The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) (ปี 2563)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

๑๔๔

๔.๕.๓ ขั้นตอนการรบั สญั ญาณดาวเทยี ม GNSS ดว้ ยเครอื่ งมอื รบั สญั ญาณดาวเทยี ม CHC CGS i๘๐ ดงั น้ี
(๑) เปดิ Application LandStar ๗ เพ่ือเขา้ โปรแกรมที่จะทาการรังวัดดว้ ยระบบดาวเทียม GNS

และทาการสร้าง Project ที่เราจะใช้ในการปฏิบตั งิ าน 


(๒) สร้าง Project ท่ีจะใช้ในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดชื่อของ Project  ตามรูปแบบการรังวัด
ตามระเบียบกรมท่ีดินว่าด้วยการรังวัดทาแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหน่ึงด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วย
ดาวเทยี มแบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒



๑๔๕

(๓) สร้าง Template เพื่อเป็นฐานข้อมลู ในการปฏิบัตงิ าน เลือกทค่ี าสง่ั Coordinate System เลอื ก
พื้นฐานที่ต้องการใช้  หน้าจอจะแสดงผลตวั แปรตา่ ง ๆ ของเสน้ ฐานน้ัน ๆ 




(๔) ต้ังค่าเส้นอ้างองิ ความสงู เลอื กที่ Height Fitting  เลือกคาสั่ง Edit 
ใช้คา่ EGM96.ggf  หนา้ ของProject จะแสดงผลการตง้ั ค่าของ Template 







๑๔๖

(๕) เชื่อมต่อ Bluetooth ระหว่างเครื่องควบคุมการบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller)
CHC รุ่น HCE ๓๐๐ กับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i๘๐ โดยเข้าไปที่คาสั่ง Config และ
เลือกคาสั่ง Connect  หน้าจอจะแสดงผลและจะให้เลือกเคร่ืองท่ีจะทาการเช่ือมต่อ  หากว่าเครื่อง
ควบคุมการบันทกึ ข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller) CHC รุ่น HCE ๓๐๐ กับเคร่อื งรับสญั ญาณดาวเทียม
GNSS CHC CGS i๘๐ เชื่อมตอ่ กนั แล้วจะขึ้นสถานการณ์เชื่อมต่อและจะแสดงสถานะที่พร้อมในการใช้งาน





(๖) การทางานรังวัดผ่านระบบ RTK network ต้องใช้ Internet ในการทางาน ต้องเปิดการ
เชื่อมต่อเครือข่าย เลือกที่คาส่ัง Work Mode  หน้าจอจะแสดงผลข้อมูลในการเข้าระบบ เมื่อเข้าสู่ระบบ
สาเรจ็ แถบสถานะจะแสดงผลว่า Fix 




๑๔๗

(๗) การรับสัญญาณดาวเทียม GNSS เลอื กที่คาสงั่ PT Survey  หน้าจอจะแสดงหนา้ ต่างชอื่
หมดุ ที่จะทาการรงั วัด ค่าความสงู จากพื้นดนิ ถึงเครื่องรับสัญญาณ ค่าพิกัดจุดทีจ่ ะทาการรงั วดั และสถานะ
ตา่ งๆ เม่ือใส่ข้อมลู ครบถ้วนแล้วกดท่คี าส่ัง เพ่ือเร่ิมทาการรังวัด 





(๘) ก่อนเริ่มทาการรับสัญญาณดาวเทียม GNSS ต้องทาการต้ังค่าความถูกต้องของตัวแปรต่างๆที่เรา

ตอ้ งการโดยเลือกทสี่ ัญลักษณ์  หน้าจอจะแสดงผลค่าตวั แปรต่างๆ กาหนดค่าตัวแปรตามที่ต้องการ

 หลังจากนั้นเลือกท่ี  เริ่มทาการรับสัญญาณหน้าจอจะแสดงเวลานับถอยหลังตามตัวแปร
ต่างๆท่ไี ด้ตั้งคา่ ไว้ 








๑๔๘

(๙) เมื่อทาการรังวัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว สามารถเรียกดูค่าพิกัด รายละเอียดต่างๆของหมุดท่ีได้ทา
การรังวัด โดยเลือกที่คาส่ัง Points  แล้วทาการเลือกหมุดท่ีอยากรู้รายละเอียด เลือกคาส่ัง Detail 
หนา้ จอจะแสดงผลรายละเอียดของหมดุ ท่ีได้ทาการรงั วัด




(๑๐) การส่งออกข้อมูลค่าพิกัดของจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และ
จุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) เลือกที่คาสั่ง Exportหน้าต้างจะแสดงผลและที่จัดเก็บข้อมูลของไฟล์
ทจี่ ะทาการส่งออกข้อมูล  เพื่อใช้ในการประมวลผลข้อมลู ภาพถ่าย




๑๔๙

๔.๖ การส่งออกข้อมูลค่าพกิ ัดจากเครือ่ งควบคุมการบนั ทึกข้อมลู สัญญาณดาวเทียม (Controller)
การสง่ ออกขอ้ มลู คา่ พิกดั ของจดุ ควบคุมภาคพืน้ ดนิ Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ

Check point (CP) จากเคร่ืองควบคุมการบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller) ในรูปแบบของไฟล์ CSV
เลือกท่ีคาสั่ง File Type  หน้าต่างจะแสดงผลรูปแบบของไฟล์ที่ต้องการส่งออกข้อมูล การต้ังช่ือไฟล์ท่ีจะทา
การสง่ ออก  และทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มูลของไฟล์ทีจ่ ะทาการสง่ ออกขอ้ มลู เพ่ือใช้ในการประมวลผลขอ้ มูลภาพถ่าย




เช่ือมต่อเครื่องควบคุมการบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไฟล์ข้อมูลท่ี
ส่งออกในรูปแบบของไฟล์ Csv เข้าสู่คอมพิวเตอร์ และใช้ในการประมวลผลภาพถ่ายด้วยอากาศยานไร้คนขับ
ตอ่ ไป

๑๕๐

ภาพตวั อย่างข้อมูลทส่ี ง่ ออกจากเครื่องควบคมุ การบันทึกข้อมูลสญั ญาณดาวเทียม (Controller) ในรปู แบบ
ของไฟล์ CSV

บทที่ ๕
การประมวลผลขอ้ มลู

๕.๑ การเตรียมขอ้ มลู สาหรบั การประมวลผล
๕.๑.๑ ข้อมูลจากอากาศยานไรค้ นขับชนดิ ปีกตรงึ ขึน้ ลงแนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV)
ยีห่ อ้ CHCNAV รุ่น P๓๑๖
การประมวลผลข้อมูลจากอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขึ้นลงแนวด่ิง (Fixed Wing Hybrid
UAV) ยี่ห้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ การประมวลผลข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัด
ภาพภายนอก (Exterior Orientation) ซ่ึงประกอบด้วยตาแหน่ง (Position) และการเอียง (Orientation)
ของภาพถา่ ย และการประมวลผลขอ้ มูลภาพถ่ายทางอากาศ
ขั้นตอนการเตรียมข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation)
สาหรับการประมวลผลโดยใชโ้ ปรแกรม CGO
ข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation) ได้จากการประมวลผลข้อมูล
ตาแหน่ง (Position) และการเอียง (Orientation) ของภาพถ่ายแต่ละภาพที่บันทึกในหน่วยความจา
ภายนอกชนิด MicroSD Card จากอากาศยานฯ ร่วมกับข้อมูลจากสถานีควบคุมภาคพ้ืนดิน
(Ground Control Station, GCS) ในรูปแบบการประมวลผลค่าพิกัดแบบ Post Processing Kinematic
(PPK) เพ่ือนาชุดข้อมูลท่ีได้จากการประมวลผลน้ีไปประมวลผลร่วมกับภาพถ่ายในโปรแกรมประมวลผล
ภาพถา่ ยทางอากาศตอ่ ไป โดยมขี น้ั ตอนดังน้ี

การดงึ ข้อมลู ออก การสร้าง Project การนาเข้าข้อมูล
จากตัวเครื่อง
รายงานคา่ พกิ ัดของ การประมวลผล
UAV P316 & รปู ถา่ ย (Report) PPK
สถานคี วบคุม
ภาคพ้นื ดิน

แสดงข้นั ตอนการประมวลผลโดยใช้โปรแกรม CGO

(๑) การนาข้อมลู ออกจากอากาศยานฯ มีข้ันตอนดงั นี้
- นาหน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ออกมากจาก Slot ที่อยูด่ ้านข้างของอากาศยานฯ

๑๕๒

แสดงการนาข้อมูลออกจากอากาศยานฯ
- นาหน่วยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ต่อกับคอมพิวเตอร์เพื่อนาข้อมูลออกมาท้ัง
Folder ข้อสังเกตช่ือ Folder จะเปน็ ปีเดอื นวัน และจะมขี ้อมูลภายใน Folder ทั้งหมด ๔ Files เปน็ ขอ้ มูล
สาหรับใชป้ ระมวลผลตอ่ ไป




คาอธบิ ายข้อมูลสาหรับใช้ประมวลผล ดังน้ี 

ข้อ  GPS_Point : เวลาท่ถี ่ายภาพของอากาศยานฯ

ข้อ  Moving_Station : ขอ้ มูลของดาวเทยี มที่บนั ทึก

ขอ้  Pos_Point : ตาแหน่งท่ีอากาศยานฯ ถ่ายภาพ

๑๕๓

(๒) การนาข้อมลู ออกจากสถานีควบคุมภาคพื้นดนิ (Ground Control Station, GCS) ขั้นตอน
ดังนี้

- นาสายต่อระหวา่ งเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทยี มฯ ของสถานคี วบคุมภาคพืน้ ดนิ และคอมพวิ เตอร์
เขา้ ด้วยกัน

แสดงการนาข้อมูลออกจากสถานีควบคมุ ภาคพื้นดนิ
- ดึงข้อมูล HCN File ออกมาจากเคร่ืองรับสญั ญาณดาวเทียมฯ

แสดงตัวอย่าง HCN File
(๓) การสร้าง Template Datum ในโปรแกรม CGO มีขั้นตอน ดงั นี้
- เม่อื เปดิ โปรแกรม CGO เลือก Start --> New จากนั้นทาการตั้งค่า ดังน้ี
Name : ให้ใสช่ ือ่ Template Datum ท่ตี อ้ งการ เช่น WGS_N47

ขอ้ ควรระวัง: หา้ มใสช่ ่ือภาษาไทย
Directory : เลอื กท่จี ัดเกบ็ Template Datum ทต่ี ้องการ

และคลิกปุ่ม Confirm

๑๕๔

แสดงการสรา้ ง Template Datum
- เลอื กคาส่งั Coordinate System เพือ่ เลอื กระบบพิกัดท่ีตอ้ งการ ตามขอ้ 



แสดงคาสงั่ Coordinate System
จากน้นั ทาการต้งั คา่ ของระบบพกิ ัด ดังน้ี
- แถบ Basic Info
Name : ชอ่ื ของ Project ในปจั จบุ นั
Zone : เลอื กเวลา Time Zone (ของประเทศไทย UTC+07.00)
Azimuth : ทศิ อ้างอิงในการวัดมมุ
หมายเหตุ : Basic Info เปน็ การใส่ Attribute เพื่อบอกข้อมลู เพยี งเท่านน้ั เช่น การปรับเวลาในโปรแกรม
แทจ้ รงิ แลว้ อย่ใู นส่วนของ GNSS Module

๑๕๕

แสดงแถบ Basic Info

- แถบ Coordinate System
Coordinate System Name : ชื่อระบบคา่ พกิ ดั ที่นามาใช้
การเปลีย่ นระบบคา่ พิกดั ใหเ้ ลอื กคาสง่ั ตามข้อ  โดยปกตจิ ะใช้ WGS84



.

แสดงแถบ Coordinate System

๑๕๖

- แถบ Coordinate System Manager
เลอื ก Datum เปน็ UTM WGS 84 UTM zone 47N ขัน้ ตอนดังนี้
Default Coordinate System : DatumRoot --> World --> world
ตามข้อ  และ Coordinate System List เลือก UTM WGS 84 UTM zone 47N ตามขอ้ 
จากน้นั คลกิ ปุ่ม Select





แสดงแถบ Coordinate System Manager

- แถบ Geoid Model ตงั้ คา่ ดังน้ี

Geoid File Format : GGF File

File Name : เลอื กไฟล์ (File) ทตี่ อ้ งการ โดยปกติ Geoid Model

ใช้ EGM96.GGF และคลกิ ป่มุ Confirm

๑๕๗

แสดงแถบ Geoid Model

จากนั้นใหเ้ ลอื ก Start --> Save As Template

File Name : ใหใ้ สช่ ่ือ Template Datum ที่ตอ้ งการ เชน่ WGS84 N47 EGM96

และคลิกปุ่ม Save โดยการสร้าง Template จะทาการสร้างแคค่ รั้งเดียวเท่านัน้ ตามขอ้ 



แสดงการ Save As Template

๑๕๘

(๔) การสร้าง Project เพ่ือประมวลผลข้อมลู คา่ พารามิเตอรก์ ารจัดภาพภายนอก
(Exterior Orientation) ด้วยโปรแกรม CGO มีขั้นตอนดังนี้

- เมอื่ เปิดโปรแกรม CGO ขึ้นมาแล้ว ให้เลอื ก Start --> New และต้ังค่าดงั นี้
Name : ใหใ้ สช่ ่อื Project ทต่ี อ้ งการ (ข้อควรระวัง: ห้ามใสช่ ่อื ภาษาไทย)
Directory : เลือกทจี่ ัดเก็บ Project ท่ตี ้องการ พร้อมกับเลือก Template Datum ที่ตอ้ งการ
หรือที่ไดส้ ร้างไว้ และคลกิ ปุ่ม Confirm

Template Datum ทเี่ คยสรา้ งไว้
จะมาปรากฏทีห่ นา้ ต่างนี้

แสดงการสร้าง Project ด้วยโปรแกรม CGO
- นาเข้าข้อมูล โดยการเตรียมไฟล์ (File) ข้อมูล ประกอบไปด้วย 4 ไฟล์ (File) จากอากาศยานฯ
จานวน ๓ ไฟล์ (File) และสถานคี วบคมุ ภาคพ้นื ดิน (Ground Control Station, GCS) จานวน ๑ ไฟล์

ข้อมลู ทไ่ี ด้จากเครื่องบิน
ขอ้ มูลท่ไี ด้จากสถานภี าคพ้นื ดิน GCS

แสดงข้อมลู ท่ีต้องนาเข้า ในการประมวลผลด้วยด้วยโปรแกรม CGO
- เข้าโหมด UAV ตามข้อ  เลอื กคาสง่ั Import ตามข้อ  จะปรากฏหนา้ ต่าง Data Import

๑๕๙



แสดงหนา้ ตา่ ง Data Import

- เลอื กเครื่องหมาย ... หรอื และนาเข้าข้อมลู สาหรบั การประมวลผล

Post Processing Kinematic (PPK) เลือกประเภทขอแต่ละไฟล์ (File) ดงั น้ี

Raw pos data : เลือกไฟล์ (File) Pos_Point หรือตามตวั อย่าง 

เลอื ก
Rover gnss data : เลอื กไฟล์ (File) Moving_Station หรือตามตวั อย่าง 

เลือก
Exposure time : เลอื กไฟล์ (File) GPS_Point หรอื ตามตวั อยา่ ง 

เลอื ก

จากนน้ั คลิกปุ่ม Add เพือ่ นาเขา้ Base gnss data โดยเลอื กข้อมูล HCN File

ทไี่ ด้จากเครื่องรบั สญั ญาณดาวเทียมฯ ของสถานีควบคุมภาคพน้ื ดนิ (Ground Control Station, GCS)

หรอื ตามตัวอย่าง  เลอื ก เมอ่ื ครบหมดทุกชอ่ งแลว้ กดปุ่ม Confirm

๑๖๐







แสดงการนาเขา้ ข้อมลู สาหรับการประมวลผล PPK
- รอการนาเข้าข้อมลู เมือ่ เสร็จแล้วจะปรากฏหน้าจอดา้ นขวา ให้เลือกคาสง่ั Edit ตามข้อ 
เพ่อื ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ต่างๆ ก่อนทาการประมวลผลขอ้ มลู



แสดงหนา้ จอสาหรับตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมลู ตา่ งๆ ก่อนทาการประมวลผล

๑๖๑

- แก้ไขค่าพิกดั ตาแหนง่ ของ HCN File ทีไ่ ดจ้ ากการรงั วดั จุดทต่ี ดิ ตง้ั สถานีควบคมุ ภาคพ้ืนดนิ
(Ground Control Station, GCS) เพื่อให้ค่าพิกดั มีความถูกต้องมากย่ิงข้นึ ในส่วน Base station ก่อนทา
การประมวลผลข้อมูล ดงั นี้

Coordinate Source : ใหเ้ ลอื กเปน็ แบบ Manual Input
Coordinate Type : ให้เลอื กเปน็ แบบ Local N/E/H จากนั้นนาคา่ พกิ ัดท่ีได้รังวัดที่จุดสถานี
ควบคมุ ภาคพ้นื ดิน (Ground Control Station, GCS) ใส่ในช่อง x(m), y(m), Elev.(m)
หมายเหตุ : ถา้ ตอ้ งการค่าพกิ ัด WGS84 N/E/H ให้เลือก Coordinate System เป็น WGS84

แสดงการแกไ้ ขข้อมลู HCN File ในส่วน Base station

- แก้ไขความสูงที่ได้จากการวัดตอนติดตั้งสถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Station,

GCS) เพ่ือให้ค่ามีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น ในส่วน Antenna Manufacture ก่อนทาการประมวลผล

โดยสามารถเลอื กวธิ ีการการวดั (Measure To) ได้ 3 แบบ ข้ึนอยู่กับการเลอื กวธิ ีการวดั ของผู้ใชง้ าน ไดแ้ ก่

Bottom of Antenna mount = Vertical H

Center of Bumper = Slant H

Antenna Phase Center = Real Phase Center H

๑๖๒

แสดง Measure To ในแบบตา่ งๆ
เม่ือทาการเลือกวิธีการวัด โดยปกติแล้ว จะเลือก Measure To เป็น Center of Bumper =
Slant H และใส่ค่าความสูงที่ได้จากการวัดที่ช่อง Antenna Height (m) หน่วยเป็นเมตร จากนั้นกดปุ่ม
Confirm

แสดงการแกไ้ ขข้อมลู HCN File ในส่วน Antenna Manufacture
หลงั กด Confirm จะแสดงจุดท่ีถา่ ยภาพทง้ั หมดในการบินสารวจครัง้ นั้น

๑๖๓

แสดงจุดท่ถี า่ ยภาพทงั้ หมดในการบนิ สารวจคร้ังนั้น
- ทาการประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK) โดยการ เลือกคาสง่ั Process
ตามข้อ 



แสดงหน้าจอก่อนการประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK)
จากนัน้ กด Confirm เพื่อยืนยันคา่ Parameter ตา่ งๆ ในการคานวณปรับแก้

๑๖๔

แสดงค่า Parameter ตา่ งๆ ในการคานวณปรบั แก้
รอให้โปรแกรมทาการประมวลผล เมอื่ ประมวลผล Post Processing Kinematic แล้วเสร็จจะแสดงผลดังภาพ

แสดงหน้าจอหลังการประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK)
- ค่าท่ีได้ออกมาหลังจากประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK) ให้เลือกคาสั่ง
Information ตามข้อ  โดยค่าสีดา คือ ค่าท่ียังไม่ได้ประมวลผลคานวณปรับแก้ และค่าสีแดง คือ ค่าท่ี
ประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK) แลว้



คา่ สีดา หมายถึง คา่ ทยี่ งั ไมไ่ ด้ประมวลผล
ค่าสีแดง หมายถึง คา่ ทป่ี ระมวลผล PPK
แล้ว

แสดงการเลือกคาสั่ง Information

๑๖๕

การดู Display ต่างๆ ใหเ้ ลือกคาสัง่ UAV View และการเลอื กคาสงั่ Display Controller โดย
เลือกไดท้ ้งั หมด ๓ รปู แบบ คือ

- POS หมายถงึ แสดงตาแหนง่ การถ่ายภาพของอากาศยานฯ ตามข้อ 
- PPK หมายถงึ แสดงตาแหน่งการถา่ ยภาพของอากาศยานฯ หลังการประมวลผลแบบ
Post Processing Kinematic (PPK) แลว้ ตามข้อ 
- Track หมายถงึ แสดงเสน้ ทางการบินท้งั หมดของอากาศยานฯ ตามข้อ 



แสดง Display Controller แบบ POS



แสดง Display Controller แบบ PPK



๑๖๖

แสดง Display Controller แบบ Track
(๕) การเตรียมข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation) ของภาพถ่าย
จากการคานวณปรับแก้โดยโปรแกรม CGO สาหรับนาเข้า (Import) โปรแกรม Pix4Dmapper
มขี ั้นตอนดงั น้ี
- ในส่วนรายงานข้อมลู ค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation) ของภาพถ่าย
เลอื กคาส่งั Report ตามขอ้  ให้เลือก UAV Pos ซึ่งจะได้ข้อมูลรปู แบบ Text File ออกมา



แสดงการเลือก UAV Pos
- โปรแกรม CGO จะบันทึก (Save) รายงานข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก
(Exterior Orientation) ของภาพถ่าย หลังการประมวลผล Post Processing Kinematic (PPK) ให้
แบบอัตโนมตั ิ โดย Default ที่จัดเกบ็ จะเปน็
C:\Users\“ชือ่ คอมพิวเตอร์”\Documents\CGO2\Project\“ชื่อ Project ท่เี รากาหนด”\Uav\Reports

แสดงรายงานข้อมูลของภาพถ่ายหลงั การประมวลผลแบบ PPK ในรูปแบบ File Text
- การเตรียม File สาหรับประมวลผลในโปรแกรม Pix4Dmapper ทาการเปิดโปรแกรม
Microsoft Excel และเลือกคาสั่ง Open ตามข้อ  เพ่ือเปิด Text File ท่ีได้จากโปรแกรม CGO
ตามขอ้ 

๑๖๗




แสดงการเปิด Text File ท่ีได้จากโปรแกรม CGO ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel (1)
ทาการเลือกคาส่ังต่างๆ ตามรูปแลว้ คลิกปุม่ Next

แสดงการเปดิ Text File ทไี่ ด้จากโปรแกรม CGO ดว้ ยโปรแกรม Microsoft Excel (2)
ใหเ้ ลือกคาส่งั ต่างๆตามรปู แล้วคลิกปุ่ม Finish จะแสดง Text File บนโปรแกรม Microsoft Excel

แสดงการเปิด File Text ท่ีได้จากโปรแกรม CGO ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel (3)

๑๖๘

เน่ืองจากในโปรแกรม Pix4Dmapper ไม่สามารถปรับแก้ค่าความสูงด้วยจีออยด์ (Geoid) ได้
จึงได้นาค่าความสูงแบบ Orthometric H. ที่ได้จากโปรแกรม CGO มาใช้ในช่องความสูง สรุปแล้วต้องจะ
ใช้ค่าจาก ๗ Column ได้แก่ RoverStation, Latitude, Longitude, H(m), row, pitch, yaw ดังภาพ

แสดงค่าจาก ๗ Column ทจี่ าเปน็ ในการนาเขา้ ในโปรแกรม Pix4Dmapper
ทาการลบทกุ อยา่ งทไี่ มเ่ กย่ี วกบั ๗ Column ทงิ้ และให้ตรวจสอบค่า RoverStation ภาพแรกให้มี
ชื่อตรงกันกับภาพแรกท่ีกล้องถ่ายรูปได้ พร้อมกับเพิ่ม “.JPG” ให้ข้างหลังทุกภาพถ่าย และ File CSV ที่
เตรียมนี้จะต้องมชี ือ่ ตรงกนั และจานวนเทา่ กนั กับรปู ท่ีกล้องถ่าย

โดยให้ใช้สตู รตามภาพและทา
การคัดลอกแบบ Values ไป
วางทบั แทน Column เก่า

แสดงสูตรในโปรแกรม Microsoft Excel เพ่ือใชเ้ พ่ิม “.JPG” ในชอ่ ง RoverStation

๑๖๙

แสดงรปู แบบตวั อยา่ ง CSV File ที่พร้อมสาหรับการนาเขา้ ไปประมวลในโปรแกรม Pix4Dmapper
๕.๑.๒ ข้อมูลจากอากาศยานไรค้ นขับชนดิ ปีกหมุน (Multirotor) ยี่ห้อ DJI รุ่น Phantom๔ Pro V.๒

การประมวลผลข้อมูลจาก อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ย่ีห้อ DJI
รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ จะไม่เหมือนกับอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงข้ึนลงแนวด่ิง (Fixed Wing
Hybrid UAV) ยี่ห้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖ เน่ืองจากข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior
Orientation) ซึ่งประกอบด้วยตาแหน่ง (Position) และการเอียง (Orientation) ท่ีได้จากอากาศยานฯ
จะอยู่ในรูปไฟล์ Log ท่ีบันทึกลงบนภาพถ่าย ผู้ใช้งานไม่ต้องทาการประมวลผล Post Processing
Kinematic (PPK) ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากย่ิงขึ้น โดยสามารถนาข้อมูลออกจากอากาศยานฯ
ได้ ๒ ขนั้ ตอน ดังน้ี

(๑) นาหนว่ ยความจาภายนอกชนดิ MicroSD Card ออกมาจาก Slot ที่อยู่ด้านขา้ งของอากาศยานฯ
(๒) นาหนว่ ยความจาภายนอกชนดิ MicroSD Card ไปต่อกับคอมพิวเตอร์เพ่ือนาข้อมลู ภาพถา่ ย
ออกมาทั้ง Folder

๑๗๐

แสดงการนาข้อมูลออกจากอากาศยานฯ

แสดงข้อมลู ภาพถ่ายพร้อมไฟล์ Log ทบี่ นั ทึกลงบนภาพถา่ ย

๑๗๑

๕.๒ การประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายโดยใช้โปรแกรม Pix4Dmapper
๕.๒.๑ หลกั การและขัน้ ตอนการประมวลผลข้อมลู ภาพถา่ ยโดยใช้โปรแกรม Pix4Dmapper
อธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Pix4Dmapper ไดด้ งั น้ี







แสดงสว่ นประกอบของโปรแกรม Pix4Dmapper

ส่วนที่ ๑ Toolbar คอื เมนูจดั การไฟล์ ประกอบดว้ ย
- เมนู Project ได้แก่ การสร้างโปรเจคใหม่ (New Project), การบันทึกโปรเจค (Save
Project/Save Project As), การเปิด/ปดิ โปรเจคท่ไี ดบ้ นั ทกึ ไว้ (Open Project/Close Project),
การแก้ไขขอ้ มูลภาพถา่ ยและข้อมลู ข้อมูลคา่ พารามเิ ตอร์การจัดภาพภายนอก (Image Properties Editor),
การเลอื กระบบพิกดั ของผลลัพธ์จากการประมวลผล (Select Output Coordinate System),
เครื่องมือจัดการโยงยึดด้วยจุดควบคมุ ภาพถ่าย (GCP/MTP Manager)
- เมนู Process ไดแ้ ก่ การคานวณปรับแกข้ ้อมูลใหม่ (Reoptimize/ Rematch and Optimize),
การสร้างรายงานคณุ ภาพของผลการประมวลผล (Generate Quality Report)
- เมนู View และเมนู Map View ไดแ้ ก่ การยอ่ /ขยาย หนา้ จอแสดงแผนท่ี (Zoom In/Zoom
Out, การประเภทของ Base Map (Satellite/Map)
- เมนู Help ไดแ้ ก่ การใหค้ วามชว่ ยเหลือในการใช้คาส่งั ต่างๆ และการอธบิ ายตอบข้อสงสยั จาก
Pix4D

แสดงเครื่องมือสว่ น Toolbar

๑๗๒

ส่วนท่ี ๒ View Toolbar คือ เมนูจัดการมมุ มองของแผนที่ ประกอบด้วย
- เมนู Home เปน็ เมนูแสดงโปรเจค (Project) ท่ีสร้างล่าสุด
- เมนู Map View เปน็ เมนแู สดงมุมมองของแผนที่
- เมนู reyCloud เป็นเมนูท่ีแสดงผลการประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายและข้อมูลค่าพารามิเตอร์
การจัดภาพภายนอกของแต่ละข้นั ตอนตามกระบวนการของการประมวลผลภาพถา่ ยทางอากาศ
- เมนู Volumes เป็นเมนูจดั การเกีย่ วกับการคดิ พ้นื ท่ีและปรมิ าตร
- เมนู Mosaic Editor เป็นเมนูท่ีปรับแก้สีของภาพออร์โธจริงท่ีได้จากการผสมสีภาพเข้าด้วยกัน
โดยวธิ โี มเสก (Mosaic)
- เมนู Index Calculator เป็นเมนูคานวณขอ้ มลู Index จากการประมวลผล

แสดงเครอื่ งมือส่วน View Toolbar
ส่วนท่ี ๓ Processing Toolbar คอื เครื่องมอื จดั การการประมวลผลขอ้ มูล ประกอบด้วย
- เมนู Processing เป็นแถบเมนูที่แสดงการประมวลผล ๓ ข้ันตอน ได้แก่ ๑.Initial Processing,
๒. Point Cloud and Mesh, ๓. DSM Orthomosaic and Index, แถบแสดงเปอร์เซ็นต์ของก า ร
ประมวลผล (Current/Total), คาสั่งเร่ิมประมวลผลข้อมูล (Start), คาสั่งยกเลิกการประมวลผลข้อมูล
(Cancel)
- เมนู Log Output เป็นแถบเมนูที่แสดงคาส่ังต่างๆ ที่ผู้ใช้งานได้เลือก และผลของการเลือก
คาส่ัง หรือผลการประมวลผลขอ้ มูล ในรปู แบบไฟล์ Log
- เมนู Processing Options เป็นเมนูเกี่ยวกับการต้ังค่าการประมวลผล และตั้งค่าผลลัพธ์จาก
การประมวลผลท้ัง ๓ ข้นั ตอน

แสดงเคร่ืองมือส่วน Processing Toolbar

๑๗๓

ขนั้ ตอนการประมวลผลข้อมลู ภาพถา่ ยโดยโปรแกรม Pix4Dmapper แบ่งออกเป็น ๓ ข้นั ตอน ดงั นี้
ข้ันตอนท่ี ๑ Initial Processing ขั้นตอนนี้เป็นการคานวณตาแหน่งของภาพ การปรับแก้
การจับคู่ภาพเพื่อสร้างจุดโยงยึดสาหรับเชื่อมจุดภาพแบบอัตโนมัติ (Auto Tie Point) และการโยงยึดค่า
พิกัดด้วยจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) เพ่ือให้โปรแกรมคานวณปรับแก้จุดโยงยึด
(Tie Point) ให้ถกู ตอ้ งมากย่ิงข้ึน
ข้ันตอนที่ ๒ Point Cloud and Mesh เป็นขั้นตอนการสร้างพอยท์คลาวด์ (Point Cloud) โดย
การเพ่ิมจานวนของจุดโยงยึด (Tie Point) ซ่ึงหากตั้งค่าพารามิเตอร์ในการประมวลผลสูง จะส่งผลให้
ผลลัพธม์ ีค่าความถกู ต้องเชงิ เรขาคณิตทแี่ ม่นยามากขึ้น และเป็นขั้นตอนท่ีใชเ้ วลาในการประมวลผลมากสุด
และสร้างข้อมูลพ้ืนผิวแบบเวกเตอร์ (Mesh Model) จากพอยท์คลาวด์ (Point Cloud) เพ่ือใช้ในการ
ประมวลผลขอ้ มลแบบจาลองความสงู ภมู ิประเทศ (Digital Surface Model, DSM) ตอ่ ไป
ข้ันตอนที่ ๓ DSM Orthomosaic and Index เป็นขั้นตอนการสร้างแบบจาลองความสูง
ภมู ิประเทศ (Digital Surface Model, DSM) การสรา้ งจะจัดเก็บในรปู แบบราสเตอร์ โดยรวมความสูงของ
สิ่งปกคลุมพ้ืนผิวของโลก เช่น ส่ิงปลูกสร้าง ต้นไม่ พุ่มไม้ เป็นต้น และการสร้างเป็นออร์โธจริง (True
Orthophoto) คือการนาแบบจาลองความสูงภูมิประเทศ (Digital Surface Model, DSM) และ
แบบจาลองภมู ิประเทศเชิงเลข (Digital Elevation Model, DTM) มาประมวลผลแก้ไขความผิดพลาดทาง
เรขาคณติ รวมทงั้ การผสมสีภาพเขา้ ดว้ ยกันโดยวิธีโมเสก (Mosaic) และทาการแก้ไขสขี องวตั ถุภายในภาพ

แผนผังแสดงขัน้ ตอนการประมวลผลข้อมลู ภาพถ่ายโดยโปรแกรม Pix4Dmapper

๑๗๔

๕.๒.๒ ขน้ั ตอนการประมวลผลข้อมูลภาพถา่ ยโดยใช้โปรแกรม Pix4Dmapper
๕.๒.๒.๑ สรา้ ง Project และเลอื ก New Project ตามข้อ 



แสดงการสร้าง Project

๕.๒.๒.๒ ตงั้ ชอ่ื Project

ต้งั ชอื่ Project ในชอ่ ง Name: และเลือก Folder ที่บนั ทึก Project ในชอ่ ง

Create In: โดยคลกิ ปุ่ม Browse… หา Folder ทีต่ ้องการจดั เกบ็

จากน้นั คลิกปุ่ม Next>

แสดงการตั้งชื่อ Project และเลอื ก Folder ท่ีบันทึก Project

๑๗๕

๕.๒.๒.๓ นาเขา้ (Import) ภาพถา่ ย
นาเข้า (Import) ภาพถา่ ยโดยคลิกปุ่ม Add Images... หรอื Add directories...

ตามข้อ  จากนั้นคลิกปมุ่ Open



แสดงการนาเขา้ (Import) ภาพถ่าย (๑)
เมอื่ นาเข้า (Import) ภาพถา่ ยเข้ามาแล้วเสรจ็ จากนนั้ คลิกปมุ่ Next>

แสดงการนาเขา้ (Import) ภาพถ่าย (๒)

๑๗๖

๕.๒.๒.๔ การกาหนดระบบพกิ ดั จากตวั อยา่ งใช้คา่ พิกัดในระบบ UTM WGS84

ให้เลือก Coordinate System เป็น WGS84 โดยคลิกปุ่ม Edit (ตามข้อ ) -->

Advanced Coordinate Option (ตามข้อ ) --> From List.. (ตามข้อ ) --> Datum:

World Geodetic System1984 ( ต า ม ข้ อ ) --> Coordinate System: WGS84

(ตามข้อ ) จากน้ันคลิกปุ่ม OK และคลิกปุ่ม OK อีกครั้งเพ่ือกลับไป

ท่หี น้าตา่ ง Image Properties



แสดงการเลือก Coordinate System (๑)






แสดงการเลอื ก Coordinate System (๒)

๑๗๗

๕.๒.๒.๕ กรณี ๑ ประมวลผลข้อมูลจากอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขึ้นลงแนวด่ิง

(Fixed Wing Hybrid UAV) ยีห่ ้อ CHCNAV รุ่น P๓๑๖

ทาการนาเข้า (Import) ข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior

Orientation) หรือ File CSV ค่าตาแหน่งของภาพถ่ายท่ีได้เตรียมไว้ โดยคลิกปุ่ม From File...

(ตามข้อ ) --> File Format : Latitude, Longitude, Altitude (ตามข้อ ) --> Browse...

--> เลือก File CSV ท่ีเตรียมไว้ (ตามข้อ ) แล้วทาการคลิกปุ่ม OK เพื่อนาเข้าข้อมูล

คา่ พารามิเตอรก์ ารจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation)

กรณี ๒ ประมวลผลข้อมูลจากอากาศยานไร้คนขับชนิดปีกหมุน (Multirotor) ยี่ห้อ

DJI รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ ไม่ต้องทาการนาเข้า (Import) เน่ืองจากข้อมูลค่าพารามิเตอร์

การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation) ซึ่งประกอบด้วยตาแหน่ง (Position) และการเอียง

(Orientation) ที่ได้จากอากาศยานฯ จะอยู่ในรูปไฟล์ Log ที่บันทึกลงบนภาพถ่าย ส่งผลให้ข้อมูล

ขา้ งต้นปรากฏโดยอตั โนมตั ิหลังจากการนาเข้าภาพถา่ ย

แสดงขอ้ มูลหลังการนาเข้าภาพถา่ ยจากอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปกี ตรึงขนึ้ ลงแนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV)
ย่ีห้อ CHCNAV รนุ่ P๓๑๖ (กรณี ๑)

๑๗๘






แสดงการนาเขา้ (Import) File CSV ค่าตาแหนง่ ของภาพถ่ายของขอ้ มูลจากอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปกี ตรึงขน้ึ ลง
แนวดิ่ง (Fixed Wing Hybrid UAV) ยีห่ อ้ CHCNAV รุน่ P๓๑๖

๑๗๙

แสดงขอ้ มลู หลังการนาเข้าภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขบั ชนิดปกี หมนุ (Multirotor)
ย่หี อ้ DJI รนุ่ Phantom4 Pro V.2 (กรณี ๒)

๑๘๐

๕.๒.๒.๖ เมื่อนาเข้า (Import) ภาพถ่ายและข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก
(Exterior Orientation)
เมื่อนาเข้า (Import) ภาพถ่ายและข้อมูลค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก

(Exterior Orientation) ซ่ึงประกอบด้วยตาแหน่ง (Position) และการเอียง (Orientation)
ของภาพถ่าย เข้ามาเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทาการตรวจสอบข้อมูลท่ีนาเข้า จากน้ันคลิกปุ่ม Next

แสดงผลหลงั การนาเขา้ (Import) ภาพถ่าย
และข้อมลู ค่าพารามิเตอร์การจัดภาพภายนอก (Exterior Orientation)

๑๘๑

๕.๒.๒.๗ ตรวจสอบและเลอื กระบบพิกัดที่ตอ้ งการ จากนั้นคลกิ ปุ่ม Next

แสดงการตรวจสอบและเลอื กระบบพิกัดทตี่ ้องการของผลลพั ธ์
๕.๒.๒.๘ ทาการเลอื กผลลพั ธ์ (Product output) ทีต่ อ้ งการ

ทาการเลือกผลลัพธ์ (Product output) ท่ีต้องการสาหรับข้อมูลตัวอย่างให้เลือก
ไป ที่ 3D Map แล้วทาการคลิกปุ่ม Finish เป็นการสิ้นสุดการกาหนดค่า Project ใหม่ใน
โปรแกรม

แสดงการเลือกผลลัพธ์ (Product output) แบบ 3D Map

๑๘๒

แสดงหน้าจอหลงั นาเข้า (Import) ภาพถ่ายและข้อมูลค่าพารามเิ ตอร์การจดั ภาพภายนอก
(Exterior Orientation)

๕.๒.๒.๙ การประมวลผล Pix4Dmapper ขัน้ ตอน Initial Processing (Step 1)
มีข้ันตอน ดังน้ี

(๑) เลือกคาสงั่ Processing Options ตามข้อ  จากน้ันทาเคร่ืองหมายถกู ที่คาส่งั
๑.Initial Processing ตามข้อ  ทาการต้ังค่าตามที่ผู้ใช้งานต้องการ และคลิกปุ่ม OK





แสดงการเลอื กคาสั่ง Initial Processing

๑๘๓

อธบิ ายการตัง้ ค่า General ในขน้ั ตอน Initial Processing ดงั น้ี
- Keypoints Image Scale ผ้ใู ชง้ านสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่
Full : ใหค้ วามถูกต้องสูง อาจใชเ้ วลาในการประมวลผลมาก
Rapid : ประมวลผลอยา่ งรวดเร็ว ความถูกต้องน้อยกว่าแบบแรก
Custom : ประมวลผลโดยกาหนด Image Scale ความถกู ต้องมากนอ้ ยขึน้ อยู่การลดขนาดของ

Image Scale

แสดงตวั อยา่ งการตงั้ ค่า General ในขั้นตอน Initial Processing
อธบิ ายการต้ังคา่ Matching ในขน้ั ตอน Initial Processing ดังนี้
- Matching Image Pairs ผใู้ ชง้ านสามารถเลือกได้ ๓ รปู แบบ แตใ่ นกรณีการบนิ สารวจเพือ่ จัดทา
แผนทเี่ ปน็ การบนิ ตามแนวบินทกี่ าหนด และมีการตัง้ คา่ ความสงู บิน สว่ นซอ้ นและส่วนเกย
- ทาใหต้ ้องเลือกแบบ Aerial Grid and Corridor

๑๘๔

แสดงตัวอย่างการต้ังค่า Matching ในขัน้ ตอน Initial Processing
อธบิ ายการต้ังคา่ Calibration ในขนั้ ตอน Initial Processing ดงั นี้
- Targeted Number of Keypoints คือ การกาหนด Keypoints สาหรับสร้างจุดโยงยึด
(Tie Point) และพอยท์คลาวด์ (Point Cloud)
- Calibration คือ การกาหนดค่า Camera internal และ External parameter ให้เหมาะสม
ประกอบด้วย

Calibration Method ได้แก่ Standard (Default), Alternative (สาหรับภาพท่ีมี
รายละเอียดภาพต่า เช่น พ้ืนราบ), Accurate Geolocation and Orientation (สาหรับภาพท่ี
มรี ายละเอยี ดภาพและความถูกต้องสงู )

Camera Optimization ได้แก่ Internal Parameters (ข้ึนอยู่กับคุณภาพของกล้องท่ี
ใช้ ปกตเิ ลอื ก All (default)), External Parameters (ปกติเลือก All (default))

๑๘๕

แสดงตัวอย่างการตง้ั ค่า Calibration ในขั้นตอน Initial Processing
(๒) หลังจากตั้งค่าแล้วเสร็จ ส่ังให้โปรแกรมเริ่มการประมวลผลในข้ันตอน Initial

Processing (Step ๑) โดยให้เลือกเฉพาะ ๑.Initial Processing ในด้านซ้ายล่างของหน้าจอ
และทาการยกเลิกการประมวลผล ๒.Point Cloud and Mesh และ $.DSM Orthomosaic and
Index ดังรปู เม่ือเลอื กแล้วกให้คลกิ ปมุ่ Start ด้านล่าง

แสดงการประมวลผลขัน้ ตอน Initial Processing

๑๘๖

แสดงผลการประมวลผลขัน้ ตอน Initial Processing
(๓) หลังการประมวลผลขั้นตอน Initial Processing แล้วเสร็จ หน้าจอจะปรากฏ
รายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) โดยอัตโนมัติ พร้อมทั้งแสดงผลการ
ประมวลผลภาพถ่าย ให้ทาการปิดหน้าต่างไป เพื่อทาการโยงยึดค่าพิกัดตาแหน่งด้วยจุดควบคุม
ภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP)

๑๘๗

แสดงรายงานผลการประมวลผลข้อมลู (Quality Report) ในข้นั ตอน Initial Processing

๑๘๘

๕.๒.๒.๑๐ ในกรณีแผนการบนิ มีจานวนหลายบลอ็ ก
ผู้ใช้งานสามารถนาเข้าข้อมูลและประมวลผลในข้ันตอน Initial Processing แยก

แต่ละบล็อก และนา Project แต่ละบล็อกมาประมวลผลเพ่ือรวมพ้ืนที่ในการบินสารวจทั้งหมดได้
ดงั น้ี

(๑) สร้าง Project และเลือก New Project ตามข้อ 



แสดงการสร้าง Project

(๒) ตั้งช่ือ Project ในช่อง Name: และเลือก Folder ที่บันทึก Project ในช่อง

Create In: โดยคลิกปุ่ม Browse… หา Folder ท่ีต้องการ เลือก Project Type เป็น

Project Merged from Existing Projects จากนั้นคลกิ ปมุ่ Next>

แสดงการรวม Project (Project Merged from Existing Projects)

๑๘๙

(๓) คลิกปุ่ม Add Projects… เลือก Project ท่ีต้องการรวม (Project Merged from

Existing Projects) โดยคลิกปุ่ม OK เมื่อครบตามท่ีต้องการแล้ว จากนั้นคลิกปุ่ม

Next> และคลกิ ปุ่ม Finish ตามลาดับ

แสดงการเลือก Project ท่ีต้องการรวม (Project Merged from Existing Projects) (๑)

๑๙๐

แสดงการเลอื ก Project ท่ีตอ้ งการรวม (Project Merged from Existing Projects) (๒)
แสดงการเลือก Project ทต่ี ้องการรวม (Project Merged from Existing Projects) (๓)

๑๙๑

แสดงการเลอื ก Project ทตี่ ้องการรวม (Project Merged from Existing Projects) (๔)
(๔) จากนั้นโปรแกรมจะทาการประมวลผลในขั้นตอน Initial Processing ให้โดย

อัตโนมัติ หลังการประมวลผลแล้วเสร็จ หน้าจอจะปรากฏรายงานผลการประมวลผลข้อมูล
(Quality Report) โดยอัตโนมัติ พร้อมทั้งแสดงผลการประมวลผลภาพถ่าย ให้ทาการปิดหน้าต่าง
ไป เพอื่ ทาการโยงยึดค่าพกิ ดั ตาแหนง่ ด้วยจดุ ควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP)

แสดงประมวลผลในขัน้ ตอน Initial Processing ของการรวม Project

๑๙๒

แสดงรายงานผลการประมวลผลในข้นั ตอน Initial Processing ของการรวม Project
๕.๒.๒.๑๑ การโยงยดึ ค่าพกิ ัดตาแหนง่ ด้วยจดุ ควบคุมภาพถา่ ย (Ground Control Point,

GCP) โดยเครื่องมือ GCP Manager มีข้ันตอนดังน้ี
(๑) นาเข้าข้อมูลจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) โดยเลือกไปท่ี
เมนู Project --> GCP/MTP Manager… เพื่อเปิดหน้าต่างท่ีใช้สาหรับนาเข้าข้อมูล ทาการ
กาหนดค่าพิกัดของจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) ท่ีจะนามาใช้ โดยการ
คลิกปุ่ม Edit โปรแกรมจะกาหนดค่าตั้งต้นให้เป็นระบบพิกัดท่ีกาหนดไว้ หากจุดควบคุม
ภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) ที่นาเข้าไม่ได้ใช้ระบบพิกัดเดียวกันให้ทาการเปล่ียนให้
ถูกตอ้ ง เมอื่ กาหนดเสรจ็ ทาการคลกิ ปมุ่ OK

๑๙๓

แสดงคาส่ัง GCP/MTP Manager

(๒) ทาการนาเข้าจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) โดยคลิกปุ่ม

Import GCP… เลือก Coordinate Order: สาหรับข้อมูลตัวอย่างให้ใช้ X, Y, Z แล้ว

ทาการคลิกปุ่ม Browse… หา Folder ท่ีจัดเก็บข้อมูลจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground

Control Point, GCP) แลว้ คลกิ ปุ่ม OK เพอ่ื นาเขา้ ข้อมูลดังกลา่ ว

แสดงการนาเข้าจุดควบคุมภาพถา่ ย (Ground Control Point, GCP) (๑)


Click to View FlipBook Version