The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) (ปี 2563)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

๙๖

แสดงหนา้ จอการเชอ่ื มต่ออุปกรณค์ วบคุมอากาศยาน (Controller) กบั อากาศยานฯ

  
 

 


แสดงหนา้ จอหลกั แอปพลิเคชัน (Application) “DJI GO๔”

๙๗

ส่วน ประกอบต่างๆ ใน แ อปพลิเค ชัน ( Application) “DJI GO๔” อธิบายลักษณะ
การใชง้ าน ดงั นี้

 แถบสถานะของอากาศยานฯ ประกอบด้วย แถบสถานะทงั้ หมด ๓ แบบ พร้อมแสดงข้อความ
บอกสถานะพร้อมใช้งานของอากาศยานฯ หรือแสดงการแจ้งเตือนตา่ งๆ ได้แก่

- แถบสถานะสีเขยี ว หมายถึง สัญญาณดาวเทียมเพยี งพอ และอากาศยานฯ มคี วามพร้อมในการ
บิน

แสดงแถบสถานะสีเขยี ว

- แถบสถานะสีเหลือง หมายถงึ สัญญาณดาวเทยี มไมเ่ พียงพอ ต้องใชค้ วามระมดั ระวังในการบิน
หรือยังไม่ควรทาการบิน

แสดงแถบสถานะสีเหลอื ง

- แถบสถานะสแี ดง หมายถึง ไม่สามารถนาอากาศยานฯ ขึ้นบินได้ และมีข้อความแจ้งเตือนให้
แกไ้ ขปัญหา หากได้รับการแก้ไขแถบสถานะจึงจะเปลีย่ นสี

แสดงแถบสถานะสแี ดงพร้อมข้อความทีใ่ ห้ทาการแกไ้ ข

 แถบแสดงสถานะ ประกอบด้วย จานวนดาวเทียมที่รับสัญญาณได้, คุณภาพสัญญาณในการ
รบั ส่งภาพ, คณุ ภาพสัญญาณการรับส่งสัญญาณของอปุ กรณค์ วบคุมระยะไกล (Remote Control) ส่อู ากาศยานฯ
, คุณภาพสัญญาณการรบั ส่งวีดีโอ

 แถบแสดงการตั้งคา่ การถ่ายภาพหรือวดี ีโอ และพ้ืนท่กี ารจัดเกบ็ ข้อมูลที่เหลือ
 แถบแสดงสถานะแบตเตอรี่
 ปุ่มการต้งั คา่ ทว่ั ไป (General Settings)
 ปุ่มการสัง่ การบินข้นึ หรอื บนิ กลบั มายงั จุดปล่อย (Home)
 แถบแสดงตาแหน่งอากาศยานฯ และแผนท่ีฐาน (Base Map)
 แถบแสดงระยะห่างระหว่างอากาศยานฯ กับอุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
และความสงู ของอากาศยานฯ โดยวัดจากพ้นื ตอนทขี่ ้นึ บนิ
 แถบแสดงค่ามุมกล้องของอากาศยานฯ ปมุ่ เริม่ บันทึกภาพหรือวีดโี อ และปมุ่ การตั้งค่าเกี่ยวกับ
ภาพถ่ายและวดี ีโอ
 ป่มุ เรยี กดภู าพถา่ ยและวดี ีโอ

๙๘

การตัง้ คา่ ทวั่ ไป (General Settings) บนแอปพลเิ คชัน (Application)
“DJI GO4” โดยการกดปุ่ม (General Settings) และจะปรากฏแถบเมนู ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) แถบ General Settings คอื การตง้ั ค่าท่ัวไป ประกอบดว้ ย
- Units คือ การต้งั ค่าหนว่ ยวดั สามารถเลือกหน่วยเปน็ เมตรตอ่ วนิ าที (m/s), กิโลเมตรต่อชวั่ โมง
(km/h)
- Camera ในแถบ Long Press Action คอื การตง้ั คา่ คาสั่งการกดท่ีหน้าจอ
- Live Streamng คือ การตัง้ คา่ การถ่ายทอดสด
- Map คอื การตั้งค่าเก่ยี วกบั แผนท่ี เช่น การเลือกตั้งค่าแผนที่ การเปิดปดิ การแสดงแนวบิน การ
เปิดปิดการใช้งานแผนท่ีฐาน
- Video Cache คอื การตง้ั ค่าการจัดการวดี ีโอ
- Warnigs คอื การกาหนดคา่ แจ้งเตือนต่างๆ
- Other คอื อน่ื ๆ

แสดงแถบ General Settings (๑)

๙๙

แสดงแถบ General Settings (๒)
(๒) แถบ Main Controller Settings เป็นแถบที่ตง้ั ค่าอุปกรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller)
การต้ังคา่ ทส่ี าคัญ ได้แก่

- การตง้ั ค่า Return to Home เป็นการต้ังคา่ ความสูงในการบนิ เมือ่ อากาศยานฯบนิ
กลับมายังจดุ ปล่อย (Home) เมื่อใช้คาสง่ั Return to Home โดยสามารถตัง้ คา่ ความสูงบินได้
ในช่วง ๒๐-๕๐๐ เมตร จากตัวอย่างนี้กาหนดความสงู บินของการใชค้ าส่ัง Return to Home
เท่ากบั ๙๕ เมตร

แสดงแถบ Main Controller Settings (๑)

๑๐๐

- การตั้งคา่ ความสงู บนิ สูงสุด (Set Max Flight Altitude) เป็นการตั้งคา่ ความสงู ในการ
บนิ สูงสดุ ของอากาศยานฯ โดยสามารถต้งั ค่าความสูงบินได้ในชว่ ง ๒๐-๕๐๐ เมตร จากตัวอย่างน้ี
กาหนดความสูงบินสูงสดุ เท่ากบั ๓๐๐ เมตร

- การต้งั ค่าระยะทางสงู สุด (Set Max Flight Altitude) เปน็ การตงั้ ค่าระยะหา่ งระหวา่ ง
อากาศยานฯ กบั อุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) สูงสุด โดยสามารถต้งั คา่ ระยะทาง
ไดใ้ นชว่ ง ๑๕-๘๐๐๐ เมตร จากตัวอยา่ งน้ีกาหนดระยะทางสงู สุด ๓๐๐๐ เมตร หรอื ๓ กิโลเมตร

แสดงแถบ Main Controller Settings (๒)
(๓) แถบ Visual Navigation Settings คอื การกาหนดเกย่ี วกบั ตาแหนง่ ของ
อากาศยานฯ

๑๐๑

แสดงแถบ Visual Navigation Settings
(๔) แถบ Remote Controller Settings เปน็ การตงั้ คา่ อปุ กรณค์ วบคมุ ระยะไกล
(Remote Control) โดยปกติแล้วระบบควบคุมการบนิ จะถูกต้ังอย่ใู นโหมดท่ี ๒ คันบังคบั ด้านซา้ ยใช้
ควบคมุ การข้ึนลงและทศิ ทาง, คันบงั คับด้านขวาใช้ควบคมุ การเดินหนา้ , ถอยหลัง ซ้ายและขวา ในส่วนป่มุ
หมนุ ควบคมุ การเอียงจะใชค้ วบคุมการเอยี งของกล้อง

แสดงแถบ Remote Controller Settings

๑๐๒

(๕) แถบ Image Transmission Settings เป็นการตั้งค่าสญั ญาณในการรบั ส่งภาพในกรณีที่
เป็นวดิ ีโอ

แสดงแถบ Image Transmission Setting
(๖) แถบ Aircraft Battery เปน็ แถบในการตั้งค่าเก่ยี วกับแบตเตอร่ี เพอื่ ให้การบินมีความ
ปลอดภัยมากขึ้น เชน่ การแจ้งเตอื นสถานะแบตเตอรี่ และการตั้งค่าให้อากาศยานฯ บินกลบั ในกรณีที่
แบตเตอรีเ่ หลือน้อยตามท่ีกาหนด จากตัวอย่างน้ีตั้งคา่ ให้มีการแจง้ เตือนเม่ือแบตเตอรี่คงเหลอื ๓๐
เปอร์เซ็นต์ และให้อากาศยานฯ บนิ กลบั เมอื่ แบตเตอรเ่ี หลือ ๒๐ เปอรเ์ ซน็ ต์

แสดงแถบ Aircraft Battery

๑๐๓

(๗) แถบ Gimbal Settings คอื การต้ังคา่ ของขากล้อง Gimbal

แสดงแถบ Gimbal Settings
๓.๒.๖.๒ การใชง้ านแอปพลิเคชนั (Application) “Pix4D”

“Pix4D” เป็นแอปพลิเคชัน (Application) สาหรับการวางแผนการบินอากาศยาน
ไรค้ นขบั เพือ่ ทาแผนท่ีออรโ์ ธ รองรับอากาศยานไร้คนขับเครอื่ งหมายการค้า DJI Parrot และ
Yuneec โดยเปน็ แอปพลเิ คชัน (Application) ท่ีใชง้ านในแทบ็ เล็ต (Tablet) หรอื โทรศัพท์เคลือ่ นท่ี
แบบสมาร์ตโฟน (Smart phone) และรองรบั ระบบปฏบิ ตั ิการ IOS และ Android

แสดงแอปพลเิ คชัน (Application) “Pix4D”

๑๐๔

ข้ันตอนการใช้งาน ดงั นี้
(๑) เม่อื ดาวน์โหลดแอปพลิเคชนั (Application) “Pix4D” สมัครเข้าใช้งานโดยการ

ลงทะเบียนด้วย ชอ่ื -นามสกุล และอีเมล์ (Email)

แสดงการลงทะเบยี นแอปพลิเคชัน (Application) “Pix4D”
(๒) ทาการลงช่ือเข้าใชง้ าน ดว้ ยอีเมล์ (Email) และรหัสผา่ นท่ีผ้ใู ช้งานได้กาหนดไว้

แสดงการลงชอื่ เขา้ ใช้งาน
(๓) ปรากฏหน้าตา่ งในการใช้งาน จากนั้นเลือกปมุ่ SETTINGS
เพื่อทาการตั้งคา่ เบ้ืองตน้ ในการใช้งานแอปพลเิ คชัน (Application) “Pix4D”

๑๐๕

แสดงหน้าตา่ งในการใช้งานแอปพลเิ คชัน (Application) “Pix4D”
แสดงการตั้งค่าร่นุ ของอากาศยานฯ และกล้องถ่ายภาพที่ใช้งาน

แสดงการตง้ั คา่ ต่างๆ เกย่ี วกับการวางแผนการบิน

๑๐๖

 




แสดงหนา้ ตา่ งสาหรบั วางแผนการบนิ

สว่ นประกอบต่างๆ ในแอปพลิเคชนั (Application) “Pix4D”
ประกอบดว้ ย แถบเมนู, แถบการตงั้ คา่ Flight Plan, แถบแสดง Result การต้งั ค่า

Flight Plan, แผนท่ีแสดงพ้นื ทีส่ ารวจ, แถบแสดงสถานะ, แถบจัดการ Flight Plan อธิบาย
ลักษณะการใช้งาน ดังน้ี

 แถบเมนู ประกอบด้วย ปมุ่ Home, ปมุ่ กล้อง และปุม่ setting การใช้งาน มดี ังน้ี

ปุ่ม Home ใช้เมอ่ื ตอ้ งการกลับไปยงั หนา้ ต่าง Plan new mission

ปมุ่ กล้อง สาหรับเรยี กดภู าพ Real time จากกล้อง

ปุม่ Setting คือ ปุ่มตง้ั คา่ การบนิ เมอื่ เลือกปุ่มนี้จะปรากฏหน้าต่าง
ดงั ต่อไปนี้

๑๐๗

แสดงหน้าตา่ งของปุ่ม Setting และตวั อยา่ งการตั้งคา่
อธบิ ายการตงั้ ค่า ดงั นี้
ปุ่ม Setting คอื ปุ่มตั้งคา่ การบนิ ประกอบด้วยโหมด Normal และ โหมด Advanced โดยปกติ
การบนิ ถา่ ยภาพเพือ่ ทาแผนท่ีภาพถา่ ยทางอากาศเพื่อการรังวัด จะเลือกโหมด Advanced การต้ังค่าการ
บนิ ในโหมด Advanced ประกอบด้วย
Angle of camera : การกาหนดมุมของกล้อง โดยเลือก ๙๐ องศา
Front overlap : การกาหนดส่วนซอ้ นด้านหน้า โดยกาหนดไม่น้อยกว่า ๗๕ เปอรเ์ ซน็ ต์
Side overlap : การกาหนดสว่ นซอ้ นด้านข้าง โดยกาหนดไมน่ ้อยกวา่ ๖๐ เปอรเ์ ซ็นต์
Picture trigger mode มี ๒ รปู แบบ ได้แก่

Safe mode : ขณะบินถา่ ยภาพ เม่ือถงึ ตาแหน่งถา่ ยภาพ อากาศยานฯ
จะหยุดเคลอื่ นทที่ ุกคร้ัง เปน็ โหมดท่ีใชแ้ บตเตอรม่ี ากท่ีสุด

Fast mode : ขณะบินถ่ายภาพ เม่ือถึงตาแหน่งถา่ ยภาพ อากาศยานฯ
จะไมห่ ยดุ เคล่อื นท่ี เปน็ โหมดทีใ่ ช้แบตเตอรน่ี อ้ ยท่สี ุด
Drone Speed : กาหนดความเรว็ บนิ ถา่ ยภาพของอากาศยานฯ สามารถเลอื กไดห้ ลาย
แบบ ดังนี้

Slow : ใชค้ วามเร็วเคล่ือนที่ ๖๐% ของความเร็วเคล่อื นท่สี ูงสุด
Slow+ : ใชค้ วามเร็วเคล่อื นท่ี ๗๐% โดยปกตจิ ะกาหนดรูปแบบนี้
Normal : ใช้ความเร็วเคล่อื นท่ี ๘๐%
Normal+ : ใช้ความเร็วเคลื่อนท่ี ๙๐%
Fast : ใช้ความเร็วเคล่ือนท่ี ๑๐๐%

๑๐๘

White balance : การเลอื กปรับริรบั แสง โดยเลอื กใหเ้ หมาะสมกับสภาพอากาศขณะ
บนิ ถ่ายภาพ มใี หเ้ ลือก ๓ รูปแบบ ไดแ้ ก่ Sunny, Cloudy และ Auto

 แถบการตั้งค่า Flight Plan ประกอบดว้ ย แถบแสดงค่า Ground Sample
Distance (GSD) และแถบแสดงความสงู บิน

แถบแสดงคา่ Ground Sample Distance (GSD)
คือ สญั ลกั ษณบ์ อกค่า Ground Sample Distance (GSD)
หนว่ ยเซนติเมตรตอ่ พิกเซล

แถบแสดงความสูงบิน คือ สญั ลกั ษณ์บอกคา่ ระดับความสูงเหนือพ้นื ที่
ทาการบิน หน่วยเมตร

 แถบแสดง Result การตั้งคา่ Flight Plan ประกอบด้วยแถบทแี่ สดงตาแหน่งของ
อากาศยานฯ และตาแหนง่ พื้นทสี่ ารวจ, โหมดเลือกแสดงแผนท่ฐี าน, พ้ืนทีแ่ ละเวลาทีใ่ ช้ทง้ั หมด
สาหรับบินสารวจซ่ึงเป็นผลมาจากกการตั้งค่าการบินจากปุ่ม Setting อธิบายสัญลักษณ์ ดังน้ี

คอื การเลื่อนหนา้ จอกลบั มาที่ตาแหน่งอุปกรณแ์ สดงผล

คือ การเล่ือนหนา้ จอกลบั มาท่ีหนา้ ตา่ งแผนการบิน

คอื โหมดการเลือกแสดงแผนที่ฐาน

คือ ขนาดของพ้นื ที่ทที่ าการบิน (โดยประมาณจากความกว้างและยาว
ท่ีสดุ ) และเวลาโดยประมาณที่ใชใ้ นการบินถ่ายภาพ โดยไม่รวมเวลา
ขณะอากาศยานฯ บนิ ขึ้นและลงจอด

 แผนท่แี สดงพน้ื ทส่ี ารวจ คอื บรเิ วณท่แี สดงพ้ืนท่ที ่ตี ้องการสารวจ โดยผูใ้ ชง้ าน
จะตอ้ งกาหนดใหค้ รอบคลุมในบริเวณพืน้ ท่ีท่ีต้องการ นอกจากนี้แผนท่ีดงั กล่าวยังแสดงเส้นแนว
การบิน จดุ เร่มิ ตน้ -จุดส้ินสุดในการบนิ สารวจของอากาศยานฯ โดยการเปล่ยี นมุมในการบนิ
สามารถใช้นิว้ ลากหมนุ ตามลูกศรทป่ี รากฏบนอุปกรณแ์ สดงผล

๑๐๙

แสดงแผนทแี่ สดงพืน้ ที่สารวจ
 แถบแสดงสถานะ คือ แถบทีแ่ สดงสถานะของอากาศยานฯ ณ ขณะน้ัน
ประกอบด้วย

- ชอื่ และรุ่นของอากาศยานฯ ทใี่ ช้
- กลอ้ งทต่ี ดิ บนอากาศยานฯ
- สถานะแบตเตอรี่ของอากาศยานฯ
- สถานะแบตเตอรีข่ องอปุ กรณ์ควบคมุ อากาศยานฯ
- จานวนดาวเทยี มทรี่ ับสัญญาณได้
- พืน้ ท่ีบันทกึ ข้อมูลท่ีเหลือในหน่วยความจาภายนอก
ชนิด MicroSD Card
- ความเร็วในการเคลื่อนที่, ความสงู บินของอากาศยานฯ
และระยะหา่ งระหว่างอากาศยานฯ กับอุปกรณ์ควบคมุ
อากาศยานฯ

 แถบจดั การ Flight Plan ประกอบด้วย Reset Flight Plan, บันทึก Flight Plan,
Start Flight Plan อธิบายการใชง้ าน ดังนี้

๑๑๐

Reset Flight Plan คอื การยกเลิกแผนการบนิ ทว่ี างแผนไว้

บนั ทึก Flight Plan คอื การบันทกึ แผนการบิน

Start Flight Plan คือ การทาการบินตามแผนการบนิ ทว่ี างแผนไว้

๓.๒.๗ การวางแผนการบิน
การวางแผนการบนิ เปน็ ขนั้ ตอนท่กี าหนดความละเอียดของภาพ คณุ ภาพของภาพ พอยด์คลาวด์

และความถูกต้องเชิงตาแหน่ง โดยมปี ัจจยั ที่ตอ้ งคานึงถึงสาหรบั การวางแผนการบนิ ดงั นี้
- ขนาด Ground Sample Distance (GSD)
- ความสูงบนิ (Flight Altitude)
- ส่วนซอ้ นและส่วนเกยของภาพ (Overlap & Side lap)
- รปู แบบการบนิ
เน่อื งจากอากาศยานไร้คนขบั ย่ีห้อ DJI ร่นุ Phantom๔ Pro V.๒ เปน็ ชนดิ ปีกหมนุ (Multirotor)

จึงสามารถกาหนดรูปแบบการบนิ ได้หลายแบบ ดงั น้ี
แบบที่ ๑ แบบกรดิ (Grid) เป็นการวางแผนการบินโดยสร้างกรอบ ๔ เหลี่ยม เหมาะสาหรบั พืน้ ที่

ที่มรี ูปร่างเปน็ ๔ เหลย่ี ม สามารถปรับมมุ กล้องไดต้ ้ังแต่ ๙๐ องศา (ต้ังฉากกบั พื้นโลก) ถึง ๐ องศา
(หันหนา้ กล้องไปด้านหน้า)

แสดงรูปแบบการบิน แบบกริด (Grid)
แบบที่ ๒ แบบ Polygon สามารถตัง้ คา่ ได้เหมอื นแบบ Grid แต่มคี วามยดื หย่นุ ของขอบเขต
แผนการบนิ มากกวา่ คือสามารถปรับรูปร่างของแผนการบินไดต้ ามต้องการ

๑๑๑

แสดงรูปแบบการบนิ แบบ Polygon
ทั้งนรี้ ปู แบบการบนิ ท้งั ๒ รปู แบบเหมาะกบั การบินถ่ายภาพทาแผนที่ออรโ์ ธ
แบบที่ ๓ แบบ Circular คือ การวางแผนการบิน มลี ักษณะเปน็ วงกลมหรือวงรี เหมาะสาหรบั
การสรา้ งแบบจาลอง ๓ มิติ โดยใหว้ ตั ถทุ ่สี นใจอยู่กง่ึ กลางเส้นทางบนิ

แสดงรปู แบบการบนิ แบบ Circular
แบบท่ี ๔ แบบ Double Grid คือ การวางแผนการบินท่ีมีลกั ษณะการบินคลา้ ยแบบ Grid และ
Polygon คือเปน็ เปน็ เสน้ ตรงเรียงตามแถว แต่ไมส่ ามารถปรับมุมกล้องได้ท่ี ๙๐ องศา มุมกล้องจะหนั เขา้
หาวตั ถุบนพ้นื เพื่อให้เห็นมากกวา่ ภาพมมุ ดิ่ง ชว่ ยในการสร้างแบบจาลอง ๓ มิติ

แสดงรูปแบบการบนิ แบบ Double Grid
ทง้ั นรี้ ปู แบบการบินทง้ั ๒ รูปแบบ เหมาะกบั การบินถา่ ยภาพเพื่อสรา้ งแบบจาลองสามมิติ

๑๑๒

ตวั อย่างการวางแผนการบินถา่ ยภาพทางอากาศด้วยอากาศยานไรค้ นขบั ชนิดชนิดปกี หมนุ
(Multirotor) ยหี่ อ้ DJI รุน่ Phantom๔ Pro V.๒ มีข้นั ตอน ดังนี้

(๑) เขา้ แอปพลิเคชนั (Application) “Pix4D” ปรากฏหนา้ ตา่ ง Plan new mission ดงั ภาพ
ด้านลา่ ง เลือกรปู แบบการบินแบบกรดิ (Grid) โดยคลกิ ที่ GRID for 2D Maps

แสดงการเลือกรปู แบบการบินแบบกรดิ (Grid)
(๒) ปรากฏหน้าตา่ งแสดงตาแหนง่ ของผใู้ ช้งานหรืออปุ กรณ์ควบคุมอากาศยาน (Controller)
ณ ขณะนน้ั (จุดสีฟา้ ) ดังรูป

แสดงจุดสีฟ้าหรือตาแหน่งของอปุ กรณค์ วบคุมอากาศยาน (Controller) ณ ขณะนนั้

๑๑๓

(๓) เริ่มวางแนวการบิน โดยการเลอื่ นสัญลักษณร์ ปู มอื ตามรปู  ไปยังพื้นทีท่ ่ีตอ้ งการบนิ สารวจ
(ใช้ข้อมลู แผนท่ีฐานประกอบการคน้ หาพื้นท่ีที่ตอ้ งการ) ดังรปู



แสดงสญั ลกั ษณก์ ารสรา้ งแนวการบนิ
ทาการสรา้ งแนวบินโดยการสรา้ งกรอบแนวการบนิ (พ้นื ทสี่ เี ขยี ว) ให้ครอบคลมุ พนื้ ท่ที ี่ต้องการ
ตามข้อ  จากน้นั กาหนดขนาด Ground Sample Distance (GSD) ท่ตี ้องการ ตามขอ้  โดยการเลอื ก
ความสงู บิน หน่วยเปน็ เมตร (เลื่อนแถบขน้ึ -ลง เพอ่ื เพ่มิ -ลดความสูงบิน) และตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ
สาหรับการบนิ โดยเลอื กป่มุ Settings ตามข้อ 

๑๑๔





แสดงการสร้างแนวบนิ

แสดงแถบ Settings

๑๑๕

ตัวอยา่ งการตั้งคา่ พารามิเตอร์ต่างๆ สาหรบั การบนิ (Setting) โดยการเลือกปมุ่ Settings -->

เลอื กโหมด Advanced --> อธิบายตัวอย่างการตัง้ ค่า ดงั นี้

Angle of camera : กาหนดมุมของกล้องเปน็ ๙๐ องศา เนื่องจากเปน็ การบิน

ถ่ายภาพสาหรบั จัดทาแผนท่ี

Front overlap : กาหนดส่วนซ้อนดา้ นหน้า ๘๕ เปอรเ์ ซ็นต์

Side overlap : กาหนดสว่ นซอ้ นดา้ นข้าง ๗๐ เปอร์เซน็ ต์

Picture trigger mode : เลอื ก Safe mode เพื่อให้ขณะบินถ่ายภาพ เมื่อถงึ

ตาแหน่งถ่ายภาพ อากาศยานฯ จะหยุดเคลือ่ นที่ทุกครงั้

Drone Speed : กาหนดความเรว็ บนิ ถา่ ยภาพของอากาศยานฯ เป็นแบบ

Slow+ เพื่อใชค้ วามเรว็ ในการเคลื่อนท่ี ๗๐ เปอร์เซ็นต์

White balance : เลือกปรับรรู บั แสง เปน็ Auto

ขอ้ สังเกต : อากาศยานฯ มขี ้อจากดั ดา้ นเวลาทีใ่ ช้ในการบิน จงึ ควรสร้างแนวการบินทใ่ี ช้เวลาไม่
เกิน ๑๕ นาที เนือ่ งจากเวลาที่ปรากฏไม่รวมเวลาในการบนิ ขนึ้ -ลง (Take Off-Landing) ของอากาศยานฯ
หากเวลาจากการสรา้ งแนวการบินเกิน ๑๕ นาที แนะนาให้ผู้ใช้งานแบ่งบลอ็ กในการบิน โดยแต่ละบล็อก
ตอ้ งมสี ่วนซ้อนทบั ระหวา่ งบลอ็ กไม่ตา่ กว่า ๑ แนวบนิ หรอื ทาการปรบั เพม่ิ -ลดความสูงบนิ หรอื กาหนดสว่ น
ซ้อนและส่วนเกยของภาพ (Overlap & Side lap) ให้มีความเหมาะสม เพ่ือให้ใช้เวลาในการบินสั้นลง

(๔) เมอ่ื ไดแ้ นวบนิ ท่ีต้องการแลว้ เลอื กปมุ่ บนั ทกึ Flight Plan หรือในกรณีท่ตี อ้ งการเริ่ม

วางแนวบนิ ใหม่ ใหก้ ด Reset Flight Plan และเม่ือกดบันทึก Flight Plan แล้ว แนวบินที่วางแผน
ไวจ้ ะอยู่ในแถบ Project List

แสดงแถบ Project List

๑๑๖

๓.๒.๘ ขน้ั ตอนการบนิ สารวจ
๓.๒.๘.๑ ขนั้ ตอนการตรวจสอบสถานะและความพรอ้ มในการบนิ (Flight Check) มีดังน้ี
(๑) ประกอบใบพดั เขา้ กบั มอเตอร์ทง้ั ๔ ดา้ น (ข้อสังเกต : จะต้องประกอบใบพดั ทม่ี ี
ขอบสดี าเข้ากบั มอเตอร์ที่มจี ดุ สดี า และประกอบใบพัดทม่ี ขี อบสีเทาเข้ากับมอเตอรท์ ี่มีจุดสีเทา
เท่าน้นั )

แสดงการประกอบใบพดั ของอากาศยานฯ
(๒) ถอดตัวยดึ กลอ้ งออกจากตัวอากาศยานฯ

แสดงตวั ยึดกลอ้ งของอากาศยานฯ
(๓) ตดิ ต้ังแบตเตอรขี่ องอากาศยานฯ ทไี่ ดช้ ารจ์ เตม็ ไวแ้ ล้ว พร้อมตรวจสอบแบตเตอรี่
โดยการสงั เกตระดับไฟแสดงสีเขยี ว ๔ ขดี แสดงถึงระดับแบตเตอรีอ่ ยู่ท่ี ๗๕-๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์

๑๑๗

แสดงการติดตั้งแบตเตอร่ขี องอากาศยานฯ
(๔) เช่ือมตอ่ อปุ กรณค์ วบคุมระยะไกล (Remote Control) กบั อปุ กรณแ์ สดงผลที่ได้
ชารจ์ แบตเตอร่ีเตม็ ไว้แล้ว ดว้ ยสายสญั ญาณ USB พร้อมตรวจสอบคันบังคับและตาแหนง่ เสา
สัญญาณของอุปกรณค์ วบคมุ ระยะไกล (Remote Control) และปรับโหมด P
(Positioning mode) เพ่อื ให้อากาศยานฯ รกั ษาตาแหนง่ ทางราบและความสูงให้อยู่น่ิง

แสดงการประกอบอุปกรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control) และอุปกรณแ์ สดงผล
(๕) เช่ือมต่ออุปกรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control) กับอากาศยานฯ ด้วย

แอปพลเิ คชนั (Application) “DJI GO4” จากนั้นดสู ถานะตา่ งๆ ของอากาศยานฯ หากพบแถบ
สถานะสแี ดงและมีข้อความแจง้ เตือนสถานะอน่ื ใดไม่ปกติ จะไมส่ ามารถนาอากาศยานฯ ขึ้นบนิ ได้
โดยส่วนมากมักจะแจง้ เตือนให้ทาการคารเิ บทเข็มทศิ (Calibration the Compass)
จากนั้นเมื่อกดไปทแ่ี ถบสถานะสีแดง จะแสดงผลหน้าจอ Aircraft Status ดงั นี้

๑๑๘

แสดงหนา้ จอ Aircraft Status ก่อนทาการคารเิ บทเขม็ ทศิ (Calibration the Compass)

(๗) ทาการคาริเบทเข็มทศิ (Calibration the Compass) ของอากาศยานฯ โดยเลือก

ปมุ่ Calibrate ตรงชอ่ ง Compass จะปรากฏหน้าจอแสดงวธิ ีการคาริเบทเข็มทศิ

(Calibration the Compass) ตามขอ้  ให้วางอากาศยานฯ ในแนวราบ แล้วทาการหมุนรอบ

แกน (Rotate) ตามลูกศรท่ปี รากฏในภาพ จนหนา้ จอแสดงภาพใหเ้ ปล่ียนการวางอากาศยานใน

แนวด่ิงตามภาพตามขอ้  แลว้ ทาการหมนุ รอบแกน (Rotate) ตามลกู ศรทีป่ รากฏในภาพเชน่ กัน

หากทาคารเิ บทเข็มทศิ (Calibration the Compass) สาเรจ็ หน้าต่างจะหายไป แล้วจะปรากฏ

สถานะ Normal ตามภาพที่  ตรงช่อง Compass (หากมีการแจ้งเตอื นให้ทาการคาริเบท IMU

ใหต้ ามคาแนะนาบนหนา้ จอจนกวา่ จะเปล่ยี นสถานะเปน็ Normal)

๑๑๙



แสดงการคารเิ บทเข็มทศิ (Calibration the Compass) ในแนวราบ

แสดงการจัดวางอากาศยานฯ เพ่อื ทาการคาริเบทเข็มทิศ (Calibration the Compass) (๑)

๑๒๐



แสดงการคาริเบทเข็มทิศ (Calibration the Compass) ในแนวดิ่ง

แสดงการจดั วางอากาศยานฯ เพ่อื ทาการคารเิ บทเขม็ ทิศ (Calibration the Compass) (๒)

๑๒๑



แสดงหนา้ จอ Aircraft Status หลงั ทาการคารเิ บทเขม็ ทิศ (Calibration the Compass)
๓.๒.๘.๒ ข้นั ตอนการบนิ ถ่ายภาพด้วยอากาศด้วยอากาศยานไรค้ นขับชนิดชนดิ ปีกหมนุ
(Multirotor) ยห่ี ้อ DJI รุ่น Phantom๔ Pro V.๒ ดงั นี้
(๑) เข้าแอปพลิเคชัน (Application) “Pix4D” ทาการเลือกแผนการบินท่ีได้วางแผนไว้
ใน Project List

แสดงการเข้า Project List

๑๒๒

จากนน้ั เลือกปุ่ม Open

แสดงการเลือกแผนการบิน

(๒) เมื่อทาการเช่ือมตอ่ อุปกรณ์ควบคมุ ระยะไกล (Remote Control) กบั อากาศยานฯ
ด้วยแอปพลเิ คชัน (Application) “DJI GO4” แล้ว ข้อมูลสถานะตา่ งๆ พรอ้ มตาแหนง่ ของ
อากาศยานฯ (สญั ลกั ษณ์ ) และตาแหน่งอปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (สญั ลกั ษณ์ ) จะ
ปรากฏดังรูป

แสดงขอ้ มูลสถานะต่างๆ พรอ้ มตาแหนง่ ของอากาศยานฯ

๑๒๓

(๓) ทาการตรวจสอบแผนการบินอกี ครัง้ พรอ้ มทง้ั สถานะและความพร้อมในการบนิ

(Pre-flight check) ของอากาศยานฯ จากน้ันกดปุ่ม Start จะปรากฏหนา้ ตา่ งแจ้งเตอื น

การเชือ่ มตอ่ ของอากาศยานฯ เมอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ้ งแล้ว ให้กดปุ่ม Next

แสดงหนา้ ตา่ งการเชื่อมต่อของอากาศยานฯ
(๔) ตรวจสอบความพร้อมก่อนข้ึนบนิ ตามหนา้ ตา่ ง Drone take off checklist
เมอื่ ทุกอย่างพร้อมจะปรากฏเครื่องหมายถกู หน้ารายการโดยอัตโนมตั ิ เมอื่ ครบทุกข้อ ใหก้ ดปุ่ม
Start

แสดงหนา้ ตา่ ง Drone take off checklist

๑๒๔

(๕) อากาศยานฯ จะเร่มิ บินข้นึ ในแนวดิง่ จนได้ตามความสูงบินตามทก่ี าหนดไว้ใน
แผนการบนิ จากนน้ั จะเริ่มบนิ ไปยงั จุดเริ่มถา่ ยภาพ (START) และถ่ายภาพตามพารามิเตอร์ท่ี
กาหนดไว้ ผใู้ ช้งานจะต้องคอยสังเกตการณ์การทางานของอากาศยานฯ เม่อื จบภารกจิ (END)
อากาศยานฯ จะบนิ กลับมาโดยใชค้ วามสูงบินเดิม และเมอ่ื ถึงตาแหน่งลงจอด อากาศยานฯ จะทา
การลดระดับความสงู บินจนถึงพื้น และหยดุ การทางานของมอเตอร์ใบพดั โดยอัตโนมัติ

แสดง Taking off

๑๒๕

แสดง Going to mission
แสดง In mission

๑๒๖

แสดง Going to land
แสดง landing

๑๒๗

แสดง Mission finished
หมายเหตุ

• กรอบบนขวาถา่ ยทอดภาพจากกลอ้ งแบบตามเวลาจริง
• สัญลักษณ์กล้องถา่ ยภาพ แสดงตาแหนง่ ถ่ายภาพตามระยะ โดยกาหนดจากสว่ นซ้อนด้านหน้า

(๖) เมอื่ เสร็จส้ินการบิน จะปรากฏจานวนภาพถา่ ยทบี่ ินถ่ายภาพได้ทั้งหมด ผูใ้ ช้งาน
สามารถเลือกเครอ่ื งหมายถกู ให้แสดงถาพท่ีถา่ ยได้ และสามารถอัปโหลดภาพได้ หรือนาภาพออก
จากหนว่ ยความจาภายนอกชนิด MicroSD Card ในภายหลงั สาหรบั ใช้ในการประมวลผลต่อไป

๑๒๘

แสดงหนา้ จอหลงั เสร็จสิ้นการบนิ
(๗) ทาการปิดเคร่อื งอากาศยานฯ และอปุ กรณ์ควบคุมระยะไกล (Remote Control)
โดยการกดปมุ่ หนง่ึ คร้ังปลอ่ ยแลว้ กดค้างไว้จนกระทง่ั ไฟแสดงสีเขียวดบั และทาการจัดเก็บอุปกรณ์

บทท่ี ๔
การสรา้ งจดุ ควบคุมภาคพ้ืนดนิ Ground control point (GCP)

และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

ปัจจุบนั อากาศยานไร้คนขับได้นามาประยุกตใ์ ช้ในการบนิ ถ่ายภาพทางอากาศเพื่อให้ได้ภาพถ่ายทางอากาศ
ที่เหมาะสมกับงานตามความต้องการของผู้ใช้งาน มีความเป็นปัจจุบันของข้อมูล และมีความรวดเร็ว
ซึ่งสามารถตอบสนองภารกิจเร่งด่วนท่ีต้องการข้อมูลภาพถ่ายทาง อากาศที่มีความทันสมัย ในงบประมาณและ
เวลาที่จากัดเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของภารกิจท่ีได้รับ กาหนดขอบเขตพื้นท่ีในการปฏิบัติงานเพ่ือ วางแผนในการ
บินถ่ายภาพ กาหนดจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ
Check point (CP)
๔.๑ จดุ ควบคมุ ภาคพนื้ ดนิ หรอื Ground Control Point (GCP)

จุดควบคุมภาคพ้ืนดิน หรือ Ground Control Point (GCP) คือ จุดที่ปรากฏบนภาพถ่ายที่มีลักษณะ
เด่นชัด สามารถช้ีจากตาแหน่งบนภาพได้อย่างชัดเจน ต้องอยู่ในตาแหน่งที่ถูกต้องและเหมาะสมบนภาพถ่าย
ใช้สาหรับการตรึงภาพถ่ายหรือดัดแก้ภาพถ่ายให้มีความถูกต้องมากยิ่งข้ึน สามารถทราบค่าพิกัดด้วยวิธีการรังวัด
จุดตรวจสอบด้วยเคร่ืองหาพิกัดด้วยดาวเทียมระบบ GNSS เป็นต้น พื้นที่บล็อกที่มีรูปร่างเป็นเหลี่ยมผืนผ้า
จุดควบคุมภาคพ้ืนดิน หรือ Ground Control Point (GCP) ต้องมีจานวนอย่างน้อย ๕ จุด (ถ้าอยู่ในตาแหน่งที่
เหมาะสม คือ มุมบล็อก ๔ จุด กลางบล็อก ๑ จุด) ควรจะมีจานวน GCP อย่างน้อย ๕ จุดใน บล็อกภาพถ่าย
จุดตาแหน่งของ GCP ควรจะอยู่ในพ้นื ทท่ี ส่ี นใจของภาพ

ภาพแสดงตาแหน่งที่เหมาะสมในการวางจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP)

๑๒๘

การสร้างจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point (GCP) ในงาน Photogrammetry แบบเดิมนั้น
ได้ ๒ ประเภท คือแบบ Well defined point เป็นจุดในพ้ืนท่ีที่สามารถชี้ได้ชัดตรงกันบนภาพถ่าย เช่น มุมรั้ว
มุมทางเท้า มุมเส้นจราจร แนวจุดตัดทางร่วมทางแยก เป็นต้น และแบบ Signalized point เป็นจุดเป้าท่ีสร้าง
ขึ้นมา การสร้างจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) ต้องอยู่ในตาแหน่งที่ถูกต้องและเหมาะสม
บนภาพถ่าย (Correct Position) ต้องช้ีจาแนกได้อย่างถูกต้องท้ังในภูมิประเทศและบนรูปถ่าย (Positively
Identifiable) ต้องมีความคมชดั และเหน็ ได้เด่นชัดในทุกภาพที่ปรากฏ (Sharp and Well defined) ควรจะมกี าร
เดินทางเข้าถึงท่ีสะดวก (Fairly Accessible) ต้องทาเครื่องหมายบนรูปอย่างเฉพาะเจาะจง และเขียนคาอธิบาย
อย่างชัดเจน (Properly Marked and Documented)

ภาพตวั อย่างการสร้างจุดควบคมุ ภาคพนื้ ดนิ Ground control point (GCP)
และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

ภาพตวั อย่างจดุ ควบคมุ ภาคพ้ืนดนิ Ground control point (GCP) ที่มีขนาดและสที ่เี หมาะสมมีความคมชัดและ
เห็นไดเ้ ดน่ ชัดในทุกภาพทป่ี รากฏ

๑๒๙

๔.๒ จดุ ตรวจสอบภาพ หรอื Check Point (CP)
จุดตรวจสอบภาพ หรือ Check Point (CP) คือ จุดท่ีปรากฏบนภาพถ่ายที่มีลักษณะเด่นชัด สามารถชี้จาก

ตาแหน่งบนภาพไดอ้ ยา่ งชัดเจน หรอื การวางเปา้ ใช้สาหรับการตรวจสอบความถกู ต้องของภาพถา่ ย สามารถทราบ
ค่าพิกัดด้วยวิธีการรังวัดจุดตรวจสอบด้วยเครื่องหาพิกัดด้วยดาวเทียมระบบ GNSS ตรวจสอบค่าความ
คลาดเคล่ือนโดยใช้ค่าพิกัดท่ีรังวัดได้จริงเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่รังวัดได้จากภาพถ่ายท่ีได้จากการบินถ่ายภาพ
ด้วยอากาศยานไรค้ นขับ

ภาพแสดงตาแหน่งจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP)

๑๓๐

๔.๓ อปุ กรณ์ทีใ่ ชส้ าหรบั การสร้างจดุ ควบคุมภาคพ้นื ดนิ Ground control point (GCP)
และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)
(๑) เคร่ืองควบคุมการบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม (Controller)CHC รุ่น HCE ๓๐๐

(๒) เครื่องรับสญั ญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i๘๐

๑๓๑

(๓) อุปกรณ์วดั ความสูง

(๔) ฐาน (Tribrach) สาหรบั เครือ่ งรับสญั ญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i80

(๕) ขาตั้ง GCS ขนาดใหญแ่ บบ Tripod

๑๓๒

(๖) สายสัญญาณเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i๘๐

(๗) เสาต่อเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i๘๐ แบบยาว 
เสาต่อเคร่ืองรบั สัญญาณดาวเทียม GNSS CHC CGS i๘๐ แบบสน้ั 

๑๓๓

เสา Whip antenna สง่ สญั ญาณระหวา่ งอากาศยานกับสถานคี วบคมุ 
แผน่ เหล็กสาหรับช่วยวัดความสงู ของเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี ม GNSS CHC CGS i๘๐ 






(๘) เป้าสาหรับการสร้างจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point (GCP) สีเทา-แดง และจุด
ตรวจสอบภาพ Check point (CP) ขนาดความกว้าง ๑ เมตร ความยาว ๑ เมตร ใช้แผ่นพลาสติกลูกฟูกเป็นวัสดุ
ในการจดั ทา

๑๓๔

๔.๔ ขั้นตอนการวางแผนปฏบิ ัตงิ าน สรา้ งจดุ ควบคมุ ภาคพืน้ ดนิ Ground control point (GCP) และ
จดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)
๔.๔.๑ จดั ทาแผนทส่ี ังเขปเพ่ือกาหนดตาแหนง่ การวางจดุ ควบคมุ
การจัดทาแผนที่สังเขปเพ่ือกาหนดตาแหน่งการวางจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control
point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) ควรจะกาหนดตาแหน่งจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน
Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) ให้มีความกระจายตัว
อย่างเหมาะสมและสามารถเขา้ ถงึ จดุ ทีจ่ ะทาการวางได้อย่างง่ายเพ่ือสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานจรงิ

ภาพแสดงการกาหนดตาแหน่งการจุดควบคุมภาคพนื้ ดิน Ground control point (GCP)

๑๓๕

๔.๔.๒ การเข้าสารวจพืน้ ที่
การเข้าสารวจพ้ืนท่ีบริเวณที่จะทาการวางจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point (GCP)

และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) น้ันมีความสาคัญมาก เน่ืองจากจะทาให้ทราบว่าจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) ที่ได้วางแผนมา
ข้างตน้ สามารถใชใ้ นการปฏิบัติงานไดจ้ ริงหรือไม่ หากวา่ จดุ ท่วี างแผนไว้ไม่สามารถเขา้ พื้นที่ได้ จะสามารถ
กาหนดจุดท่ีเหมาะสมได้ทันที ในการเข้าสารวจพ้ืนท่ีควรจะมีเจ้าของพ้ืนที่ เช่น เจ้าของที่ดิน ฝ่ายปกครอง
ท้องที่ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องต่าง ๆ ในพื้นที่ เป็นต้น เข้าสารวจพื้นที่ด้วย เพ่ือความปลอดภัย รวดเร็วในการ
ทางาน หากเมือ่ เกิดเหตฉุ กุ เฉินจะได้สามารถติดต่อกบั หน่วยงานอื่นได้ทันทว่ งที

ภาพแสดงการเขา้ สารวจพนื้ ท่ีเพือ่ ตรวจสอบการเข้าถงึ การวางจุดควบคุมภาคพืน้ ดิน
Ground control point (GCP) และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

๑๓๖

๔.๔.๓ การปรับแก้ตาแหนง่ การวางจุดควบคมุ ภาคพน้ื ดนิ Ground control point (GCP) และ
จดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP) กอ่ นการปฏิบัตงิ าน
หลังจากการเข้าสารวจพื้นที่ ทาให้ทราบถึงอุปสรรคในการเข้าถึงพื้นที่ปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว

ต้องมีการประชุมสรุปเพ่ือปรับแก้ตาแหน่งการวางวางจุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point
(GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) อีกครั้ง พร้อมแบ่งหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีภาคสนามแต่ละ
ทีม

ภาพการประชุมปรบั แก้ตาแหนง่ การวางจดุ ควบคุมภาคพนื้ ดนิ Ground control point (GCP)
และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP) หลงั จากการเข้าสารวจพ้นื ท่ี

๑๓๗

๔.๔.๔ การตรวจสอบการรบั สัญญาณของเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทยี ม GNSS
การตรวจสอบการับสัญญาณของเครอ่ื งรับสญั ญาณสามารถตรวจสอบคา่ พกิ ดั ทไี่ ดจ้ ากการรบั

สัญญาณจากหมุดตรวจสอบที่สานกั งานท่ดี ินในบริเวณทจ่ี ะทาการปฏบิ ตั งิ าน

ภาพตวั อย่างการรบั สัญญาณดาวเทียม GNSS ทสี่ านักงานท่ดี นิ ในบริเวณทีจ่ ะปฏิบัตงิ าน

ภาพตัวอย่างการรับสัญญาณดาวเทียม GNSS ทส่ี านกั งานท่ีดินในบริเวณทีจ่ ะปฏิบตั งิ าน

๑๓๘

การตรวจสอบการรับสัญญาณของเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม GNSS การสร้างจุดควบคุม
ภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) ใช้วิธีการรังวัด
ตามระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการรังวัดทาแผนท่ีโดยวิธีแผนที่ช้ันหน่ึงด้วยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วย
ดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒ ใช้วิธีการรังวัดตามรูปแบบหมุดดาวเทียม RTK
Network ค่าพีดอป (PDOP) ขณะทาการรังวัดไม่เกิน ๕.๐ ค่าอาร์เอ็มเอส (RMS) ในทางราบไม่เกิน
๓.๐ เซนติเมตร ผลการรังวัดเป็นแบบฟิกซ์ (Fixed) รับสญั ญาณดาวเทียมทกุ ๑ วินาที และได้ขอ้ มลู การรับ
สัญญาณดาวเทียม ไม่น้อยกว่า ๖๐ วนิ าที อยา่ งตอ่ เนื่อง ๓ ครงั้

ภาพตวั อย่างระเบยี บกรมท่ดี ินวา่ ดว้ ยการรังวัดทาแผนทีโ่ ดยวิธแี ผนทชี่ นั้ หนึ่งดว้ ยระบบโครงขา่ ยการรังวดั ด้วย
ดาวเทยี มแบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓๙

ภาพตัวอยา่ งระเบยี บกรมทดี่ ินว่าด้วยการรงั วัดทาแผนทโ่ี ดยวธิ แี ผนท่ชี ้นั หนึง่ ด้วยระบบโครงขา่ ยการรังวดั ดว้ ย
ดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๔๐

ภาพตัวอยา่ งระเบียบกรมทดี่ ินวา่ ด้วยการรงั วดั ทาแผนท่ีโดยวธิ แี ผนทชี่ นั้ หนงึ่ ดว้ ยระบบโครงขา่ ยการรังวัดด้วย
ดาวเทยี มแบบจลน์ (RTK GNSS Network) พ.ศ. ๒๕๖๒

๔.๕ การสร้างจดุ ควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และจดุ ตรวจสอบภาพ Check
point (CP)
การสรา้ งจุดควบคุมภาคพนื้ ดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP)

น้ัน ต้องทาการเข้าพ้ืนที่ท่ีได้ทาการวางแผนไว้ในแต่ละจุด ทาการวางเป้าตามจุดท่ีได้วางแผนไว้ และทาการรับ
สัญญาณดาวเทียม GNSS ด้วยวิธีการเดียวกันกับหมุดตรวจสอบท่ีทาการรังวัดที่สานักงานที่ดิน โดยมีข้ันตอนใน
การปฏิบตั ิงานดังนี้

๔.๕.๑ จุดควบคุมภาคพ้นื ดิน Ground control point (GCP) และจดุ ตรวจสอบภาพ Check point
(CP)
การวางตาแหนง่ จุดควบคุมภาคพื้นดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ

Check point (CP) ให้วางในตาแหนง่ ทใ่ี กล้เคยี งกับตาแหน่งที่จะทาการวางเปา้ จากแผนทแ่ี สดงตาแหน่ง
Google map ตามท่ไี ดว้ างแผนไว้

๑๔๑

ภาพตัวอยา่ งการแสดงตาแหน่งของจุดท่ีจะทาการจุดควบคมุ ภาคพ้ืนดนิ Ground control point (GCP)
และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP)

๑๔๒

การวางจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ
Check point (CP) โดยใช้การวางเป้าหรือจดุ ท่ีมีลักษณะของจุดที่มีการมองเหน็ จากการถ่ายภาพไดช้ ัดเจน
(Well define) เช่น มุมของแปลงท่ีดิน คันนา เส้นมุมของถนน เป็นต้น ตาแหน่งท่ีใช้ในการวางเป้าน้ันควร
มีลักษณะของภูมิประเทศท่ีราบเรียบ ควรเป็นที่ที่มีความโล่งแจ้งไม่มีสิ่งใดปกคลุมหรือเป็นส่ิงกีดขวาง
เพ่ือให้ไม่เป็นอุปสรรคในการบนิ ถ่ายภาพของอากาศยานไร้คนขับ และทาการรับสัญญาณดาวเทียม GNSS
ดว้ ยวิธกี ารเดยี วกนั กับหมดุ ตรวจสอบที่ทาการรงั วัดทสี่ านักงานที่ดิน

ภาพตัวอยา่ งการวางเป้าที่จะทาการจดุ ควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และ
จดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

๑๔๓

๔.๕.๒ การเขยี นรายการรังวัด (เชนสนาม)
เพื่อแสดงรายละเอยี ดและตาแหนง่ ของจุดควบคุมภาคพ้นื ดินGround control point (GCP) และ

จดุ ตรวจสอบภาพ Check point (CP)

การเขยี นแผนทส่ี ังเขป


Click to View FlipBook Version