลงใหกรมทด่ี นิ เฉพาะโฉนดท่ีดินซึ่งจัดทําข้ึน
กอนมฝี า ยควบคมุ และรักษาหลักฐานท่ดี ิน สวนขอมูลของโฉนดท่ีดิน
ซึ่ ง จั ด ทํา ภ า ย ห ลั ง มี ฝ า ย ค ว บ คุ ม แ ล ะ รั ก ษ า ห ลั ก ฐ า น ที่ ดิ น แ ล ว
ใหสํานกั งานที่ดนิ จังหวดั เปนผูปรับปรุงขอ มลู ท่ดี นิ ซึ่งอยใู นความรบั ผดิ ชอบ
ในการจัดทาํ และดแู ลปรบั ปรุงทางสํานักงานทดี่ นิ ใหเปน ปจ จุบนั

๓.๘ การจดั เกบ็ สารบบทดี่ นิ
ทีด่ นิ ที่ไดอ อกโฉนดท่ดี ินไปกอ นมกี ารเปลี่ยนแปลง

เขตการปกครองและที่ดินท่ีไดออกโฉนดท่ีดินภายหลังไดมีการ
เปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง รวมท้ังโฉนดท่ีดินท่ีไดมีการแบงแยก
มาจากโฉนดที่ดินเดิม หากยังไมมีการแกไขเลขหนาสํารวจหรือ

388

เลขโฉนดท่ดี นิ ตามระเบยี บนี้ใหจดั เกบ็ เอกสารในสารบบที่ดิน ตําบล
อําเภอ ตามเดิม แตห ากมีการแกไขแลว ใหจดั เกบ็ เอกสารในสารบบท่ีดิน
ตามตําบล อําเภอ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองใหม
สวนการเกบ็ โฉนดทีด่ ินใหอ นโุ ลมเกบ็ เชนเดยี วกนั

๓.๙ การตอเลขที่ดิน เลขหนาสํารวจ และ
เลขโฉนดท่ดี นิ กรณีจัดเกบ็ ขอมลู ในฐานขอ มูลสารสนเทศท่ดี ิน

(๑) กา รต อ เล ขท่ีดิ น เ ลขห นา สํ าร วจ
เลขโฉนดท่ีดิน สําหรบั สํานกั งานทด่ี ินทม่ี กี ารจัดเก็บขอมูลในฐานขอมูล
สารสนเทศที่ดนิ โดยระบบคอมพิวเตอรจะใหเลขทที่ ําการตอ ใหมทง้ั ชดุ
ในคราวเดียวกัน และใหใชบญั ชีการตอเลขดว ยระบบคอมพิวเตอร

(๒) ตราท่ีประทับโฉนดท่ีดินใหใชตราประจํา
ตาํ แหนงของเจา พนกั งานทีด่ ินจงั หวดั เจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
หรือเจาพนักงานท่ีดินหัวหนาสวนแยก ซึ่งเปนพนักงานเจาหนาที่
ออกโฉนดท่ดี นิ นนั้
 การดําเนนิ การเก่ยี วกบั คําขอที่คางระหวา งดําเนินการ

ระเบียบกรมทีด่ ิน วาดวยการรายงานผลการปฏิบัติงาน
และการจัดการงานคางของสาํ นกั งานท่ีดนิ พ.ศ. ๒๕๕๕ หมวด ๑ สวนที่ ๔
ไดวางแนวทางปฏบิ ตั ิไว ดังน้ี

การดําเนนิ การเกี่ยวกบั งานคางระหวางดําเนนิ การ
๑. คาํ ขอรังวดั แบง แยกโฉนดทดี่ ิน หรือหนังสือรับรอง
การทําประโยชนทุกประเภท คําขอรงั วดั สอบเขตโฉนดท่ีดินเฉพาะราย
คําขอรังวดั ตรวจสอบเนื้อท่ีตามหนงั สือรบั รองการทาํ ประโยชนเฉพาะราย
และคาํ ขอรังวัดรวมโฉนดทีด่ ินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนท่ี
เจาหนา ที่ฝา ยรังวดั ดาํ เนินการเสรจ็ แลว และคา งระหวางดําเนินการ
ทางฝา ยทะเบยี นใหดําเนินการ ดงั นี้

๑.๑ กรณีคําขอรังวัดสอบเขตโฉนดท่ีดิน หรือ
ตรวจสอบเนอื้ ทห่ี นังสือรับรองการทําประโยชนเฉพาะราย กรณีผล

389

การรงั วัดไดร้ ปู แผนท่ีหรอื เนอื้ ทีแ่ ตกต่างจากเดิม คาขอรังวัดแบ่งแยก
โฉนดท่ีดิน หรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ทุกประเภท คาขอ
รังวัดรวมโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ที่ค้าง
ดาเนินการ เนื่องจากมีเหตุขัดข้องด้วยประการใด หรือเรื่องที่พร้อม
จะจดทะเบียน หรอื พร้อมทจี่ ะแจ้งผลการรังวัด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ทาหนังสือแจ้งให้ผู้ขอทราบโดยกาหนดเวลาให้ผู้ขอมาดาเนินการ
ตามขอ้ ๔

๑.๒ กรณีผู้ขอมีความประสงค์จะโอนกรรมสิทธิ์ หรือ
สทิ ธิครอบครองในที่ดินของตนไปยังบุคคลภายนอก ก่อนจดทะเบียนโอน
ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแจ้งผู้รับโอนทราบ และสอบสวนถึงความประสงค์
ว่าจะขอสรวมสิทธิการรังวัดตามคาขอการรังวัดของเจ้าของเดิม
หรือไม่ หากผู้รับโอนไม่ต้องการสรวมสิทธิให้บันทึกถ้อยคา (ท.ด. ๑๖)
ไว้เป็นหลักฐาน ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีส่ังยกเลิกเร่ืองที่ค้างระหว่าง
ดาเนินการนั้นได้ เว้นแต่กรณีผลการรังวัดได้รูปแผนที่หรือเนื้อที่
แตกตา่ งจากเดิมให้ปฏบิ ตั ิตามข้อ ๑.๓

ในกรณีที่ผู้ขอรังวัดเดิมมีหลายคนแต่มีการโอน
กรรมสิทธ์ิ หรือสิทธิครอบครองในท่ีดินเพียงบางคน หรือกรณีท่ี
พนักงานเจ้าหน้าท่ีได้รับจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิ
ครอบครอง ในที่ดินไปยังบุคคลภายนอกแล้ว โดยไม่ได้แจ้งว่า
เจ้าของเดิมทาการขอรังวัดไว้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทาหนังสือแจ้ง
ผู้ถือกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในปัจจุบัน โดยกาหนดเวลาให้
ผู้ขอมาดาเนินการหรือจดทะเบียนหรือรับทราบผลการรังวัดหรือ
สรวมสิทธกิ ารรงั วดั ตามขอ้ ๔ เวน้ แตก่ รณีผลการรังวัดได้รูปแผนที่
หรอื เนอื้ ทแี่ ตกตา่ งจากเดิมให้ปฏิบัติตามขอ้ ๑.๓

๑.๓ กรณีท่ีผลการรังวัดได้รูปแผนท่ีหรือเนื้อท่ี
แตกตา่ งจากเดมิ ยกเว้นกรณคี าขอรังวดั รวมโฉนดที่ดิน หรือหนังสือ
รับรองการทาประโยชน์ หากผู้ขอมีความประสงค์จะยกเลิกเรื่อง

390

ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีแจ้งให้ผู้ขอทราบถึงผลการรังวัดน้ัน หากผู้ขอ
ยืนยันที่จะยกเลิกเร่ืองก็ให้พนักงานเจ้าหน้าที่บันทึกถ้อยคาผู้ขอไว้
เป็นหลักฐานพรอ้ มกับกลดั คาสั่งใหส้ อบเขตท่ีดิน (ท.ด. ๘๐ ข) ติดไว้
ในโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ฉบับสานักงานที่ดิน
และบันทึกคาส่ังให้สอบเขต (ท.ด. ๘๐ ข) ไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ด้วย
จึงให้ยกเลิกเรื่องได้ ในกรณีท่ีมีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกับที่ดินแปลงนี้ ถ้าคู่กรณียืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรให้
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม โดยให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีบันทึกถ้อยคา
ของคู่กรณีทุกฝ่าย เพ่ือให้ทราบถึงผลการรังวัดคร้ังก่อนไว้เป็น
หลักฐานทุกครั้งจนกว่าจะมีการแก้ไขรูปแผนท่ีและเน้ือท่ี รวมทั้ง
หลักฐานอ่ืนๆ เก่ียวกับท่ีดินตามผลการรังวัดท่ีเปลี่ยนแปลงใน
หลกั ฐานทีด่ นิ ใหถ้ กู ต้องแล้ว

๒. กรณสี อบเขตโฉนดที่ดินและตรวจสอบเน้ือที่หนังสือ
รับรองการทาประโยชน์ได้รูปแผนท่ีและเน้ือที่เท่าเดิม เม่ือพนักงาน
เจ้าหน้าท่ีได้ออกไปทาการรังวัดสอบเขตที่ดินหรือตรวจสอบเน้ือท่ี
เสร็จเรียบร้อยแล้ว และได้รายงานผลการรังวัดให้ผู้มีอานาจสั่งการ
อย่างไรจึงจะถือว่าเป็นงานเสร็จ โดยให้แยกพิจารณาเป็น ๒ กรณี
กล่าวคือ

๒.๑ กรณีผลการรังวัดสอบเขตโฉนดท่ีดินหรือการ
ตรวจสอบเนอื้ ทีห่ นงั สือรบั รองการทาประโยชน์แล้ว ได้รูปแผนท่ีและ
เน้อื ที่เท่าเดมิ หลักเขตท่ดี ินเกา่ อยู่ครบ ข้างเคียงคงเดิมเขตปกครอง
คงเดมิ และไมม่ กี ารแก้ไขเครอื่ งหมายทด่ี ิน เม่ือฝ่ายรังวัดดาเนินการ
เสร็จและส่งฝ่ายทะเบียนแล้ว ให้ฝ่ายทะเบียนทาหนังสือแจ้งผล
รังวัดให้ผู้ขอรับทราบ และให้ถือว่าหลักฐานการรับแจ้งผลการรังวัด
ดังกล่าวเป็นการรับทราบผลการรังวัดของผู้ขอแล้ว ตัวอย่างหนังสือ
แจง้ แนบทา้ ยระเบยี บ

391

๒.๒ กรณีผลการรังวัดสอบเขตโฉนดท่ีดินหรือ
ตรวจสอบเน้ือทีห่ นงั สือรบั รองการทําประโยชนแลวไดรูปแผนที่และ
เน้อื ที่เทา เดมิ แตม ีการแกไขหลักฐานเกีย่ วกบั ท่ีดิน เชน หมายเลข
หลักเขตที่ดินขางเคียง เขตปกครอง หรือเครื่องหมายท่ีดิน ฯลฯ
เมื่อฝา ยรังวัดดาํ เนนิ การเสร็จและสงฝา ยทะเบยี นแลวใหฝา ยทะเบียน
ทําหนงั สือแจงผลการรังวัดและใหผูขอมาดําเนินการภายในกําหนด
สามสบิ วนั นบั แตวันทไี่ ดร บั แจง โดยใหระบใุ นหนงั สอื แจงดวยวาหาก
ผูขอไมมาดําเนินการภายในกําหนด จะถือวาผูขอรับทราบผล
การรังวัดสอบเขตท่ีดินหรือตรวจสอบเนื้อที่แลว และยินยอมให
พนักงานเจาหนาท่ีแกไขหลักฐานเก่ียวกับที่ดินในโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทําประโยชนฉบับสํานักงานท่ีดินตามผลการรังวัดได
ตามแบบตวั อยางแนบทา ยระเบยี บ เม่อื ครบกาํ หนดแลวหากผูขอไมมา
ดําเนินการใด ๆ ใหพนักงานเจาหนาที่แกไขหลักฐานเก่ียวกับที่ดิน
ในโฉนดที่ดิน หรือหนงั สือรับรองการทําประโยชนฉบับสํานักงานที่ดิน
ใหถูกตองตามผลการรังวัด และหมายเหตุเพิ่มเติมในใบแจง
เร่ืองระหวางดําเนินการ (ท.ด. ๗๔) ติดโฉนดที่ดินและหนังสือ
รับรองการทําประโยชนฉบับสํานักงานที่ดินใหทราบวาเม่ือมีการทํา
ธรุ กรรมเก่ียวกบั ทีด่ นิ แปลงนี้ ใหพนักงานเจาหนาท่ีแกไขโฉนดที่ดิน
หรอื หนงั สือรับรองการทาํ ประโยชนฉ บบั เจา ของทีด่ ินใหถกู ตองตรงกัน
กบั ฉบับสํานกั งานทีด่ ินดวย

เม่ือไดดําเนินการตามกรณี ๒.๑ หรือกรณี ๒.๒
แลว แตก รณี เสรจ็ เรียบรอ ยแลว ใหถ ือเปนงานเสรจ็ และใหจาํ หนาย
คาํ ขอและบัญชงี านคางระหวา งดาํ เนินการได

๓. คาํ ขอรงั วดั แบง แยก คาํ ขอรังวัดรวมโฉนดท่ีดินหรือ
หนังสือรับรองการทําประโยชน ซ่ึงคางอยูฝายทะเบียนพนักงาน
เจาหนาที่ไดส่ังรอเร่ืองไวแตยังไมมีการยกเลิกเร่ือง ใหพนักงาน


Click to View FlipBook Version