The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) (ปี 2563)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

คำนำ

กรมท่ีดินได้จัดทำ “แผนงำนจัดทำฐำนข้อมูลแนวเขตทำงสำธำรณประโยชน์ มำตรำส่วน 1:4000”
เพ่ือจัดทำแนวเขตทำงสำธำรณ ประโยชน์ และรองรับกำรจัดทำฐำนข้อมูลสิ่งปลูกสร้ำงท่ีบุกรุก
ทำงสำธำรณประโยชน์ สำหรับใช้เป็นข้อมูลในกำรป้องกัน และแก้ไขปัญหำกำรบุกรุกทำงสำธำรณประโยชน์
อีกทั้งเป็นกำรสนับสนุนข้อมูลให้แก่ กรมเจ้ำท่ำ กระทรวงคมนำคม ในกำรดำเนินกำรตำมแผนบูรณำกำร
ตำมมำตรกำรป้องกันกำรทุจริตเกี่ยวกับสิ่งล่วงล้ำลำแม่น้ำ แผนงำนที่ 1 สำรวจจัดทำแผนที่ฐำนข้อมูลสิ่ง
ปลกู สร้ำงลว่ งล้ำลำแม่นำ้ ท่วั ประเทศ

กำรดำเนินกำรโดยกำรถ่ำยทอดแนวเขตที่ดินแปลงสุดท้ำยที่ติดกับทำงสำธำรณประโยชน์ในกำร
กำหนดแนวเขตโดยพิจำรณำจำกภำพถ่ำยทำงอำกำศท่ีจัดทำโดยกรมแผนท่ีทหำร หำกสภำพพ้ืนท่ีมีกำร
เปล่ียนแปลงจำเป็นต้องบินถ่ำยภำพใหม่เพ่ือให้ข้อมูลเป็นปัจจุบัน ต้องใช้ระยะเวลำในกำรดำเนินกำรนำนและ
เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรบินจำนวนมำก กรมที่ดินจึงมีควำมจำเป็นต้องใช้อำกำศยำนไร้คนขับ (UAV) มำดำเนินกำร
ถ่ำยภำพในพื้นท่ีขนำดเล็ก เพ่ือให้ได้ภำพถ่ำยที่เป็นปัจจุบัน สำหรับใช้ในกำรบริหำรจัดกำรบุกรุก
ทำงสำธำรณประโยชนต์ อ่ ไป

สารบญั ๑

บทที่ ๑ อากาศยานไร้คนขับ ๒
๑.๑ บทนำ ๒
๑.๒ ประเภทของอำกำศยำนไร้คนขับ ๒
๑.๒.๑ อำกำศยำนไร้คนขบั ชนิดปีกตรงึ (Fixed Wing) ๒
๑.๒.๒ อำกำศยำนไรค้ นขบั ชนิดปกี หมุน (Multirotor) ๔
๑.๒.๓ อำกำศยำนไรค้ นขับชนิดปกี ตรงึ ขึ้นลงแนวดิ่ง (Fixed-Wing Hybrid) ๕
๑.๓ สว่ นประกอบของอำกำศยำนไรค้ นขบั สำหรับงำนสำรวจดว้ ยภำพถ่ำย ๖
๑.๔ กฏหมำยที่เก่ยี วข้องกับอำกำศยำนไรค้ นขบั ๗
๑.๔.๑ อำกำศยำนทค่ี วบคมุ กำรบินจำกภำยนอกประเภทท่ี ๑(ก) ๘
๑.๔.๑ อำกำศยำนท่ีควบคุมกำรบนิ จำกภำยนอกประเภทท่ี ๑(ข) ๘
๑.๕ กำรขึ้นทะเบียนอำกำศยำนไร้คนขบั ๑๓
๑.๕.๑ กำรขึน้ ทะเบียนผู้ครอบครองอำกำศยำนไรค้ นขับ
๑.๕.๒ กำรข้นึ ทะเบยี นผบู้ งั คบั อำกำศยำนซึง่ ไมม่ นี กั บนิ ประเภทอำกำศยำนที่ควบคุม ๑๕
กำรบินจำกภำยนอก ๑๕
๑๕
บทที่ ๒ ข้นั ตอนการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ ๑๗
๒.๑ หลกั กำรวำงแผนกำรบินและกำรถ่ำยภำพด้วยอำกำศยำนไรค้ นขบั ๑๗
๒.๑.๑ ควำมสงู บิน ๑๗
๒.๑.๒ ขนำด GSD ๑๘
๒.๑.๓ ส่วนซ้อนและส่วนเกย ๑๘
๒.๑.๔ รูปแบบกำรบนิ ๑๙
๒.๒ โปรแกรมควบคุมกำรบนิ ๑๙
๒.๒.๑ CHCUAV Control ๒๐
๒.๒.๒ DJI GO๔ ๒๐
๒.๒.๓ Pix๔D ๒๑
๒.๓ กำรสรำ้ งจดุ ควบคุมภำพถำ่ ย ๒๒
๒.๔ กำรประมวลผลภำพถำ่ ย ๒๒
๒.๕ กำรตรวจสอบคณุ ภำพผลลัพธ์ ๒๓

บทท่ี ๓ การวางแผนการบินและการบนิ ถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับ ๒๗
๓.๑ อำกำศยำนไร้คนขับชนดิ ปีกตรงึ ขึ้นลงแนวด่ิงCHCNAV รุ่นP๓๑๖
๓.๑.๑ สว่ นประกอบของอำกำศยำนไร้คนขับชนิดปีกตรงึ ขนึ้ ลงแนวด่ิง ๒๗
(Fixed Wing Hybrid UAV) ย่ีห้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖
๓.๑.๒ คณุ สมบตั ขิ องอำกำศยำนไรค้ นขบั ชนิดปีกตรึงข้นึ ลงแนวด่ิง
(Fixed Wing Hybrid UAV) ย่หี อ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖
๓.๑.๓ ขน้ั ตอนกำรทำงำนของอำกำศยำนไรค้ นขับชนิดปกี ตรึงขน้ึ ลงแนวดงิ่
(Fixed Wing Hybrid UAV) ยหี่ อ้ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖

สารบัญ (ตอ่ )

๓.๑.๔ กำรต้ังคำ่ สถำนคี วบคุมภำคพน้ื ดนิ (Ground Control Station, GCS) ๒๘
๓๑
๓.๑.๕ กำรประกอบอำกำศยำนไร้คนขับชนดิ ปีกตรึงขึ้นลงแนวด่ิง
(Fixed Wing Hybrid UAV) ย่ีหอ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖ ๓๕

๓.๑.๖ กำรเช่ือมต่ออุปกรณ์ควบคุมอำกำศยำน (Controller) กับอำกำศยำนฯ และกำร ๔๐
ทำวดั สอบเซนเซอร์ (Calibration Sensor) อำกำศยำนไร้คนขับชนดิ ปีกตรงึ ข้นึ ๔๖
ลงแนวดงิ่ (Fixed Wing Hybrid UAV) ย่หี ้อ CHCNAV ร่นุ P๓๑๖ ๖๖
๘๑
๓.๑.๗ กำรตั้งค่ำแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl” ๘๒

๓.๑.๘ กำรวำงแผนกำรบนิ ๘๕

๓.๑.๙ ข้นั ตอนกำรบินสำรวจ ๘๗
๓.๒ อำกำศยำนไรค้ นขับชนิดปกี หมุน (Multirotor) ย่หี ้อ DJI รนุ่ Phantom๔ Pro V.๒
๘๗
๓.๒.๑ สว่ นประกอบของอำกำศยำนไร้คนขบั ชนดิ ปีกหมนุ (Multirotor) ยีห่ อ้ DJI
รนุ่ Phantom๔ Pro V.๒ ๙๐
๙๓
๓.๒.๒ คณุ สมบัติของอำกำศยำนไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ยีห่ ้อ DJI ๑๐๘
รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ ๑๑๔
๑๒๗
๓.๒.๓ ข้ันตอนกำรทำงำนของอำกำศยำนไร้คนขบั ชนิดปกี หมุน (Multirotor) ยห่ี อ้ DJI
รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ ๑๒๗
๑๒๙
๓.๒.๔ กำรเตรยี มและประกอบอำกำศยำนไรค้ นขับชนดิ ปีกหมุน (Multirotor) ย่ีหอ้ DJI ๑๓๐
รุน่ Phantom๔ Pro V.๒
๑๓๔
๓.๒.๕ กำรเตรยี มอุปกรณ์ควบคุมอำกำศยำน (Controller)
๑๓๔
๓.๒.๖ กำรติดต้ังแอปพลเิ คชัน (Application) สำหรับกำรบนิ สำรวจบนอุปกรณ์แสดงผล ๑๓๕
๑๓๖
๓.๒.๗ กำรวำงแผนกำรบิน
๑๓๗
๓.๒.๘ ขั้นตอนกำรบินสำรวจ

บทที่ ๔ การสรา้ งจุดควบคุมภาคพ้ืนดนิ Ground control point (GCP)
และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

๔.๑ จุดควบคุมภำคพื้นดนิ หรือ Ground Control Point (GCP)

๔.๒ จดุ ตรวจสอบภำพหรือ Check Point (CP)

๔.๓ อปุ กรณท์ ่ีใชส้ ำหรบั กำรสรำ้ งจดุ ควบคมุ ภำคพน้ื ดนิ Ground control point (GCP)
และจดุ ตรวจสอบภำพ Check point (CP)

๔.๔ ขั้นตอนกำรวำงแผนปฏิบตั ิงำน สรำ้ งจดุ ควบคุมภำคพื้นดิน Ground control point
(GCP) และจุดตรวจสอบภำพ Check point (CP)

๔.๔.๑ จดั ทำแผนที่สงั เขปเพือ่ กำหนดตำแหน่งกำรวำงจดุ ควบคมุ

๔.๔.๒ กำรเขำ้ สำรวจพ้ืนที่
๔.๔.๓ กำรปรับแกต้ ำแหนง่ กำรวำงจุดควบคุมภำคพนื้ ดนิ Ground control point

(GCP) และจุดตรวจสอบภำพ Check point (CP) ก่อนกำรปฏิบตั งิ ำน

๔.๔.๔ กำรตรวจสอบกำรรบั สัญญำณของเครื่องรับสญั ญำณดำวเทยี ม GNSS

สารบัญ (ตอ่ ) ๑๔๐

๔.๕ กำรสร้ำงจุดควบคมุ ภำคพน้ื ดนิ Ground control point (GCP) และจดุ ตรวจสอบภำพ ๑๔๐
Check point (CP)
๔.๕.๑ จุดควบคุมภำคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และจดุ ตรวจสอบภำพ ๑๔๓
Check point (CP) ๑๔๔
๔.๕.๒ กำรเขียนรำยกำรรังวัด (เชนสนำม) ๑๔๙
๔.๕.๓ ขัน้ ตอนกำรรับสัญญำณดำวเทยี ม GNSS ๑๕๑
๑๕๑
๔.๖ กำรสง่ ออกข้อมลู ค่ำพิกดั จำกเครื่องควบคมุ กำรบนั ทึกข้อมูลสัญญำณดำวเทียม ๑๕๑
บทที่ ๕ การประมวลผลข้อมูล
๑๖๙
๕.๑ กำรเตรียมขอ้ มลู สำหรับกำรประมวลผล
๕.๑.๑ ขอ้ มลู จำกอำกำศยำนไร้คนขบั ชนิดปีกตรึงข้ึนลงแนวดงิ่ ๑๗๑
(Fixed Wing Hybrid UAV) ยีห่ ้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖ ๑๗๑
๕.๑.๒ ข้อมูลจำกอำกำศยำนไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor)
ยี่ห้อ DJI รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ ๑๗๔
๒๐๘
๕.๒ กำรประมวลผลข้อมูลภำพถำ่ ยโดยใชโ้ ปรแกรม Pix4Dmapper ๒๐๘
๕.๒.๑ หลกั กำรและข้ันตอนกำรประมวลผลขอ้ มลู ภำพถ่ำยโดยใช้โปรแกรม ๒๐๙
Pix๔Dmapper ๒๐๙
๕.๒.๒ ขั้นตอนกำรประมวลผลขอ้ มูลภำพถ่ำยโดยใช้โปรแกรม Pix4Dmapper ๒๑๐
๒๑๑
บทท่ี ๖ ปญั หาและอุปสรรคในการปฏิบัตงิ านการบนิ ถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขบั ๒๑๓
๖.๑ สภำพอำกำศ ๒๑๔
๖.๒ วสั ดแุ ละสีทีใ่ ช้ทำเปำ้ สำหรบั งำนกำรสรำ้ งจดุ ควบคมุ ๒๓๑
๖.๓ กำรรบั สัญญำณดำวเทียม GNSS
๖.๔ ผลกระทบจำกควำมรอ้ นของสภำพอำกำศ
๖.๕ กำรเขำ้ พน้ื ทีป่ ฏบิ ัตงิ ำน

ภาคผนวก
แผนทีภ่ ำพถ่ำยซงึ่ ถำ่ ยด้วยอำกำศยำนไรค้ นขับโดย ศูนยข์ ้อมลู แผนทรี่ ปู แปลงที่ดิน กรมที่ดิน
ประกำศกระทรวงคมนำคม เรอื่ ง“หลกั เกณฑ์กำรขออนญุ ำตและเง่ือนไขในกำรบงั คบั หรือ
ปล่อยอำกำศยำนซง่ึ ไมม่ นี กั บินประเภทอำกำศยำนทค่ี วบคุมกำรบินจำกภำยนอกพ.ศ.
๒๕๕๘”

บทที่ ๑

อากาศยานไรค้ นขับ

๑.๑ บทนา
อากาศยานไร้คนขับ หรือ Unmanned Aerial Vehicle (UAV) เป็นยานพาหนะทางอากาศขนาดเล็ก

มีการควบคุมและส่ังการการบินด้วยระบบอัตโนมัติและแบบก่ึงอัตโนมัติโดยไม่มีนักบินอยู่บนเครื่อง สามารถ
ควบคุมด้วยอุปกรณ์ควบคุมระยะไกล การใช้งานอากาศยานไร้คนขับในช่วงแรกนั้นเร่ิมต้นพัฒนา มาจาก
เทคโนโลยีทางการทหารเพื่อการป้องกันประเทศเท่าน้ัน แต่ในปัจจุบันอากาศยานไร้คนขับถูกพัฒนาให้ใช้
ประโยชน์ได้หลากหลายมากขึ้น เช่น ด้านการเกษตร กีฬาและสันทนาการ การพาณิชย์โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การนามาใชใ้ นงานภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photogrammetry)

ความก้าวหน้าในการพัฒนาทางเทคโนโลยีด้านอากาศยานไร้คนขับและการค้นพบอัลกอริ ทึม
การประมวลผลภาพในการสร้างแบบจาลองสามมิติจากภาพถ่ายสองมิติทางด้านคอมพิวเตอร์วิช่ัน (Computer
Vision) ทาให้มีการพัฒนาระบบการทาแผนท่ีจากอากาศยานไร้คนขับ (UAV Photogrammetry) ข้ึน ทาให้
การใช้งานง่ายสะดวกและมีความคล่องตัวมากข้ึนเมื่อเทียบกับวิธีการสารวจด้วยภาพถ่ ายทางอากาศแบบเดิม
(Traditional Photogrammetry) สามารถให้ผลลัพธ์หลายลักษณะท่ีมีรายละเอียดความถูกต้องแม่นยา
มีความสมบูรณ์ ความคมชัดและเป็นปัจจุบันได้แก่ข้อมูลแบบจาลองพื้นผิวเชิงเลข (Digital Surface Model,
DSM) แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศที่ทาจากแบบจาลองพ้ืนผิวเชิงเลข (True Orthophoto) เส้นช้ันความสูง
ของภูมิประเทศ(Contour Line)และแบบจาลองสามมิติเชิงเลข (3D Texture Mesh Model) ซึ่งนาไปใช้งาน
ทางด้านวิศวกรรมไดเ้ ปน็ อยา่ งดีนอกจากน้ยี ังใชเ้ วลาและงบประมาณที่ต่ากว่าการถ่ายภาพชนดิ อืน่ ๆ ด้วย

การจัดทาภาพถ่ายทางอากาศโดยใช้อากาศยานไร้คนขับ Unmanned Aerial Vehicle (UAV) ทาได้
ด้วยการติดกล้องดิจิทัลไว้กับลาตัวของอากาศยาน เพ่ือทาการถ่ายภาพจากมุมสูงขณะบินตัวอากาศยานสามารถ
ทางานได้อย่างเป็นระบบโดยผ่านการกาหนดพ้ืนท่ีในการบินเก็บข้อมูลภาพถ่ายการกาหนดแนวบินการกาหนด
จุดบินขึ้นและลงจอดจากผู้ปฏิบัติงานการควบคุมและแสดงผลการทางานผ่านสถานีควบคุมภาคพ้ืนดิน (Ground
Control Station) โดยผู้ปฏิบัติงานสามารถทราบตาแหน่งของเครื่องอากาศยานไร้คนขับว่าอยู่ตาแหน่งใด
สถานะเชื่อมต่อสถานะดาวเทียมสถานะของพลังงานแบตเตอรี่อีกทั้งผู้ปฏิบัติงานสามารถสั่งการลงจอดฉุกเฉิน
ตามลักษณะเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้โดยเมื่อหลังจากที่บินถ่ายภาพในพื้นที่เสร็จสิ้นตามขั้นตอนแล้วจะต้อ
งนาข้อมูลทั้งหมดมาทาการประมวลผลภาพถ่ายด้วยโปรแกรมเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล Orthophoto และ Digital
Surface Model (DSM) เพ่ือนาผลของขอ้ มูลดังกล่าวไปใชง้ านตามจุดประสงค์ต่อไป



๑.๒ ประเภทของอากาศยานไรค้ นขับ

ในปัจจุบันอากาศยานไร้คนขับมีการแบ่งประเภทท่ีสามารถกาหนดรูปแบบการจัดได้หลายลักษณะท้ังน้ี
ขึ้นอยู่กับเป้าหมายในการนาไปใช้ภารกิจคุณลักษณะเฉพาะของอากาศยานไร้คนขับเองที่ถูกพัฒนาข้ึนสา หรับ
การใช้งานสาหรับภารกิจใดภารกิจหน่ึงหรือสาหรับสภาวะของภูมิประเทศในการนาไปใช้นอกจากน้ัน
ในข้อพิจารณาดังกล่าวจะต้องคานึงถึงว่าอากาศยานไร้คนขับดังกล่าวผู้นาไปใช้เป็นองค์กรใดมีการใช้เพ่ือความ
มุง่ หมายและเหตุผลใดซึง่ นกั วิชาการไทยไดก้ ล่าวถงึ การแบ่งประเภทของอากาศยานไรค้ นขับไว้ ๘ ประเภทดังน้ี

(๑.) แบ่งตามความต้องการของการใช้
(๒.) แบง่ ตามลกั ษณะการควบคุม
(๓.) แบ่งตามลักษณะประเภทของการบิน
(๔.) แบ่งตามขีดความสามารถของระยะปฏิบตั กิ าร
(๕.) แบ่งตามความสูงของเพดานบนิ และห้วงเวลาในการครองอากาศ
(๖.) แบ่งตามระดบั ของการปฏิบตั กิ าร
(๗.) แบ่งตามลักษณะการสรา้ ง
(๘.) แบง่ ตามการสนบั สนุนและการสง่ กาลงั บารุง
โดยเอกสารฉบบั น้จี ะแบ่งประเภทอากาศยานไร้คนขับสาหรับงานสารวจดว้ ยภาพถ่ายเป็น ๓ ประเภทดังน้ี

๑.๒.๑ อากาศยานไรค้ นขับชนดิ ปีกตรงึ (Fixed Wing)
อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึง (Fixed Wing) เป็นอากาศยานท่ีมีลักษณะคล้ายกับเคร่ืองบิน

ท่ัวไปใช้ระยะเวลาการบินประมาณ ๓๐-๖๐นาทีสามารถบินครอบคลุมพ้ืนที่ได้มากกว่าอากาศยานไร้คนขับ
แบบปีกหมุนตอ้ งอาศยั พ้นื ท่ีโลง่ กวา้ งในการลงจอด

๑.๒.๒ อากาศยานไรค้ นขับชนิดปกี หมุน (Multirotor)
อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) เป็นอากาศยานท่ีข้ึนลงในแนวด่ิง อาศัยการหมุน

ของใบพัดในการข้ึนลงและขับเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆประกอบด้วยใบพัดจานวน ๓, ๔, ๖ และ ๘ ใบพัด
โดยท่ัวไปใชร้ ะยะเวลาการบินประมาณ ๑๐-๒๐ นาที

๑.๒.๓ อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรงึ ขน้ึ ลงแนวด่งิ (Fixed-Wing Hybrid)
อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขึ้นลงแนวดิ่ง (Fixed-Wing Hybrid) เป็นอากาศยานท่ีได้รับ

การ พัฒ น าข้ึน ให ม่มีล าตัวเป็นแบบอากาศย าน ไร้คน ขับชนิ ดปีกตรึ ง แล ะมี ใบพัดให้ส ามาร ถขึ้นล งแนวด่ิงได้
(Vertical Take-off and Landing, VTOL) ซ่ึงเป็นการนาข้อดีของอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงมารวมกับ
ชนิดปกี หมุน



ตวั อย่างอากาศยานไร้คนขับชนดิ ปกี ตรึง (Fixed Wing)

ตัวอยา่ งอากาศยานไร้คนขบั ชนดิ ปีกหมนุ (Multirotor)
ตัวอยา่ งอากาศยานไร้คนขับชนิดปกี ตรงึ ข้นึ ลงแนวด่งิ (Fixed-Wing Hybrid)



ประเภทของอากาศยานไรค้ นขบั ขอ้ ดี ข้อเสยี
อากาศยานไร้คนขับชนดิ ปีกตรึง
ระยะเวลาในการบินนาน ใช้พื้นที่ข้นึ ลงมาก
อากาศยานไร้คนขับชนดิ ปีกหมุน ครอบคลุมพ้นื ที่กว้าง ราคาสงู
บนิ ด้วยความเร็วสูงและทนต่อแรงลม ใชง้ านยาก
อากาศยานไร้คนขบั ชนิดปีกตรึงข้ึนลง
แนวดงิ่ ง่ายต่อการใช้งาน บินช้า
ใช้พืน้ ที่ข้ึนลงน้อย ระยะเวลาในการบนิ นอ้ ย
ราคาถกู
ทนต่อแรงลมได้น้อย
ใช้พ้นื ทข่ี น้ึ ลงน้อย
ระยะเวลาในการบินได้นาน ราคาสูง
ครอบคลุมพน้ื ท่ีได้กวา้ ง ใชง้ านยาก
บนิ ด้วยความเร็วสูงและทนตอ่ แรงลม

๑.๓ ส่วนประกอบของอากาศยานไร้คนขับสาหรบั งานสารวจด้วยภาพถา่ ย
จากคาจากัดความของอากาศยานไร้คนขับหมายถึงเครื่องบินที่สามารถบินได้ด้วยระบบอัตโนมัติ

โดยไม่ใช้นักบิน จะเห็นว่าลักษณะของอากาศยานไร้คนขับจะกาหนดได้จากการออกแบบการสร้างระบบต่างๆ
ในอากาศยานไร้คนขับและระบบสนับสนุนท่ีอยู่บนพื้นดินซ่ึงส่ิงเหล่านี้ได้มาจากความต้องการหลัก ๕ ประการ
คือ ระยะเวลาบิน ความเร็ว รัศมีทาการ ความสูง และน้าหนักรวม เม่ือพิจารณาโดยรวมท้ังระบบแล้ว
ระบบอากาศยานไรค้ นขบั จะแยกได้ ๑๐ สว่ นคอื

(๑) โครงเครื่องบิน (Airframe) มีรูปร่างที่แตกต่างกันตามแต่ละประเภทของอากาศยานไร้คนขับในลาตัว
ประกอบด้วยเฟรมมอเตอร์ใบพัดชุดอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมรอบมอเตอร์หรือเซอร์โวสาหรับเคร่ืองบินปีกแข็งส่วน
วสั ดุท่ีใชก้ ม็ หี ลายแบบเชน่ โลหะพลาสตกิ ผสมคารบ์ อนไฟเบอร์ผสม

(๒) ระบบควบคุม (Control System) เป็นแบบการบังคับโดยใช้วิทยุจากพื้นดินหรือควบคุมการบินด้วย
ระบบคอมพิวเตอร์ชุดควบคุมการบินประกอบด้วยตัวแก้เอียง IMU ทางานร่วมกับ GPS และตัวตรวจจับอ่ืนๆเพื่อ
รกั ษาระดบั ความสูงและตาแหน่ง

(๓) กล้อง (Camera) เปน็ อุปกรณ์สาคญั สาหรับการถา่ ยภาพทางอากาศ
(๔) ระบบการปล่อยและลงจอด (Launch and Landing System) การปล่อยอากาศยานไร้คนขับ
ขึ้นบินทาได้หลายวิธีเช่นการยิงจากเคร่ืองส่ง (Launch) การวิ่งข้ึนจากทางว่ิงการโยนและการลงจอดก็มีหลายวิธี
เช่น การจบั ด้วยตาข่าย การใช้ร่มชูชีพ การใช้พาราฟอยล์ และการบงั คบั ลงบนรนั เวย์
(๕) ระบบนาร่องและนาวิถี (Navigation and Guidance System) จะใช้ GNSS เป็นอุปกรณ์ทางานด้าน
ระบบนารอ่ งและนาวิถีซงึ่ เปน็ ส่วนท่ีสาคัญของอากาศยานไร้คนขับ
(๖) ระบบควบคุมและสนับสนุนภาคพ้ืน (Ground Control Station) หลักการทางานคล้ายๆ
กับระบบควบคุมภาคพื้นของอากาศยานท่ัวๆไป โดยมีหน้าที่ตรวจสอบการทางาน และตรวจข้อมูลต่างๆท่ีส่ง
มาจากอากาศยานไร้คนขบั
(๗) ชอ่ งสัมภาระที่บรรทุก (Payload) เชน่ กล้องถ่ายภาพแบตเตอร่ี
(๘) ระบบการเชื่อมต่อและเก็บข้อมูล (Data Link and Storage System) ระบบเช่ือมต่อระหว่างอากาศ
ยานไร้คนขับและระบบควบคุมและสนับสนุนภาคพื้นใช้หลายย่านความถ่ีเช่นย่านความถี่สูง (HF)
ยา่ นความถีส่ ูงมาก (VHF) และย่านไมโครเวฟ



(๙) ระบบป้องกันตนเอง (Self-Protection Systems) อากาศยานจะมีระบบป้องกันตนเองเบื้องต้นเพื่อ
ไม่ให้เกิดความเสียหายกับอากาศยานในระหว่างการบิน เช่น เมื่อแบตเตอร่ีใกล้หมดแต่ยังไม่ถึงจุดร่อนลงอากาศ
ยานจะร่อนลงเองอตั โนมตั เิ พื่อไม่ให้เกิดการท้ิงตัวในระหว่างการบนิ หรือร่มชูชีพในกรณีเคร่ืองตก

(๑๐) ผู้ควบคุมอากาศยาน (Pilot) ต้องเป็นผู้ท่ีได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดีเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหาย
ระหวา่ งการบนิ และไดข้ ้อมลู ภาพถา่ ยทีส่ ามารถนามาประมวลผลไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๑.๔ กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับอากาศยานไร้คนขับ
ในปัจจุบันมีการใช้อากาศยานไร้คนขับอย่างแพร่หลาย เน่ืองจากราคาถูกลง เข้าถึงง่าย ผู้ใช้งานก็มิต้อง

มีความรู้ความเช่ียวชาญมาก หากมีการใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจก่อให้เกิดผล
เสียหายตามมา ท้ังการใช้เพ่ือการก่ออาชญากรรมหรือสิ่งผิดกฎหมาย เช่น การวางระเบิด การขนส่งวัตถุต้องหา้ ม
ขนยาเสพติด ขนโทรศัพท์เข้าเรือนจา เป็นต้นและการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล เช่น การใช้อากาศยานถ่ายภาพน่ิง
หรือภาพเคล่ือนไหวของบุคคลหรือพื้นที่ส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้งานในทางที่ผิดกฎหมายนั้น
สามารถเข้าใจได้โดยง่าย แต่การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นน้ันหมายถึงอย่างไร ดังน้ันจึงต้องทาความเข้าใจ
ก่อนว่า สิทธิส่วนบคุ คลน้ันหมายถงึ อะไร

สิทธสิ ว่ นบุคคล หรอื สทิ ธใิ นความเปน็ อย่สู ว่ นตัว (Right to Privacy) หมายถงึ สทิ ธขิ องบุคคลตามหลักขั้น
พื้นฐานของกฎหมายท่ีจะอยู่ตามลาพังโดยปราศจากการรบกวนหรือสอดแทร กจากผู้อื่นที่ทาให้เกิดความ
เดือดร้อย ราคาญใจ เสียหาย อับอาย หรือการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ถือเป็นสิทธิเสรีภาพข้ันพื้นฐาน
ตามธรรมชาติของมนุษย์และเก่ียวข้องด้วยศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ซ่ึงมีที่มาจากความเช่ือว่าเป็นสิทธิท่ีมีติดตัว
มนุษย์มาตั้งแต่กาเนิด แบ่งได้ส่ีประการสาคัญ ได้แก่ สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
ชีวิต ครอบครัว เคหสถาน หรือที่พักอาศัย และการติดต่อส่ือสาร ดังน้ันโดยหลักแล้ว สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตวั
จึงควรได้รับความเคารพจากบุคคลทั้งหลายรวมท้ังองค์กรของรัฐด้วย ฉะนั้นผู้ใช้งานอากาศยานไร้คนขับจะต้อง
ทราบถึงสิทธินดี้ ว้ ย

นอกเหนือจากเรื่องดังกล่าวแล้วนั้นยังต้องคานึงความปลอดภัยของการใช้งานท่ีจะเกิดผลตามมา
ตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ กาหนดให้รัฐมนตรีมีอานาจอนุญาตและกาหนดเงื่อนไข
การบังคับหรือปล่อยอากาศยานซึ่งไม่มีนักบิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมจึงออกประกาศกระทรวง
คมนาคม เรื่อง “หลักเกณฑ์การขออนุญาตและเง่ือนไขในการบังคับหรือปล่อยอากาศยานซึ่งไม่มีนักบินประเภท
อากาศยานท่คี วบคมุ การบินจากภายนอก พ.ศ. ๒๕๕๘” มีใจความสาคญั ดังน้ี

“อากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอก” หมายความว่าอากาศยานที่ควบคุมการบินโดยผู้ควบคุม
การบินอยู่ภายนอกอากาศยาน และใช้ระบบควบคุมอากาศยานทั้งนี้ไม่รวมถึงเครื่องบินเล็กซึ่งใช้เป็นเครื่องเล่น
ตามกฎกระทรวงกาหนดวัตถซุ ่ึงไม่เปน็ อากาศยาน พ.ศ. ๒๕๔๘

“ระบบควบคุมอากาศยาน” หมายความว่าชุดอุปกรณ์อันประกอบด้วยเครื่องเช่ือมโยงคาส่ังควบคุมหรือ
การบังคับอากาศยานรวมทั้งสถานีหรือสถานท่ีติดตั้งชุดอุปกรณ์เหล่านี้หรือเคร่ืองมือที่ใช้ควบคุมการบินจาก
ภายนอกและตวั อากาศยานด้วย

อากาศยานท่ีควบคมุ การบินจากภายนอกตามประกาศน้ีแบ่งเปน็ ๒ประเภทดังนี้
ประเภทที่ ๑ ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการเล่นเป็นงานอดิเรกเพ่ือความบันเทิงหรือเพื่อการกีฬาแบ่งออกเป็น
๒ ขนาดคอื

(ก) ที่มนี า้ หนักไม่เกิน๒กิโลกรัม
(ข) ทีม่ ีน้าหนกั เกิน๒กโิ ลกรัมแตไ่ ม่เกิน๒๕กิโลกรัม



ประเภทที่ ๒ ใชเ้ พอ่ื วัตถปุ ระสงค์อืน่ นอกจากประเภทที่ ๑ และมนี ้าหนกั ไม่เกิน ๒๕ กิโลกรมั ดงั น้ี
(ก) เพ่ือการรายงานเหตุการณ์หรอื รายงานการจราจร (สื่อมวลชน)
(ข) เพ่ือการถ่ายภาพการถา่ ยทาหรอื การแสดงในภาพยนตรห์ รือรายการโทรทัศน์
(ค) เพ่อื การวจิ ัยและพฒั นาอากาศยาน
(ง) เพอื่ การอื่นๆ

สาหรับผู้ใช้งานอากาศยานแต่ละประเภทจะมีข้อกาหนดในการใช้งานตามประกาศกระทรวง ซึ่งส่วนใหญ่จะ
กาหนดคุณสมบัตผิ บู้ ังคับ กาหนดข้นั ตอนก่อนทาการบินและระหว่างบิน การข้ึนทะเบยี นผบู้ ังคบั การขึ้นทะเบียน
อากาศยานและเอกสารประกอบอืน่ ๆยกตวั อย่างดังน้ี

๑.๔.๑ อากาศยานทีค่ วบคุมการบินจากภายนอกประเภทท่ี ๑(ก)

ผู้บังคับหรือปล่อยอากาศยานต้องมีอายุเกินกว่า๑๘ปีบริบูรณ์เว้นแต่จะมีผู้แทนโดยชอบธรรม
ควบคมุ ดูแลและต้องปฏบิ ตั ิตามเงอื่ นไขดังต่อไปนี้

(๑) กอ่ นทาการบนิ
(ก) ตรวจสอบวา่ อากาศยานอยูใ่ นสภาพทสี่ ามารถทาการบินไดอ้ ยา่ งปลอดภัยซึ่งรวมถงึ ตวั
อากาศยานและระบบควบคมุ อากาศยาน
(ข) ได้รับอนญุ าตจากเจ้าของพื้นท่ีที่จะทาการบิน
(ค) ทาการศึกษาพนื้ ทแี่ ละชั้นของหว้ งอากาศท่จี ะทาการบนิ
(ง) มีแผนฉุกเฉินรวมถึงแผนสาหรับกรณีเกดิ อุบตั เิ หตกุ ารรักษาพยาบาลและการแก้ปัญหากรณี
ไมส่ ามารถบังคบั อากาศยานได้

(๒) ระหวา่ งทาการบิน
(ก) ห้ามทาการบนิ ในลกั ษณะทอ่ี าจก่อให้เกดิ อันตรายต่อชีวติ ร่างกายทรัพย์สิน และรบกวนความ
สงบสุขของบุคคลอ่นื
(ข) ห้ามทาการบินเข้าไปในบริเวณเขตห้ามเขตกากัดและเขตอันตรายตามที่ประกาศในเอกสาร
แถลงข่าวการบินของประเทศไทย (Aeronautical Information Publication – Thailand
หรือ AIP – Thailand) รวมทัง้ สถานทร่ี าชการหน่วยงานของรัฐโรงพยาบาลเวน้ แต่จะได้รับ
อนุญาตจากหนว่ ยงานเจ้าของพน้ื ที่
(ค) แนวการบินขน้ึ ลงของอากาศยานจะตอ้ งไม่มีส่ิงกดี ขวาง
(ง) ผ้บู งั คบั หรือปลอ่ ยอากาศยานตอ้ งสามารถมองเห็นอากาศยานไดต้ ลอดเวลาที่ทาการบิน และ
หา้ มทาการบงั คบั อากาศยานโดยอาศยั ชดุ กล้องบนอากาศยานหรืออปุ กรณ์อื่นที่มลี ักษณะ
ใกลเ้ คยี ง
(จ) ตอ้ งทาการบินในระหวา่ งเวลาพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตยต์ กซึง่ สามารถมองเหน็ อากาศยาน
ได้อยา่ งชดั เจน
(ฉ) หา้ มทาการบินเข้าใกลห้ รอื เขา้ ไปในเมฆ
(ช) ห้ามทาการบินภายในระยะเก้ากิโลเมตร (ห้าไมล์ทะเล) จากสนามบินหรือที่ข้ึนลงช่ัวคราว
ของอากาศยานเวน้ แต่ไดร้ ับอนญุ าตจากเจ้าของหรอื ผ้ดู าเนินการสนามบนิ อนญุ าตหรือทขี่ น้ึ ลง
ช่วั คราวอนุญาต
(ซ) หา้ มทาการบนิ โดยใชค้ วามสงู เกนิ เก้าสิบเมตร (สามร้อยฟุต) เหนอื พนื้ ดนิ
(ฌ) หา้ มทาการบนิ เหนอื เมืองหม่บู ้านชุมชนหรือพนื้ ท่ที ม่ี คี นมาชุมนมุ อยู่
(ญ) หา้ มบงั คับอากาศยานเข้าใกล้อากาศยานซ่งึ มีนักบิน



(ฎ) หา้ มทาการบนิ ละเมิดสิทธสิ ่วนบคุ คลของผอู้ ื่น
(ฏ) ห้ามทาการบินโดยก่อใหเ้ กิดความเดอื ดร้อนความราคาญแกผ่ ู้อื่น
(ฐ) ห้ามส่งหรือพาวัตถุอันตรายตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงหรืออุปกรณ์ปล่อยแสงเลเซอร์ติดไป

กบั อากาศยาน
(ฑ) หา้ มทาการบนิ โดยมรี ะยะหา่ งในแนวราบกบั บุคคลยานพาหนะสิง่ ก่อสรา้ งหรอื อาคารนอ้ ยกว่า

๓๐ เมตร (๑๐๐ ฟตุ )

๑.๔.๒ อากาศยานทีค่ วบคมุ การบนิ จากภายนอกประเภทท่ี ๑(ข)

ผูบ้ ังคบั หรือปลอ่ ยอากาศยานตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิและลักษณะดังต่อไปนี้

(๑) มีอายุไมต่ ่ากวา่ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์
(๒) ไม่เปน็ ผ้มู พี ฤตกิ ารณอ์ ันเปน็ ภยั ตอ่ ความมั่นคงของประเทศ
(๓) ไม่เคยตอ้ งโทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถงึ ท่สี ดุ ให้จาคุกในความผิดตามกฎหมายว่าดว้ ยยาเสพตดิ

หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยศุลกากร

ขอขึ้นทะเบียนตอ่ อธิบดีพรอ้ มด้วยเอกสารและหลกั ฐานแสดงรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้
(๑) สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนหรือสาเนาหนังสอื เดินทาง
(๒) สาเนาทะเบยี นบ้าน
(๓) แบบยี่ห้อหมายเลขประจาตัวเครื่องจานวนและสมรรถนะของอากาศยานรวมท้ังอุปกรณ์ท่ี

ตดิ ตง้ั
(๔) สาเนากรมธรรม์ประกันภยั ซ่งึ คุ้มครองความเสยี หายอนั เกดิ แก่ร่างกายชีวิตตลอดจนทรพั ยส์ ิน

ของบคุ คลท่ีสามวงเงินประกนั ไม่ตา่ กว่าหน่ึงล้านบาทต่อครั้ง
(๕) วตั ถุประสงคข์ องการใชอ้ ากาศยาน
(๖) ขอบเขตของพ้ืนท่ตี าแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่จะทาการบิน
(๗) ข้อมลู ตดิ ต่อของผยู้ ืน่ คาขอลงทะเบียน
(๘) คารับรองว่าผบู้ ังคบั หรือปล่อยอากาศยานมคี ุณสมบัตแิ ละลักษณะตามข้อกาหนดและปฏบิ ตั ิ

ตามเง่ือนไขดงั ต่อไปน้ี
(๑) กอ่ นทาการบนิ

(ก) ดาเนนิ การตามอากาศยานทีค่ วบคุมการบินจากภายนอกประเภทท่ี ๑(ก) ขอ้ (๑) (ก) ถึง (ง)
(ข) มกี ารบารงุ รกั ษาตามค่มู ือของผูผ้ ลิต
(ค) มคี วามรคู้ วามชานาญในการบังคับอากาศยานและระบบของอากาศยาน
(ง) มคี วามรู้ความเขา้ ใจในกฎจราจรทางอากาศ
(จ) นาหนงั สือหรือสาเนาหนงั สือการข้นึ ทะเบียนติดตวั ตลอดเวลาท่ีทาการบนิ
(ฉ) มอี ปุ กรณ์ดับเพลงิ ที่สามารถใช้งานไดต้ ดิ ตัวตลอดเวลาทีท่ าการบิน
(ช) มีการทาประกันภัยสาหรับความเสียหายอันเกิดแก่ร่างกายชีวิตตลอดจนทรัพย์สินของ

บคุ คลทส่ี ามวงเงนิ ประกันไม่ตา่ กว่าหนง่ึ ลา้ นบาทต่อครงั้
(๒) ระหวา่ งทาการบิน

(ก) ดาเนนิ การตามอากาศยานที่ควบคุมการบนิ จากภายนอกประเภทที่ ๑ (ก) ขอ้ (๒) (ก) ถงึ (ฐ)
(ข) ห้ามทาการบินโดยมีระยะห่างในแนวราบกับบุคคลยานพาหนะส่ิงก่อสร้างอาคารท่ี

ไม่เกี่ยวขอ้ งกับการปฏิบตั กิ ารบนิ นอ้ ยกว่าหา้ สบิ เมตร (หนงึ่ รอ้ ยห้าสิบฟุต)



(ค) เม่ือมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแก่อากาศยานให้ผู้บังคับหรือปล่อยอากาศยานแจ้งอุบัติเหตุน้ัน
ตอ่ พนกั งานเจ้าหนา้ ทโ่ี ดยไม่ชักชา้

(หากสนใจจะศกึ ษารายละเอียดทัง้ หมดของประกาศกระทรวงคมนาคมฉบับนี้สามารถศึกษาได้ทีภ่ าคผนวก)
๑.๕ การข้ึนทะเบยี นอากาศยานไร้คนขบั

อากาศยานไร้คนขับที่ต้องขน้ึ ทะเบียนไดแ้ ก่อากาศยานท่ีติดต้ังกล้องบันทึกภาพ และอากาศยานท่ีมีน้าหนัก
เกิน ๒ กิโลกรัม จะต้องขึ้นทะเบียนทุกกรณี (กรณีมีน้าหนักเกิน ๒๕ กิโลกรัม ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจาก
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงคมนาคม)

๑.๕.๑ การขนึ้ ทะเบยี นผคู้ รอบครองอากาศยานไรค้ นขบั
การข้ึนทะเบียนผู้ครอบครองอากาศยานไร้คนขับเสมือนการทาทะเบียนรถยนต์ โดยข้ึนทะเบียน

กับสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
(กสทช.) ใช้เอกสารประกอบดงั นี้

(๑) บัตรประจาตวั ประชาชนตัวจริงของผูค้ รอบครอง
(๒) ภาพถ่ายของตัวอากาศยานและรีโมทคอนโทรลที่จะทาการขึ้นทะเบียนแบบท่ีเห็นเลข
Serial Number และหากเป็นอากาศยานท่ีประกอบข้ึนเองต้องนาตัวอากาศยานมาลงทะเบียนด้วย
(ในกรณเี ป็นร้านค้าตอ้ งมบี ัญชแี สดงรายการอากาศยานที่ครอบครองด้วย)

ตัวอย่างภาพถ่ายตัวเครื่อง รโี มทคอนโทรล และ Serial Number



(๓) คาขอขึ้นทะเบียนเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคมสาหรบั อากาศยานซึ่งไม่มนี กั บิน (แบบ คท.๓๐)

ตวั อย่างแบบ คท.๓๐ หนา้ ๑

๑๐

ตัวอยา่ งแบบ คท.๓๐ หนา้ ๒

๑๑

ตัวอยา่ งแบบ คท.๓๐ หนา้ ๓

๑๒

(๔) ในกรณีเปน็ ตวั แทนของผู้ครอบครองอากาศยานมาขอขึ้นทะเบยี นต้องมเี อกสารมอบอานาจ (แบบ คท.๒๖)
และนาบัตรประจาตัวประชาชนตัวจริงของผู้ครอบครองอากาศยานมาเป็นหลกั ฐานด้วย

ตัวอย่างแบบ คท.๒๖

๑๓

๑.๕.๒ การขึ้นทะเบียนผู้บังคับอากาศยานซ่ึงไม่มีนักบินประเภทอากาศยานที่ควบคุมการบินจาก
ภายนอก
การขึ้นทะเบียนผู้บังคับอากาศยานซ่งึ ไม่มนี ักบินประเภทอากาศยานที่ควบคมุ การบินจากภายนอก

เสมือนการทาใบขับขี่รถยนต์ ทะเบียนมีอายุ ๒ ปี นับตั้งแต่วันออกหนังสือ โดยขึ้นทะเบียนกับสานักงานการบิน
พลเรอื นแห่งประเทศไทย (กพท.) มขี นั้ ตอนดังน้ี

(๑) กรอกคาขอขึน้ ทะเบียนผ่านทางเว็บไซต์ https://uav.caat.or.th/

(๒) การขนึ้ ทะเบียนผูบ้ งั คบั จะแบ่งออกเป็น ๓ ประเภทตามวัตถปุ ระสงค์การใช้งานอากาศยาน คือ
๑. บุคคลธรรมดา
๒. นติ บิ ุคคล
๓. ราชการ/รัฐวิสาหกิจ

๑๔

(๓) ในการขึ้นทะเบียนผ่านเว็บไซต์ หลังจากกรอกข้อมูลเบ้ืองต้นแล้ว จะมีข้ันตอนที่ให้อัพโหลด
เอกสารหลักฐานทตี่ ้องใชใ้ นการขึ้นทะเบยี น

(๔) หลงั จากขน้ึ ทะเบยี นผู้บังคบั บนเว็บไซตแ์ ละอัพโหลดเอกสารเรยี บร้อยแล้วระบบจะแจง้ ผลการ
ขึ้นทะเบียนใหท้ ราบผา่ นทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์(E-mail) ท่กี รอกไว้ภายใน ๑๕ วันทาการ

บทท่ี ๒
ข้นั ตอนการสารวจด้วยอากาศยานไรค้ นขบั

การสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับเพ่ืองานวศิ วกรรม ประกอบด้วยการทางาน ๒ ส่วนคือ งานภาคสนาม และ
งานภายในสานักงาน ซึ่งต้องใช้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเพ่ือให้ได้ข้อมูลเชิงตาแหน่งท่ีถูกต้องตามหลักการ ทั้งน้ี
งานภาคสนามของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับได้แก่ งานวางแผนการบินถ่ายภาพทางอากาศและงานสร้างจุด
ควบคมุ ภาพถา่ ย สว่ นงานภายในสานกั งานไดแ้ ก่ การประมวลผลภาพถา่ ยและการตรวจสอบคุณภาพผลลัพธ์

๒.๑ หลกั การวางแผนการบินและการถา่ ยภาพดว้ ยอากาศยานไร้คนขบั
การวางแผนการบนิ และการบินถ่ายภาพเป็นข้ันตอนทก่ี าหนดความละเอยี ดของภาพ คุณภาพของภาพ พอยท์

คลาวด์ และความถกู ต้องเชงิ ตาแหน่ง โดยมีปจั จยั ที่ต้องคานงึ ถึงสาหรับการวางแผนการบนิ ดงั นี้
(๑) ความสงู บิน
(๒) ขนาด GSD
(๓) ส่วนซ้อนและสว่ นเกย
(๔) รปู แบบการบิน

โดยท้ัง ๔ ปจั จัยขา้ งต้นจะมีความสมั พนั ธก์ นั ซ่ึงจะกลา่ วต่อไป นอกจากนีก้ ารถา่ ยภาพและการตง้ั ค่าการถ่ายภาพ
จะต้องตงั้ คา่ ใหส้ ามารถถ่ายภาพได้อย่างมีคุณภาพ มีสสี นั ท่ีถูกต้อง และภาพจะต้องมคี วามคมชัด

๒.๑.๑ ความสูงบนิ
ความสูงบินเป็นส่วนสาคัญของการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ เนื่องจากความสูงบินที่ต่าลงจะได้

ความละเอียดของภาพถ่ายสูงข้ึน สามารถผลิตข้อมูลเชิงตาแหน่งที่มีความถูกต้องมากข้ึน แต่ต้องใช้เวลาบิน
นานข้ึนเพื่อใหไ้ ด้ภาพที่มีส่วนซ้อนและสว่ นเกยเท่าเดิม นอกจากระยะเวลาในการบินเพม่ิ ขนึ้ แลว้ ยังต้องคานึงถึง
จานวนภาพท่ีเพิ่มขึ้นซ่ึงจะส่งผลโดยตรงต่อระยะเวลาในการประมวลผล ดังนั้นนอกจากจะต้องระวงั เรอื่ งความ
สูงของสภาพพื้นท่ีแล้ว ระดับสูงบินมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อการสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับ โดยสามารถ
คานวณระดับสูงบิน (Flight Height) ได้จากสมการท่ี ๒.๑

= -----------------> สมการท่ี ๒.๑
100

๑๖

เมื่อ H (Flight Height) คอื ความสงู การบินเหนือจดุ ข้ึนบนิ หน่วย เมตร
GSD (Ground Sample Distance)
SW (Sensor Width) คอื ระยะพืน้ ตอ่ พกิ เซล หนว่ ย เซนติเมตรต่อพิกเซล
f (Focal Length)
IW (Image Width) คือ ระยะดา้ นกวา้ งของเซนเซอร์ หน่วย มิลลิเมตร

คือ ทางยาวโฟกัสของเลนส์ หน่วย มลิ ลเิ มตร

คอื จานวนพิกเซลดา้ นกว้าง หน่วย พิกเซล

จากสมการท่ี ๒.๑ สามารถหาระยะพื้นจรงิ จากภาพถา่ ยหนึ่งใบไดจ้ ากสมการ

= -----------------> สมการท่ี ๒.๒
100

เม่ือ DW (Distance Width) คอื ระยะพืน้ ตอ่ หนง่ึ ภาพ หน่วย เมตร
GSD (Ground Sample Distance)
IW (Image Width) คอื ระยะพื้นต่อพกิ เซล หน่วย เซนตเิ มตรต่อพิกเซล

คอื จานวนพิกเซลดา้ นกว้าง หนว่ ย พกิ เซล

๑๗

๒.๑.๒ ขนาด GSD
การกาหนดค่า GSD ข้ึนกับความถูกต้องของข้อมูลเชิงตาแหน่งท่ีต้องการ โดยมีการกาหนดความ

ถูกต้องในงานวิศวกรรมด้านต่าง ๆ แบ่งตามประเภทกิจกรรมหรือการใช้งานตามแนวทางของ FGDC
(Geospatial Positioning Accuracy Standards PART 4: Standards for Architecture, Engineering,
Construction (A/E/C) and Facility Management National)
๒.๑.๓ ส่วนซ้อนและส่วนเกย

การกาหนดส่วนซ้อนและส่วนเกยสาหรับการวางแผนการบินในงานสารวจด้วยอากาศยานไร้คนขบั นัน้
มีความแตกต่างกับการสารวจด้วยภาพถ่ายแบบดั้งเดิมเนื่องจากอากาศยานไร้คนขับมีขนาดเล็กและไมส่ ามารถ
ควบคุมความเร็วและทิศทางการบินได้อย่างสม่าเสมอตลอดระยะเวลาในการถ่ายภาพ ดังน้ันหากกาหนดส่วน
ซ้อนและส่วนเกยท่นี อ้ ยเกนิ ไปอาจทาใหภ้ าพท่ีถ่ายไมส่ ามารถต่อกนั ได้ โดยการสารวจดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ
จะต้องกาหนดสว่ นซ้อนและส่วนเกยดังน้ี

(๑) สว่ นซ้อนหรอื พนื้ ทท่ี ่ีทับกันอยขู่ องภาพประชดิ ในแนวบิน ให้มีสว่ นซอ้ นกันไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๗๕
(๒) ส่วนเกยหรอื พน้ื ทท่ี ่ที ับกันอยรู่ ะหวา่ งแนวบนิ ที่ประชดิ กัน ใหม้ สี ่วนเกยกนั ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐
๒.๑.๔ รปู แบบการบิน
รปู แบบการบนิ โดยท่วั ไปจะกาหนดให้บนิ ถ่ายในลักษณะบล็อกส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก เพอ่ื ใหโ้ ครงขา่ ยมีความ
แข็งแรงและลดจานวนจดุ ควบคมุ ภาพถ่าย โดยสามารถเลือกรูปแบบการบนิ ได้ ๒ แบบคือ
รูปแบบการบินแบบทั่วไปและรูปแบบการบนิ แบบกริด

แสดงตัวอยา่ งรปู แบบการบนิ แบบทั่วไปและรูปแบบการบินแบบกรดิ ตามลาดับ

๑๘

๒.๒ โปรแกรมควบคมุ การบนิ
ในการวางแผนการบนิ ของอากาศยานไรค้ นขับใช้โปรแกรมการควบคุม (Controller) ในแท็บเล็ต (Tablet)

ยห่ี อ้ iPad สาหรบั ควบคุมการทางานผา่ นแอปพลเิ คชนั (Application) ไดแ้ ก่ CHCUAV Control , DJI GO4 และ
Pix4D

CHCUAV Control DJI GO4 Pix4D

๒.๒.๑ CHCUAV Control
แอปพลิเคชัน CHCUAV Control ใช้ในการควบคุมอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงข้ึนลงแนวดิ่ง

(Fixed Wing Hybrid UAV) ย่ีห้อ CHCNAV ส่วนประกอบต่างๆ ในแอปพลิเคชันประกอบด้วย แถบเมนู,
Waypoint List, แผนท่ีแสดงพ้ืนท่ีสารวจ, ข้อมูลความสูงแต่ละ Waypoint, แถบแสดงสถานะ, แถบการตั้งค่า
Waypoint, แถบการตั้งค่า Flight Plan และแถบแสดง Result การต้ังค่า Flight Plan ในการบินถ่ายภาพ
จาเป็นต้องทาการกาหนดค่าตา่ งๆ ให้แลว้ เสรจ็ กอ่ นทาการบิน

หนา้ จอหลักแอปพลเิ คชัน (Application) CHCUAV Control

๑๙

๒.๒.๒ DJI GO๔
DJI GO๔ เป็นแอปพลิเคชัน (Application) สาหรับการเช่ือมต่ออุปกรณ์และตั้งค่าการทางานของ

อากาศยานไร้คนขับ ชนิดอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ยี่ห้อ DJI ภายในแอปพลิเคชันจะบอก
สถานะต่างๆ ของอากาศยานไร้คนขบั เชน่ ความพร้อมของอากาศยาน จานวนดาวเทียม คุณภาพสญั ญาณการ
รับสง่ ภาพ สถานะแบตเตอร่ี คณุ ภาพสัญญาณการรบั ส่งสัญญาณของรีโมทควบคุมสอู่ ากาศยาน ฯลฯ

หนา้ จอหลักแอปพลเิ คชนั (Application) DJI GO4
๒.๒.๓ Pix๔D

Pix๔D เป็นแอปพลิเคชัน (Application) สาหรับการวางแผนการบินอากาศยานไร้คนขับเพื่อทาแผนท่ี
ออร์โธ รองรับอากาศยานไร้คนขบั เครื่องหมายการค้า DJI Parrot และ Yuneec ภายในแอปพลิเคชันประกอบ
ไปด้วยภาพแสดงพื้นที่สารวจและแถบคาสั่ง เช่น แถบเมนู, แถบตั้งค่า Flight Plan, แถบแสดง Result การต้ัง
คา่ Flight Plan และแถบสถานะของเครื่อง เปน็ ต้น

๒๐

หน้าจอหลกั แอปพลเิ คชัน (Application) Pix4D

๒.๓ การสร้างจุดควบคมุ ภาพถ่าย
จดุ ควบคมุ ภาพถ่ายมคี วามสาคัญต่อคุณภาพการผลติ ข้อมูลเชงิ ตาแหนง่ ใหถ้ ูกต้อง ดงั นั้นผูป้ ฏบิ ัติงานจาเปน็ ต้อง

เข้าใจหลักการและทฤษฎีในการสร้างจดุ ควบคุมภาพถ่าย ได้แก่ การสร้างจุดควบคุมภาพถ่ายให้เห็นได้เดน่ ชดั บนภาพ
การรงั วดั ค่าพิกัดทส่ี ามารถนามาโยงยดึ ภาพถ่ายได้ถูกต้องตามแผนที่วางไว้ และการกาหนดตาแหน่งเพื่อให้จุดควบคุม
ภาพถา่ ยมจี านวนและการกระจายตวั ท่เี หมาะสมครอบคลมุ ทั้งโครงการ
๒.๔ การประมวลผลภาพถ่าย

การประมวลผลภาพถ่ายคือการนาภาพถ่ายทางอากาศมาปรับแก้และการจับคู่ภาพ เพื่อสร้าง Tie point
ตลอดจนการรังวัดจุดควบคุมภาพถ่ายเพื่อโยงยึดข้อมูลให้มีความถูกต้องเชิงตาแหน่งสาหรับการผลิตข้อมูลพอยท์
คลาวด์และภาพออร์โธจรงิ ตอ่ ไป โดยประกอบด้วยขน้ั ตอนที่สาคัญในการทางานดงั นี้

(๑) การจบั คู่ภาพและสร้าง Tie points
(๒) การโยงยดึ ค่าพิกัดต าแหน่งดว้ ยจดุ ควบคมุ ภาพถา่ ย
(๓) การสร้างข้อมลู พอยทค์ ลาวด์
(๔) การสร้างออรโ์ ธจริง
ความสาคัญของขน้ั ตอนการประมวลผลภาพถ่าย คือ การกาหนดพารามเิ ตอรท์ ี่เหมาะสมสาหรบั การประมวล และการ
ตรวจสอบคณุ ภาพและค่าพารามเิ ตอร์ในแต่ละข้ันตอนการประมวลผลซึง่ จะกล่าวต่อไป

๒๑

๒.๕ การตรวจสอบคณุ ภาพผลลัพธ์
ผลลพั ธ์ทไ่ี ดจ้ ากการสารวจดว้ ยอากาศยานไร้คนขับเพ่ืองานวิศวกรรมต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของภาพออร์

โธจริง และความถูกต้องเชิงตาแหน่งของภาพออร์โธและพอยท์คลาวด์ให้เป็นไปตามข้อกาหนดความความถูกต้องที่
ต้องการ

บทท่ี ๓
การวางแผนการบินและการบินถ่ายภาพดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ

๓.๑ อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขน้ึ ลงแนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV) ย่หี ้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖
อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขึ้นลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid UAV) ย่ีห้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖

เปน็ อากาศยานที่มีลาตัวเป็นแบบอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึง (Fixed Wing) ลกั ษณะคล้ายกับเคร่ืองบินทั่วไป
ใช้ระยะเวลาในการบินประมาณ ๓๐-๔๕ นาที สามารถบินครอบคลุมพื้นที่กว้าง แต่ในการขึ้นบินและลงจอดไม่
ตอ้ งอาศยั พนื้ ที่โล่งกว้างมาก เน่อื งจากสามารถข้นึ ลงในแนวดงิ่ แบบอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปกี หมุน (Multirotor)
ซึ่งเป็นการนาข้อดีของอากาศยานไร้คนขับทั้ง ๒ ประเภท มารวมกันเพ่ือความสะดวกและปลอดภยั ต่อการใชม้ าก
ยง่ิ ขึน้

อปุ กรณห์ ลกั สาหรบั การทางานของอากาศยานฯ แบ่งออกเป็น ๓ สว่ น ดังนี้
(๑) ตัวเคร่ืองอากาศยาน (Platform) เป็นโครงของอากาศยานฯ ที่ผลิตจากวสั ดุท่ีมีน้าหนักเบาและมีความ
แข็งแรง มีระบบควบคุมการบิน (AutoPilot) ระบบนาร่อง (GNSS) ระบบรับรู้การทรงตัว แบตเตอร่ี รวมไปถึง
กล้องถ่ายภาพและเซนเซอร์ (Camera and Sensor) ท่ีเป็นส่วนท่ีใช้บันทึกข้อมูลภาพถ่ายและข้อมูล
คา่ พารามิเตอร์ตา่ งๆ ท่ใี ช้ในการประมวลผลข้อมลู
(๒) สถานีควบคุมภาคพ้ืนดิน (Ground Control Station, GCS) เป็นชุดเครื่องมือรับสัญญาณดาวเทียม
GNSS ท่ีมาพร้อมกับอากาศยานฯ ติดต้ังอยู่ที่ภาคพื้นดินเพ่ือตรวจสอบการทางานและสถานะของอากาศยานฯ
ในขณะปฏิบตั ิงานให้เป็นไปตามรูปแบบแผนการบินทว่ี างไว้
(๓) อุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) เช่น แท็บเล็ต (Tablet), โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ตโฟน
(Smart phone) หรือคอมพิวเตอร์ (Computer) เพื่อใช้ในการติดตั้ง แอปพลิเคชัน ( Application)
“CHCUAVControl” สาหรบั ใช้ในการตง้ั ค่าการทางานของอากาศยานฯ และวางแผนการบนิ
ในส่วนหลักการทางานของอากาศยานฯ เริ่มจากเชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) กับ
ตัวเคร่ืองอากาศยาน (Platform) ผ่านสัญญาณ WiFi ของสถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Station,
GCS) แลว้ เปิดแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl” ทไ่ี ดด้ าวน์โหลดติดต้ังในอปุ กรณ์ควบคมุ อากาศ
ยานไว้แลว้ (Controller) เพ่อื เช่อื มตอ่ ตวั เครื่องอากาศยาน (Platform) โดยใช้สถานีควบคุมภาคพ้ืนดนิ (Ground
Control Station, GCS) เปน็ สือ่ กลางในการเชื่อมต่อ

๒๓

P3

GC

Contr

แสดงหลักการทางานของอากาศยานไร้คนขบั ชนดิ ปกี ตรึงขึ้นลงแนวดง่ิ (Fixed Wing Hybrid UAV)
ยห่ี อ้ CHCNAV ร่นุ P๓๑๖

๓.๑.๑ สว่ นประกอบของอากาศยานไร้คนขบั ชนดิ ปีกตรึงข้นึ ลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid UAV)
ยี่ห้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖
สว่ นประกอบของอากาศยานไรค้ นขบั ชนิดปกี ตรึงขน้ึ ลงแนวด่งิ (Fixed Wing Hybrid UAV)

ยี่ห้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖ ประกอบดว้ ย ตวั เครอ่ื งอากาศยาน (Platform) สถานคี วบคุมภาคพน้ื ดิน
(Ground Control Station, GCS) อุปกรณ์ควบคมุ อากาศยาน (Controller) และ อุปกรณ์ระบบ
ประมวลผลข้อมูล มรี ายละเอียดดังน้ี

๒๔

แสดงอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงข้นึ ลงแนวดง่ิ (Fixed Wing Hybrid UAV)
ยห่ี ้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖

๓.๑.๑.๑ เครอ่ื งอากาศยาน (Platform) แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ดงั น้ี
สว่ นท่ี ๑ ลาตัวอากาศยานฯ ประกอบดว้ ย
- สว่ นลาตวั อากาศยานฯ พร้อมสกรูยึดปีก ตามรปู 
- หน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ตามรปู 
- สายเชือ่ มต่อภายในอากาศยานฯ ตามรปู 




สว่ นท่ี ๒ ปกี ของอากาศยานฯ ประกอบดว้ ย
- ปกี กลางอากาศยานฯ พร้อมใบพัดซา้ ยและขวา ตามรูป 
- ปลายปีกอากาศยานฯ ด้านซ้ายและขวา ตามรปู 
- แขน VTOL สาหรับขึน้ ลงแนวดิง่ ดา้ นซา้ ยและขวา ตามรูป 
- ชดุ ใบพดั VTOL สาหรับขน้ึ ลงแนวดง่ิ ตามรปู 

๒๕





สว่ นที่ ๓ อปุ กรณเ์ พิ่มเตมิ ประกอบดว้ ย
- แบตเตอรี่แบบ Lithium HV ขนาดประจุ ๑๒๐๐๐ mAh พร้อมเครื่องประจุ ตามรูป
- ระบบถ่ายภาพ ย่ีห้อ Sony รนุ่ RX1RII ตามรปู 


๓.๑.๑.๒ สถานีควบคุมภาคพืน้ ดิน (Ground Control Station, GCS) ประกอบด้วย
- เครือ่ งรบั สญั ญาณดาวเทียม GNSS ย่ีห้อ CHC รนุ่ CGS i๘๐
- แบตเตอร่พี ร้อมแท่นชาร์ตแบตเตอรี่สาหรบั เครื่องรับสัญญาณดาวเทยี มฯ
- สายสญั ญาณเครอ่ื งรบั สัญญาณดาวเทียมฯ
- เคร่อื งควบคุมการบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller) ยีห่ ้อ CHC

รุ่น HCE๓๐๐ พร้อมแบตเตอรี่และสายชาร์ต
- ฐาน (Tribrach) สาหรบั เครือ่ งรบั สัญญาณดาวเทยี มฯ

๒๖

- อุปกรณ์เสริมต่างๆ ประกอบด้วย เสาต่อเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมฯ แบบยาวและ
แบบสั้น, เสา Whip antenna สาหรับส่งสัญญาณระหว่างอากาศยานฯ กับสถานีควบคุม
ภาคพ้ืนดิน และแผ่นเหลก็ สาหรับช่วยวดั ความสงู ของเครื่องรบั สัญญาณดาวเทียมฯ

- ขาตั้งสถานคี วบคุมภาคพืน้ ดิน (Ground Control Station, GCS) แบบ Tripod

แสดงอุปกรณ์สาหรบั สถานีควบคุมภาคพ้นื ดนิ (Ground Control Station, GCS)

๓.๑.๑.๓ อปุ กรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) ประกอบดว้ ย
- แท็บเล็ต (Tablet) ยหี่ ้อ iPad รุ่น ๙.๗ นิ้ว ความจุ ๑๒๘ GB/WiFi + Cellular

พร้อมอปุ กรณ์ชารต์ ไฟ ตามรปู 


๓.๑.๑.๔ อปุ กรณ์ระบบประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
- Key Lock โปรแกรมประมวลผลขอ้ มลู ดาวเทยี ม ยหี่ ้อ CHC

รนุ่ CGO๒.๐ UAV module ตามรูป 
- เครื่องบนั ทกึ และประมวลผลภาพถ่ายทางอากาศภาคสนาม ยี่ห้อ Acer

รุ่น Predator PH๕๑๗-๖๑-R๔๑A ตามรูป 
- เครอื่ งประมวลผลภาพถ่ายทางอากาศ ย่ีห้อ Dell ร่นุ Precision ๗๙๒๐ Tower

ตามรปู 

๒๗






๓.๑.๒ คุณสมบตั ิของอากาศยานไร้คนขบั ชนดิ ปีกตรงึ ขึ้นลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid UAV)
ยห่ี ้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖

Specifications Fixed Wing Hybrid UAV
(คุณสมบตั ิ) ย่ีหอ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖

Type VTOL/Fixed wing
(ประเภท)
๔.๓ kg
Take Off Weight
(น้าหนักอากาศยานฯ) ๐.๘ kg

Payload Carbon Fiber
(นา้ หนักทสี่ ามารถบรรทุกได้)
Sony RX๑RII (๔๒ Megapixel)
Material
(วสั ดุของอากาศยานฯ) ๕๐ นาที

Camera Sensor ๖๔.๘ km/h
(กล้องถ่ายภาพ)

Endurance
(ระยะเวลาในการบนิ แต่ละคร้ัง)

Cruise Speed
(ความเร็วในการบินของอากาศยานฯ)

๒๘

Take Off Type VTOL

(ประเภทของการบนิ ขน้ึ )

Landing Type VTOL/parachute

(ประเภทของการลงจอด)

Weather Limit Max wind ๔๙.๖๘ km/h

(ความตา้ นทานลมของอากาศยานฯ)

Communication & Control frequency ๒๐ km

(ระยะทางในรบั -ส่งสัญญาณ)

ตารางแสดงคุณสมบตั ขิ องอากาศยานไร้คนขับชนดิ ปีกตรึงข้ึนลงแนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV)

ยีห่ อ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖

๓.๑.๓ ขนั้ ตอนการทางานของอากาศยานไร้คนขับชนดิ ปกี ตรงึ ข้ึนลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid
UAV) ยห่ี ้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖
ขัน้ ตอนการทางานของอากาศยานฯ สรปุ ไดด้ ังน้ี
(๑) ต้ังคา่ สถานคี วบคมุ ภาคพื้นดิน (Ground Control Station, GCS) และประกอบชิน้ ส่วนของ

อากาศยานฯ พร้อมทง้ั กลอ้ งถา่ ยภาพและแบตเตอรี่ของอากาศยานฯ
(๒) เชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) กับอากาศยานฯ และทาการวัดสอบ

เซนเซอร์ (Calibration Sensor) อากาศยานฯ เพื่อเตรียมความพร้อมในการบิน
(๓) วางแผนการบนิ (Flight plan) และนาเขา้ แผนการบิน (Upload flight plan) เข้าอากาศยานฯ
(๔) ทาการตรวจสอบสถานะและความพรอ้ มในการบนิ (Pre-flight check) กอ่ นทาการบินทกุ คร้งั
(๕) ทาการบินตามแผนการบินท่ีวางไว้ โดยระหว่างที่ทาการบิน ผู้ใช้งานจะต้องคอยสังเกต

การทางานและสถานะต่างๆ ของอากาศยานฯ อยู่เสมอ หากเกิดความผิดปกติจะได้ตัดสินใจแก้ไขปัญหา
ไดท้ นั ที

(๖) นาข้อมูลภาพถ่ายออกจากกล้องถ่ายภาพและข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก
(Exterior Orientation) ทย่ี ังไม่ไดป้ ระมวลผลปรับแกอ้ อกจากอากาศยานฯ พร้อมข้อมูลดาวเทียมจากสถานี
ควบคมุ ภาคพน้ื ดนิ (Ground Control Station, GCS) เพื่อเตรยี มสาหรบั การประมวลผล

(๗) ประมวลผลข้อมูล โดยการปรับแก้ข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior
Orientation) โดยโปรแกรม CGO และนาเข้าข้อมูลดังกล่าวพร้อมภาพถ่ายทางอากาศในโปรแกรม
Pix4Dmapper เพ่อื ให้ได้ผลลพั ธ์ภาพถ่ายในรูปแบบภาพออรโ์ ธสีเชิงเลข (Geotiff File)

๒๙

1. ตั้งคา่ Ground 2.เชอื่ มต่อ 3.สร้าง 4.ทาการ
Control Station Controller flight plan Pre-flight
(GCS) & ประกอบ กับเครอื่ ง & Upload check
Flight plan ก่อนข้ึน
เคร่อื ง UAV UAV &
Calibration ปเขรา้ะUเ7มคA.Vวรือ่ ลงผ บิน

Sensor
เครอ่ื ง UAV

5.ทาการ 6.นา ลดว้ ย Result
บนิ ขอ้ มูลออก โปรแกรม
CGO และ
Pix4D
แสดงการทางานของอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปีกตรงึ ข้ึนลงแนวดง่ิ (Fixed Wing Hybrid UAV)

ยห่ี อ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖ สาหรบั การทาแผนทภ่ี าพถา่ ยทางอากาศเพ่อื การรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ

๓.๑.๔ การตัง้ ค่าสถานคี วบคมุ ภาคพ้ืนดิน (Ground Control Station, GCS)
(๑) ใส่แบตเตอร่ีตามขอ้  และตดิ ตง้ั เสาส่งสญั ญาณตามข้อ  ของเคร่ืองรบั สญั ญาณดาวเทยี ม

GNSS ยี่หอ้ CHC รุ่น CGS i๘๐ สาหรับสถานคี วบคมุ ภาคพื้นดนิ (Ground Control Station, GCS)





แสดงการประกอบสว่ นประกอบต่างๆ ของเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทียมฯ

(๒) เปดิ เครื่องรับสัญญาณดาวเทยี มฯ โดยกดปุม่ Power คา้ ง ตามข้อ 

และการใช้งานปุม่ ต่างๆ มดี งั นี้

- ปมุ่ Fn ใช้สาหรบั เลื่อนไปเมนทู ตี่ ้องการ

- ป่มุ Power ใชส้ าหรบั เปิด-ปดิ เครือ่ ง, กดยืนยนั

๓๐



แสดงการใช้งานเคร่อื งรับสญั ญาณดาวเทยี มฯ
๓) กอ่ นตง้ั คา่ ใหต้ ั้งเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี มฯ ไวส้ ักครู่เพ่ือให้เคร่ืองรบั สญั ญาณดาวเทียม
(Tracking) และวดั ความสูงของเคร่ืองเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมฯ ตามรปู ด้านล่าง

Measurement :
Oblique , Slant

แสดงการตดิ ตั้งและวดั ความสูงของเครอื่ งเครื่องรบั สัญญาณดาวเทียม GNSS
ยห่ี ้อ CHC รนุ่ CGS i๘๐

ต้ังค่าเครื่องรบั สญั ญาณดาวเทยี มฯ โดยกดปุ่ม Fn เพ่ือเลื่อนไปที่เมนู Static Off Not

Recording และตงั้ ค่าตามรายละเอยี ด ดังน้ี

Set : On

Recorded : แสดงเวลาที่บนั ทึกไปแล้ว

๓๑

Epoch Intv : ๑ Hz
Mask Angle : ๑๕ Degree
Antenna Height : ใส่คา่ ความสงู จากการวัด หนว่ ยเปน็ เมตร
Measurement : Oblique Height
Data Format : HCN
RINEX Format : ๓.๐๒

แสดงการตงั้ คา่ สถานีควบคมุ ภาคพื้นดนิ (Ground Control Station, GCS)
จากนนั้ เลือก OK เม่อื ตัง้ ค่าเสร็จเคร่อื งรับสญั ญาณดาวเทยี มฯ จะเริ่มทาการบนั ทกึ ขอ้ มลู ตาแหนง่
พิกดั ของสถานคี วบคุมภาคพน้ื ดิน (Ground Control Station, GCS) โดยหนา้ จอแสดงผลจะปรากฏ
ข้อความ “Static On Recording”

๓๒

หน้าจอแสดงผล “Static On Recording”
๓.๑.๕ การประกอบอากาศยานไรค้ นขับชนดิ ปีกตรึงขึ้นลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid UAV)

ยห่ี อ้ CHCNAV ร่นุ P๓๑๖
(๑) นาหน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ใสช่ อ่ ง Slot ทอี่ ยู่ดา้ นข้างของอากาศยานฯ

แสดงการประกอบหนว่ ยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card สาหรับการบนั ทกึ
ขอ้ มูลค่าพารามิเตอรก์ ารจดั ภาพภายนอก (Exterior Orientation)

(๒) ใส่แบตเตอรี่และหนว่ ยความจาภายนอกชนิด SD Card หนว่ ยความจากล้องถา่ ยภาพ
ยหี่ ้อ Sony รุ่น RX๑RII

๓๓

แสดงการประกอบชดุ กล้องถ่ายภาพ

(๓) ตอ่ สาย Camera trigger ท่ชี อ่ ง USB สาหรบั สั่งกล้องใหถ้ ่ายภาพ ตามข้อ , ตอ่ สาย
Hot boot ทีช่ อ่ งแฟลช สาหรับบนั ทกึ ข้อมูลค่าพารามเิ ตอรก์ ารจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation)
ตามขอ้  และตดิ ตงั้ กล้องถา่ ยภาพในชอ่ งตดิ ตงั้ ท่ีอากาศยานฯ ตามรูป 






แสดงขั้นตอนการติดต้งั กล้องถ่ายภาพกบั อากาศยานฯ

(๔) ตั้งค่ากล้องถา่ ยภาพตามค่าทเ่ี หมาะสม หรอื ใช้คา่ เริ่มต้น ดังน้ี

Shutter Speed : ๑/๑๐๐๐
Aperture : F๗.๑
ISO : Auto

๓๔

แสดงการตั้งค่ากล้องถา่ ยภาพ
(๕) ตรวจสอบความเรียบร้อยของการติดตง้ั และสายเชอ่ื มต่อต่างๆ ของกล้องถ่ายภาพ

แสดงการติดต้ังกล้องถ่ายภาพ
(๖) ตดิ ตงั้ ปีกสว่ นกลางของอากาศยานฯ โดยการหมุนสกรยู ึดปกี ตามภาพด้านล่าง

๓๕

แสดงการตดิ ตั้งปกี สว่ นกลางของอากาศยานฯ

(๗) ตดิ ตง้ั แขน VTOL สาหรับข้นึ ลงแนวดิ่ง พร้อมปลายปีกฝั่งซา้ ยและขวาเข้ากับปีกกลางของ
อากาศยานฯ ตามขอ้  ใหเ้ รยี บร้อย โดยตอ้ งมีรโู ผล่ตรงสลกั ตามข้อ 



แสดงการตดิ ต้ังปกี ของอากาศยานฯ
(๘) ติดตัง้ ใบพดั ตามสที ่ีระบุไว้บนตวั เคร่ืองอากาศยานฯ ทัง้ 4 ใบพัด (สีดาจะหมุนตามเข็มนาฬกิ า
ตามรปู  และสีแดงจะหมนุ ทวนเขม็ นาฬิกา ตามรปู )

๓๖



แสดงการตดิ ตั้งใบพัดแขน VTOL
(๙) เชอ่ื มต่อแบตเตอรี่ Lithium High-Voltage: LiHV สาหรับอากาศยานฯ ดว้ ยวธิ ีการตามข้อ 
และจากนนั้ ปดิ ฝาชอ่ งแบตเตอรีใ่ หเ้ รยี บรอ้ ย ตามข้อ 



แสดงการติดต้ังแบตเตอร่สี าหรับอากาศยานฯ

๓.๑.๖ การเช่ือมต่ออุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) กับอากาศยานฯ และการทา
วัดสอบเซนเซอร์ (Calibration Sensor) อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงข้ึนลงแนวด่ิง
(Fixed Wing Hybrid UAV) ยี่หอ้ CHCNAV ร่นุ P๓๑๖
(๑) อปุ กรณค์ วบคมุ อากาศยาน (Controller) ในทนี่ ีใ้ ช้แท็บเลต็ (Tablet) ย่หี ้อ iPad สาหรับ

ควบคุมการทางานของอากาศยานฯ เชอื่ มตอ่ WiFi ของสถานีควบคุมภาคพนื้ ดิน (Ground Control
Station, GCS) รายละเอยี ด ดังน้ี

WiFi SSID : GNSS-๑๐๔๔๒๒๗ (Serial Number)
Password : ๑๒๓๔๕๖๗๘

๓๗

แสดงการเช่อื มตอ่ ของอปุ กรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) กับสถานีควบคุมภาคพื้นดนิ (GCS)
(๒) เข้าแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl”

(*สามารถตดิ ต้ังบน IOS และ Window ๗ ข้ึนไป)
แสดงไอคอนแอปพลเิ คชัน (Application) “CHCUAVControl”

๓๘











แสดงเครื่องมือในแอปพลเิ คชัน (Application) “CHCUAVControl”
ส่วนประกอบต่างๆ ในแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl” ประกอบด้วย แถบเมนู, แถบ
แสดง Waypoint List, แผนทแ่ี สดงพ้นื ท่สี ารวจ, ข้อมูลความสูงแตล่ ะ Waypoint, แถบแสดงสถานะ, แถบการต้ัง
คา่ Waypoint, แถบการตงั้ ค่า Flight Plan และแถบแสดง Result การตัง้ ค่า Flight Plan
อธบิ ายลักษณะการใชง้ าน ดงั นี้
 แถบเมนู ประกอบด้วย Setting, Mission plan interface, Flight interface และ Connect UAV
(แถบเมนกู ารเช่อื มต่อ UAV)

แสดงแถบเมนู
 แถบแสดง Waypoint List คือ แถบที่แสดงจานวนข้อมูลตาแหน่งและความสูงบินใน Waypoint
ต่างๆ ของอากาศยานฯ โดยจานวนของแถบจะขนึ้ อย่กู ับการกาหนดของผใู้ ช้งาน

๓๙

แสดง Waypoint List
 แผนที่แสดงพื้นท่ีสารวจ คือ บริเวณที่แสดงพ้ืนที่ที่ต้องการสารวจ โดยผู้ใช้งานจะต้องกาหนดให้
ครอบคลุมในบริเวณพ้ืนที่ท่ีต้องการ นอกจากนี้แผนท่ีดังกล่าวยังแสดงเส้นแนวการบิน จุดขึ้น-ลง (Home)
ของอากาศยานฯ

แสดงแผนทแ่ี สดงพื้นทีส่ ารวจ
 ข้ อ มู ล ค ว า ม สู ง แ ต่ ล ะ Waypoint คื อ แ ถ บ ท่ี แ ส ด ง ค่ า ค ว า ม สู ง บิ น ข อ ง อ า ก า ศ ย า น ฯ
ท่ีผู้ใช้งานกาหนดในแต่ละ Waypoint โดยการต้ังค่าจะต้องให้ระยะทางกับการเพิ่มหรือลดระดับความสูงบิน
มีความสัมพนั ธ์กนั เบอ้ื งต้นอาจกาหนด ระยะทาง 100 เมตร สามารถเพ่ิมหรือลดความสูงบินได้ 10 เมตร

แสดงข้อมูลความสงู แต่ละ Waypoint
 แถบแสดงสถานะ ประกอบด้วย แถบท่ีแสดงสถานะของอากาศยานฯ ณ ขณะนั้น, สถานะการรับส่ง
สัญญาณระหว่างอากาศยานฯ กับสถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Station, GCS), จานวนดาวเทียม
ทอ่ี ากาศยานฯ รับสญั ญาณได้, สถานะแบตเตอรีข่ องอากาศยาน ณ ขณะน้ัน

แสดงแถบแสดงสถานะ
 แถบการต้ังค่า Waypoint คือ แถบที่ใช้สาหรับตั้งค่าตาแหน่งและความสูงบินต่างๆ ของอากาศยานฯ
ในแตล่ ะ Waypoint List รวมไปถงึ การตง้ั คา่ สว่ นซ้อน (Over lap) ส่วนเกย (Side lap) ของการบินถ่ายภาพ, การ
กาหนดมุมของเส้นทางการบินสารวจ, การกาหนดจุดเข้า-ออกในการบินสารวจ, การกาหนดค่าความละเอียด
(Ground Sample Distance, GSD) ในการถ่ายภาพหรือการกาหนดความสูงบินในพื้นท่ีสารวจ นอกจากนี้ยัง
แสดงเน้ือที่ทั้งหมดท่ีทาการสารวจโดยประมาณ, จานวนภาพถ่ายทั้งหมดที่ได้จากการบินถ่ายภาพ และความถ่ีใน
การถา่ ยภาพทุกๆ กเี่ มตร

๔๐

แสดงแถบการตัง้ ค่า Waypoint

 แถบการตงั้ คา่ Flight Plan ประกอบด้วย Select map center, Map source, Distance
measure, Remove distance mask, Add mission waypoint, Add mission survey, Load Mission from
local, Download from UAV, Save mission, Upload to UAV, Remove all mission, Remove KML
path

แสดงแถบการตง้ั ค่า Flight Plan

 แถบแสดง Result การตั้งคา่ Flight Plan คอื แถบท่ีแสดงระยะทางและเวลาทใ่ี ช้ทงั้ หมดสาหรับบิน
สารวจซึง่ เป็นผลมาจากกการต้ังค่า Flight Plan

แสดงแถบแสดง Result การตัง้ คา่ Flight Plan

(๓) เชื่อมต่ออากาศยานฯ โดยแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl” โดยการกด

Connect เพอื่ ให้โปรแกรมเชื่อมต่อกับอากาศยานฯ โดยใช้สถานคี วบคมุ ภาคพื้นดิน (Ground Control

Station, GCS) เป็นส่ือกลางในการเชื่อมตอ่

๔๑

Setting Flight interface

Mission plan intCeorfnancect UAV

กดท่ีแถบ
เมนกู าร

แสดงแถบเมนูการเช่อื มต่ออากาศยานฯ
จากนนั้ สงั เกตแถบสถานะการเช่ือมต่อ 2 แถบ คอื ด้านบนตามข้อ  และดา้ นลา่ งตามข้อ  ของหน้าจอ
แสดงผล โดยต้องรอให้แถบสถานะท้ัง 2 เต็ม (เสน้ สีฟ้าลากยาวจนเตม็ ) จงึ จะเป็นการเชื่อมตอ่ ท่สี มบรู ณ์





แสดงแถบสถานะการเชอ่ื มต่อ 2 แถบ

๔๒

หลังจากเชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller) กับอากาศยานฯ แล้วเสร็จ
จะมีสถานะต่างๆ แสดงท่ีมมุ ขวาบนของหนา้ จอ ตามข้อ 

Information dialog bGoPxS signal StatusBattery of UAV

Main GPS signal oSfecUoAnVd GPS signal of UAV


แสดงแถบแสดงสถานะหลงั การเชอ่ื มต่อเสร็จสมบูรณ์
๓.๑.๗ การตงั้ ค่าแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl”

เริ่มการตั้งค่าแอปพลิเคชัน (Application) “CHCUAVControl” โดยการกด Setting
และจะปรากฏแถบเมนู ดังนี้

(๑) แถบเมนู General คอื การตั้งค่า Map Scale Unints, Click Sound Enable

แสดงแถบ General
(๒) แถบเมนู Offline Map คือ การต้ังค่าเก่ียวกับแผนที่เป็นใช้เป็นแผนท่ีฐาน (Base map)
ในการวางแผนการบิน โดยมใี หเ้ ลอื กตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้งาน

๔๓

แสดงแถบ Offline Map
(๓) แถบเมนู Camera Manager คือ การต้ังค่ากล้องถ่ายภาพท่ีใช้ในการบินถ่ายภาพ เนื่องจาก
กล้องแต่ละรุ่นจะมีคุณสมบัติเฉพาะและค่าพารามิเตอร์ที่แตกต่างกัน โดยสามารถทาการเพ่ิม (Add) รุ่น
ของกล้องถ่ายภาพท่ีจะใช้ได้ โดยค่าพารามิเตอร์ที่กรอกต้องมาจากโรงงานท่ีทาการตรวจสอบตามาตรฐาน
แล้ว

แสดงแถบ Camera Manager

๔๔

(๔) แถบเมนู Safety (แถบท่ี ๑) คือ การต้ังค่าความปลอดภัย ในกรณีท่ีแบตเตอร่ีต่าหรือ
ไม่สามารถระบุตาแหน่งของอากาศยานฯ ไดใ้ นขณะท่ีทาการบินสารวจ โดยสามารถกาหนดการตอบสนอง
(Action) ของอากาศยานฯ ให้ทาการแจง้ เตอื น (Warning) หรอื ให้อากาศยานฯ บินกลบั มายงั จดุ ปล่อยตวั
ได้ (Return to Land)

แสดง Safety (แถบที่ ๑)
(๕) แถบเมนู Safety (แถบท่ี ๒) คือ การกาหนดรูปแบบต่างๆ ในการบนิ กลบั มายังจุดปล่อยตวั
ของอากาศยานฯ

แสดง Safety (แถบที่ ๒)
(๖) แถบเมนู Tuning คอื คา่ พารามเิ ตอร์ตา่ งๆ ของอากาศยานฯ ทไ่ี ดจ้ ากการต้ังคา่ ของโรงงาน

ผู้ผลติ

๔๕

แถบแสดง Tuning

(๗) แถบเมนู Cal Sensors คือ การวัดสอบ (Calibration) อากาศยานฯ มที ้งั หมด ๓ สว่ น ไดแ้ ก่
Cal Compass, Cal Level Horizon, Cal Airspeed โดยผใู้ ชง้ านตอ้ งทาการวดั สอบ (Calibration) ท้ัง ๓
สว่ นน้ีทุกครัง้ กอ่ นการทาการบินสารวจ รายละเอยี ดดงั น้ี

ต้องการ Calibration
Calibration เรียบรอ้ ยแลว้

- Cal Compass คอื การวดั สอบ (Calibration) เข็มทศิ ของอากาศยานฯ วธิ กี ารใหว้ างอากาศ
ยานฯ ในทิศทางตามรูป  รอให้ข้นึ กรอบสีส้มตามรปู  แลว้ ทาการหมนุ รอบแกน (Rotate) ตามลูกศรที่
ปรากฏในรูป จนกรอบสสี ้มเปลี่ยนเปน็ สเี ขียว (Completed) ตามรูป  โดยจะต้องทาจนครบ 6 แบบตาม
รูปที่ปรากฏดา้ นลา่ ง


Click to View FlipBook Version