The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) (ปี 2563)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

๔๖

Incomplete Rotate  completed

แสดงการทา Cal Compass

รอใหแ้ ถบสถานะทั้ง ๒ แถบน้ีเตม็ (เสน้ สีฟา้ ลากยาวจนเต็ม) ตามขอ้  และ  จึงจะสามารถทา
การวัดสอบ (Calibration) ขั้นตอ่ ไปได้




แสดงแถบ Cal Compass

แสดงตวั อย่างการทา Cal Compass

๔๗

- Cal Level Horizon วธิ กี ารให้วางอากาศยานฯ ในแนวระนาบกับพ้ืน โดยไมใ่ หข้ ยับขณะทา
การวัดสอบ (Calibration) รอให้แถบสถานะ 2 แถบเต็ม (เสน้ สฟี ้าลากยาวจนเตม็ ) ตามข้อ  และ  จึง
จะทาการ Calibration ขนั้ ต่อไปได้




แสดงแถบ Cal Level Horizon
- Cal Airspeed คือ การวดั สอบ (Calibration) Airspeed ของอากาศยานฯ มขี ้ันตอน ดังนี้
ขอ้ ๑ ใชม้ ือหรืออุปกรณป์ ้องไมใ่ หม้ ีลมเข้าที่ Airspeed ตามรูป 
ข้อ ๒ หลงั จากแถบสฟี า้ ข้นึ 80% หรือมีข้อความด้านลา่ งบรรทดั สุดท้ายปรากฏขน้ึ ให้ใชม้ อื หรอื อปุ กรณ์
ปิดชอ่ งของ Airspeed โดยทนั ที ตามรปู  จากนน้ั รอจนแถบสฟี ้าขึ้นเต็มแถบ





แสดงการทา Cal Airspeed
(๘) แถบเมนู Log Download คือ ไฟล์ Log แสดงการทางานของอากาศยานฯ โดยผใู้ ช้งาน
สามารถทาการดาวนโ์ หลดได้

๔๘

แสดงแถบ Log Download
๓.๑.๘ การวางแผนการบิน

การวางแผนการบินเป็นขัน้ ตอนทก่ี าหนดความละเอยี ดของภาพ คุณภาพของภาพพอยด์คลาวด์
และความถูกต้องเชิงตาแหนง่ โดยมปี ัจจัยท่ตี ้องคานึงถึงสาหรับการวางแผนการบนิ ไดแ้ ก่

- ขนาด Ground Sample Distance (GSD)
- ความสงู บนิ (Flight Altitude)
- ส่วนซอ้ นและส่วนเกยของภาพ (Overlap & Side lap)
- รปู แบบการบิน
ตัวอยา่ งการวางแผนการบนิ ถ่ายภาพทางอากาศดว้ ยอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปกี ตรึงขน้ึ ลง
แนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV) ยห่ี อ้ CHCNAV ร่นุ P316 มขี ้ันตอนดงั น้ี
(๑) เขา้ แอปพลเิ คชนั (Application) “CHCUAVControl” จะปรากฏหนา้ จอดังภาพด้านลา่ ง

แสดงหน้าจอแอปพลเิ คชนั (Application) “CHCUAVControl”

๔๙

(๒) ไปทแี่ ถบ Mission Plan Tools เลอื ก Mission plan interface ตามข้อ  ซงึ่ เป็นเครอ่ื งมือ
ในการวางแผนการบนิ จากนน้ั เลอื ก Add mission survey ตามขอ้  เพือ่ กาหนดพน้ื ทที่ ตี่ ้องการสารวจ



Distance Remove Add Downl Uploa Remove
Seml easure distance missio oad d to KML path
ect mask n from UAV
ma Map survey
p source Add Load UAV Remove all
cen missio Mission Save mission
ter n from missio
waypoi local n

nt

แสดงเครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวางแผนการบิน

หมายเหตุ : ปุ่ม Download from UAV และ Upload to UAV จะปรากฏขึ้นเมื่อเช่อื มต่อระบบกบั
อากาศยานฯ แลว้

(๓) ตวั อย่างการกาหนด Mission Start (จุด ๑)
Mission Start (จุด 1) เปน็ จดุ ปลอ่ ยอากาศยานฯ (Home) ซง่ึ อากาศยานไร้คนขบั ชนดิ ปกี

ตรงึ ข้นึ ลงแนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV) ยหี่ ้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖ จะทาการข้นึ บิน (Take Off)
โดยใชร้ ะบบการหมุนของใบพัด VTOL ยกลาตวั ข้ึนแนวด่ิง (Mode Vertical Take off) ซ่ึงการกาหนด
คา่ พารามิเตอร์ต่างๆ จึงมีความสมั พนั ธ์กบั การขึ้นลงของอากาศยานฯ

๕๐

แสดงตวั อย่างการกาหนด Mission Start (จุด ๑)

ตัง้ ค่าพารามเิ ตอร์ต่างๆ ใน ตัวอย่างการกาหนด Mission Start (จุด ๑) ดงั นี้

WayPoint : คา่ ความสงู Take Off + AMSL
Alt คอื ค่าความสูง Take Off
ที่อากาศยานฯ ใช้ระบบการหมนุ
ของใบพัด VTOL สาหรบั ข้นึ แนวด่ิง
โดยผผู้ ลติ ได้กาหนดเปน็ คา่ คงตัว
คอื ๖๐ ม.
กรณี
คา่ AMSL เทา่ กับ ๕ ม.
ดังนั้น
WayPoint Alt = ๖๐+๕ =๖๕ ม.

Home Alt : AMSL
คือ ค่าระดบั น้าทะเลปานกลาง
ณ จุดปล่อยอากาศยานฯ (Home)
คา่ นี้จะปรากฏในแถบเมนู Flight

interface หลังจากทาการ

เชือ่ มต่ออากาศยานฯ แลว้

กรณี
คา่ AMSL (วงกลมสแี ดง) เท่ากับ ๕ ม.
ดงั น้ัน
Home Alt = ๕ ม.

Return To Launch : การกลับมาจดุ ปล่อย (Home)
คือ การกาหนดค่าเม่ือสน้ิ สุดภารกิจ
ใหอ้ ากาศยานฯ กลับมาลงจอด
ณ จุดปลอ่ ย

Flight Mission Type : รูปแบบการบิน

๕๑

คอื การกาหนดให้อากาศยานฯ
ใช้ระบบการหมนุ ของใบพัด VTOL
สาหรับข้ึนแนวด่ิงใน Mission Start
(จดุ ๑)

(๔) ตวั อย่างการกาหนด VTOL takeoff and transition (จดุ ๒)
จดุ VTOL takeoff and transition (จดุ ๒) เปน็ จุดทอ่ี ากาศยานฯ จะเปลย่ี นการทางานจาก

ระบบการหมุนของใบพดั VTOL ยกลาตวั ขึ้นแนวด่ิง (Mode Vertical Take off) เป็นแบบ Fix wing โดย
มีลักษณะการบินคลา้ ยกับเครือ่ งบนิ ทวั่ ไป และบินไปยังตาแหน่งพรอ้ มไต่ระดบั ความสูงบนิ ตามทผี่ ใู้ ช้งาน
กาหนด

แสดงตวั อย่างการกาหนด VTOL takeoff and transition (จุด ๒)

ตง้ั ค่าพารามเิ ตอร์ต่างๆ ใน ตัวอยา่ งการกาหนด VTOL takeoff and transition (จดุ ๒) ดงั นี้

Altitude : คา่ ความสูง Takeoff หรือเท่ากบั
ค่า Waypoint ใน Mission Start

๕๒

โดยปกตคิ ่านีจ้ ะปรบั ใหโ้ ดยอัตโนมัติ
หลังจากต้ังคา่ คาสัง่ Mission Start
เสร็จ

Latitude ,Longitude : คา่ พกิ ัดจดุ VTOL takeoff and
transition
โดยปกติไม่จาเป็นตอ้ งกรอกค่าพกิ ดั
สามารถลากตาแหน่งของจดุ VTOL
takeoff and transition (จุด 2) ใน
แผนท่แี สดงพ้ืนท่สี ารวจ โดยให้จุด
๒ มีระยะห่างจากจุด ๑ อย่างน้อย
๑๘๐ ม. เพื่อให้อากาศยานฯ มี
ระยะทางที่มากพอสาหรบั การ
เปลยี่ นระบบการทางาน

(๕) ตัวอย่างการกาหนด Waypoint (จุด ๓)
การกาหนด Waypoint คือ การกาหนดตาแหน่งและความสูงในการบินไต่ระดับของ

อากาศยานฯ เพ่ือให้ได้ความสูงบินตามท่ีกาหนด โดยมีหลกั การในการเพ่ิมระดบั ความสูงบิน คือ ระยะทาง
๑๐๐ เมตร อากาศยานฯ สามารถบินไตร่ ะดบั ความสงู ได้ ๑๐ เมตร

๕๓

แสดงตวั อย่างการกาหนด Waypoint (จดุ ๓)

ตง้ั คา่ พารามเิ ตอร์ตา่ งๆ ใน ตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จุด ๓) ดงั น้ี

Waypoint : จุดทอ่ี ากาศยานฯ จะไปยงั
Altitude ตาแหนง่ น้ี

: คา่ ความสูงของ Waypoint
ตามที่กาหนด
ตัวอยา่ ง
ให้จดุ ที่ ๒ ไปจุดท่ี ๓
มรี ะยะทางประมาณ ๓๐๐ ม.
อากาศยานฯ สามารถไตร่ ะดับ
ความสูงได้ประมาณ ๒๐ ม.
(ความสงู บิน ๒๐ ม.
ระยะทางต้องไมน่ อ้ ยกว่า ๒๐๐ ม.)
ดงั นนั้
ความสงู บินจดุ ที่ ๓
= ความสงู บินจุดท่ี ๒ + ๒๐ ม.
หรอื
Altitude
= ๖๕ ม. + ๒๐ ม. = ๘๕ ม.

Latitude ,Longitude : คา่ พกิ ัดจุด Waypoint
ไม่จาเปน็ ต้องกรอกคา่ พิกดั
เนื่องจากค่าพกิ ัดจะข้นึ โดย
อตั โนมตั ิ กรณีทท่ี าการลากจุด
Waypoint ในแผนท่แี สดงพืน้ ท่ี
สารวจ

๕๔

(๖) ตัวอย่างการกาหนด Waypoint (จดุ ๔)
จากตัวอยา่ งในรูปแผนการบิน Waypoint (จดุ ๔) ยังเปน็ จุดทใ่ี หอ้ ากาศยานฯ บินไต่ระดบั

ความสงู เพ่ือให้ได้ความสงู ตามทกี่ าหนดโดยวิธีการในการกาหนดจะใช้วธิ กี ารเดียวกันกับ Waypoint
(จดุ ๓)

แสดงตวั อยา่ งการกาหนด Waypoint (จุด 4)

๕๕

ต้ังค่าพารามิเตอร์ตา่ งๆ ใน ตัวอย่างการกาหนด Waypoint (จุด ๔) ดังนี้

Waypoint : จดุ ท่ีอากาศยานจะไปยัง
ตาแหน่งน้ี

Altitude : ค่าความสงู ของ Waypoint
ตามทก่ี าหนด
ตวั อยา่ ง
ใหจ้ ุดที่ ๓ ไปจุดท่ี ๔
มีระยะทางประมาณ ๒๕๐ ม.
อากาศยานฯ สามารถไต่ระดับ
ความสูงไดป้ ระมาณ ๑๕ ม.
(ความสงู บนิ ๑๕ ม.
ระยะทางต้องไม่น้อยกวา่ ๑๕๐ ม.)
ดังนนั้
ความสูงบินจุดท่ี ๔
= ความสูงบินจุดท่ี ๓ + ๑๕ ม.
หรือ
Altitude
= ๘๕ ม. + ๑๕ ม. = ๑๐๐ ม.
หมายเหตุ : Waypoint (จดุ ๔)
ก่อนเขา้ จุด Survey (จดุ ๕)
ควรมคี วามสงู เท่ากับจุดเรม่ิ
Survey

Latitude ,Longitude : ค่าพกิ ดั จดุ Waypoint
ไม่จาเป็นต้องกรอกคา่ พกิ ัด
เน่อื งจากค่าพกิ ัดจะข้ึนโดย
อตั โนมตั ิ กรณีทท่ี าการลากจุด
Waypoint ในแผนท่แี สดงพื้นที่
สารวจ

๕๖

(๗) ตวั อยา่ งการกาหนด Survey (จดุ ๕)
จุด Survey เป็นจุดท่ีอากาศยานฯ เร่ิมทาการบินถ่ายภาพตามค่าพารามิเตอร์ต่างๆ

ท่ีผู้ใช้งานกาหนด ได้แก่ ความสูงบิน (Flight Altitude), ส่วนซ้อนและสว่ นเกยของภาพ (Overlap & Side
lap), ขนาดความละเอยี ด (Ground Sample Distance, GSD), รปู แบบการบนิ



 

แสดงตัวอย่างการกาหนด Survey (จดุ ๕)

๕๗

ต้ังคา่ พารามิเตอร์ตา่ งๆ ใน ตัวอยา่ งการกาหนด Survey (จดุ ๕) ดังนี้

Survey : พน้ื ที่สารวจ
กรอบสี่เหล่ียมสีเขียวเข้ม

Type : ชอื่ ย่หี ้อ, รุ่นของกล้องถา่ ยภาพ
ในทนี่ ี้ใช้ กลอ้ งยหี่ ้อ Sony
รุ่น RX1RII 35

Orientation : Landscape

Take images in : ถา่ ยภาพตอนกลบั ทศิ ทาง
turnarounds การบิน
ในท่ีน้ไี ม่ได้เลือก เนื่องจากไม่ได้
นาภาพในบรเิ วณดงั กล่าวมา
ประมวลผล เพราะอยู่นอกพ้ืนที่
สารวจ

Image Overlap : การ Overlap ภาพ
Frontal (ส่วนซ้อน),
Side (สว่ นเกย)
โดยปกติแล้วจะตั้งค่า
- Frontal = ๗๕-๘๕%
- Side = ๗๐-๘๐%

Angle : มมุ ทศิ ทางพ้ืนที่สารวจ
เมอื่ เปล่ยี นคา่ มมุ (หน่วยเปน็ องศา)

๕๘ ทิศทางเส้นแนวบิน (เสน้ สีเขยี ว)
จะเปลีย่ นไปตามมมุ ที่กาหนด
Entry
: จุดเขา้ พืน้ ท่ีสารวจ
สามารถเลือกจดุ เขา้ ในการเร่ิม
บนิ สารวจได้ ๔ แบบ
ตามความเหมาะสมของสภาพ
พืน้ ที่ ส่วนจดุ ออก โปรแกรมจะ
เลอื กใหโ้ ดยอัตโนมัติ

Turnaround dist : ระยะการกลับตัวของอากาศ
ยานจากกรอบพนื้ ทส่ี ารวจ
โดยปกตจิ ะกาหนดระยะ ๓๐๐ ม.

Ref Altitude : AMSL ของจดุ Home
คอื คา่ จากจุด Home Alt

ASML Altitude : ค่าระดบั ความสูงจาก MSL
ขณะถ่ายภาพสารวจ
คือ ค่าระดบั ความสงู จาก MSL +
AMSL ของจดุ Home

Altitude to Ref : ค่าความสงู จากพ้ืนทีต่ ้องการบิน
สารวจ
ตวั อยา่ ง
กาหนดให้ความสงู บิน ๑๐๐ ม.

Ground res : ค่าความละเอียดท่ีต้องการบนิ
สารวจ

๕๙

ผูใ้ ชง้ านสามารถเลือกกาหนด
ความสงู บินใน Altitude to Ref
หรอื เลือกคา่ ความละเอียดท่ี
ตอ้ งการใน Ground res
เป็นตัวกาหนดแผนที่ท่ีต้องการ
อยา่ งใดอย่างหนงึ่

Survey area : แสดงพ้ืนทบ่ี นิ สารวจ

Photo count : จานวนภาพถา่ ย
จานวนภาพถา่ ยทีต่ ้องไดจ้ าก
การกาหนดคา่ ตา่ งๆ ของผู้ใช้งาน
หากไม่เกิดข้อผิดพลาดขณะบิน

Photo interval : ถ่ายภาพทุกๆ กี่เมตร
ขนึ้ อยู่การกาหนด Overlap ภาพ
ควรมคี ่าไมต่ า่ กว่า ๒๐ ม. หากมคี า่
ตา่ กว่าให้เปลี่ยนค่า Overlap ให้มี
ความเหมาะสม

(๘) ตวั อย่างการแสดง ขอ้ มูล Survey
ข้อมูล Survey เป็นข้อมูลท่ีแสดงผลของการกาหนดค่าต่างๆ ของผู้ใช้งาน ตั้งแต่การกาหนด

ระยะและความสูงบินของแต่ละ Waypoint, ข้อมูลระยะทางและเวลาท้ังหมดในการบินสารวจ, ข้อมูล
ระยะหา่ งจากจดุ ปล่อย (Home) กบั จุด Survey, ซง่ึ มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้แผนการบินทวี่ างไว้
หรือกาหนดค่าให้มีความเหมาะสม เช่น หากจุดปล่อย (Home) อยู่ห่างกับจุด Survey มากเกินไป จะต้อง
เลือกจุดท่ีเหมาะสมมากกว่า หรือถ้าหากใช้เวลาในการบินมากเกินไปอาจจะส่งผลถึงความปลอดภัย โดย
ปกตไิ มค่ วรใชเ้ วลาเกนิ ๒๕-๓๐ นาที แถบขอ้ มลู Survey แสดงตามข้อ 

๖๐



แสดงตวั อยา่ งการแสดงขอ้ มลู Survey

ตัวอยา่ งการแสดง ขอ้ มลู Survey มดี งั น้ี

Altitude : ความสูงของแต่ละ Waypoint

หากผู้ใช้งานกาหนดให้ระยะทางกับการไตร่ ะดับความสงู ในแตล่ ะ Waypoint

มคี วามสัมพันธก์ นั จะไดแ้ ถบแสดงที่มลี กั ษณะโคง้ คว่าท่ีมีความสมมาตร

Selected Waypoint : ข้อมูลตาแหนง่ ทิศทางความสูงจากจุดทีแ่ ล้วกบั จุดทก่ี าลงั เลือก ดังน้ี

Alt diff : ความสูงที่มีการเปลย่ี นแปลงจากจุดทแี่ ลว้
Distance : ระยะหา่ งจากจดุ ที่แล้ว
Heading, Azimuth : ตาแหนง่ จากจดุ ทแี่ ลว้
Gradient : เปอร์เซ็นต์ความลาดเอียงจากจุดที่แล้ว

Total Mission ๖๑

: แสดงข้อมูลท้ังหมดในการสารวจ ดังนี้

Total Distance : ข้อมลู ระยะทางทั้งหมด
Max telem dist :ขอ้ มูลระยะห่างจากจดุ ข้ึนบินกับจดุ Survey
Time : ข้อมลู เวลาที่ใชใ้ นการบินทงั้ หมด

(๙) ตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จุด ๖)
Waypoint (จุด ๖) เป็นจุดที่อากาศยานฯ ได้บินสารวจตามพ้ืนท่ีที่วางแผนไว้เสร็จส้ิน จะต้อง

กาหนดให้อากาศยานฯ เริ่มลดระดับความสูงบิน โดยยังยึดหลักการในการลดระดับความสูงการบิน คือ
ระยะทาง ๑๐๐ เมตร อากาศยานสามารถบนิ ลดระดับความสูงการบนิ ได้ ๑๐ เมตร

แสดงตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จดุ ๖)

๖๒

ตง้ั ค่าพารามิเตอรต์ า่ งๆ ใน ตัวอย่างการกาหนด Waypoint (จุด ๖) ดงั น้ี

Waypoint : จดุ ที่อากาศยานจะไปยัง
ตาแหน่งน้ี

Altitude : ค่าความสูงของ Waypoint
ตามท่กี าหนด
ตัวอย่าง
ใหจ้ ุด Survey ไปจุดที่ ๖
มีระยะทางประมาณ ๒๙๗ ม.
อากาศยานฯ สามารถลดระดับ
ความสูงไดป้ ระมาณ ๑๕ ม.
(ความสงู บนิ ๑๕ ม.
ระยะทางต้องไม่น้อยกว่า ๑๕๐ ม.)
ดังนน้ั
ความสูงบนิ จดุ ที่ ๖
= ความสูงบินจดุ Survey – ๑๕
ม. หรอื
Altitude
= ๑๐๐ ม. – ๑๕ ม. = ๘๕ ม.

Latitude ,Longitude : คา่ พิกัดจุด Waypoint
ไม่จาเป็นต้องกรอกคา่ พกิ ัด
เนื่องจากค่าพิกัดจะขนึ้ โดย
อตั โนมัติ กรณีทท่ี าการลาก
จดุ Waypoint ในแผนทแ่ี สดง
พนื้ ทีส่ ารวจ

(๑๐) ตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จุด ๗)
จากตัวอย่างในรูปแผนการบิน Waypoint (จุด ๗) ยังเป็นจุดที่ให้อากาศยานฯ ลดระดับ

ความสูงบิน เพ่ือให้ได้ความสูงตามที่กาหนดโดยวิธีการในการกาหนดจะใช้วิธีการเดียวกันกับ Waypoint
(จุด ๖)

๖๓

แสดงตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จดุ ๗)

ตง้ั คา่ พารามเิ ตอร์ต่างๆ ใน ตวั อย่างการกาหนด Waypoint (จุด ๗) ดงั น้ี

Waypoint : จดุ ท่ีอากาศยานจะไปยัง
ตาแหนง่ น้ี

Altitude : คา่ ความสูงของ Waypoint
ตามท่ีกาหนด
ตัวอย่าง
ใหจ้ ุดท่ี ๖ ไปจุดที่ ๗
มรี ะยะทางประมาณ ๔๘๐ ม.
อากาศยานฯ สามารถลดระดับ
ความสูงไดป้ ระมาณ ๑๕ ม.
(ความสงู บนิ ๑๕ ม.
ระยะทางต้องไมน่ ้อยกว่า ๑๕๐ ม.)
ดงั น้ัน
ความสูงบินจุดท่ี ๗
= ความสงู บนิ จุดท่ี ๖ – ๑๕ ม.
หรือ

๖๔

Altitude
= ๘๕ ม. – ๑๕ ม. = ๗๐ ม.

Latitude ,Longitude : คา่ พกิ ดั จุด Waypoint
ไม่จาเป็นต้องกรอกค่าพกิ ดั
เน่ืองจากคา่ พกิ ัดจะขึน้ โดย
อัตโนมัติ กรณีท่ีทาการลาก
จดุ Waypoint ในแผนทแ่ี สดง
พ้ืนทีส่ ารวจ

(๑๑) ตวั อยา่ งการกาหนด Waypoint (จุด ๘)
จากตัวอย่างในรูปแผนการบิน Waypoint (จุด ๘) ยังเป็นจุดที่กาหนดให้อากาศยานฯ

ลดระดับความสูง เพ่ือให้ได้ความสูงตามท่ีกาหนด จากแผนการบินพบว่าเป็นจุดสุดท้าย จึงต้องมีความสูง
บนิ เทา่ กับ Mission Start (จดุ ท่ี ๑) (คา่ ความสูง TakeOff + AMSL) เน่ืองจากอากาศยานฯ จะทาการจอด
(Landing) โดยใช้ระบบการหมุนของใบพัด VTOL ลงแนวด่ิง (Mode Vertical Landing) และจุดดังกล่าว
ตอ้ งอยู่ใกล้กับจดุ ท่ีจะให้อากาศยานฯ ลงจอดหรือใกล้กับจุดปล่อย (Home) กรณที ี่ให้อากาศยานฯ ลงจอด
ท่ีเดิม

แสดงตวั อยา่ งการกาหนด Waypoint (จดุ ๘)

๖๕

ต้ังค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ใน ตัวอยา่ งการกาหนด Waypoint (จดุ ๘) ดังนี้

Waypoint : จดุ ทอี่ ากาศยานจะไปยัง
ตาแหนง่ น้ี

Altitude : ค่าความสูงของ Waypoint
ตามทกี่ าหนด
ตวั อยา่ ง
- ขอ้ ๑ กาหนด Waypoint
(จุด ๘) เป็นจุดสุดท้าย ความสูงบนิ
จะต้องเปน็ ๖๕ ม. ตาม
WayPoint Alt ของ Waypoint
(จุด 1) หรอื ความสงู TakeOff +
AMSL หรอื เทา่ กบั Landing+
AMSL(คา่ ความสูง Landing
ที่อากาศยานฯ ใช้ระบบการหมนุ
ของใบพัด VTOL สาหรบั ลง
แนวดิง่ โดยผู้ผลติ ไดก้ าหนดเปน็
ค่าคงตัว คือ ๖๐ ม.)
- ขอ้ ๒ ระยะทางจากจุดท่ี ๗ ไป
จดุ ที่ ๘ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕๐ ม.
อากาศยานฯ จึงจะสามารถลด
ระดับความสงู ได้ประมาณ ๑๕ ม.
เพอื่ ใหไ้ ด้ความสูงบิน ๖๕ ม.
ตามข้อ ๑
ดงั นน้ั
ความสูงบนิ จดุ ที่ ๘
= ความสูงบินจุดที่ ๗ – ๑๕ ม.
หรอื
Altitude
= ๗๐ ม. – ๑๕ ม. = ๖๕ ม.
หรือ
กรณคี า่ AMSL= ๕ ม.
Altitude
= Landing (๖๐ ม.)+ AMSL
= ๖๐ ม. + ๕ ม. = ๖๕ ม.

๖๖

Latitude ,Longitude : ค่าพิกัดจดุ Waypoint
ไมจ่ าเป็นต้องกรอกค่าพิกดั
เน่อื งจากคา่ พิกัดจะขึน้ โดย
อัตโนมัติ กรณีที่ทาการลากจุด
Waypoint ในแผนทแี่ สดงพน้ื ท่ี
สารวจ โดย Waypoint จุดสุดท้าย
ต้องอยู่ใกล้กับจุดลงจอด

(๑๒) ตวั อย่างแสดง ขั้นตอนสุดทา้ ยการวางแผนการบิน
เม่อื ตรวจสอบการกาหนดค่าต่างๆ ในแตล่ ะ Waypoint แลว้ จากนนั้ นาแผนการบนิ เข้าสู่

อากาศยานฯ โดยการกด Upload Flight Plan ตามขอ้  และรอให้แถบสถานะเต็ม ตามข้อ 





แสดงขน้ั ตอนสุดท้ายการวางแผนการบิน

๖๗

การกาหนด Waypoint (Action) (เพิ่มเติม) ดังนี้

Loiter (Time) คือ ให้อากาศยานฯ บนิ วน
Waypoint โดยใช้เวลาเป็นตัวกาหนด

แสดง Action : Loiter (Time)

Loiter (Altitude) คือ ให้อากาศยานฯ บนิ วน
Waypoint โดยใช้ความสงู เป็นตัวกาหนด

แสดง Action : Loiter (Altitude)

Land คอื ให้อากาศยานฯ ลงจอดทจ่ี ุด Waypoint
โดยกาหนด

Abort Alt : ความสูงปัจจบุ นั + Home Alt

แสดง Action : Land

Trigger parachute คือ ให้อากาศยานฯ ปลอ่ ย
รม่ ชูชีพทีจ่ ุด Waypoint

แสดง Action : Trigger parachute

๖๘

Jump to item คอื ให้อากาศยานฯ บนิ ไปท่ี
หมายเลขของจดุ Waypoint นน้ั และใหบ้ นิ ซา้ ตาม
ท่ีกาหนด

แสดง Action : Jump to item
๓.๑.๙ ขน้ั ตอนการบนิ สารวจ

หลังจากนาเข้าแผนการบินที่ได้วางแผนไว้ (Upload Flight Plan) ให้กดที่แถบเคร่ืองมือ
การบินสารวจ (Flight interface) จากน้ันทาการตรวจสอบเส้นทางการบินสารวจ และสถานะ
จานวนดาวเทียม แบตเตอร่ีของอากาศยานฯ และทาการตรวจสอบสถานะและความพร้อมในการบิน โดย
การกด Flight Check ตามขอ้ 



แสดงการทา Flight Check

๖๙

๓.๑.๙.๑ ข้ันตอนการตรวจสอบสถานะและความพร้อมในการบิน (Flight Check) มีดงั น้ี
(๑) GNSS Device คอื การตรวจสอบสถานะและการต้งั ค่าของสถานีควบคมุ

ภาคพนื้ ดนิ (Ground Control Station, GCS) หากทาตามขั้นตอนถูกตอ้ งและครบถว้ นแล้ว
ใหท้ าเคร่ืองหมายถูกทกุ ช่องจากน้นั ให้กด Next Step

แสดงการตรวจสอบ GNSS Device

แสดงการตัง้ สถานีควบคุมภาคพน้ื ดิน (Ground Control Station, GCS)

๗๐

(๒) Structure คอื การตรวจสอบสว่ นประกอบตา่ งๆ ของอากาศยานฯ ว่าประกอบ
สมบูรณแ์ ละไม่มีช้ินส่วนใดหลุดหลวม เสร็จแล้วให้ทาเครอ่ื งหมายถูกในช่องสี่เหลี่ยมจัตรุ สั
จากนั้นกดปุ่ม Next Step

๗๑

แสดงการตรวจสอบ Structure

(๓) Camera คอื การตรวจสอบกล้องถ่ายภาพวา่ อยใู่ นสถานะพร้อมทางานหรือไม่

โดยใหก้ ด Take Photo เพ่ือทดสอบการทางานของกล้อง จากนนั้ ให้ทาเครอ่ื งหมายถูก

ในชอ่ งสีเ่ หลย่ี มจตั รุ สั แลว้ กด Next Step

แสดงการตรวจสอบ Camera (๑)

๗๒

แสดงการตรวจสอบ Camera (2)
(๔) Altitude คือ การตรวจสอบ Sensor Pitch, Roll ของอากาศยานฯ โดยการจับ
ตัวเคร่อื งอากาศยานฯ ให้มีทิศทางการเอียงของลาตวั ให้มีองศาการเอียงเกินกว่าค่าทกี่ าหนดตาม
ภาพทั้ง ๔ ภาพ จากนน้ั กดปุ่ม Next Step

แสดงการตรวจสอบ Altitude

๗๓

แสดงการตรวจสอบ Sensor Pitch, Roll ของอากาศยานฯ
(๕) Balance คอื การตรวจสอบความสมดุลด้านซ้ายและขวาของอากาศยานฯ
โดยวางลาตัวอากาศยานฯ ให้ขนานกบั พ้ืน จากน้ันกด Next Step

แสดงการตรวจสอบ Balance

๗๔

แสดงการตรวจสอบ Balance
(๖) Status คือ การตรวจสอบสถานะตา่ งๆ ของอากาศยานฯ ดังนี้
- AirSpeed test ตรวจสอบ Airspeed โดยใช้มือหรืออปุ กรณ์ปิดชอ่ ง Airspeed
โดยอยา่ งนอ้ ยจะต้องได้ค่าเท่ากับ ๒๐ m/s ตามข้อ 
- Parachute test ตรวจสอบช่องเก็บรม่ ชูชีพโดยการเอามือป้องไว้แล้วลองกดเปิดและ
กดปดิ ชอ่ งเกบ็ ร่มชูชีพ ตามข้อ 
- GPS status ตรวจสอบการรบั สัญญาณดาวเทียม ตอ้ งรับสัญญาณอยา่ งน้อย ๗ ดวง
ขึ้นไป ตามข้อ 
- Battery ตรวจสอบปรมิ าณแบตเตอร่ีต้องมีมากกว่า ๖๐ เปอรเ์ ซ็นต์ หรอื แนะนาให้มี
ปรมิ าณแบตเตอร่ี ๙๐-๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์เพื่อความปลอดภยั ในการทาการบนิ ตามข้อ 
จากน้นั กด Next Step

๗๕







แสดงการตรวจสอบ Status ตา่ งๆ

แสดงการตรวจสอบ Airspeed

๗๖

แสดงการตรวจสอบ Airspeed แสดงการตรวจสอบชอ่ งเกบ็ รม่ ชชู ีพ

(๗) Pre-Rotate คือ การตรวจสอบการทางานของใบพัด VTOL สาหรับการขน้ึ ลง
แนวด่ิง โดยทาเคร่ืองหมายถกู และกดที่ Arm to Pre-Rotate จากนนั้ ใบพดั ทงั้ ๔ ด้านจะทางาน
ใหผ้ ู้ใชง้ านสงั เกตเสียงและการทางานของใบพดั วา่ ทางานปกติหรือไม่ จากนน้ั กด Next Step

หมายเหตุ : ควรยนื ห่างจากตวั อากาศยานฯ อย่างนอ้ ย ๕ เมตร

แสดงการตรวจสอบ Pre-Rotate

๗๗

(๘) Safety คือ การตรวจสอบการต้ังค่าความปลอดภัย (Safety) ของอากาศยานฯ

แสดงการตง้ั คา่ ความปลอดภัย (Safety)
ตวั อยา่ งการตั้งค่าความปลอดภยั (Safety) ดังน้ี
RTL Mode : ๐ คอื RTL(Keep Alt) หรือ ให้อากาศยานฯ บินกลับมา

ยังจดุ ปล่อย (RETURN TO LAND) แบบความสงู บนิ คงที่
Action on breach สามารถกาหนดได้ ๓ แบบ กรณพี บว่ามีความไมป่ ลอดภัย

ตอ่ อากาศยานฯ ดังน้ี
: RETURN TO LAND คือ ให้อากาศยานฯ บนิ กลับมา
ยงั จุดปล่อย (Home)
: WARNING คือ ให้อากาศยานฯ ส่งสญั ญาณแจ้งเตือน

: NONE คือ ไม่กาหนดคา่ ใดๆ
Max Radius : รศั มีจากจดุ ปล่อย คอื กาหนดรัศมใี นการบินของ

อากาศยานฯ ไม่ให้เกินคา่ ที่กาหนดไว้ หนว่ ยเป็นเมตร
Max altitude : ความสูงจากจุดปลอ่ ย คอื กาหนดความสูงในการบิน

ของอากาศยานฯ ไม่ใหเ้ กนิ คา่ ทก่ี าหนดไว้ หน่วยเป็นเมตร

๗๘

๓.๑.๙.๒ การทาการบิน
เร่ิมทาการบินโดยกดที่ Start Mission โดยก่อนเร่ิมทาการบนิ ตอ้ งม่ันใจว่าทาตาม

ขัน้ ตอนตา่ งๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้องแลว้

แสดงการ Start Mission

หลังจากกด Start Mission อากาศยานฯ จะไปยังตาแหน่งและเพ่ิมระดับความสูง
ตามทีผ่ ใู้ ช้งานกาหนดในแตล่ ะ Waypoint ผใู้ ช้งานจะต้องคอยสังเกตการทางานของอากาศยานฯ
โดยแบ่งเปน็ ๒ สว่ นดงั นี้

ส่วนที่ ๑ สว่ นพน้ื ท่บี นิ สารวจ ผู้ใช้งานจะตอ้ งคอยสงั เกตวา่ อากาศยานฯ บินไปตาม
แนวการบินทวี่ างแผนตามเส้นสเี ขียวหรอื ไม่ โดยตาแหน่งของอากาศยานฯ ณ ขณะน้ัน ดไู ด้จาก
สัญลักษณร์ ปู เครอื่ งบิน ส่วนแนวบนิ ท่ีอากาศยานฯ บนิ ผา่ นไปแล้ว จะปรากฏเส้นสีแดง และ
รปู กล้องถ่ายรปู สดี า คอื จดุ ทกี่ ล้องถ่ายภาพในพน้ื ทีส่ ารวจแลว้

สถานะของเครือ่ งบนิ ณ ขณะน้นั

เสน้ แนวการบินทว่ี างแผน (เสน้ สเี ขยี ว)
เสน้ ทเี่ ครอ่ื งบินผา่ นแลว้ (เส้นสีแดง)
จุดที่กลอ้ งถ่ายภาพแล้ว (รปู กลอ้ งสีดา)

แสดงหน้าจอขณะทาการบนิ ในสว่ นพื้นทบ่ี ินสารวจ

๗๙

สว่ นที่ ๒ ส่วนสถานะอากาศยาน ณ ขณะนน้ั มีส่วนประกอบท่ีผใู้ ช้งานจะต้องให้
ความสาคัญ ในขณะทาการบิน ดงั น้ี

 Air_Spd [m/s] คือ ความเร็วการบนิ โดยปกติ
ผู้ใช้งานจะตอ้ งสังเกตความเร็วการบิน ควรมีค่าไมต่ ่า
กวา่ ๒๐ m/s


 Relative Alt [m] คือ ความสูงของอากาศยาน
จากพน้ื ดนิ ผใู้ ช้จะต้องคอยสังเกตความสงู ของ
อากาศยานฯ ในแตล่ ะ Waypoint ว่าเป็นไปตาม

  ท่วี างแผนไวห้ รือไม่

 AMSL คือ ความสูงจากระดบั น้าทะเลปานกลาง

   Target Alt คือ เปา้ หมายความสงู จาก
ระดบั น้าทะเลปานกลาง

  Sensor Pitch Roll ของอากาศยานฯ โดย

 ผ้ใู ช้งานจะต้องคอยสงั เกตความเอยี งด้านหนา้ -หลัง
และซา้ ย-ขวา ของอากาศยานฯ ให้อากาศยานฯ

 มคี วามสมดุลตลอดระยะเวลาที่ทาการบนิ สารวจ

  เวลาท่ใี ช้ในการบิน ณ ขณะนั้น

แสดงสถานะอากาศยาน ณ ขณะนนั้  การบริโภคพลงั งานของอากาศยานฯ


 แรงดันไฟฟา้ แบตเตอรี่ ถ้าแบตเตอร่เี ตม็ จะมี
ค่าประมาณ ๒๖.๑ V

 การไตร่ ะดับของอากาศยานฯ

 การกนิ กระแสไฟฟ้าแบตเตอร่ี

๘๐

แสดงภาพขณะเร่ิมทาการบนิ

๘๑

ในกรณีทเ่ี กิดความผิดปกติหรอื มคี วามไม่ปลอดภยั ของอากาศยานฯ ผ้ใู ช้งานสามารถใช้
คาสง่ั ระหว่างการบินต่างๆ โดยการกด actions ทป่ี รากฏท่ดี า้ นลา่ งของหน้าจอ และสามารถเลือก
คาสงั่ ต่างๆ ตามภาพด้านล่าง

แสดงคาส่ังระหวา่ งการบิน
คาอธบิ ายคาส่งั ระหวา่ งการบิน ดังนี้

Land คือ คาสั่งให้อากาศยานฯ ลงจอดทันที
หมายเหตุ : ผู้ใชง้ านจะตอ้ งตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ พนื้ ที่
ทีจ่ ะให้อากาศยานฯ ลงจอด มีความปลอดภัยไม่เกดิ
ความเสียหายกับตัวเครื่อง
แสดงคาสง่ั ระหว่างการบิน Land
RTL คอื ให้อากาศยานฯ กลับมาลงจอดยงั จุดปล่อย
(Home)

แสดงคาสัง่ ระหวา่ งการบิน RTL

๘๒

Change Altitude คอื การเปล่ียนจุดลงจอดของ
อากาศยานฯ ทาได้โดยการคลกิ ตาแหนง่ ท่ตี ้องการ
บนแผนท่จี ุดใดก็ได้ หรอื คลิก Waypoint ทต่ี อ้ งการ
จะให้อากาศยานฯ บินไป เชน่

หลงั จากคลิกตาแหนง่ ท่ตี ้องการบนแผนท่ีจุดใดกไ็ ด้
จะปรากฏหนา้ ตา่ งเพ่ือใสค่ วามสงู ใหม่

แสดงคาสัง่ ระหวา่ งการบิน Change Altitude

คาแนะนาเพิ่มเตมิ
ความสงู อา้ งอิงจุดเริ่มต้น เน่อื งจากความสงู จากระดบั น้าทะเล
ท่จี ุดปล่อย (Home) ไดจ้ ากการวดั ความกดอากาศจาก Barometer
บนตวั อากาศยานฯ คา่ ความสูงอาจจะไม่คงท่ีในระยะแรกทีเ่ ช่ือมตอ่
อุปกรณ์ท้งั ๓ ส่วน ดังนนั้ หลงั จากเชอื่ มต่อใหร้ อจนค่า AMSL น่ิง
ซงึ่ ใชเ้ วลาประมาณ ๕ นาที แลว้ ค่อยนาค่าไปใช้ในการวางแผนการบนิ
ตอ่ ไป

๘๓

๓.๒ อากาศยานไรค้ นขับชนดิ ปกี หมุน (Multirotor) ยี่ห้อ DJI รุน่ Phantom๔ Pro V.๒
อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ยี่ห้อ DJI รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ เป็นอากาศยานข้ึนลง

แนวดิ่งอาศัยการหมุนของใบพัดในการขึ้นลงและขับเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆ ประกอบด้วยใบพัด จานวน ๔ ใบพัด
โดยท่ัวไปใชร้ ะยะเวลาการบินประมาณ ๑๐-๒๐ นาที

แสดงอากาศยานไรค้ นขับชนิดปกี หมุน (Multirotor) ยหี่ อ้ DJI ร่นุ Phantom๔ Pro V.๒
อปุ กรณ์หลักสาหรบั การทางานของอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปีกหมนุ (Multirotor) ยหี่ ้อ DJI
รนุ่ Phantom4 Pro V.๒ แบ่งออกเป็น ๒ สว่ น ดังน้ี
(๑) ตัวเคร่ืองอากาศยาน (Platform) เป็นโครงของอากาศยานฯ ที่ผลิตจากวัสดุท่ีมีน้าหนักเบาและมี
ความแข็งแรง มีระบบควบคุมการบิน (AutoPilot) ระบบนาร่อง (GPS) แบตเตอร่ี ขากล้อง Gimbal ระบบรับรู้
การทรงตวั รวมไปถงึ กลอ้ งถ่ายภาพและเซนเซอร์ (Camera and Sensor) ที่เปน็ ส่วนท่ีใช้บนั ทึกขอ้ มูลภาพถา่ ย
(๒) อปุ กรณค์ วบคมุ อากาศยาน (Controller) ได้แก่ อุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) และ
อุปกรณแ์ สดงผล ไดแ้ ก่ แทบ็ เล็ต (Tablet) หรือโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีแบบสมาร์ตโฟน (Smart phone) เพ่อื ใชใ้ นการ
ติดตั้งแอปพลิเคชัน (Application) “DJI GO4” เพื่อใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์และต้ังค่าการทางานของอากาศยาน
“Pix๔D” สาหรบั วางแผนการบินและการบนิ ถ่ายภาพ
ในส่วนหลักการทางานของอากาศยานฯ เริ่มจากเชื่อมต่อตัวเคร่ืองอากาศยาน (Platform) กับอุปกรณ์
ควบคุมระยะไกล (Remote Control) ผ่านแอปพลิเคชัน (Application) “DJI GO๔” ที่ได้ดาวน์โหลดติดตั้งใน
อุปกรณ์แสดงผลที่เชื่อมต่อสายสัญญาณ USB กับอุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control) เพ่ือใช้สาหรับ
ตรวจสอบสถานะความพรอ้ มในการทางานและการตั้งค่าการทางานของอากาศยาน

๘๔

๓.๒.๑ สว่ นประกอบของอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปีกหมนุ (Multirotor) ยี่ห้อ DJI ร่นุ Phantom๔
Pro V.๒
๓.๒.๑.๑ เครอื่ งอากาศยาน (Platform) ประกอบด้วย
(๑) กลอ้ งถา่ ยภาพพร้อมขากล้อง Gimbal
(๒) ไฟ LED แสดงดา้ นหน้า
(๓) ใบพัด
(๔) ระบบนาร่อง (GPS)
(๕) มอเตอร์
(๖) ตัวตรวจจบั วัตถหุ รอื เซนเซอรด์ ้านหน้า
(๗) แบตเตอร่ี
(๘) ไฟ LED บอกสถานะเครื่อง
(๙) ตัวตรวจจบั วัตถหุ รือเซนเซอร์ดา้ นหลัง
(๑๐) ตวั ตรวจจับวัตถุหรือเซนเซอร์ด้านล่าง
(๑๑) ระบบรบั สญั ญาณอินฟาเรด
(๑๒) ไฟสถานการณเ์ ชอ่ื มต่อและปมุ่ ลงิ ค์
(๑๓) ช่องต่อ USB Micro
(๑๔) ชอ่ งเสียบหนว่ ยบนั ทึกความจาแบบ MicroSD Card

43

7

5 2 8
6 1 9

1
0

1 1 1
21 (Platfo3rm) 1

4 ของอากาศยานฯ
แสดงสว่ นประกอบในสว่ นเครื่องอากาศยาน

ยี่หอ้ DJI รนุ่ Phantom๔ Pro V.๒

๘๕

๓.๒.๑.๒ อุปกรณค์ วบคุมอากาศยาน (Controller) ประกอบดว้ ย
(ก) อปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control) ได้แก่
(๑) คันบังคับ
(๒) ปุม่ เปิด/ปดิ อปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
(๓) ไฟ LED แสดงสถานะอุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
(๔) ไฟ LED แสดงระดับแบตเตอรี่อปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
(๕) ปุ่มกลบั (RTH)
(๖) เสาอากาศ
(๗) ทย่ี ดึ อุปกรณ์แสดงผล
(๘) ชอ่ งเสยี บชารจ์ ไฟ
(๙) ปุ่มหยุดการบนิ อัจฉรยิ ะ
(๑๐) ปุ่มหมนุ การกาหนดคา่ กล้อง
(๑๑) ช่องเช่อื มต่อ USB
(๑๒) ชอ่ งเชือ่ มต่อ USB Micro
(๑๓) ปมุ่ บนั ทึกภาพ
(๑๔) สวติ ซ์เลอื กโหมดการบนิ
(๑๕) ปุม่ บงั คบั กลอ้ ง
(๑๖) ปมุ่ หมุนควบคุมการเอยี งกลอ้ ง

7

89 1
3

60

1 1 1
2 01 2
01 0

5 01

4

34 1

6
10
แสดงสว่ นขปอรงะอกาอกบาใศนยสา่วนนฯอุปย่ีหกร้อณD์คJวI บรคนุ่ ุมPรhะaย05nะtไoกmล ๔(RePmrooVte.๒Control)

๘๖

(ข) อุปกรณ์แสดงผล ไดแ้ ก่ แท็บเล็ต (Tablet) หรือโทรศัพทเ์ คลื่อนท่แี บบสมารต์ โฟน
(Smart phone) ในที่น้ใี ช้ แท็บเลต็ (Tablet) ย่หี ้อ iPad รุน่ ๙.๗ น้วิ ความจุ ๑๒๘ GB/WiFi +
Cellular พร้อมอุปกรณช์ ารต์ ไฟ และสายสัญญาณ USB

๓.๒.๑.๓ อุปกรณอ์ น่ื ๆ
(ก) เครื่องประจุไฟฟา้ ประกอบดว้ ย แทน่ ชาร์ตประจุไฟ, Adapter Battery Charger,

สายไฟสาหรับ Adapter Battery Charger

(ข) หน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card

(ค) กระเป๋าสาหรับใส่อปุ กรณ์อากาศยานไร้คนขบั แบบหลายใบพัด (Multi Rotors)
ย่หี อ้ DJI รนุ่ Phantom๔ Pro V.๒

๘๗

๓.๒.๒ คณุ สมบตั ิของอากาศยานไรค้ นขับชนิดปกี หมนุ (Multirotor) ยี่ห้อ DJI รุ่น Phantom๔
Pro V.๒

- ข้อมลู จาเพาะส่วน ตวั เครอ่ื งอากาศยาน (Platform)

Specifications Multirotor UAV
(คุณสมบัติ) ย่หี ้อ DJI รุน่ Phantom๔ Pro V.๒
๑.๓๘๐ กโิ ลกรัม
น้าหนัก (รวมแบตเตอรี่และใบพดั ) ๕ เมตร/วินาที (P-mode)
ความเรว็ บินขนึ้ สูงสุด ๖ เมตร/วนิ าที (S-mode)
๓ เมตร/วนิ าที (P-mode)
ความเร็วบินลงสูงสดุ ๔ เมตร/วินาที (S-mode)
๓๑ เมตร/วนิ าที (P-mode)
ความเร็วบินสูงสุด ๓๖ เมตร/วนิ าที (A-mode)
๔๕ เมตร/วนิ าที (S-mode)
บินได้ระยะทางมากทีส่ ดุ (ในรัศมีควบคมุ ) ๖๐๐๐ เมตร
ตา้ นลมท่มี ีความเรว็ ไม่เกิน ๑๐ เมตร/วินาที
ระยะเวลาบนิ สงู สุด ๒๘ นาที โดยประมาณ
อุณหภมู ทิ ีท่ างานได้ ๐ ถงึ ๔๐ องศาเซลเซียส
ดาวเทียมท่รี ับสัญญาณ GPS และ GLONASS
เซนเซอร์กนั ชน
ระยะเซนเซอร์ ด้านหน้า ด้านหลงั และด้านล่าง
๐ ถงึ ๑๐ เมตร

๘๘

- ข้อมลู จาเพาะส่วน อปุ กรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control)

Specifications Multirotor UAV
(คุณสมบัติ) ยหี่ ้อ DJI รุ่น Phantom4 Pro V.2
2.400 ถึง 2.483 GHz และ5.725 ถึง 5.825 GHz
ใชง้ านคล่ืนวิทยุ ความถี่ 7 กิโลเมตร (FCC)
ระยะการรับส่งสัญญาณ
อุณหภูมทิ ่ที างานได้ 0 ถึง 40 องศาเซลเซียส
ชอ่ งนาเสนอข้อมูล USB
อุปกรณ์ท่เี ชื่อมต่อได้ แทบ็ เล็ต (Tablet) หรือโทรศัพทเ์ คลื่อนทแี่ บบสมารต์
โฟน (Smart phone)

- ข้อมูลจำเพำะส่วนกล้องถ่ำยภำพ

Specifications Multirotor UAV
(คุณสมบัติ) ย่หี ้อ DJI รุ่น Phantom4 Pro V.2
1/2.3 น้วิ
เซนเซอร์ 12.4 ล้านพิกเซล
ความละเอยี ดภาพ
เลนส์ 100 ถึง 3200 (วดี โี อ)
ค่า ISO 100-1600 (ภาพ)
8 ถึง 1/8000
Shutter speed 4000*3000
ขนาดภาพ UHD: 4096×2160 (4K) 24 / 25p
คณุ ภาพการบันทึกวีดีโอ 3840×2160 (4K) 24 / 25 / 30p
2704×1520 (2.7K) 24 / 25 / 30p
Video Bitrate FHD: 1920×1080 24 / 25 / 30 / 48 / 50 /
ชนดิ ของไฟลภ์ าพ 60 / 120p
ชนดิ ของไฟล์วดี ีโอ HD: 1280×720 24 / 25 / 30 / 48 / 50 /
สว่ นบนั ทึกข้อมูล 60p
60 Mbps
JPEG, DNG(RAW)
MP4, MOV
Micro SD สูงสุด 64 GB

๘๙

๓.๒.๓ ขัน้ ตอนการทางานของอากาศยานไรค้ นขบั ชนิดปีกหมนุ (Multirotor) ยีห่ ้อ DJI
รุน่ Phantom๔ Pro V.๒
ขัน้ ตอนการทางานของอากาศยานไร้คนขับชนดิ ปกี หมนุ (Multirotor) ย่ีหอ้ DJI รนุ่ Phantom๔

Pro V.๒ สรุปไดด้ ังนี้
(๑) ประกอบอากาศยานฯ โดยการติดตง้ั ใบพัดจานวน 4 ใบพัด และตดิ ตง้ั แบตเตอร่ีของ

อากาศยานฯ ที่ไดช้ ารจ์ เต็มไว้แล้ว
(๒) เช่ือมตอ่ อปุ กรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control) กบั อุปกรณแ์ สดงผล เชน่ แท็บเลต็

(Tablet) หรือโทรศัพท์เคลอื่ นท่แี บบสมารต์ โฟน (Smart phone) ด้วยสายสญั ญาณ USB
(๓) เชอ่ื มต่ออปุ กรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) กบั อากาศยานฯ ดว้ ยแอปพลเิ คชนั

(Application) “DJI GO4” ที่ได้ดาวนโ์ หลดตดิ ตั้งในอปุ กรณ์แสดงผล
(๔) ทาการคารเิ บทเขม็ ทิศ (Calibration the Compass) อากาศยานฯ และตรวจสอบสถานะ

และตัง้ คา่ ต่างๆ ของอากาศยานฯ เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการบิน
(๕) วางแผนการบนิ (Flight plan) เพ่อื กาหนดพืน้ ทใี่ นการบินสารวจ ตง้ั คา่ สาหรบั การบิน

และนาเขา้ แผนการบิน (Upload Flight plan) เข้าอากาศยานฯ ดว้ ยแอปพลิเคชัน (Application) “Pix4D”
(๖) ทาการตรวจสอบสถานะและความพรอ้ มในการบิน (Pre-flight check) กอ่ นข้นึ บินทุกครง้ั
(๗) ทาการบนิ ตามแผนการบินทว่ี างไว้ โดยระหวา่ งที่ทาการบนิ ผใู้ ชง้ านจะต้องคอยสังเกตการ

ทางานและสถานะต่างๆ ของอากาศยานฯ อย่เู สมอ หากเกิดความผิดปกติจะไดต้ ัดสนิ ใจในการแก้ไขปญั หา
ไดท้ นั ที

(๘) นาข้อมูลภาพถ่ายออกจากหน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ทช่ี อ่ งเสยี บหนว่ ยบันทึก
ความจาท่ตี ัวอากาศยานฯ เพือ่ เตรียมสาหรับการประมวลผล

(๙) ประมวลผลข้อมูลภาพถ่าย ดว้ ยโปรแกรม Pix4Dmapper เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ภาพถ่ายในรูปแบบ
ภาพออร์โธสีเชงิ เลข (Geotiff File)

๓.๒.๔ การเตรียมและประกอบอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ยี่หอ้ DJI
รนุ่ Phantom๔ Pro V.๒
๓.๒.๔.๑ การประกอบใบพัด
ประกอบใบพัดเขา้ กับมอเตอร์ โดยการกดใบพดั ลงบนมอเตอร์ แลว้ ทาการหมนุ ตาม
ลูกศรทีป่ รากฏบนมอเตอร์ จนกระทั่งใบพัดล็อก
ข้อสงั เกต : จะต้องประกอบใบพัดทม่ี ขี อบสดี าเข้ากับมอเตอรท์ มี่ จี ุดสดี า และประกอบ
ใบพัดทม่ี ีขอบสเี ทาเข้ากบั มอเตอร์ท่ีมีจุดสเี ทาเท่านั้น

๙๐

แสดงการประกอบใบพดั
๓.๒.๔.๒ การตดิ ต้ังแบตเตอร่ี, ตรวจสอบและการชาร์จแบตเตอร่ี

- ตดิ ต้ังแบตเตอรโี่ ดยการใส่แบตเตอรี่ทีช่ ่องใส่แบตเตอรี่ ถา้ ใส่ถกู ทศิ ทางสลักจะล็อก

แสดงการติดตั้งแบตเตอรี่
- ตรวจสอบแบตเตอร่ี โดยการกดปุ่ม ๑ ครั้ง เพื่อตรวจสอบระดบั แบตเตอร่ี โดยระดบั ไฟ
แสดงสเี ขียว ๔ ขดี หมายถึงระดับแบตเตอร่ีอยทู่ ่ี ๗๕-๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์

๙๑

ตำ่ ------ ระดับไฟ ----> สูง

แสดงการตรวจสอบแบตเตอรี่
- ชารจ์ แบตเตอร่ี โดยการเสียบแบตเตอรี่กบั สายตามขอ้ A ของ Adapter Battery
Charger ตามภาพด้านลา่ ง โดยใช้เวลาประมาณ ๑ ชวั่ โมง ๒๐ นาที

B
A

แสดงการชารจ์ แบตเตอร่ี

๙๒

๓.๒.๕ การเตรยี มอุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller)
อุปกรณค์ วบคมุ อากาศยาน (Controller) ไดแ้ ก่ อุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control)

และอปุ กรณ์แสดงผล ไดแ้ ก่ แทบ็ เลต็ (Tablet) หรอื โทรศัพทเ์ คลอื่ นทแ่ี บบสมาร์ตโฟน (Smart phone)
เพ่อื ใช้ในการตดิ ต้ังแอปพลิเคชัน (Application) “DJI GO4” สาหรับใชใ้ นการเชื่อมต่ออุปกรณ์และตั้งค่าการ
ทางานของอากาศยานฯ และ “Pix4D” สาหรับวางแผนการบนิ และการบนิ ถา่ ยภาพ

๓.๒.๕.๑ การตรวจสอบและชารจ์ แบตเตอรี่ของอุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control)
- ตรวจสอบแบตเตอร่ี โดยการกดปุ่มเปิด/ปดิ เครื่อง ทอ่ี ปุ กรณค์ วบคมุ ระยะไกล

(Remote Control) ๑ ครั้ง เพื่อตรวจสอบระดับแบตเตอร่ี โดยระดับไฟแสดงสเี ขยี ว ๔ ขีด หมายถึง
ระดับแบตเตอรี่อยูท่ ่ี ๗๕ – ๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์

ต่ำ ------ ระดับไฟ ----> สงู

แสดงการตรวจสอบแบตเตอร่ีของอุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
- ชาร์จแบตเตอร่ี โดยการเสยี บแบตเตอรี่กับสายตามขอ้ B ของ Adapter Battery

Charger ภาพด้านล่าง

B
A

แสดงการชาร์จแบตเตอร่ีอปุ กรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control)

๙๓

๓.๒.๕.๒ การประกอบอปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control) และอุปกรณ์แสดงผล
- เปดิ เสารบั สัญญาณท้งั ๒ ข้างของอปุ กรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control)
- เปดิ ท่ีทีย่ ึดอปุ กรณแ์ สดงผลของอปุ กรณค์ วบคุมระยะไกล (Remote Control)

พร้อมท้งั กดปุ่มดา้ นข้างของที่ยึด เพอ่ื ปล่อยทีย่ ดึ หน้าจออปุ กรณ์แสดงผล
- วางอุปกรณแ์ สดงผล แล้วทาการกดปุ่มด้านข้างของทย่ี ดึ ให้กระชับกบั อุปกรณ์
- เช่อื มตอ่ อปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control) และอุปกรณ์แสดงผล

ดว้ ยสาย USB






แสดงการเตรยี มอปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
๓.๒.๕.๓ การตั้งค่าอุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) และการใชง้ านเบอ้ื งต้น

- การตงั้ ค่าอุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) เพ่อื ใชส้ าหรบั การบงั คับ
อากาศยานฯ แบง่ ออกเป็น ๓ โหมด ดงั นี้

แสดงการต้ังคา่ อุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)

๙๔

(๑.) โหมด P (Positioning mode) อากาศยานฯ จะรักษาตาแหน่งทางราบและ
ความสงู ใหอ้ ยู่น่งิ เหมาะสาหรบั ผใู้ ช้งานมอื ใหม่

(๒.) โหมด A (Attitude mode) อากาศยานฯ จะรกั ษาระดบั ความสูงบนิ ใหอ้ ยรู่ ะดบั
เดิม แต่ตาแหน่งทางราบจะไมค่ งเดิม เชน่ หากมลี มพดั อากาศยานฯ จะลอยไปตามลม

(๓.) โหมด S (Sport mode) อากาศยานฯ จะไมร่ ักษาทงั้ ตาแหน่งในทางราบและระดับ
ความสูง เป็นโหมดสาหรบั ผใู้ ชง้ านท่มี คี วามชานาญ สามารถควบคุมอากาศยานฯ ไดค้ ล่องแคล่ว

- การใช้งานเบ้อื งต้น ได้แก่
ระบบควบคุมการบินจะถูกตั้งอยู่ในโหมดที่ ๒ ก้านควบคุมด้านซ้ายใช้ควบคุมการขึ้น
ลงและหมุนตัวซ้าย-ขวาในแนวระดบั ในขณะทกี่ า้ นควบคมุ ด้านขวาใช้ควบคมุ การเคล่ือนตวั
เดินหน้า, ถอยหลงั ซ้ายและขวา ในส่วนปมุ่ หมุนควบคุมการเอยี ง จะใช้ควบคุมการเอยี งของกลอ้ ง

แสดงการใชง้ านอปุ กรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) เบ้อื งต้น

ทม่ี า http://cste.sut.ac.th/miscste/company/manual/Phantom4userquid_thai.PDF

การบงั คับข้นึ บนิ ทาไดโ้ ดยการดนั แกนควบคมุ เข้าหากันหรือแยกออกจากกนั เพ่ือทา
การสตารท์ มอเตอร์ จากนนั้ ดันแกนควบคุมดา้ นซ้ายข้ึนช้าๆ เปน็ การบินข้นึ

การบงั คบั ลงจอด ดนั แกนควบคมุ ดา้ นซา้ ยลงช้าๆ จนกระท้ังอากาศยานฯ ลงถึงพ้นื
แลว้ ทาการหยดุ การทางานของมอเตอร์

แสดงขัน้ ตอนการบังคับข้ึนบนิ และการบงั คับลงจอด

ทมี่ า http://cste.sut.ac.th/miscste/company/manual/Phantom4userquid_thai.PDF

๙๕

ข้อควรระวัง
- การหมุนแกนบังคับเปน็ สิง่ ท่ีไมค่ วรทา และไมค่ วรสตารท์ มอเตอรเ์ ม่ือมีคนอยู่ใกล้ๆ
- ถืออปุ กรณ์ควบคุมทุกครง้ั เมื่อมอเตอร์ทางาน
- การหยดุ การทางานมอเตอร์ระหว่างบนิ ให้ดงึ แกนบงั คับด้านซา้ ยลงมาที่มุมแล้ว
กดปมุ่ RTH ใช้ในกรณฉี กุ เฉนิ เทา่ น้ัน เมื่อหยุดการทางานแล้วมอเตอร์จะหยุดการทางานทนั ทีไม่ว่ากรณใี ด ๆ อาจ
ทาให้เกิดความเสียหายกบั ตัวอากาศยานฯ ได้

ที่มา http://cste.sut.ac.th/miscste/company/manual/Phantom4userquid_thai.PDF

๓.๒.๖ การตดิ ต้งั แอปพลิเคชัน (Application) สาหรบั การบินสารวจบนอุปกรณ์แสดงผล
แอปพลิเคชนั (Application) ทสี่ าคัญของอากาศยานไรค้ นขบั ชนิดปีกหมนุ (Multirotor) ย่หี อ้ DJI

รุน่ Phantom4 Pro V.2 ได้แก่ “DJI GO4” เพื่อใช้ในการเช่ือมต่ออุปกรณ์และต้ังค่าการทางานของ
อากาศยานฯ และ “Pix4D” สาหรบั วางแผนการบนิ และการบินถ่ายภาพ

แสดงไอคอนแอปพลิเคชนั (Application) แสดงไอคอนแอปพลิเคชนั (Application)
“DJI GO4” “Pix4D”

๓.๒.๖.๑ การใช้งานแอปพลิเคชนั (Application) “DJI GO4”
เม่อื ทาการเตรียมความพร้อมของอากาศยานฯ และอุปกรณค์ วบคุมระยะไกล

(Remote Control) พรอ้ มอุปกรณ์แสดงผลแลว้ ทาการเช่อื มต่ออปุ กรณค์ วบคมุ ระยะไกล
(Remote Control) กบั อากาศยานฯ ดว้ ยแอปพลเิ คชัน (Application) “DJI GO๔” จะปรากฏ
หนา้ จอดงั รูปด้านล่าง จากนน้ั เลอื กคาสั่ง GO FLY


Click to View FlipBook Version