The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) (ปี 2563)

ศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดิน

Keywords: ด้านการรังวัดและทำแผนที่

๑๙๔

แสดงการนาเขา้ จดุ ควบคุมภาพถา่ ย (Ground Control Point, GCP) (๒)

(๓) เมื่อนาเข้าแล้วเสร็จ ตรวจสอบคา่ พกิ ดั ทน่ี าเขา้ วา่ ถกู ต้องหรือไม่ หลงั จากน้ันให้

คลกิ ปุ่ม OK เปน็ การเสร็จส้ินการนาเขา้ ข้อมลู จดุ ควบคมุ ภาพถ่าย

(Ground Control Point, GCP)

แสดงการนาเข้าจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) (๓)

(๔) เม่ือทาการประมวลผลในขั้นตอน Initial Processing เสร็จสิ้น โปรแกรมจะ
แสดงผล Automatic Tie Points ในรูปแบบสามมิติในหน้าต่างหลักของตัวโปรแกรม ในเมนูด้าน
ขวามือจะสามารถเลือกแสดงเปิด/ปิดข้อมูลต่างๆ ได้ โดยทาการเลือกไปท่ีเครื่องหมาย หน้า
ข้อมูล GCPs/MPTs เพื่อแสดงรายละเอียดในข้อมูล และภายใต้ GCPs/MPTs จะมีรายชื่อจุด
ควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) ท่ีได้ทาการนาเข้าในข้ันตอนที่ผ่านมา ให้ทา
การเลือกไปท่ีจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) แต่ละจุด โปรแกรมจะโหลด
ภาพถ่ายทใ่ี ชใ้ นการโยงยดึ ค่าพิกัดตาแหนง่ ขึน้ มาด้านขวาของหนา้ ต่างหลัก ดังรปู

๑๙๕

แสดงจุดควบคมุ ภาพถา่ ย (Ground Control Point, GCP) ท่นี าเข้า
(๕) ทาการโยงยึดค่าพิกัดให้ตรงกับข้อมูลหมายเลขของจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground

Control Point, GCP) ทาไดโ้ ดยคลิกซา้ ยในจดุ ท่ตี ้องการโยงยึดคา่ พิกดั ในแตล่ ะภาพ เมื่อคลิกแล้ว
จะมีวงกลมสีเหลืองเพ่ือแสดงว่าได้ทาโยงยึดค่าพิกัดแล้ว จากน้ันทาการโยงยึดค่าพิกัดจนครบทุก
ภาพ แล้วคลิกปุ่ม Apply เพื่อทาการบันทึกการโยงยึด และเลือกจุดควบคุมภาพถ่าย
(Ground Control Point, GCP) จดุ ตอ่ ไป ทาการโยงยึดค่าพกิ ดั จนครบทกุ จดุ

แสดงการโยงยึดคา่ พิกดั ดว้ ยจุดควบคุมภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP)

๑๙๖

(๖) เม่ือทาการโยงยึดค่าพิกัดเสร็จส้ิน ให้ทาการคานวณปรับแก้ข้อมูลจุดโยงยึด
(Tie Point) ให้ถูกต้องมากยิ่งข้ึน โดยเลือกเมนู Process --> Reoptimize เม่ือโปรแกรมทาการ
ประมวลผลเสร็จส้ิน (สังเกตที่แถบด้านล่างซ้ายมือของหน้าต่างหลัก) ให้ทาการสร้างรายงานผล
การประมวลผลข้อมูล (Quality Report) ข้ึนมาใหม่เพ่ือทาการตรวจสอบผลการคานวณ
โดยเลือกเมนู Process --> Generate Quality Report

แสดงคาส่ัง Reoptimize

แสดงคาสั่ง Generate Quality Report

๑๙๗

แสดงรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) หลงั โยงยึดคา่ พิกัด
ดว้ ยจุดควบคมุ ภาพถ่าย (Ground Control Point, GCP) โดยเครือ่ งมอื GCP Manager

๑๙๘

๕.๒.๒.๑๒ การประมวลผล Pix4Dmapper ข้ันตอน Point Cloud and Mesh (Step ๑)
มขี ้ันตอนดังน้ี
(๑) เม่ือตรวจสอบรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) แล้ว ข้ันตอน

ต่อไปจะทาการประมวลผลข้อมูลพอยท์คลาวด์ (Point Cloud) และสร้างข้อมูลพื้นผิวแบบ
เวกเตอร์ (Mesh Model) เลือกคาสั่ง Processing Options ตามข้อ  จากน้ันทาเคร่ืองหมาย
ถูกที่คาสั่ง Point Cloud and Mesh ตามข้อ  ทาการตั้งค่าตามที่ผู้ใช้งานต้องการ และคลิกป่มุ
OK

แสดงการเลอื กคาสั่ง Point Cloud and Mesh
อธิบายการตั้งค่า Point Cloud ในข้ันตอน Point Cloud and Mesh ดังนี้
- Point Cloud Densification ไดแ้ ก่

Image Scale (1/2 (default) คือ การคานวณหา Point Cloud ในทุกๆ
สเกลของขนาดภาพทป่ี รับลดมาครึง่ หนึ่ง

Point Density คอื ความหนาแน่นจุด ตัวอย่างกาหนด Optimal (default) คอื ให้
สรา้ ง Point Cloud ทกุ ๆ 4/image scale (pixel)

Minimum Number of Matches คือ จานวนภาพตอ่ การคานวณหาจดุ Point Cloud
ตวั อย่างกาหนด 3 (default) คอื ค่าพ้นื ฐานท่ีให้ความถูกต้องสูง

๑๙๙

แสดงตัวอยา่ งการต้งั ค่า Point Cloud ในขัน้ ตอน Point Cloud and Mesh
อธิบายการตั้งคา่ 3D Textured Mesh ในขัน้ ตอน Point Cloud and Mesh ดงั นี้
- Settings ไดแ้ ก่

High Resolution : ความละเอยี ด 3D Mesh มาก
Medium Resolution : Balance
Low Resolution : ใชเ้ วลาและให้ความละเอียด 3D Mesh นอ้ ย
Custom : ผู้ใชง้ านตงั้ ค่าเองตามความต้องการ

๒๐๐

แสดงตัวอย่างการต้ังค่า 3D Textured Mesh ในขั้นตอน Point Cloud and Mesh
อธบิ ายการตง้ั ค่า Advanced ในข้ันตอน Point Cloud and Mesh ดงั นี้
- Point Cloud Filters คือ การกรอง Point Cloud ทไี่ ม่ต้องการออก
ประกอบด้วย Use Processing Area, Use Annotations, Limit Camera Depth Automatically

แสดงตวั อย่างการต้งั ค่า Advanced ในข้ันตอน Point Cloud and Mesh

๒๐๑

(๒) หลังจากต้ังค่าแล้วเสร็จ สั่งให้โปรแกรมเร่ิมการประมวลผลในข้ันตอน Point
Cloud and Mesh (Step 2) โดยให้เลือกเฉพาะ ๒.Point Cloud and Mesh ในด้านซ้ายล่าง
ของหน้าจอ และทาการยกเลิกการประมวลผล ๑.Initial Processing และ ๓.DSM
Orthomosaic and Index ดังรปู เมอ่ื เลอื กแลว้ ใหค้ ลกิ ปมุ่ Start ด้านล่าง

แสดงข้นั ตอน Point Cloud and Mesh (Step ๒)
(๓) หลังการประมวลผลขั้นตอน Point Cloud and Mesh แล้วเสร็จ หน้าจอจะ
ปรากฏรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) โดยอัตโนมัติ พร้อมท้ังแสดงผลการ
ประมวลผล ข้อมูลพอยทค์ ลาวด์ (Point Cloud) และข้อมูลพ้ืนผิวแบบเวกเตอร์ (Mesh Model)

แสดงรายงานผลการประมวลผลขอ้ มลู (Quality Report)
หลงั การประมวลผลขนั้ ตอน Point Cloud and Mesh

๒๐๒

๕.๒.๒.๑๓ การประมวลผล Pix4Dmapper ขนั้ ตอน DSM, Orthomosaic and Index
(Step ๓) มีขัน้ ตอนดงั น้ี
(๑) เมื่อตรวจสอบรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) แล้ว ขั้นตอน

ต่อไปจะทาการประมวลผลข้อมูลแบบจาลองความสูงภูมิประเทศ (Digital Surface Model,
DSM) และสร้าง ออร์โธจริง (True Orthophoto) เลือกคาสั่ง Processing Options ตามข้อ 
จากน้ันทาเคร่ืองหมายถูกที่คาส่ัง DSM, Orthomosaic and Index ตามข้อ  ทาการตั้งค่า
ตามท่ีผู้ใช้งานต้องการ และคลิกปุม่ OK

แสดงการเลือกคาส่งั DSM, Orthomosaic and Index
อธบิ ายการตัง้ ค่า DSM and Orthomosaic ในข้นั ตอน DSM, Orthomosaic and Index ดงั น้ี

- DSM Filters ประกอบด้วย
Use Noise Filtering : ลดจานวน noise ลง โดยดจู าก median altitude ของ neighboring
points
Use Surface Smoothing: การทา filter ของ noise เพ่อื สรา้ งพ้ืนผวิ โดยผู้ใชง้ านกาหนดไดต้ าม
ต้องการ
- Raster DSM คือ การสรา้ ง DSM (Digital Surface Model) ประกอบด้วย
GeoTIFF : สรา้ งไฟล์แบบ GeoTIFF
Method : การกาหนดวธิ ีการประมาณค่าระหวา่ งจุด (Interpolate) ได้แก่
Inverse Distance Weighting: เหมาะสาหรับอาคาร ตึก
Triangulation: เหมาะสาหรับพ้ืนราบ หรอื พื้นทีเ่ กษตรกรรม

๒๐๓

แสดงตวั อยา่ งการต้ังค่า DSM and Orthomosaic ในขั้นตอน DSM, Orthomosaic and Index
แสดงตวั อย่างการต้ังค่า Additional Outputs ในข้ันตอน DSM, Orthomosaic and Index

๒๐๔

แสดงตวั อย่างการต้งั ค่า Index Calculator ในขนั้ ตอน DSM, Orthomosaic and Index
(๒) หลังจากตั้งค่าแล้วเสร็จ สั่งให้โปรแกรมเร่ิมการประมวลผลในขั้นตอน DSM,

Orthomosaic and Index (Step ๓) โดยให้เลือกเฉพาะ ๓.DSM Orthomosaic and Index ใน
ด้านซ้ายล่างของหน้าจอ และทาการยกเลิกการประมวลผล ๑.Initial Processing และ ๒.Point
Cloud and Mesh ดงั รปู เมือ่ เลอื กแลว้ กใหค้ ลิกป่มุ Start ดา้ นลา่ ง

แสดงการประมวลผลในขนั้ ตอน DSM, Orthomosaic and Index

๒๐๕

(๓) หลังการประมวลผลขั้นตอน DSM Orthomosaic and Index แล้วเสร็จ หน้าจอ
จะปรากฏรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report) โดยอัตโนมัติ พร้อมทั้งแสดงผล
การประมวลผล ข้อมูลแบบจาลองความสูงภูมิประเทศ (Digital Surface Model, DSM) และ
ออรโ์ ธจรงิ (True Orthophoto)

แสดงรายงานผลการประมวลผลข้อมูล (Quality Report)
หลงั การประมวลผลขัน้ ตอน DSM Orthomosaic and Index

แสดงผลการประมวลผลข้อมูลหลังการประมวลผลขนั้ ตอนครบ ๓ ขนั้ ตอน

๒๐๖

แสดงแบบจาลองความสงู ภูมิประเทศ (Digital Surface Model, DSM)
แสดงแบบจาลองภูมิประเทศเชงิ เลข (Digital Elevation Model, DTM)

๒๐๗

๕.๒.๒.๑๔ ข้อมลู ผลลพั ธจ์ ากการประมวลผล Pix4Dmapper
ข้อมูลผลลัพธ์จากการประมวลผล Pix4Dmapper ท้ัง ๓ ขั้นตอน จะอยู่ใน Folder

เดยี วกบั project ทีส่ รา้ งขึน้ โดยข้อมูลแบบจาลองความสงู ภูมปิ ระเทศ (Digital Surface Model,
DSM) และออร์โธจริง (True Orthophoto) จะอยใู่ น Folder “3_dsm_ortho” โดยขอ้ มลู จะอยู่
ในรูปแบบ geotiff และข้อมูล Point Cloud จะอยู่ใน Folder “2_densification” โดยข้อมูลจะ
อยูใ่ นรปู แบบ *.las หรือตามทผ่ี ู้ใช้งานไดก้ าหนดรปู แบบอน่ื ๆ ดงั รูป

แสดง Folder ที่จดั เกบ็ ผลลพั ธจ์ ากการประมวลผล Pix4Dmapper

บทท่ี ๖

ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏิบตั ิงานการบนิ ถา่ ยภาพดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับ

การปฏิบัติงานการบินถ่ายภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขับ เป็นการได้มาของภาพถ่ายหรือการสารวจสภาพ
พ้ืนท่ีท่ีต้องการสารวจในสภาพของปัจจุบันได้อย่างรวดเร็ว ซ่ึงสามารถประยุกต์ใช้แผนท่ีภาพถ่ายในการจัดการ
ปญั หาต่างๆ เชน่ การบกุ รุกพืน้ ที่ การครอบครองในขอบเขตปัจจุบันของพื้นที่ การใช้ประโยชนต์ า่ งๆ การวางแผน
การจดั การพื้นท่ี เป็นตน้ แต่ในการปฏบิ ัติงานการบินถา่ ยภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับใภาคสนาม ส่วนใหญจ่ ะพบ
ปญั หาและอุปสรรคต่างๆ ในการปฏบิ ตั งิ าน ดังน้ี

๖.๑ สภาพอากาศ
ก่อนการปฏิบัติงานการบินถ่ายภาพด้วยอากาศยานไรค้ นขับ ควรตรวจสอบสภาพอากาศ เช่น สภาพเมฆ

ความแรงของลม ฝน ฯลฯ ในพ้ืนท่ีที่จะปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า เนื่องจากสภาพอากาศเป็นปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อ
ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานด้านการบินถ่ายภาพ

๒๐๙

๖.๒ วสั ดแุ ละสีท่ีใช้ทาเปา้ สาหรบั งานการสร้างจดุ ควบคมุ
วัสดุและสีท่ีใช้ทาเป้าสาหรับการสร้างจุดควบคุมของจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point

(GCP) และจุดตรวจสอบภาพ Check point (CP) หากเลอื กไมเ่ หมาะสม จะเปน็ อปุ สรรคต่อการพจิ ารณาการตรึง
จดุ ควบคมุ ในขนั้ ตอนการประมวลผลภาพถ่าย

(๑) วัสดุท่มี ีผวิ มนั จะสะทอ้ นแสงอาทติ ย์ ภาพถา่ ยที่ได้จะมคี วามพรา่ มวั ไม่ชัดเจน
(๒) สที ีใ่ ชท้ าเปา้ มสี ีใกลเ้ คยี งกับสภาพภูมิประเทศ อาจทาให้จุดควบคมุ ของจุดควบคุมภาคพนื้ ดินใน
ภาพถา่ ยมีความไมช่ ดั เจน
(๓) ความทนทานของวสั ดทุ ่ีเลือกใช้ต่อการใชง้ าน

๖.๓ การรับสญั ญาณดาวเทียม GNSS
การรับสัญญาณดาวเทียม GNSS ในการสารวจพ้ืนท่ีที่จะปฏิบัติงาน ผู้ใช้งานควรตรวจสอบสัญญาณ

โทรศัพท์ว่าพื้นที่ท่ีจะทาการวางจุดควบคุมภาคพ้ืนดิน Ground control point (GCP) และจุดตรวจสอบภาพ
Check point (CP) มีสัญญาณโทรศัพท์หรือไม่ เน่ืองจากการรังวัดทาแผนที่โดยวิธีแผนที่ช้ันหนึ่งด้วยระบบ
โครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK GNSS Network) ต้องใช้สัญญาณเครือข่ายโทรศัพท์ในการ
ปฏบิ ตั งิ าน

๒๑๐

๖.๔ ผลกระทบจากความร้อนของสภาพอากาศ
อุณหภูมิขณะปฏิบัติงานหากมีความร้อนที่สูงมาก หรือปฏิบัติงานต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน อาจส่งผล

ต่อการทางานของระบบต่างๆ ของอากาศยานฯ หรือการทางานกล้องถ่ายภาพที่ใช้บินถ่ายภาพได้ ผู้ใช้งานควร
หยุดพักการทางานเม่ือพบว่าการทางานของเคร่ืองมือมีความผิดปกติ และตรวจสอบอุณหภูมิความผิดปกติต่างๆ
ของเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านอยเู่ สมอ

๒๑๑

๖.๕ การเขา้ พื้นที่ปฏบิ ัติงาน
การติดต่อประสานงานกับเจ้าของพื้นท่ี หรือผู้ปกครองท้องที่ก่อนเข้าพื้นท่ีปฏิบัติงานเป็นเร่ืองที่สาคัญ

ควรจัดทาหนังสือขอเข้าพื้นที่ที่จะปฏิบัติงานและจัดส่งหนังสือดังกล่าวถึงเจ้าของพื้นท่ี หรือผู้ปกครองท้องท่ีนั้นๆ
และผู้ปฏิบัติงานควรมีสาเนาหนังสือขออนุญาติเข้าพื้นที่ข้างต้น พร้อมหนังสือการขึ้นทะเบียนผู้บังคับหรือปล่อย
อากาศยานซึ่งไม่มีนักบิน (ประเภทอากาศยานท่ีควบคุมการบินจากภายนอก) อยู่ตลอดเวลาในขณะปฏิบัติงาน
อีกทั้งควรมีผู้ชานาญในการเข้าพ้ืนท่ีคอยนาทางไปยังตาแหน่งที่ต้องการ ซ่ึงจะส่งผลให้การปฏิบัติงานมีความ
สะดวกและรวดเรว็ ยง่ิ ขึ้น

ภาพตวั อย่างหนังสือขออนุญาตเขา้ พนื้ ท่ที ี่จะปฏบิ ตั งิ านบนิ ถ่ายภาพด้วยอากาศยานไร้คนขับ

๒๑๒

ภาพตัวอย่างหนงั สือการข้นึ ทะเบียนผู้บงั คบั หรือปลอ่ ยอากาศยานซ่งึ ไมม่ นี ักบนิ
(ประเภทอากาศยานเพื่อควบคุมการบนิ จากภายนอก)

ภาคผนวก

๒๑๔

ตัวอย่างแผนทีภ่ าพถ่ายซ่งึ ถา่ ยดว้ ยอากาศยานไร้คนขับ
โดย ศนู ยข์ ้อมลู แผนทร่ี ปู แปลงทด่ี นิ กรมทดี่ นิ

๒๑๕

ตัวอย่างแผนที่ภาพถา่ ยด้วยอากาศยานไรค้ นขบั
ทีส่ าธารณประโยชน์ “อทุ ยานสวรรคอ์ ่างทองหนองเจ็ดเส้น” อาเภอป่าโมก จังหวดั อ่างทอง

เมอ่ื วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒

๒๑๖

ตัวอย่างแผนทภ่ี าพถา่ ยด้วยอากาศยานไร้คนขบั
ท่สี าธารณประโยชน์ “ทุ่งยาว” อาเภอทุง่ หว้า จังหวดั สตูล

ระหวา่ งวันที่ ๑๘ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

๒๑๗

ตัวอย่างแผนท่ภี าพถา่ ยด้วยอากาศยานไร้คนขบั
บริเวณเกาะสชี ัง อาเภอเกาะสชี ัง จังหวดั ชลบุรี

ระหว่างวนั ที่ ๒๐ – ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๑๘

ตัวอยา่ งแผนท่ีภาพถา่ ยด้วยอากาศยานไรค้ นขบั
บริเวณเกาะสีชงั (ท่ายายทิม) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบุรี

ระหว่างวนั ที่ ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๑๙

ตวั อยา่ งแผนท่ีเสน้ ชน้ั ความสูง
บริเวณเกาะสีชัง (ท่ายายทิม) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบรุ ี

ระหวา่ งวันท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๐

ตวั อย่างแผนทภี่ าพถ่ายด้วยอากาศยานไร้คนขับ
บริเวณเกาะสชี ัง (แหลมง)ู อาเภอเกาะสชี งั จังหวัดชลบุรี

ระหว่างวนั ท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๑

ตัวอย่างแผนท่เี สน้ ชั้นความสงู
บริเวณเกาะสชี ัง (แหลมง)ู อาเภอเกาะสชี ัง จังหวดั ชลบรุ ี

ระหว่างวันท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๒

ตัวอยา่ งแผนทภ่ี าพถา่ ยด้วยอากาศยานไรค้ นขบั
บรเิ วณเกาะสีชัง (หาดถา้ พงั ) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบุรี

ระหว่างวนั ท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๓

ตวั อยา่ งแผนท่ีเสน้ ชน้ั ความสูง
บรเิ วณเกาะสชี ัง (หาดถา้ พัง) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบรุ ี

ระหวา่ งวนั ที่ ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๔

ตวั อย่างแผนทภ่ี าพถ่ายดว้ ยอากาศยานไรค้ นขับ
บริเวณเกาะสชี งั (แหลมถา้ พงั ) อาเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

ระหวา่ งวันท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๕

ตวั อยา่ งแผนท่เี สน้ ชั้นความสูง
บริเวณเกาะสชี ัง (แหลมถา้ พงั ) อาเภอเกาะสีชงั จงั หวดั ชลบุรี

ระหว่างวนั ท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๖

ตวั อย่างแผนที่ภาพถา่ ยด้วยอากาศยานไร้คนขับ
บริเวณเกาะสชี งั (บ้านมงั่ คง) อาเภอเกาะสีชงั จังหวัดชลบุรี

ระหวา่ งวนั ที่ ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๗

ตัวอยา่ งแผนท่ีเสน้ ชน้ั ความสูง
บรเิ วณเกาะสีชัง (บ้านมง่ั คง) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบรุ ี

ระหว่างวนั ที่ ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๘

ตัวอยา่ งแผนทภ่ี าพถา่ ยด้วยอากาศยานไรค้ นขบั
บริเวณเกาะสีชงั (แหลมสีชงั ) อาเภอเกาะสีชัง จงั หวัดชลบุรี

ระหว่างวนั ท่ี ๒๐ - ๒๘ มกราคม ๒๕๖๓

๒๒๙

ตวั อย่างแผนทีภ่ าพถา่ ยด้วยอากาศยานไรค้ นขบั
บรเิ วณพ้นื ท่เี ขาใหญ่ อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี จังหวดั ปราจนี บรุ ี

ระหว่างวนั ที่ ๕ – ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓

๒๓๐

ตวั อยา่ งแผนท่ีภาพถ่ายดว้ ยอากาศยานไรค้ นขบั
ท่สี าธารณประโยชน์ แปลง “หนองท่งุ ซ่ิง” อาเภอโพธทิ์ อง จังหวดั อา่ งทอง

ระหวา่ งวนั ท่ี ๕ – ๘ มีนาคม ๒๕๖๓

๒๓๑

ประกาศกระทรวงคมนาคม
เรื่อง

“หลักเกณฑก์ ารขออนญุ าตและเงอ่ื นไขในการบงั คับหรอื ปล่อยอากาศยานซ่งึ ไมม่ ี
นักบิน ประเภทอากาศยานที่ควบคมุ การบนิ จากภายนอก พ.ศ. ๒๕๕๘”

เลม ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ง หนา ๖ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศกระทรวงคมนาคม

เรอื่ ง หลักเกณฑการขออนุญาตและเงอื่ นไขในการบงั คบั หรือปลอ ยอากาศยานซงึ่ ไมมนี กั บนิ
ประเภทอากาศยานทค่ี วบคมุ การบินจากภายนอก
พ.ศ. ๒๕๕๘

โดยที่มาตรา ๒๔ แหงพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ กําหนดใหรัฐมนตรี
มีอํานาจอนุญาตและกําหนดเงื่อนไขการบังคับหรือปลอยอากาศยานซึ่งไมมีนักบิน รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงคมนาคม จึงออกประกาศกําหนดหลักเกณฑการขออนุญาตและเงื่อนไขในการบังคับหรือ
ปลอยอากาศยานซง่ึ ไมม ีนกั บนิ ประเภทอากาศยานท่คี วบคมุ การบนิ จากภายนอก ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงคมนาคม เรื่อง หลักเกณฑการขออนุญาต
และเงื่อนไขในการบังคับหรือปลอยอากาศยานซึ่งไมมีนักบิน ประเภทอากาศยานที่ควบคุมการบิน
จากภายนอก พ.ศ. ๒๕๕๘”

ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวันประกาศเปน ตนไป
ขอ ๓ ในประกาศน้ี
“อากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอก” หมายความวา อากาศยานที่ควบคุมการบิน
โดยผูควบคมุ การบนิ อยภู ายนอกอากาศยานและใชระบบควบคุมอากาศยาน ทัง้ นี้ ไมร วมถึงเครือ่ งบนิ เล็ก
ซง่ึ ใชเปนเคร่อื งเลนตามกฎกระทรวงกําหนดวัตถุซ่ึงไมเ ปนอากาศยาน พ.ศ. ๒๕๔๘
“ระบบควบคุมอากาศยาน” หมายความวา ชุดอุปกรณอันประกอบดวยเคร่ืองเช่ือมโยงคําสั่ง
ควบคุมหรือการบังคับอากาศยาน รวมทั้งสถานีหรือสถานที่ติดตั้งชุดอุปกรณเหลานี้หรือเคร่ืองมือที่ใช
ควบคมุ การบินจากภายนอกและตัวอากาศยานดวย
ขอ ๔ อากาศยานที่ควบคมุ การบินจากภายนอกตามประกาศน้แี บงเปน ๒ ประเภท ดังนี้
(๑) ประเภทท่ีใชเพ่ือวัตถุประสงคในการเลนเปนงานอดิเรก เพ่ือความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา
แบงออกเปน ๒ ขนาด คอื

(ก) ที่มนี ํ้าหนกั ไมเกิน ๒ กโิ ลกรมั
(ข) ทม่ี นี ้ําหนักเกิน ๒ กิโลกรัมแตไมเกิน ๒๕ กิโลกรัม

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๗ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานเุ บกษา

(๒) ประเภทท่ใี ชเพื่อวตั ถุประสงคอ ืน่ นอกจาก (๑) ที่มนี า้ํ หนักไมเกิน ๒๕ กโิ ลกรัม ดงั ตอไปน้ี
(ก) เพอ่ื การรายงานเหตุการณหรอื รายงานการจราจร (สือ่ มวลชน)
(ข) เพื่อการถายภาพ การถา ยทําหรอื การแสดงในภาพยนตรห รือรายการโทรทศั น
(ค) เพ่ือการวิจยั และพัฒนาอากาศยาน
(ง) เพอ่ื การอนื่ ๆ

ขอ ๕ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมอนุญาตใหบังคับหรือปลอยอากาศยานที่มีนํ้าหนัก
ไมเกนิ ๒ กโิ ลกรัม ท่ใี ชเ พอื่ วัตถปุ ระสงคใ นการเลนเปนงานอดิเรก เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา
ตามขอ ๔ (๑) (ก) ได โดยผูบังคับหรือปลอยอากาศยานตองมีอายุเกินกวา ๑๘ ปบริบูรณ เวนแต
จะมผี ูแทนโดยชอบธรรมควบคุมดแู ล และตอ งปฏบิ ตั ติ ามเง่ือนไข ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) กอ นทาํ การบนิ
(ก) ตรวจสอบวาอากาศยานอยูในสภาพท่ีสามารถทําการบินไดอยางปลอดภัย ซ่ึงรวมถึง

ตวั อากาศยานและระบบควบคุมอากาศยาน
(ข) ไดรับอนญุ าตจากเจา ของพนื้ ทท่ี จี่ ะทาํ การบนิ
(ค) ทําการศึกษาพืน้ ทีแ่ ละชนั้ ของหวงอากาศท่ีจะทาํ การบิน
(ง) มีแผนฉุกเฉิน รวมถึงแผนสําหรับกรณีเกิดอุบัติเหตุ การรักษาพยาบาล และ

การแกป ญ หากรณีไมสามารถบงั คบั อากาศยานได
(๒) ระหวางทําการบนิ
(ก) หามทําการบินในลักษณะที่อาจกอใหเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย ทรัพยสิน

และรบกวนความสงบสขุ ของบุคคลอืน่
(ข) หามทําการบินเขาไปในบรเิ วณเขตหาม เขตกํากดั และเขตอันตรายตามที่ประกาศใน

เอกสารแถลงขาวการบินของประเทศไทย (Aeronautical Information Publication – Thailand
หรอื AIP – Thailand) รวมท้ัง สถานท่รี าชการ หนวยงานของรัฐ โรงพยาบาล เวนแตจะไดรับอนุญาต
จากหนว ยงานเจาของพ้นื ที่

(ค) แนวการบนิ ขึ้นลงของอากาศยานจะตอ งไมม ีสิง่ กีดขวาง
(ง) ผบู ังคบั หรอื ปลอ ยอากาศยานตอ งสามารถมองเหน็ อากาศยานไดต ลอดเวลาทที่ ําการบิน
และหามทาํ การบงั คับอากาศยานโดยอาศัยชดุ กลอ งบนอากาศยานหรืออุปกรณอ ืน่ ทมี่ ีลกั ษณะใกลเคียง

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๘ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานเุ บกษา

(จ) ตองทําการบินในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก ซึ่งสามารถมองเห็น
อากาศยานไดอยา งชัดเจน

(ฉ) หามทําการบินเขาใกลห รอื เขา ไปในเมฆ
(ช) หามทําการบินภายในระยะเกากิโลเมตร (หาไมลทะเล) จากสนามบินหรือท่ีขึ้นลง
ชั่วคราวของอากาศยาน เวนแตไดรับอนุญาตจากเจาของหรือผูดําเนินการสนามบินอนุญาตหรือที่ขึ้นลง
ช่ัวคราวอนุญาต
(ซ) หามทาํ การบนิ โดยใชค วามสูงเกินเกา สิบเมตร (สามรอ ยฟตุ ) เหนือพ้นื ดนิ
(ฌ) หา มทําการบนิ เหนอื เมือง หมบู าน ชุมชน หรือพื้นท่ที มี่ คี นมาชุมนุมอยู
(ญ) หา มบังคับอากาศยานเขาใกลอากาศยานซง่ึ มีนกั บนิ
(ฎ) หามทาํ การบนิ ละเมิดสทิ ธสิ วนบคุ คลของผอู ่นื
(ฏ) หามทาํ การบินโดยกอใหเ กิดความเดอื ดรอ น ความราํ คาญ แกผ ูอ ่ืน
(ฐ) หา มสงหรือพาวัตถุอนั ตรายตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวงหรืออุปกรณป ลอยแสงเลเซอร
ตดิ ไปกบั อากาศยาน
(ฑ) หามทําการบินโดยมีระยะหางในแนวราบกับบุคคล ยานพาหนะ ส่ิงกอสราง
หรืออาคาร นอ ยกวาสามสบิ เมตร (หน่งึ รอยฟุต)
เม่ือปรากฏวา ผูบังคับหรือปลอยอากาศยานไมสามารถปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีกําหนดขางตนได
ใหระงับการบังคบั หรือปลอยอากาศยาน เวนแตจ ะไดร บั อนญุ าตตามขอ ๑๗
ขอ ๖ รฐั มนตรวี าการกระทรวงคมนาคมอนญุ าตใหบงั คบั หรือปลอ ยอากาศยานที่มีน้ําหนักเกินกวา
๒ กิโลกรัมแตไมเกิน ๒๕ กิโลกรัม ที่ใชเพ่ือวัตถุประสงคในการเลนเปนงานอดิเรก เพ่ือความบันเทิง
หรือเพื่อการกีฬาตามขอ ๔ (๑) (ข) ได เมื่อผูบังคับหรือปลอยอากาศยานมีคุณสมบัติและลักษณะ
ตามขอ ๗ และไดขึ้นทะเบียนตามขอ ๘ โดยผูบังคับหรือปลอยอากาศยานตองปฏิบัติตามเง่ือนไข
ท่กี ําหนดตามขอ ๙
ขอ ๗ ผบู งั คบั หรอื ปลอยอากาศยานตามขอ ๖ ตองมคี ณุ สมบตั ิและลักษณะ ดงั ตอ ไปนี้
(๑) มอี ายไุ มต ํ่ากวาย่สี ิบปบรบิ รู ณ
(๒) ไมเ ปนผมู พี ฤติการณอันเปนภยั ตอ ความมนั่ คงของประเทศ

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๙ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

(๓) ไมเคยตองโทษจาํ คุกโดยคาํ พิพากษาถงึ ท่ีสดุ ใหจ าํ คกุ ในความผดิ ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติด
หรอื กฎหมายวา ดว ยศลุ กากร

ขอ ๘ ใหผูบังคับหรือปลอยอากาศยานตามขอ ๖ ย่ืนคําขอขึ้นทะเบียนตออธิบดีพรอมดวย
เอกสารและหลักฐานแสดงรายละเอียด ดงั ตอไปนี้

(๑) สําเนาบัตรประจาํ ตวั ประชาชน หรือสาํ เนาหนังสือเดินทาง
(๒) สําเนาทะเบียนบา น
(๓) แบบ ยี่หอ หมายเลขประจําตัวเคร่ือง จํานวน และสมรรถนะของอากาศยาน รวมท้ัง
อปุ กรณท ตี่ ดิ ต้ัง
(๔) สําเนากรมธรรมประกันภัย ซ่ึงคุมครองความเสียหายอันเกิดแกรางกาย ชีวิต ตลอดจน
ทรัพยส ินของบุคคลท่สี าม วงเงินประกันไมตาํ่ กวา หนง่ึ ลา นบาทตอ คร้ัง
(๕) วัตถปุ ระสงคของการใชอากาศยาน
(๖) ขอบเขตของพื้นท่ี ตําแหนง ทางภูมศิ าสตรทจี่ ะทําการบิน
(๗) ขอมูลติดตอของผูย่นื คําขอลงทะเบยี น
(๘) คํารับรองวา ผบู งั คับหรือปลอยอากาศยานมคี ุณสมบตั แิ ละลกั ษณะตามขอ ๗
ขอ ๙ ใหผูบังคับหรือปลอยอากาศยานท่ีไดขึ้นทะเบียนตามขอ ๘ แลว ปฏิบัติตามเง่ือนไข
ดังตอ ไปนี้
(๑) กอนทาํ การบิน

(ก) ดําเนินการตาม ขอ ๕ (๑) (ก) ถงึ (ง)
(ข) มีการบาํ รุงรักษาตามคูมอื ของผผู ลติ
(ค) มคี วามรูความชํานาญในการบงั คบั อากาศยานและระบบของอากาศยาน
(ง) มีความรคู วามเขาใจในกฎจราจรทางอากาศ
(จ) นําหนงั สือหรือสําเนาหนงั สือการข้ึนทะเบียนตดิ ตวั ตลอดเวลาทท่ี ําการบิน
(ฉ) มอี ุปกรณดับเพลิงทส่ี ามารถใชงานไดต ิดตัวตลอดเวลาท่ที ําการบนิ
(ช) มีการทําประกันภัยสําหรับความเสียหายอันเกิดแกรางกาย ชีวิต ตลอดจนทรัพยสิน
ของบคุ คลทีส่ าม วงเงนิ ประกันไมตํา่ กวา หน่งึ ลานบาทตอครง้ั

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๑๐ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๕๘
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๒) ระหวางทาํ การบิน
(ก) ดาํ เนินการตาม ขอ ๕ (๒) (ก) ถงึ (ฐ)
(ข) หามทาํ การบนิ โดยมรี ะยะหา งในแนวราบกับบุคคล ยานพาหนะ สิ่งกอสราง อาคาร

ที่ไมเกยี่ วขอ งกบั การปฏิบตั ิการบินนอ ยกวา หา สบิ เมตร (หน่ึงรอยหา สิบฟุต)
(ค) เมือ่ มีอบุ ัตเิ หตุเกดิ ขน้ึ แกอากาศยาน ใหผูบังคับหรือปลอยอากาศยานแจงอุบัติเหตุนั้น

ตอพนกั งานเจา หนา ที่โดยไมชกั ชา
เม่ือปรากฏวา ผูบังคับหรือปลอยอากาศยานฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีกําหนดไว

ตามวรรคหนึ่ง ใหอธบิ ดมี อี ํานาจสั่งใหแกไขการกระทํานั้นภายในระยะเวลาท่ีกําหนด หากไมดําเนินการ
หรือการฝาฝนหรือการไมปฏิบัติดังกลาวจะกอใหเกิดความไมปลอดภัย ใหอธิบดีมีอํานาจสั่งเพิกถอน
การขนึ้ ทะเบยี นตามขอ ๖ ได

ขอ ๑๐ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมอนุญาตใหบังคับหรือปลอยอากาศยานท่ีมีน้ําหนัก
ไมเกิน ๒๕ กิโลกรัม ท่ีใชเพ่ือวัตถุประสงคอื่นตามขอ ๔ (๒) ได เมื่อผูบังคับหรือปลอยอากาศยาน
มีคุณสมบัติและลกั ษณะตามขอ ๑๑ และไดข้ึนทะเบียนตามขอ ๑๒ โดยผูบังคับหรือปลอยอากาศยาน
ตองปฏิบตั ติ ามเง่อื นไขทกี่ าํ หนดตามขอ ๑๓

ขอ ๑๑ ผูบังคับหรอื ปลอยอากาศยานตามขอ ๑๐ ตองมีคณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะ ดงั ตอ ไปนี้
(๑) เพ่อื การรายงานเหตกุ ารณห รอื รายงานการจราจร (ส่ือมวลชน) ตองเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น
โดยมีวัตถุประสงคและดําเนินการดานส่ือสารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วารสาร วิทยุ และโทรทัศน
เปน ตน
(๒) เพือ่ การถายภาพ การถา ยทําหรือการแสดงในภาพยนตรห รือรายการโทรทัศน ตองเปน

(ก) บคุ คลธรรมดา
๑) มอี ายไุ มต่าํ กวายส่ี บิ ปบรบิ รู ณ
๒) ไมเปนผมู ีพฤตกิ ารณอนั เปนภัยตอความม่ันคงของประเทศ
๓) ไมเคยตองโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในความผิดตามกฎหมาย

วาดวยยาเสพติดหรือกฎหมายวา ดวยศลุ กากร
(ข) นิติบุคคล ซ่ึงผแู ทนนติ ิบคุ คลและผจู ัดการของนิตบิ ุคคลน้ัน มคี ุณสมบตั ติ าม (ก)

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๑๑ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) เพ่อื การวิจัยและพฒั นาอากาศยาน ตอ งเปนนิตบิ คุ คลทจ่ี ดั ตงั้ ขนึ้ โดยมวี ตั ถุประสงคและดําเนินการ
เพื่อการวจิ ยั และพฒั นาอากาศยาน

(๔) เพ่อื การอนื่ ตองมคี ุณสมบัตแิ ละลกั ษณะตาม (๒) (ก) (ข)
ขอ ๑๒ ใหผ บู ังคับหรอื ปลอ ยอากาศยานตามขอ ๑๐ ยนื่ คาํ ขอขน้ึ ทะเบียนตออธบิ ดพี รอ มดวย
เอกสารและหลกั ฐานแสดงรายละเอยี ด ดังตอไปน้ี
(๑) กรณีผขู อข้นึ ทะเบียนเปน นติ บิ ุคคล

(ก) หนงั สือรับรองหรอื หลกั ฐานการเปน นติ บิ คุ คล ซึง่ แสดงรายการเก่ยี วกบั ชอ่ื วตั ถปุ ระสงค
ที่ตั้งสาํ นักงาน และผูม ีอาํ นาจลงนามผูกพันนิตบิ คุ คลท่ีเปน ปจจบุ นั โดยมคี าํ รับรองของผมู อี ํานาจใหค าํ รบั รอง
ตามกฎหมายไมเกนิ สามสิบวนั นับแตว ันทอ่ี อกหนังสอื รับรองหรอื หลักฐานนนั้

(ข) บญั ชีรายชือ่ หนุ สวนผูจดั การหรือกรรมการผูจัดการ และผูมอี ํานาจควบคุม (ถา มี)
(ค) สาํ เนาบตั รประจาํ ตัวประชาชน หรือสาํ เนาหนงั สือเดินทางของบุคคลตาม (ข)
(ง) รายชื่อของผบู ังคบั หรือปลอ ยอากาศยานและบุคคลอ่นื ท่ีจาํ เปน ตอ งมใี นการปฏบิ ัติการบิน
ของอากาศยาน
(จ) สาํ เนาบตั รประจาํ ตัวประชาชนและสาํ เนาทะเบยี นบาน รวมทั้งเอกสารแสดงความยินยอม
ของบุคคลตาม (ง)
(ฉ) แบบ ยี่หอ หมายเลขประจําตัวเครื่อง จํานวน และสมรรถนะของอากาศยาน รวมทั้ง
อุปกรณทตี่ ิดตงั้
(ช) สาํ เนากรมธรรมประกันภยั ซง่ึ คมุ ครองความเสียหายอันเกิดแกรางกาย ชีวิต ตลอดจน
ทรพั ยส ินของบุคคลท่สี าม วงเงนิ ประกันไมต ่ํากวา หนงึ่ ลา นบาทตอครั้ง
(ซ) วตั ถุประสงคของการใชอากาศยาน
(ฌ) ขอบเขตของพนื้ ท่ี ตาํ แหนง ทางภมู ิศาสตรท่ีจะทําการบนิ
(ฎ) ขอมลู ติดตอ ของผูย น่ื คาํ ขอลงทะเบยี น
(ฏ) คํารับรองวาผูแทนนิติบุคคลและผูจัดการของนิติบุคคล มีคุณสมบัติและลักษณะ
ตามขอ ๑๑ (๒)

เลม ๑๓๒ ตอนท่ี ๘๖ ง หนา ๑๒ ๒๗ สงิ หาคม ๒๕๕๘
ราชกิจจานเุ บกษา

(๒) กรณีผูข อขึน้ ทะเบยี นเปน บคุ คลธรรมดา
(ก) สาํ เนาบตั รประจําตวั ประชาชน หรอื สําเนาหนงั สือเดินทาง
(ข) สาํ เนาทะเบียนบาน
(ค) รายการตาม (๑) (ฉ) ถงึ (ฏ)

ขอ ๑๓ ใหผ ูบงั คบั หรือปลอยอากาศยานที่ไดขน้ึ ทะเบียนตามขอ ๑๒ แลว ปฏบิ ตั ติ ามเง่ือนไข
ทกี่ ําหนดไวในขอ ๙ โดยอนโุ ลม

ขอ ๑๔ เมื่ออธิบดีไดรับคําขอข้ึนทะเบียนตามขอ ๘ หรือขอ ๑๒ แลว ใหอธิบดีตรวจสอบ
คุณสมบัติและลักษณะของผูขอตามที่กําหนดในขอ ๗ หรือขอ ๑๑ รวมทั้งเอกสารหลักฐานตามที่
กาํ หนดในขอ ๘ หรอื ขอ ๑๒ แลว แตกรณี

หากตรวจสอบตามวรรคหนึ่งแลว เห็นวาผูข อมีคุณสมบตั แิ ละลักษณะ รวมท้ังเอกสารหลักฐาน
ถูกตองครบถวน ใหอธิบดีออกหนังสือการข้ึนทะเบียนมอบไวแกผูขอ หรือมิฉะนั้น ใหอธิบดียกคําขอ
และแจง ใหผูข อทราบ ทง้ั นี้ ไมต ดั สิทธผิ ูขอทจ่ี ะยืน่ คําขอใหม

ขอ ๑๕ หนงั สือการข้ึนทะเบยี นตามขอ ๑๔ ใหมอี ายุสองป นับแตว นั ท่อี อกหนังสอื
ขอ ๑๖ เม่ือผูไดรับหนังสือการข้ึนทะเบียนประสงคจะใชอากาศยานที่ขึ้นทะเบียนไวตอไป
ใหยื่นคําขอข้ึนทะเบียนตามขอ ๘ หรือขอ ๑๒ แลวแตกรณี ตออธบิ ดี กอ นวนั ทีห่ นงั สือการขนึ้ ทะเบียน
สนิ้ อายุไมนอยกวาสามสิบวนั
ขอ ๑๗ ในกรณีที่ผูบังคับหรือปลอยอากาศยานไมสามารถปฏิบัติตามเง่ือนไขตามที่กําหนด
ในขอ ๕ ขอ ๙ และ ขอ ๑๓ และมีหนังสือแจงใหอ ธิบดีทราบแลว ใหอ ธิบดมี ีอํานาจอนญุ าตใหผูบังคับ
หรือปลอยอากาศยานปฏิบัติแตกตางไปจากที่กําหนดได ท้ังน้ี อธิบดีอาจกําหนดเงื่อนไขและขอจํากัด
เพมิ่ เติมเพอื่ ความปลอดภยั ไวดว ยก็ได
ขอ ๑๘ ผใู ดประสงคจะบงั คบั หรอื ปลอยอากาศยานทีค่ วบคุมการบินจากภายนอกท่ีมีนํ้าหนักเกิน
๒๕ กิโลกรมั ใหยืน่ ขออนุญาตตออธิบดีเปนกรณีไป และจะบังคับหรือปลอยอากาศยานไดตอเม่ือไดรับ
อนุญาตเปน หนังสอื จากรัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม และตองปฏบิ ัติตามเงือ่ นไขทก่ี ําหนด

ประกาศ ณ วันท่ี ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลอากาศเอก ประจิน จ่ันตอง
รฐั มนตรวี าการกระทรวงคมนาคม


Click to View FlipBook Version