The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by goi.porntip, 2021-01-04 03:37:26

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

ชุดวชิ า
ลกู เสือ กศน.

รหสั รายวิชา สค32035
รายวชิ าเลอื กบังคบั ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

พทุ ธศักราช 2551

สํานกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาํ นํา

ชุดวิชาลูกเสือ กศน. รหัสรายวิชา สค32035 รายวิชาเลือกบังคับ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ประกอบดวยเนื้อหาเก่ียวกับลูกเสือกับการพัฒนา การลูกเสือไทย
การลูกเสอื โลก คณุ ธรรม จริยธรรมของลกู เสือ วินัย และความเปนระเบยี บเรยี บรอย ลูกเสือ กศน.
กับการพฒั นา ลูกเสือ กศน. กับจิตอาสา และการบริการ การเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชน
และสังคม ทักษะลูกเสือ ความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมลูกเสือ การปฐมพยาบาล
การเดนิ ทางไกล อยคู ายพักแรม และชีวิตชาวคาย การฝกปฏิบัติการเดินทางไกล อยูคายพักแรม
และชีวติ ชาวคาย และชุดวชิ าน้มี วี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือใหผ เู รียนสามารถนําสิ่งที่ไดเรียนรูเปนเครื่องมือ
ที่สําคัญในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม ใหเปนผูท่ีมีคุณภาพ เปนผูนําและ
ผูตามที่ดี มคี ณุ ธรรม มรี ะเบียบวินยั รจู ักเสยี สละ สรา งความสามัคคี บําเพ็ญตนใหเปนประโยชน
ตอผอู ืน่ สามารถดํารงตนอยใู นสงั คมไดอยา งมคี วามสุข

สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
ผูเช่ียวชาญเนื้อหา ท่ีใหการสนับสนุนองคความรูเพ่ือประกอบการนําเสนอเน้ือหา รวมทั้ง
ผูเก่ียวของในการจัดทําชุดวิชา หวังเปนอยางยิ่งวาชุดวิชานี้จะเกิดประโยชนตอผูเรียน กศน.
และนาํ ไปสกู ารปฏบิ ตั อิ ยา งเหน็ คุณคา ตอ ไป

สํานกั งาน กศน.
มถิ ุนายน 2561

คําแนะนําการใชชุดวชิ า
ลกู เสือ กศน.

ชุดวิชาลกู เสือ กศน. รหัสรายวชิ า สค32035 รายวิชาเลือกบังคับ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ประกอบดวยเน้อื หา 2 สวน คอื

สวนท่ี 1 ชุดวชิ า ประกอบดวย โครงสรา งของชดุ วชิ า โครงสรางของหนวยการเรียนรู
เนือ้ หา และกจิ กรรมเรยี งลาํ ดบั ตามหนวยการเรยี นรู

สวนท่ี 2 สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู ประกอบดวย แบบทดสอบกอนเรียน
กิจกรรมการเรียนรู แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เฉลย/
แนวคาํ ตอบกจิ กรรมเรียงลาํ ดับตามหนวยการเรียนรู

วิธีการใชช ุดวิชา
ใหผ เู รียนดําเนินการตามขนั้ ตอน ดังนี้
1. ศึกษารายละเอียดโครงสรา งชดุ วชิ าโดยละเอยี ด เพือ่ ใหผ เู รียนทราบวา ตอ ง

เรียนรเู น้อื หาในเรอ่ื งใดบา งในชดุ วชิ าน้ี
2. วางแผนเพื่อกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผูเรียนมีความพรอมจะศึกษา

ชุดวิชาเพ่ือใหสามารถศึกษารายละเอียดของเน้ือหาไดครบทุกหนวยการเรียนรู พรอมทํา
กิจกรรมตามท่กี าํ หนดใหทนั กอ นสอบปลายภาค

3. ทําแบบทดสอบกอนเรียนของชุดวิชาตามท่ีกําหนดเพ่ือทราบพื้นฐานความรู
เดิมของผูเรียน โดยใหทําลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชาลูกเสือ กศน. และ
ตรวจสอบคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบทา ยเลม

4. ศกึ ษาเน้ือหาในชดุ วชิ าของแตละหนวยการเรียนรูอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งใน
ชุดวิชาและส่อื ประกอบ (ถา มี) และทํากจิ กรรมที่กําหนดไวใหครบถว น

5. เมื่อทําแตละกิจกรรมเรียบรอยแลวผูเรียนสามารถตรวจสอบคําตอบไดจาก
แนวตอบ/เฉลยทา ยเลมของสมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู หากผูเรียนยังทํากิจกรรมไมถูกตอง
ใหผูเ รียนกลับไปทบทวนเนอ้ื หาในเร่ืองนั้น ๆ ซ้าํ จนกวาจะเขาใจ

6. เมือ่ ศกึ ษาเน้อื หาครบทุกหนวยการเรียนรูแ ลว ใหผ เู รียนทําแบบทดสอบหลงั เรียน
และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม วาผูเรียนสามารถทําแบบทดสอบไดถูกตองทุกขอ
หรือไมห ากขอ ใดยงั ไมถ ูกตอ งใหผ ูเรยี นกลบั ไปทบทวนเนื้อหาในเรื่องน้ันใหเขา ใจอีกคร้งั

ขอแนะนํา ผูเรียนควรทําแบบทดสอบหลังเรยี น ใหไดค ะแนนมากกวา แบบทดสอบ
กอนเรียนและควรไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของแบบทดสอบท้ังหมด เพ่ือใหม่ันใจวา
จะสามารถสอบปลายภาคผา น

7. หากผูเรียนไดศึกษาเน้ือหาและทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถ
สอบถามและขอคาํ แนะนาํ ไดจ ากครหู รอื คน ควา จากแหลง การเรยี นรอู ่ืน ๆ เพิ่มเตมิ ได

8. ในการเรียนรูชุดวิชาลูกเสือ กศน. เลมนี้ จะเนนการเรียนรูเน้ือหาและปฏิบัติ
กิจกรรมดวยตนเอง สวนการฝกทักษะประสบการณจะมุงเนนในการปฏิบัติกิจกรรมระหวาง
เขา คายลูกเสอื เพอื่ ทดสอบความถูกตองในการปฏบิ ตั ิแตละกจิ กรรม

หมายเหตุ : การทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และทํากิจกรรมทายเรื่องในแตละ
หนว ยการเรยี นรู ใหผูเรยี นตอบคําถาม โดยเขยี นลงในสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา

การศึกษาคน ควาเพม่ิ เติม
ผูเรียนอาจศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจากแหลงการเรียนรูอื่น ๆ ที่เผยแพร

ความรูในเรื่องทเ่ี ก่ียวของและศึกษาจากผรู ู เปนตน

การวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
ผเู รียนตอ งวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดงั น้ี
1. ระหวา งภาค วัดผลจากการทํากจิ กรรมหรืองานทไี่ ดรับมอบหมาย
ระหวา งเรียน
2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาํ ขอสอบวัดผลสัมฤทธ์ปิ ลายภาค

โครงสรางชุดวชิ า
ลกู เสือ กศน.

มาตรฐานการเรยี นรรู ะดับ
1. มคี วามรู ความเขา ใจ ตระหนกั เก่ียวกับภูมศิ าสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร

การเมอื งการปกครองในโลก และนาํ มาปรับใชใ นการดาํ เนนิ ชวี ิตเพอื่ ความม่ันคงของชาติ
2. มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคา และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

ของประเทศในสังคมโลก
3. มคี วามรู ความเขาใจ ดาํ เนนิ ชีวติ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศ

ตา ง ๆ ในโลก
4. มีความรู ความเขาใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะหขอมูล

และเปนผูนํา ผูตาม ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ใหสอดคลองกับสภาพการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณป จจุบัน

ตัวช้วี ดั

1. อธิบายสาระสาํ คญั ของการลกู เสอื
2. อธิบายความสาํ คัญของการลูกเสอื กบั การพัฒนา
3. อภปิ รายความเปนพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ
4. นําเสนอผลการสํารวจตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม เพือ่ การพฒั นา
5. อธิบายประวตั กิ ารลูกเสือไทย
6. อธิบายความรูทั่วไปเกีย่ วกบั คณะลูกเสือแหง ชาติ
7. อธิบายประวตั ผิ ใู หกาํ เนิดลูกเสือโลก
8. อธิบายความสําคญั ขององคการลกู เสอื โลก
9. อธิบายความสัมพนั ธระหวา งการลกู เสอื ไทยกบั การลกู เสอื โลก
10. อธิบายคําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื
11. อธบิ ายคุณธรรม จรยิ ธรรมจากคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือ
12. ยกตัวอยา งการนาํ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือท่ีใชในชวี ิตประจาํ วนั
13. อธบิ ายความสัมพันธร ะหวา งคุณธรรม จริยธรรมในคาํ ปฏิญาณและกฎของ

ลูกเสอื กบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

14. อธิบายความหมาย และความสําคญั ของวนิ ยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอย
15. อธิบายผลกระทบจากการขาดวนิ ยั และขาดความเปน ระเบยี บเรยี บรอย
16. ยกตัวอยา งแนวทางการเสริมสรา งวินยั และความเปนระเบียบเรียบรอ ย
17. อธิบายระบบหมลู ูกเสอื
18. อธิบายและยกตวั อยางการพัฒนาภาวะผูนาํ – ผูตาม
19. อธบิ ายความเปน มา และความสาํ คญั ของลกู เสือ กศน.
20. อธบิ ายลูกเสือ กศน. กับการพัฒนา
21. ระบุบทบาทหนา ที่ของลกู เสือ กศน. ท่มี ตี อ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน

และสังคม
22. ระบบุ ทบาทหนาทข่ี องลูกเสือ กศน. ท่ีมีตอสถาบนั หลักของชาติ
23. อธบิ ายความหมาย และความสําคญั ของจติ อาสา และการบริการ
24. อธบิ ายหลกั การของจิตอาสา และการบรกิ าร
25. ยกตวั อยา งกิจกรรมจติ อาสา และการใหบ รกิ ารของลูกเสอื กศน.
26. นาํ เสนอผลการปฏบิ ัติตนในฐานะลกู เสอื กศน. เพอ่ื เปนจติ อาสา

และการใหบรกิ ารอยา งนอย 4 กจิ กรรม
27. อธบิ ายความหมาย และความสาํ คัญของโครงการ
28. จาํ แนกลกั ษณะของโครงการ
29. ระบุองคประกอบของโครงการ
30. อธิบายขั้นตอนการเขยี นโครงการ
31. บอกข้นั ตอนการดําเนนิ งานตามโครงการ
32. อภิปรายผลการปฏิบัติงานตามโครงการ และการเสนอผลการดําเนินงาน

ตอ ทีป่ ระชุม
33. อธิบายความหมายและความสําคญั ของแผนที่ - เข็มทศิ
34. อธิบายสวนประกอบของเข็มทิศ
35. อธิบายวิธกี ารใช Google Map และ Google Earth
36. อธิบายความหมายและความสาํ คญั ของเงื่อนเชือก และการผูกแนน
37. ผูกเง่ือนเชือกได และบอกชื่อเงื่อนอยา งนอย 7 เง่ือน
38. สาธติ วธิ ีการผกู แนน อยางนอ ย 2 วธิ ี

39. บอกความหมาย และความสําคัญของความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรม
ลกู เสือ

40. บอกหลักการ วิธีการเฝาระวงั เบอ้ื งตน ในการเขา รว มกจิ กรรมลกู เสอื
41. อธิบายสถานการณห รอื โอกาสท่จี ะเกิดความไมปลอดภัยในการเขารว ม

กิจกรรมลูกเสือ
42. อธบิ ายความหมาย และความสาํ คญั ของการปฐมพยาบาล
43. อธิบายและสาธติ วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณตี า ง ๆ อยางนอ ย 3 วธิ ี
44. อธบิ ายวธิ กี ารวดั สัญญาณชพี และการประเมนิ เบอื้ งตน
45. สาธิตวธิ ีการชว ยชวี ติ ข้นั พน้ื ฐาน
46. อธบิ ายความหมายของการเดินทางไกล
47. อธบิ ายความหมายของการอยคู ายพักแรม
48. อธบิ ายการใชเคร่อื งมอื สําหรบั ชวี ติ ชาวคา ย
49. อธิบายวธิ กี ารจัดการคา ยพักแรม
50. วางแผนและปฏบิ ัติกิจกรรมการเดินทางไกล อยคู ายพักแรม และชวี ิต

ชาวคายทุกกิจกรรม
51. ใชชวี ิตชาวคา ยรว มกบั ผอู ่ืนในคา ยพักแรมไดอยา งสนกุ สนานและมคี วามสุข

สาระสาํ คัญ
ลูกเสือ กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนการเรียนรูเกี่ยวกับลูกเสือ

กับการพัฒนา การลกู เสือไทย การลกู เสอื โลก คุณธรรม จริยธรรมของลูกเสือ วินัย และความเปน
ระเบียบเรยี บรอ ย ลูกเสอื กศน. กับการพัฒนา ลูกเสือ กศน. กบั จิตอาสา และการบรกิ าร การเขยี น
โครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ทักษะลูกเสือ ความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมลูกเสือ
การปฐมพยาบาล การเดนิ ทางไกล อยูค า ยพักแรม และชวี ิตชาวคา ย การฝกปฏิบัติการเดนิ ทางไกล
อยูคายพกั แรม และชวี ิตชาวคาย เนน การฝกปฏิบัติใหเกิดทักษะ โดยนําหลักการและคําปฏิญาณ
ของลูกเสอื มาสรางวนิ ัยและความเปนระเบียบเรยี บรอ ย และการบรกิ ารไปประยุกตใชในวิถีชีวิต
ของตนเองและชุมชนตอ ไป

ขอบขา ยเนอื้ หา
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 ลูกเสือกบั การพฒั นา
หนวยการเรยี นรูที่ 2 การลูกเสือไทย
หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 การลกู เสอื โลก
หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 คุณธรรม จริยธรรมของลกู เสอื
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 5 วนิ ัย และความเปนระเบียบเรียบรอย
หนว ยการเรยี นรูท่ี 6 ลูกเสือ กศน. กบั การพฒั นา
หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ลกู เสอื กศน. กับจิตอาสา และการบรกิ าร
หนวยการเรยี นรทู ี่ 8 การเขียนโครงการเพ่อื พฒั นาชุมชนและสังคม
หนวยการเรียนรูที่ 9 ทกั ษะลูกเสอื
หนว ยการเรียนรูที่ 10 ความปลอดภัยในการเขา รวมกจิ กรรมลกู เสือ
หนว ยการเรียนรูท ี่ 11 การปฐมพยาบาล
หนว ยการเรยี นรูท ่ี 12 การเดินทางไกล อยูค า ยพักแรม และชวี ติ ชาวคาย
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 13 การฝก ปฏิบัติการเดนิ ทางไกล อยคู ายพกั แรม
และชีวิตชาวคา ย

สื่อประกอบการเรียนรู
1. ชดุ วิชาลกู เสือ กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรูป ระกอบชุดวชิ า
3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นรูอนื่ ๆ

จํานวนหนวยกติ
จํานวน 3 หนว ยกิต

กิจกรรมเรียนรู
1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา

และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม
2. ศึกษาเน้อื หาในหนว ยการเรยี นรทู ุกหนวย

3. ทาํ กิจกรรมตามที่กําหนด ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา
และตรวจสอบคาํ ตอบจากเฉลยทายเลม

4. ทําแบบทดสอบหลังเรียน ในสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา
และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทา ยเลม

การประเมินผล
1. ทาํ แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน
2. ทํากจิ กรรมในแตละหนวยการเรยี นรู
3. เขา รว มกจิ กรรมการเดนิ ทางไกล อยคู ายพักแรม และชีวติ ชาวคาย
4. เขารบั การทดสอบปลายภาค

สารบญั หนา

คํานํา 1
คําแนะนาํ การใชชุดวชิ า 3
โครงสรางชุดวิชา 6
หนว ยการเรียนรูท่ี 1 ลูกเสอื กบั การพฒั นา 10
15
เรื่องที่ 1 สาระสําคญั ของการลกู เสอื 18
เรื่องท่ี 2 ความสําคัญของการลูกเสอื กับการพฒั นา 20
เร่อื งท่ี 3 ลูกเสือกบั การพฒั นาความเปนพลเมอื งดี 42
เรื่องที่ 4 การสํารวจตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม เพ่อื การพัฒนา 48
หนวยการเรียนรทู ่ี 2 การลูกเสือไทย 50
เร่อื งที่ 1 ประวตั ิการลกู เสือไทย 54
เรอ่ื งท่ี 2 ความรทู ่ัวไปเกย่ี วกบั คณะลูกเสอื แหง ชาติ 60
หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 การลูกเสอื โลก 66
เร่อื งที่ 1 ประวัติผใู หกําเนิดลูกเสือโลก 67
เร่อื งที่ 2 องคก ารลกู เสอื โลก 71
เรื่องท่ี 3 ความสมั พนั ธระหวา งลกู เสือไทยกบั ลูกเสอื โลก 72
หนวยการเรยี นรทู ่ี 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลกู เสอื 73
เรอ่ื งท่ี 1 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
เรื่องท่ี 2 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมจากคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื 76
เรอ่ื งท่ี 3 การนําคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื ทีใ่ ชใ นชวี ิตประจําวนั 78
เรื่องที่ 4 ความสมั พนั ธระหวางคณุ ธรรม จริยธรรมในคําปฏญิ าณ 79
81
และกฎของลูกเสือกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 82
หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 วินัย และความเปนระเบียบเรยี บรอย 84

เรื่องท่ี 1 วนิ ัยและความเปนระเบยี บเรียบรอย
เรือ่ งท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ยั และขาดความเปน ระเบยี บเรียบรอย
เร่ืองที่ 3 แนวทางการเสริมสรางวนิ ยั และความเปนระเบยี บเรยี บรอย
เรอื่ งท่ี 4 ระบบหมูลูกเสือ
เร่อื งที่ 5 การพัฒนาภาวะผนู ํา – ผตู าม

สารบัญ (ตอ)

หนา

หนวยการเรียนรทู ี่ 6 ลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา 87

เร่อื งที่ 1 ลกู เสอื กศน. 89

เรื่องที่ 2 ลูกเสอื กศน. กับการพฒั นา 90

เร่อื งท่ี 3 บทบาทหนา ท่ีของลกู เสอื กศน. ทมี่ ตี อ ตนเอง ครอบครวั 91

ชุมชน และสังคม

เร่อื งที่ 4 บทบาทหนา ที่ของลกู เสือ กศน. ทม่ี ีตอ สถาบนั หลักของชาติ 93

หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ลกู เสอื กศน. กบั จิตอาสา และการบรกิ าร 94

เรื่องที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร 96

เรอ่ื งที่ 2 หลกั การของจติ อาสา และการบริการ 97

เร่อื งท่ี 3 กจิ กรรมจติ อาสา และการใหบรกิ ารของลูกเสือ กศน. 98

เร่อื งที่ 4 การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสอื กศน. เพอ่ื เปนจิตอาสาและการใหบ รกิ าร 102

หนวยการเรียนรทู ี่ 8 การเขยี นโครงการเพอื่ พฒั นาชมุ ชนและสงั คม 104

เรอ่ื งที่ 1 โครงการเพือ่ พฒั นาชมุ ชนและสังคม 106

เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะของโครงการ 107

เรอ่ื งที่ 3 องคป ระกอบของโครงการ 108

เรอ่ื งที่ 4 ขั้นตอนการเขียนโครงการ 109

เรอ่ื งที่ 5 การดาํ เนินงานตามโครงการ 112

เรื่องที่ 6 การสรุปรายงานผลการดําเนนิ งานโครงการเพื่อเสนอตอทปี่ ระชุม 112

หนว ยการเรียนรูที่ 9 ทกั ษะลูกเสือ 115

เรอ่ื งท่ี 1 แผนที่ – เขม็ ทิศ 117

เรอ่ื งที่ 2 วิธีการใชแผนท่ี – เขม็ ทศิ 120

เรื่องที่ 3 การใช Google Map และ Google Earth 126

เรือ่ งท่ี 4 เงอ่ื นเชอื กและการผูกแนน 132

หนวยการเรยี นรทู ี่ 10 ความปลอดภัยในการเขารวมกจิ กรรมลูกเสอื 150

เรอ่ื งท่ี 1 ความปลอดภัยในการเขารว มกิจกรรมลกู เสอื 151

เร่ืองท่ี 2 หลกั การ วิธกี ารในการเฝา ระวังเบ้อื งตนในการเขา รว มกจิ กรรมลกู เสือ 151

เรื่องท่ี 3 การชว ยเหลอื เมือ่ เกดิ เหตุความไมปลอดภยั ในการเขา รวมกจิ กรรมลูกเสือ 152

เรอ่ื งที่ 4 การปฏิบัตติ นตามหลกั ความปลอดภัย 154

สารบญั (ตอ )

หนา

หนว ยการเรียนรทู ่ี 11 การปฐมพยาบาล 155

เร่อื งที่ 1 การปฐมพยาบาล 157

เรอื่ งที่ 2 วิธีการปฐมพยาบาลกรณีตาง ๆ 158

เร่ืองที่ 3 การวัดสัญญาณชีพและการประเมินเบ้ืองตน 170

เรอ่ื งท่ี 4 วิธกี ารชว ยชวี ติ ขั้นพนื้ ฐาน 171

หนวยการเรยี นรูท ี่ 12 การเดนิ ทางไกล อยคู ายพักแรม และชีวติ ชาวคา ย 175

เรอ่ื งท่ี 1 การเดนิ ทางไกล 177

เร่ืองที่ 2 การอยูคายพักแรม 179

เรือ่ งท่ี 3 ชวี ิตชาวคา ย 180

เรอื่ งที่ 4 วธิ ีการจดั การคายพักแรม 193

หนว ยการเรียนรูท่ี 13 การฝก ปฏิบตั กิ ารเดนิ ทางไกล อยคู า ยพกั แรม และชวี ิตชาวคา ย 195

เรื่องท่ี 1 การวางแผน ปฏิบัตกิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกล 196

อยูคายพกั แรม และชวี ิตชาวคา ย

1) กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรม และอุดมการณลูกเสอื

2) กิจกรรมสรางคายพักแรม

3) กจิ กรรมชีวติ ชาวคาย

4) กิจกรรมฝก ทักษะลกู เสือ

5) กิจกรรมกลางแจง

6) กจิ กรรมนันทนาการ และชมุ นุมรอบกองไฟ

7) กจิ กรรมนาํ เสนอผลการดําเนนิ งาน ตามโครงการทไ่ี ดด าํ เนินการ

มากอนการเขา คา ย

เร่อื งท่ี 2 การใชช วี ิตชาวคา ยรวมกับผูอื่นในคายพกั แรมไดอ ยา งสนุกสนาน

และมคี วามสขุ 200

บรรณานกุ รม 201
คณะผูจดั ทาํ 205

1

หนวยการเรียนรูท่ี 1
ลกู เสือกับการพัฒนา

สาระสาํ คญั
การลูกเสือ มีเปาหมายเพ่ืออบรมส่ังสอนและฝกฝนใหบุคคลเปนพลเมืองดี ซึ่ง

วตั ถปุ ระสงคของคณะลูกเสือแหง ชาติ น้ัน เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และ
ศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหมีเกิดความสามัคคี
และมีความเจริญกาวหนา และหลักการของการลูกเสือ มุงสงเสริม สรางสรรคใหลูกเสือและ
ผบู งั คับบัญชาลูกเสอื ยดึ ถือเปนแนวปฏบิ ตั ิในการดําเนินกิจกรรมลูกเสือและใชในการดําเนินชีวิต
ของตนเองใหเกิดความสุขใหเปนคนดี คนเกง พ่ึงตนเอง เห็นอกเห็นใจและชวยเหลือผูอ่ืนได
มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยยึดหลักการ คําปฏิญาณและกฎของ
ลกู เสือเปนหลักปฏิบตั ิ และพรอ มทจี่ ะให “บริการ” ตามทศั นะของการลูกเสือ ท้ังน้ี ตองคํานึงถึง
สภาวะแวดลอม สถานภาพ และขีดความสามารถของตนเอง โดยการสํารวจตนเอง ครอบครัว
ชุมชนและสงั คมเพื่อการพัฒนา และมแี นวทางการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม

ตวั ช้วี ัด

1. อธิบายสาระสําคญั ของการลูกเสอื
2. อธิบายความสําคญั ของการลกู เสอื กบั การพฒั นา
3. อภิปรายความเปนพลเมอื งดีในทัศนะของการลูกเสือ
4. นําเสนอผลการสํารวจตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม เพอ่ื การพัฒนา

ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 สาระสาํ คัญของการลูกเสอื
1.1 วตั ถุประสงคข องการพัฒนาลกู เสอื
1.2 หลกั การสาํ คญั ของการลูกเสอื
เรอ่ื งที่ 2 ความสาํ คญั ของการลูกเสอื กับการพฒั นา
2.1 การพฒั นาตนเอง
2.2 การพฒั นาสัมพันธภาพระหวา งบุคคล
2.3 การพฒั นาสมั พนั ธภาพภายในชุมชนและสงั คม

2

เร่อื งท่ี 3 ลูกเสอื กบั การพัฒนาความเปนพลเมอื งดี
3.1 ความหมายของพลเมอื งดี
3.2 ความเปนพลเมอื งดใี นทศั นะของการลกู เสือ

เรือ่ งท่ี 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม เพือ่ การพฒั นา
4.1 การสํารวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
4.2 แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม

เวลาท่ใี ชในการศึกษา 2 ชั่วโมง

สอื่ การเรยี นรู
1. ชุดวชิ าลกู เสือ กศน. รหัสรายวชิ า สค32035
2. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า
3. สอ่ื เสริมการเรยี นรอู ื่น ๆ

3

เรื่องท่ี 1 สาระสําคญั ของการลกู เสือ
พระราชบญั ญัตลิ กู เสอื พ.ศ. 2551 ไดใ หค วามหมายของคําวา “ลูกเสือ” หมายถึง

เดก็ และเยาวชนท้งั ชายและหญิง ทส่ี มคั รเขาเปน ลกู เสือทงั้ ในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา
สวนลูกเสอื ท่ีเปนหญิงใหเรียกวา “เนตรนาร”ี

การลูกเสือ หมายถึง กิจการที่นําเอาวัตถุประสงค หลักการ และวิธีการของ
ขบวนการลูกเสอื มาใชเพ่ือการพฒั นาเด็กและเยาวชน

การลกู เสอื เปนกระบวนการสําคญั ยิ่งของการศึกษาท่ีไดรับการยอมรับจากทั่วโลก
เพราะเปน กจิ กรรมพฒั นาเยาวชนใหมีคุณธรรมสูง สงเสริมบุคลิกภาพที่ดี และมีความเปนผูนํา
ในการพฒั นาเยาวชนนน้ั พระราชบัญญตั ลิ กู เสือ พ.ศ. 2551 ไดใหความหมายของวัตถุประสงค
คณะลูกเสือแหง ชาติ ไวใ นมาตรา 8 ความวา “คณะลูกเสือแหงชาติ มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนา
ลกู เสอื ทง้ั ทางกาย สตปิ ญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวย
สรางสรรคสงั คมใหเกิดความสามัคคี และมีความเจริญกาวหนา ทั้งนี้ เพื่อความสงบสุขและความ
ม่ันคงของประเทศชาติ” โดยมีวัตถุประสงคของการพัฒนาลูกเสือ และหลักการสําคัญของ
การลูกเสือ ดงั น้ี

1.1 วตั ถปุ ระสงคข องการพัฒนาลกู เสอื
คณะลูกเสือแหง ชาติ ไดกาํ หนดวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย

สตปิ ญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเ ปน พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคมใหมี
ความสามัคคีและมคี วามเจริญกาวหนา ทั้งน้ี เพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของประเทศชาติ
ตามแนวทางดงั ตอไปน้ี

1) ใหมนี ิสัยในการสงั เกต จดจํา เชอ่ื ฟงและพงึ่ ตนเอง
2) ใหซือ่ สัตยส จุ รติ มีระเบียบวินัยและเหน็ อกเหน็ ใจผูอนื่
3) ใหรจู กั บาํ เพญ็ ตนเพอ่ื สาธารณประโยชน
4) ใหรูจกั ทาํ การฝมอื และฝกฝนใหท าํ กิจการตาง ๆ ตามความเหมาะสม
5) ใหรจู กั รกั ษาและสง เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความม่ันคง

ของประเทศชาติ
ซึ่งสอดคลองกับธรรมนูญขององคการแหง โลก วาดวยขบวนการลูกเสอื ทีไ่ ดกําหนด
วตั ถุประสงคข องขบวนการลูกเสอื ไวดังตอ ไปน้ี
“จุดมุงประสงคของขบวนการลูกเสือ คือ การสนับสนุนการพัฒนาอยางเต็มท่ี
ซงึ่ ศักยภาพทางกาย สตปิ ญญา สงั คม จติ ใจและศีลธรรม ใหแกเยาวชนเปน รายบุคคล เพ่ือให

4

เขาเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ในฐานะที่เปนสมาชิกของชุมชนในทองถิ่น ในชาติ และ
ในชมุ ชนระหวางนานาชาติ”

ขบวนการลกู เสือท่ัวโลก เปนขบวนการท่ีมุงพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทุกเพศ
ทกุ วัย และทุกฐานะ ใหไ ดร บั การพฒั นาในทกุ ดาน กลา วคอื

การพัฒนาทางกาย เพ่ือใหมีรางกายเจริญเติบโต แข็งแรง เพียบพรอมดวย
สขุ ภาพอนามยั ทส่ี มบรู ณ โดยการสง เสริมการใชชีวิตกลางแจง

การพฒั นาทางสติปญ ญา เพอ่ื ใหม ีสติปญ ญาเฉลยี วฉลาด พึง่ ตนเองได โดยการ
สงเสริมการเรยี นรูดวยการกระทาํ รวมกนั

การพัฒนาทางจิตใจ เพื่อใหมีคุณธรรม จริยธรรมในการดํารงชีวิต โดยยึด
คาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือเปนหลกั ประจําใจและนําไปใชใ นชีวิตประจําวัน

การพฒั นาทางสังคม เพอ่ื ใหมจี ติ สาธารณะ คดิ ดี ทําดี และมีความเปนพลเมืองดี
สามารถปรบั ตวั ใหอ ยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ โดยการบําเพ็ญประโยชนต อผูอ ่นื

1.2 หลกั การสําคญั ของการลกู เสือ
เบเดน โพเอลล ไดกาํ หนดหลักการสําคญั ของการลูกเสอื ไว 8 ประการ ดงั น้ี
1) ลูกเสือเปน ผมู ีศาสนา
2) ลกู เสอื มีความจงรกั ภักดีตอ ชาติบานเมอื ง
3) ลูกเสอื มีความเช่ือมน่ั ในมิตรภาพและความเปนภราดรของโลก
4) ลกู เสือเปน ผูบ าํ เพ็ญประโยชนตอ ผอู ่นื
5) ลกู เสอื เปนผยู ึดมั่นและปฏบิ ัติตามคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ
6) ลูกเสอื เปน ผูอ าสาสมคั ร
7) ลูกเสือยอ มไมเ กยี่ วขอ งกบั การเมอื ง
8) มีกาํ หนดการพิเศษสําหรับการฝกอบรมเด็กชาย และคนหนุมเพ่ือให

เปน พลเมืองดี มีความรบั ผิดชอบ โดยอาศัยวิธีการระบบหมู ระบบกลุม มีการทดสอบเปนข้ันๆ
ตามระดับของหลักสตู รและวิชาพิเศษลูกเสอื และใชกจิ กรรมกลางแจง

เบเดน โพเอลล ไดเขียนสาสน ฉบบั สดุ ทายถึงลกู เสือ มีขอความสําคัญดังนี้ 1) จงทําตนเอง
ใหม ีอนามยั และแข็งแรงในขณะท่ียังเปนเด็ก 2) จงพอใจในส่ิงท่ีเธอมีอยูและทําสิ่งนั้นใหดีที่สุด
3) จงมองเรอื่ งราวตา ง ๆ ในแงด ี แทนทีจ่ ะมองในแงราย 4) ทางอันแทจริงท่ีจะหาความสุข คือ
โดยการใหความสุขแกผูอ่ืน 5) จงพยายามปลอยอะไรไวในโลกน้ีใหดีกวาท่ีเธอไดพบ และ
6) จงยดึ มั่นในคําปฏิญาณของลูกเสอื ของเธอไวเสมอ

5

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริวา เด็กผูชายเปน
ผูท่ีสมควรไดรับการฝกฝนท้ังรางกายและจิตใจ เปรียบเหมือนไมท่ียังออน จะดัดใหเปนรูป
อยางไรกเ็ ปนไปไดโดยงายและงดงาม ถารอไวจนแกเสียแลวเมื่อจะดัดก็ตองเขาไฟ และมักจะ
หักได เพ่ือจะไดรูจักหนาที่ ผูชายไทยทุกคนควรประพฤติใหเปนประโยชนแกชาติบานเมือง
อนั เปน บานเกดิ เมืองนอนของตน

ห ลั ก ก า ร ข อ ง ลู ก เ สื อ อ ยู ท่ี ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม คํ า ป ฏิ ญ า ณ แ ล ะ ก ฎ ข อ ง ลู ก เ สื อ
โดยคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สํารอง มีดังนี้

คําปฏิญาณกลาววา ขา สัญญาวา
ขอ 1 ขาจะจงรกั ภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
ขอ 2 ขา จะยดึ ม่นั ในกฎของลูกเสอื สํารองและบําเพญ็ ประโยชนต อผอู ่ืนทุกวัน

กฎของลกู เสือสํารอง
ขอ 1 ลูกเสือสํารองทําตามลกู เสือรุน พ่ี
ขอ 2 ลูกเสือสํารองไมท าํ ตามใจตนเอง

สว นคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ ลูกเสือ
วิสามญั และผบู งั คับบัญชาลูกเสอื มีดังน้ี

คําปฏิญาณกลาววา ดว ยเกียรติของขา ขาสญั ญาวา
ขอ 1 ขาจะจงรักภกั ดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ 
ขอ 2 ขาจะชวยเหลือผูอ่นื ทกุ เม่อื
ขอ 3 ขา จะปฏิบัตติ ามกฎของลกู เสือ

กฎของลกู เสือ มี 10 ขอ ดงั น้ี
ขอ 1 ลูกเสือมเี กียรติเช่ือถือได
ขอ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และซื่อตรง

ตอ ผูมีพระคณุ
ขอ 3 ลูกเสือมีหนา ทก่ี ระทาํ ตนใหเปน ประโยชนแ ละชวยเหลอื ผอู ่นื
ขอ 4 ลกู เสอื เปน มติ รของคนทุกคนและเปนพ่ีนองกับลูกเสอื อน่ื ทว่ั โลก
ขอ 5 ลกู เสอื เปน ผสู ภุ าพเรียบรอ ย
ขอ 6 ลูกเสอื มคี วามเมตตากรณุ าตอสตั ว
ขอ 7 ลูกเสอื เช่ือฟง คาํ สงั่ ของบิดามารดา และผูบงั คับบญั ชาดวยความเคารพ
ขอ 8 ลกู เสือมใี จราเรงิ และไมยอ ทอ ตอความลาํ บาก
ขอ 9 ลูกเสอื เปน ผมู ัธยัสถ
ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ

6

สรุปไดวา หลักการของลูกเสือดังกลาวมุงสงเสริมสรางสรรคใหลูกเสือและ
ผูบังคบั บัญชาลูกเสือยึดถือเปนแนวปฏิบัติในการดําเนินกิจกรรมลูกเสือและใชในการดําเนินชีวิต
ของตนเองใหเกิดความสุข ใหเปนคนดี คนเกง พึ่งตนเอง เห็นอกเห็นใจและชวยเหลือผูอ่ืนได
มคี วามจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย โดยยึดหลักการ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
เปนหลักปฏิบตั ิ

กิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 สาระสาํ คญั ของการลูกเสือ
(ใหผ ูเ รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

เรื่องที่ 2 ความสาํ คญั ของการลูกเสือกบั การพัฒนา
การลูกเสือท่ัวโลกมีจุดประสงค หลักการ วิธีการ และอุดมการณเดียวกัน คือ

การพัฒนาศักยภาพบุคคลใหเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบในการพัฒนา
ตนเอง การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบุคคล และการพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและ
สงั คม โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี

2.1 การพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง หมายถึง ความตองการของบุคคลในการพัฒนาความรู

ความสามารถของตนจากที่เปนอยูใหมีความรู ความสามารถและพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ใหเ พม่ิ ขนึ้ และดีข้ึนในการพัฒนาทางกาย จิตใจ อารมณ สติปญญา สังคม ความรู อาชีพ และ
สง่ิ แวดลอม โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1) การพฒั นาทางกาย หมายถึง การพฒั นาสุขภาพ อนามยั ใหร างกาย
สมบูรณ แขง็ แรง รวมถงึ การพัฒนาบุคลิกภาพ กริยาทาทาง การแสดงออก การใชนํ้าเสียง วาจา
การใชค ําพูดในการสอ่ื ความหมาย และการแตง กายทสี่ ะอาด เหมาะสมกับกาลเทศะ เหมาะกับ
รปู รางและผิวพรรณ

2) การพฒั นาทางจติ ใจ หมายถงึ การพัฒนาเจตคติท่ีดี หรือความรูสึก
ท่ีดี หรอื การมองโลกในแงด ี รวมถึงการพัฒนาสุขภาพจิตของตนเองใหอยูในสถานการณที่เปน
ปกติ และ เปนสขุ โดยมคี ุณธรรมเปน หลักในการพัฒนาจติ ใจ

3) การพัฒนาทางอารมณ หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการ
ควบคุมความรูสึก นึกคิด การควบคุมอารมณที่เปนโทษตอตนเองและผูอื่น โดยมีธรรมะ
เปน หลักพฒั นาทางอารมณ

4) การพัฒนาทางสติปญญา หมายถึง การพัฒนาทักษะการเรียนรู
ดวยการช้ีนําตนเอง การพัฒนาความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง การพัฒนา
กระบวนการทางความคิดเชิงวิเคราะห การตัดสินใจดวยความเฉลียวฉลาดและมีไหวพริบ
ปฏญิ าณภมู ิคมุ กนั ทีด่ ีในตน และมีวิถกี ารดาํ เนนิ ชีวิตอยา งพอประมาณ และมเี หตผุ ลทดี่ ี

7

5) การพฒั นาทางสงั คม หมายถึง การพัฒนาความเปนพลเมืองดี คิดดี
ทาํ ดี มจี ติ สาธารณะ สามารถปรับตัวใหอยใู นสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ

6) การพฒั นาทางความรู หมายถึง การพัฒนาความรอบรูทางวิชาการ
และเทคโนโลยีที่กาวหนา สามารถนําเทคโนโลยีท่ีมีอยูมาใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี
ประสทิ ธิภาพ

7) การพัฒนาทางอาชีพ หมายถึง การพัฒนาทักษะฝมือ ความรู
ความสามารถ ความชํานาญการทางอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน
โดยการฝก ทักษะฝมือ

8) การพัฒนาส่ิงแวดลอม หมายถึง การกระตุน และรักษา ตลอดจน
แสวงหาแนวทางทจี่ ะทําใหสิ่งแวดลอม มีความย่ังยืน ดวยการสรางความรู ความเขาใจ ในคุณคา
และการดูแลการรักษา

2.2 การพฒั นาสัมพนั ธภาพระหวางบคุ คล
การพัฒนาสมั พนั ธภาพระหวางบคุ คล หมายถึง ความผูกพนั ความเกีย่ วของ

เปนกระบวนการติดตอเกี่ยวของระหวางบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปเพื่อทําความรูจักกัน
โดยวัตถุประสงครวมกันดวยความเต็มใจ มีความรูสึกท่ีดีตอกัน อาศัยการแสดงออกทางกาย
วาจา และใจ ในชวงระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงอาจไมจํากัดแนนอน สามารถอยูรวมกันและทํางาน
รวมกับผูอ่ืนได โดยมีสัมพันธภาพที่ดีตอกันและสรางสรรคผลงานที่เปนประโยชนใหเกิดขึ้น
โดยอาศัยความอดทนในการอยรู ว มกัน

การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบคุ คล จาํ เปน อยางยิง่ ทจี่ ะตองเร่ิมท่ตี นเอง
ดงั นี้

1) รูจักปรบั ตนเองใหมีอารมณห นักแนน ไมหวาดระแวง ไมออนแอหรือ
แขง็ กระดาง ไมเปลีย่ นแปลงหรือผนั แปรงาย

2) รูจ ักปรับตนเองใหเขากบั บคุ คล และสถานการณ รวมทั้งยอมรับและ
ปฏิบัตติ ามกฎ กติกา ระเบียบตาง ๆ รูจ ักบทบาทของตนเอง

3) รูจ กั สงั เกต รจู ด และรูจํา การสังเกตจะชว ยใหเ ราสามารถเขากับทุกคน
ทกุ ชนั้ ทุกเพศ และทกุ วัยไดด ี

4) รูจักตนเองและประมาณตน ชวยใหคนลดทิฐิ และเห็นความสําคัญ
ของผอู ืน่ ซึ่งชวยสรางความพึงพอใจใหแ กกนั

5) รจู กั สาเหตแุ ละใชเหตุผลตอผูอื่น ชวยลดความววู าม ทําใหการคบหา
กนั ไปดว ยดี

6) มคี วามมั่นใจในตนเอง และเปนตัวของตวั เอง

8

2.3 การพฒั นาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสงั คม
การพัฒนาสัมพันธภาพภายในชุมชนและสังคม หมายถึง กระบวนการ

เปลี่ยนแปลงภายในสังคมท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม
เพื่อประชาชนมีชีวิตความเปนอยูท่ดี ขี ึน้ ทง้ั ดา นท่อี ยูอ าศยั อาหาร เครื่องนุงหม สุขภาพอนามยั
การศึกษา การมีงานทํา มีรายไดเพียงพอในการครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค
ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลง
ทกุ ข้นั ตอนอยางมรี ะบบ

การพัฒนาสัมพนั ธภาพภายในชมุ ชนและสงั คม จําเปนตอ งเร่มิ ตนที่ตนเอง
ดังน้ี

1) พัฒนาบุคลกิ ภาพใหผูพ บเหน็ เกดิ ความช่ืนชมและประทับใจดวยการ
พดู และกริ ิยาทา ทาง

2) พัฒนาพฤตกิ รรมการแสดงออกดว ยความจริงใจ ใจกวา ง ใจดี
3) ใหความชวยเหลือเอาใจใสในกิจกรรมและงานสวนรวมดวยความ
มนี ้าํ ใจและเสียสละ
4) ใหค ําแนะนําหรอื เสนอแนะส่งิ ที่เปน ประโยชนตอสวนรวม
5) รวมแกไ ขปญหาขอขัดแยง ในสังคมใหดขี ึ้น
6) พูดคยุ กบั ทกุ คนดวยความยมิ้ แยม แจมใส และเปนมติ รกับทุกคน
7) ยดึ หลกั ปฏิบัตติ ามคา นยิ มพื้นฐาน คือ การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร
มีความรับผิดชอบ ประหยัดและออม มีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย ปฏิบัติตามคุณธรรม
ของศาสนา มีความจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ 
นอกจากน้ี ยังจําเปนตองพัฒนาสัมพันธภาพตอส่ิงแวดลอม โดยการสํารวจ
สภาพทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม ใหความสนใจและรวมมือในการจัดกิจกรรม ตลอดจน
การบํารุงรักษาใหเกดิ ประโยชนต อ ชนรุนหลัง
สํานักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ไดกําหนดแนวทางการพัฒนา
ลูกเสือ 8 ประการ คอื
1) การพัฒนาทางกาย คือ การจัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหลูกเสือได
ออกกําลังกายอยางเต็มที่ และทําใหรางกายแข็งแรง เชน การเลนเกม การเดินทางไกลอยู
คายพักแรม การฝกวายน้ํา เลนฟุตบอล เปนตน ใหเหมาะสมกับสภาพอนามัยและอายุ
ของเดก็ ไมใชกิจกรรมทีต่ อ งออกแรงมากเกนิ ไป หรือเปน กิจกรรมสาํ หรบั เด็กเล็ก ๆ
2) การพัฒนาทางสติปญญา คือ การจัดกิจกรรมที่เราใจใหลูกเสือได
ปฏิบัติอันเปนการกระตุนใหเด็กเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค วิธีการบางอยางท่ีไดนํามาใช
ในการพัฒนาทางสติปญญา ไดแ ก งานประเภทงานผีมือตาง ๆ เชน การประดิษฐส่ิงของจากวัสดุ
เหลอื ใช การทาํ งานดวยเคร่อื งมือ การชมุ นุมรอบกองไฟ การแสดงหนุ กระบอก เปนตน

9

3) การพัฒนาทางจติ ใจและศีลธรรม ผูกํากับลูกเสือจะชวยพัฒนาจิตใจ
และศีลธรรมใหแกล กู เสอื ไดโ ดยสงเสริมใหมีความซาบซึ้งในศาสนา ดวยการฟงเทศน ไหวพระ
สวดมนต การปฏิบัติศาสนกิจและการไปทําบุญทําทานที่วัด พัฒนาแนวความคิดทางศาสนา
เชน การเชื่อคําสอนในพระพุทธองค การเช่ือในอํานาจลึกลับบางอยางที่ดลบันดาลความหวัง
ใหแ กชวี ติ กระตนุ ใหเ ด็กปฏิบัติตามและเชอื่ ถือตามพอแม กิจการลูกเสือสามารถที่จะเช่ือมโยง
กบั ศาสนาตาง ๆ ได

4) การพัฒนาในเรื่องการสรางคานิยมและเจตคติ ผูกํากับลูกเสือตอง
พยายามสรา งคา นยิ มและเจตคติที่ดีในส่ิงแวดลอมท่ัวไปใหเด็กเห็น และปลูกฝงลงไปในตัวเด็ก
โดยการแสดงภาพที่ดีที่มีคานิยม อภิปรายปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับลูกเสือแตละคนหรือกับ
กลุมลกู เสอื ทกุ โอกาส เพ่ือวา ลูกเสอื จะไดพบดว ยตัวเองวาคานยิ ม เจตคติและมาตรฐานอะไรที่มี
คุณคา อยา งยงิ่ ยวด

5) การพัฒนาสัมพันธภาพระหวางบุคคล ผูกํากับจะตองชวยเหลือให
ลูกเสือสรางสัมพันธภาพอยางฉันทมิตรกับผูอื่นอยางสม่ําเสมอ นอกจากน้ันก็ใหลูกเสือ
ไดทดสอบความสามารถหรือทักษะของเขาในการสรางสรรคความสัมพันธกับผูกํากับลูกเสือ
และทดสอบความสามารถในการผูกมิตรกบั เดก็ ชายหญงิ ในวยั เดยี วกันกับเขา

6) การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม ผูกํากับลูกเสือควรตระหนักถึง
การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมวา เปนเสมือนสวนหน่ึงท่ีสอดแทรกอยูในกิจการของลูกเสือ
กลมุ ลกู เสือควรจะมีความสามารถทจ่ี ะทาํ งานรวมกันอยางกลมเกลียวราบรื่น ลูกเสือควรจะได
เรยี นรถู ึงการใหค วามรวมมอื การใหและการรบั แสดงบทบาทผูกํากับ และเรียนรูถึงการยอมรับ
ในคุณคาและบคุ ลิกภาพของบุคคลอ่ืน ๆ เพราะไมมีใครจะอยูไดอยางเดียวดาย ระบบหมูของ
ลกู เสือจะชว ยใหลูกเสือแตล ะคนเขารว มกนั เปนกลุมที่ประกอบดวยบุคคลในรุนเดียวกัน และมี
ความสนใจคลายคลงึ กนั ในสภาพเชนนี้ ลูกเสอื สามารถทดลองทกั ษะในการทาํ งานในกลมุ เล็ก ๆ
ซึง่ จะมีสว นชวยเขาในอนาคตทั้งที่ทาํ งานและท่บี าน

7) การพฒั นาสัมพันธภาพตอชุมชน คือ ความพรอมและความสามารถ
ใหบ รกิ ารแกผูอืน่ ผูบ งั คบั บัญชาควรกระตุนใหลูกเสือไดเขาไปมีสวนรวมในชุมชนอยางเขมแข็ง
ไมวาจะเปนการบําเพ็ญประโยชนประจําเฉพาะตัว หรือปฏิบัติการรวมกันทั้งหมูในโครงการ
บําเพ็ญประโยชน เจตคตแิ ละทกั ษะดงั กลา วจะเปนทักษะท่มี ีคา และสําคัญ ถาในวันหนึ่งลูกเสือ
ไดร ับการกระตุนใหเ ปนผทู ม่ี สี วนชวยสรางสรรคสังคม ชุมชนในสังคมน้ันก็จะมีความประทับใจ
ในผลงานของลกู เสอื

8) การพัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม คือ การสงเสริม
ใหลูกเสอื ไดมคี วามเพลิดเพลินกับชวี ิตกลางแจง สง เสรมิ ใหร ูจักรักธรรมชาตแิ ละรกั ษาธรรมชาติ
การเรียนรูเรื่องธรรมชาติเปนกิจกรรมที่นําไปสูความสําเร็จในการลูกเสือ เพราะธรรมชาติให
บทเรียนวา คนเราสามารถเล้ียงชีพไดอยางไร รวมทั้งสอนใหรูจักการดํารงชีวิตตลอดไปจนถึง

10

การแสวงหาความสขุ จากชวี ติ อีกดวย ความรูพเิ ศษในเร่อื งของธรรมชาติเปนวิธีท่ีดีท่ีสุดที่จะเปด
ดวงจิตและความคิดของเด็กใหรูคุณคาความงามของธรรมชาติ เม่ือนิยมไพรไดฝงอยูในดวงจิต
ของเด็กแลว การสงั เกต การจดจํา การอนุมานจะไดร ับการพัฒนาข้ึนโดยอัตโนมัติจนกลายเปน
นสิ ยั อีกประการหน่งึ ในปจจุบันประชากรท่ัวโลกไดตระหนักถึงความตองการที่จะปองกันและ
อนุรักษธรรมชาติท้ังหลาย ท้ังรัฐบาลและองคการอนุรักษธรรมชาติตาง ๆ กําลังดําเนินการ
อยางเขมแข็งที่จะใหการศึกษาแกประชาชนใหคิดและดําเนินการรักษาสิ่งแวดลอมรอบตัว
มีวิถีทางอยางมากมายท่ีลูกเสือสามารถปฏิบัติและชวยเหลือในการอนุรักษธรรมชาติได เชน
การรณรงคตอตานการทิ้งเศษส่ิงของลงในที่สาธารณะ การทําความสะอาดทางระบายนํ้า
การปลูกตน ไม การจัดภาพแสดงการอนรุ กั ษป ดไวตามที่สาธารณะ เปนตน

กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 2 ความสําคญั ของการลูกเสอื กบั การพฒั นา
(ใหผเู รียนไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 ท่ีสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรูป ระกอบชดุ วชิ า)

เรื่องที่ 3 ลูกเสอื กับการพฒั นาความเปน พลเมอื งดี
การลกู เสือเปนขบวนการทางการศึกษาสําหรบั เดก็ และเยาวชนท่ีมีวัตถุประสงค

เพือ่ สรา งบุคลิกภาพ และพัฒนาการทางสังคมใหกับเด็กและเยาวชนเพื่อใหเปนพลเมืองดีของ
ประเทศ โดยใชวิธีการของลูกเสือท่ียึดม่ันในกฎและคําปฏิญาณ ซ่ึงลูกเสือกับการพัฒนา
ความเปนพลเมืองดีเก่ียวกับความหมายของพลเมืองดี ความเปนพลเมืองดีในทัศนะของ
การลกู เสอื และแนวทางการพฒั นาการลูกเสือไทยเพอ่ื สงเสริมความเปน พลเมอื งดี ดังนี้

3.1 ความหมายของพลเมอื งดี
พลเมอื งดี หมายถึง ผูปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี

และวัฒนธรรมของชาติ คําส่ังสอนของพอแม ครู อาจารย มีความสามัคคี เอ้ือเฟอเผ่ือแผซึ่งกัน
และกัน รูจักรับผดิ ชอบชั่วดตี ามหลกั จรยิ ธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู มีสติปญญา
ขยนั ขันแข็ง สรางความเจริญกาวหนาใหแ กตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติไดครบถวน
ท้งั ภารกิจท่ีตอ งทําและภารกิจทคี่ วรทาํ

ภารกิจที่ตองทํา หมายถึง ส่ิงท่ีคนสวนใหญเห็นวาเปนหนาท่ีท่ีตองกระทํา
หรอื หามกระทํา

ถาทําก็จะกอใหเกิดผลดี เกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว หรือสังคม
สว นรวม แลวแตกรณี

ถาไมท าํ หรือไมล ะเวนการกระทําตามท่ีกําหนดจะไดรับผลเสียโดยตรง คือ
ไดรับโทษ หรือถูกบังคับ เชน ปรับ จําคุก หรือประหารชีวิต เปนตน โดยท่ัวไปส่ิงที่ระบุภารกิจ
ทต่ี อ งทํา ไดแก กฎหมาย ขอบงั คับ ระเบียบตาง ๆ เปน ตน

11

ภารกจิ ทค่ี วรทาํ หมายถึง ส่ิงที่คนสวนใหญเห็นวาเปนหนาที่ที่ควรทํา หรือ
ควรละเวนการกระทาํ

ถา ไมทาํ หรอื ละเวน การกระทํา จะไดรับผลเสียโดยทางออม เชน ไดรับการ
ดหู มนิ่ เหยยี ดหยาม หรอื ไมค บคา สมาคมดว ย

ถาทําจะไดรับการยกยอง สรรเสริญจากคนในสังคม โดยท่ัวไปส่ิงที่ระบุกิจ
ที่ควรทํา ไดแ ก วฒั นธรรม ประเพณี เปน ตน

3.2 ความเปน พลเมอื งดใี นทัศนะของการลูกเสอื
กิจกรรมลูกเสือ เปนการจัดมวลประสบการณท่ีมีประโยชน และทาทาย

ความสามารถ เพื่อเปดโอกาสใหบุคคลพัฒนาศักยภาพของตนเอง และสรางลักษณะนิสัยไมเห็นแกตัว
และพรอ มท่ีจะเสียสละประโยชนสว นตัว เพื่อใหมีอาชีพและให “บริการ” แกบุคคลและสังคม
สามารถดําเนินชีวิตของตนเอง เปนผูมีความรับผิดชอบตามหนาท่ีของตน และดํารงชีวิตใน
สังคมไดอ ยางมคี วามสขุ

กิจกรรมลูกเสือ เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนาบุคคลท้ังทางกาย สติปญญา
ศีลธรรม จิตใจ เพ่ือใหเปนพลเมืองดี รูจักหนาที่รับผิดชอบ และบําเพ็ญประโยชนตอชุมชน
สังคม และประเทศชาติ

ในทศั นะของการลูกเสือ คาํ วา “พลเมืองดี” คอื บุคคลที่มีเกียรติ เช่ือถือได
มีระเบียบวินัย สามารถบังคับใจตนเอง สามารถพ่ึงตนเองและสามารถที่จะชวยเหลือชุมชน
และบําเพ็ญประโยชนตอผูอ่ืน ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงสภาวะแวดลอม สถานภาพของตนเองและ
ขีดความสามารถของตนเอง เพื่อปองกันหรือไมกอใหเกิดความเดือดรอนแกตนเองและ
ครอบครวั

การพัฒนาตนเองใหเ ปนพลเมอื งดีในทศั นะของการลูกเสือ มีดงั น้ี
1) มีความจงรักภักดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย
2) มเี กยี รติเช่ือถอื ได
3) มรี ะเบียบวนิ ยั สามารถบงั คับใจตนเองได
4) สามารถพงึ่ ตนเองได
5) เต็มใจและสามารถชวยเหลือชุมชน และบําเพ็ญประโยชนตอผูอื่น
ไดท กุ เมือ่

3.3 แนวทางการพฒั นาการลูกเสอื ไทยเพือ่ สงเสริมความเปน พลเมืองดี
สภาพการจดั การการลูกเสือไทยในอดีตและปจจุบันในดานการปฏิบัติและ

การสงเสริมความเปนพลเมืองดีท่ีเกิดจากกระบวนการลูกเสือไทยของกลุมบุคคลทั่วไป
ผูอํานวยการลูกเสอื ผูกํากับลูกเสอื และลกู เสือ สะทอนใหเห็นภาพรวมของการลูกเสือท่ีผานมา
ไดวา กระบวนการลูกเสอื ไทยในอดีตและปจ จบุ นั มคี วามสอดคลองกันในดา นการสอนใหลูกเสือ
มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย รูจักการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ

12

แกปญหาเฉพาะหนาไดเปนอยางดี และมีการฝกวินัยใหลูกเสือเปนผูมีความซ่ือสัตย ถึงกระนั้น
การลูกเสือไทยยังตองเรงพัฒนาใหลูกเสือมีจิตอาสาท่ีจะชวยเหลือผูอื่นและสวนรวม เพราะ
สังคมปจจุบนั ตองการผูม จี ติ อาสาในการรว มกันชวยเหลือสังคมและพัฒนาประเทศ นอกจากนี้
การจัดการลูกเสือไทยในอดีตและปจจุบันยังมีขอแตกตางกันในเรื่องของการนําทักษะทาง
การลูกเสอื ไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั ซึง่ อาจมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางสังคม
ที่มีบริบทแตกตางกันท้ังความเจริญดานวัตถุและเทคโนโลยี สําหรับการจัดกิจกรรมลูกเสือ
สามารถสงเสรมิ ความเปนพลเมืองดีไดในทกุ ดา น เพราะผูกํากบั ลูกเสอื ไดจ ดั กิจกรรมลูกเสือตาม
แนวทางการจดั กจิ กรรมลูกเสือที่สํานักงานลูกเสือแหงชาติกําหนด สวนการจัดการลูกเสือไทย
ในดานการพัฒนาครูและบุคลากรทางการลูกเสือทั้งในอดีตและปจจุบันมีความสอดคลองกัน
ที่ตองการใหครแู ละบุคลากรทางการลกู เสอื ไดรับการพัฒนาทกั ษะการสอนดานการลูกเสือมากข้ึน
ดังน้ัน แนวทางการพัฒนาการลูกเสือไทยเพ่ือสงเสริมความเปนพลเมืองดี ทําไดโดยการ
กําหนดวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกิจของการลกู เสอื ไทย เพอื่ สง เสริมความเปน พลเมืองดีเพื่อเปนแมบท
และแนวทางเดียวกันในการดําเนินงาน โดยมุงเนนที่ตัวเด็กและเยาวชนใหมีคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงคเปนพลเมืองดีของชาติและพลโลกตามวัตถุประสงคของคณะลูกเสือแหงชาติ
ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติการลูกเสือ พ.ศ. 2551 และมีพันธกิจท่ีสงเสริมใหเด็กและ
เยาวชนไดพ ัฒนาตนเองใหเ ปนผมู รี ะเบียบวินัย มีจติ สาธารณะใหค วามชวยเหลือผูอื่นและสังคม
มีคุณธรรม รูจักหนาที่ของตนและไมทําความเดือดรอนใหแกผูอ่ืน โดยรัฐบาลเปนผูกําหนด
วิสัยทัศนและพันธกิจ ควรจัดทําเปนนโยบายแหงชาติและมีหนวยงานหลักรับผิดชอบ
อยางชดั เจน ท้งั นี้ ควรแยกบทบาทหนาทข่ี องหนว ยงานท่ีใหการศึกษาแกลูกเสือในสถานศึกษา
ออกจากหนว ยงานทม่ี ีหนาท่ีใหความรูผูกํากบั ลกู เสือ เพ่อื ใหการทาํ งานไมเกิดความซ้ําซอนและ
ลดขั้นตอนการทํางาน ในสวนของคณะกรรมการตามโครงสรางของพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2551
ควรมีความเชื่อมโยงบทบาทหนาที่การดูแลงานลูกเสือในทุกระดับ และลดชองวางของการ
ทาํ งานในกระบวนการลกู เสือ โดยมกี ารควบคมุ ใหม กี ารดําเนนิ งานตามแผนงาน ระยะเวลาและ
เกณฑม าตรฐานทกี่ ําหนดไว มีการจดั สรรและใชง บประมาณตามทไ่ี ดร บั อนุมัติดานอัตรากาํ ลังควรมี
หนวยงานกลางท่ีรับผิดชอบประสานงานดานน้ีโดยตรงเพ่ือลดทอนภาระหนาท่ีของบุคลากรจาก
หนวยงานท่ีเกยี่ วขอ งใหสามารถปฏบิ ัติงานดา นการลกู เสือไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

ดา นแนวทางการจัดกจิ กรรมลกู เสือ
กจิ กรรมลูกเสอื ที่จัดตอ งเหมาะสมกบั วัยของลูกเสือในแตล ะประเภทและมีความ
หลากหลายสามารถปฏิบัติไดจริง เหมาะสมกับยุคสมัยและตรงตามความตองการของลูกเสือ
ท้ังนี้ ตองอยภู ายใตห ลักเกณฑแ ละวธิ ีการของลูกเสือ และควรมุงเนนใหลูกเสือเปนผูมีจิตอาสา
มวี ินัยและรูจ กั หนา ที่ของตนดวยการปฏิบัติจริง (Learning by Doing) ท่ีเกิดจากกระบวนการ
กลุม โดยยึดกฎและคาํ ปฏิญาณของลกู เสอื เปนแนวทางในการจดั กิจกรรม ภายใตส ภาพแวดลอม
ที่เปนธรรมชาติ เพ่ือใหลูกเสือไดประยุกตทฤษฎีสูการปฏิบัติและซึมซับกับธรรมชาติท่ีแทจริง

13

รวมทงั้ ตอ งพฒั นาใหผูกํากบั ลกู เสือปฏบิ ัตติ นเปน แบบอยางทดี่ ีใหกับลกู เสือและเปน ตนแบบของ
การเรยี นรู อาทิ การแตงเครื่องแบบลูกเสอื ทถี่ ูกตอ งทกุ คร้ังทมี่ กี ารเรยี นการสอนกจิ กรรมลูกเสือ
นอกจากน้ี ตอ งเปน ผมู คี วามรูและทกั ษะทางการลกู เสือเพ่ือสามารถถายทอดวามรูและประสบการณ
ใหลูกเสือนําไปใชในชีวิตประจําวันได การจัดกิจกรรมลูกเสือจะดําเนินการตามขอบังคับ
คณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ซ่ึงเปน
กฎหมายลกู ทงั้ นี้ขอ บงั คับฯ ดงั กลาวยงั มิไดรับการปรบั ปรุงแกไขใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติ
ลูกเสือ พ.ศ. 2551 ซงึ่ เปนกฎหมายแม จึงควรมกี ารทบทวนปรับปรุงขอบังคับฯ ใหเปนปจจุบัน
และสอดรบั กบั พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื กอปรกับเพอื่ เปนแนวทางเดียวกนั ในการจัดกิจกรรมลูกเสือ
ใหกับผูป ฏบิ ัติงานดา นการลกู เสอื ตอ ไป

ดา นการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการลกู เสือไทย
ครูและบุคลากรทางการลูกเสือเปนกลุมบุคคลท่ีนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ
เพื่อใหบรรลุผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว ดังนั้น ในการคัดเลือกหรือกําหนดตัวบุคคลที่จะทํา
หนาทเ่ี ปนครแู ละบคุ ลากรทางการลกู เสือ จึงตองมีเกณฑคุณลักษณะท่ีเหมาะสมโดยเฉพาะครู
ท่จี ะมาเปนผกู าํ กบั ลกู เสือตองเปน ผูมีความรกั ศรัทธาและเหน็ คณุ คา ในการลูกเสือ มีความเสียสละ
อดทน และมีภาวะผูนํา มีความรูและทักษะการลูกเสือ ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีเสมอ
รวมท้ัง สามารถปรับตัวใหเขากับวัยและสังคมของเด็กในแตละยุคสมัยได ครูและบุคลากร
ทางการลูกเสอื จึงควรไดรับการพัฒนาใหมีความรอบรูอยูเสมอ ผูบริหารจึงตองสนับสนุนใหได
เขาอบรมและเขา รวมกิจกรรมทางการลูกเสืออยา งตอเนอ่ื ง ครแู ละบุคลากรทางการลกู เสือไมได
เรียนมาทางการลูกเสือโดยตรง จึงขาดทักษะในการจัดกิจกรรมลูกเสือ ดังน้ัน จึงควรจัดทํา
หลักสูตรดานการลูกเสือโดยตรงสําหรับการศึกษาระดับปริญญา เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู
ความชํานาญดานการลูกเสือใหส ามารถพฒั นาการลกู เสือใหร กุ หนา ตอไป นอกจากนี้ ควรมีการ
สง เสรมิ และสรา งขวัญและกาํ ลังใจใหก ับครูและบุคลากรทางการลูกเสอื เพอ่ื เปนแรงกระตนุ และ
ผลักดันใหบ ุคคลปฏบิ ัตงิ านดวยความเต็มใจพรอมท่จี ะทํางานใหหนวยงานดวยการสงเสริมใหนํา
ผลงานทางการลูกเสอื ขอเลื่อนวิทยฐานะ การสรางขวัญและกาํ ลงั ใจ โดยมีคาตอบแทนใหกับครู
หรอื บุคลากรทางการลกู เสอื ท่ปี ฏิบัติงานนอกเวลาทาํ การ การนําชว่ั โมงการสอนกจิ กรรมลูกเสือ
มาคิดภาระงานได การประกาศเกียรติคุณสําหรับผูปฏิบัติงานดานการลูกเสือดีเดน และการ
สรา งคุณคา ใหกบั ผปู ฏบิ ตั งิ านดานการลกู เสอื
ดา นการสรา งเครือขา ยการลูกเสือไทย

การลกู เสือไทยเปน การทาํ งานในลักษณะมหภาคครอบคลุมลกู เสอื ครูและบุคลากร
ทางการลูกเสือทั่วประเทศ จึงควรสรางเครือขายการลูกเสือใหเกิดข้ึนเพ่ือเปนการเช่ือมโยง
กลุมบุคคลหรอื หนวยงานทร่ี ว มทาํ งานเพือ่ การลกู เสอื และมีเปาหมายเดียวกันในการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนใหเปนพลเมืองดี โดยเครือขายการลูกเสือควรประกอบดวย สํานักงานลูกเสือแหงชาติ
เปนแกนหลกั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ

14

ลกู เสือ หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือประสานความรวมมือ ใหการสนับสนุนในกิจการ
ลกู เสอื และรว มจัดกจิ กรรมลูกเสือ การสรางเครือขายการลูกเสือในระดับนโยบายควรเปนการ
กาํ หนดและแบง ภารกิจ อํานาจหนาท่ี วธิ ปี ฏิบตั ิ การจัดการรว มกันของภาคเี ครือขา ยตามขอตกลง
ท่ีไดท ําไวรว มกนั สาํ หรับระดบั ปฏบิ ตั ิควรใชว ิธกี ารรว มกันเปนผูรับผิดชอบการจัดกิจกรรมลูกเสือ
ในแตล ะโครงการ การรวมเปน คณะกรรมการในกจิ กรรมตาง ๆ ทางการลูกเสือ ทั้งนี้ตองอยูบน
พ้ืนฐานความสมัครใจของสมาชิกในเครือขาย และในการทํากิจกรรมตองมีลักษณะเทาเทียม
หรือแลกเปลย่ี นซงึ่ กันและกัน รวมทั้งตองไมกระทบกับตัวบุคคลหรือองคกรของสมาชิกเครือขาย
ดวยการสรางเครือขายท่ีดีนั้น สมาชิกเครือขายตองมีความรูสึกผูกพันกัน มีการรับรูภารกิจ
ในมุมมองเดียวกัน มีวิสัยทัศนหรือเปาหมายรวมกัน มีผลประโยชนที่ไดจากการรวมกิจกรรม
เทาเทียมกนั (win - win) การมสี ว นรวมของสมาชิก มีการเสริมสรางความเขมแข็งและลดจุดออน
ของกนั และกนั มกี ารเกือ้ หนุนพ่ึงพาและปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน หากสรางเครือขายการลูกเสือไทย
ข้ึนไดแลว จะทาํ ใหก ารพัฒนาการลูกเสือไทยกระทาํ ไดงายยิ่งขน้ึ ดวยการแลกเปล่ียนความรูหรือ
ประสบการณจากกลมุ สมาชิก ลดความซา้ํ ซอ นในการทํางาน สรางความรวมมือและระบบการ
ทํางานทเ่ี ออ้ื ประโยชนตอ กันในกลมุ สมาชกิ เครอื ขา ย

ดา นปจ จัยเกอื้ หนุนตอการพัฒนาการลูกเสือไทย
นับจากท่ีการลูกเสือกอกําเนิดมาเปนเวลากวาหนึ่งรอยปนั้นบุคคลในวงการ
ลูกเสือตางรูถึงคุณคาของการลูกเสือที่สงเสริมความเปนพลเมืองดีทั้งเด็ก เยาวชน และผูใหญ
แตมีคนอีกจํานวนมากท่ียังไมเห็นคุณคาของการลูกเสือ น่ันเพราะการลูกเสือยังขาดการ
ประชาสัมพันธและการปฏิบัติอยางจริงจังท่ีแสดงใหเห็นถึงคุณความดีของบุคคลที่เกิดจาก
กระบวนการการลูกเสอื จงึ เปน สิ่งจําเปนอยางยิ่งท่ีสํานักงานลูกเสือแหงชาติตองเขามามีบทบาท
ในการสรา งคุณคาของการลกู เสือใหเ ปนท่ีประจักษกับสาธารณชน การท่ีประเทศไทยมีจํานวน
ลกู เสือมากในลาํ ดบั ตน ๆ ของโลก ดังน้ัน จึงเปนเร่ืองทาทายสําหรับการจัดการขอมูลของการ
ลูกเสือ ซ่ึงฐานขอมลู ถอื เปนสิง่ สาํ คัญในการบริหารจดั การ เพราะเปน สวนสนบั สนุนในการตดั สินใจ
ของผบู รหิ ารและชวยการทํางานของผูปฏิบัติใหมีความรวดเร็ว ถูกตองและแมนยํา นอกจากนี้
บุคลากรถือเปนปจจัยหลักของการจัดการ โดยเฉพาะผูบริหารของสํานักงานลูกเสือแหงชาติ
ซึ่งมีหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงตอการลูกเสือไทย ซ่ึงหลายคนมิไดมีหนาที่เฉพาะในการ
ลูกเสอื เพยี งอยา งเดียว แตเ ปนผทู ี่มาโดยตําแหนงตามโครงสรางท่ีถูกกําหนดไวในพระราชบัญญัติ
ลกู เสือ พ.ศ. 2551 ดงั น้ัน จึงเปนเร่ืองสําคัญท่ีผูบริหารกลุมนี้ตองศึกษาหาความรูเก่ียวกับการ
ลูกเสือใหมาก ๆ โดยเฉพาะผูที่ดํารงตําแหนงเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ
ควรเปนผูมีหนาที่รับผิดชอบเฉพาะการลูกเสือและปฏิบัติงานเต็มเวลา เปนผูมีอุดมการณ
ทางการลูกเสือและมีสมรรถนะทางการจดั การ

กจิ กรรมทายเรื่องที่ 3 ลกู เสือกบั การพัฒนาความเปน พลเมืองดี
(ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา)

15

เรอ่ื งท่ี 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม เพือ่ การพัฒนา
การสาํ รวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อการพฒั นาของลูกเสือ กศน.

ลูกเสือจะตองเรียนรูเก่ียวกับการรูจักตนเอง การรูจักครอบครัว ชุมชน และสังคม และการมี
ความรบั ผดิ ชอบและชว ยสรา งสรรคสงั คมใหเกดิ ความสามัคคี ดงั น้ี

4.1 การรูจ กั ตนเอง
การรูจ กั และเขา ใจตนเอง สามารถดาํ เนินการไดโดยการสํารวจตนเอง รับรู

สภาพการดํารงชีวติ ที่เปน อยูในปจ จบุ นั วา อยใู นสภาวะใดหรอื กาํ ลงั เผชิญปญหาใดอยูบ าง
4.2 การรจู กั ครอบครัว ชุมชน และสงั คม
เม่ือเรารูจักตนเองแลว หากเรารักใครเราก็ตองมีความรูเก่ียวกับผูนั้นดวย

เชนกัน คนในครอบครัวก็ทํานองเดียวกัน ภรรยาและสามีตองรูจัก และเขาใจกันใหดี รูวาใคร
ชอบไมชอบอะไร เหมอื นหรือตา งกนั ตรงไหน ชอบรับประทานอะไร รูจักนิสัยใจคอ ยิ่งครองรัก
กนั นานเทา ใด ยงิ่ ตอ งรจู กั กนั มากขน้ึ ไมใ ชรจู กั กนั นอยลง และตองเขา ใจกันใหมากขึ้น ถาเรารัก
ลกู กต็ องรูจ ักและมีความรูเกยี่ วกับลูกวาชอบไมช อบวิชาใด ถนัดอะไร ชอบอาชีพอะไร อุปนิสัย
เปนอยางไร มีจุดเดน จุดดอยอะไรบาง โดยเราจะตอง “ปรับ” พ้ืนฐานเหลาน้ีใหเขากันใหได
เพื่อชวยใหเราสามารถอยูดวยกันอยางมีความสุข การที่เรารูจักนิสัย รูจุดเดน จุดดอย ของ
ครอบครัวมากเทา ใดก็จะยิง่ ชว ยใหเราสามารถดแู ลเขาไดด ีขึ้น

นอกจากน้ีเรายังตองรูจักชุมชนของเราใหถองแทยิ่งข้ึน ตองศึกษาความเช่ือ
ของชมุ ชนเพราะพน้ื ฐานการศึกษาประสบการณ ศาสนามีความแตกตางกัน ตองศึกษาผูนําชุมชน
หรือผมู ชี ื่อเสียง ศึกษาบริบทพื้นฐานของชุมชน ไดแ ก ขนาดของชุมชน สถานท่ีต้ังทางภูมิศาสตร
ประวัติศาสตร จํานวนประชากร ปญหาของชุมชนท้ังในอดีตและปจจุบัน การประกอบอาชีพ
ของคนในชมุ ชน รวู า บทบาทภารกจิ ท่ีตอ งรับผิดชอบคืออะไร มีทักษะและประสบการณในการ
ดําเนนิ งานดานใด มคี วามรูส กึ ชอบ และยอมรับความคิดเห็นของผอู นื่ ทั้งผูเห็นตางและผูเห็นดวย
สามารถรบั รถู งึ ความรูสึกของผอู ่ืน ตลอดจนมีความรู และทักษะในการสื่อความหมายไดด ี

คณุ สมบัตทิ ง้ั หมดนี้ ลว นมีความสาํ คัญมากในการอยูรวมกันของชุมชน เพราะ
ความสมั พนั ธท ่ดี ใี นชุมชน จะชวยใหก ารทํางานของชมุ ชนเปน ไปอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

4.3 การมีความรบั ผดิ ชอบและชวยสรา งสรรคสงั คมใหเ กิดความสามคั คี
สมาชกิ ทกุ คนในสงั คมยอมตองมีบทบาทหนา ท่ตี ามสถานภาพของตน ซึ่งบทบาท

และหนาที่ของสมาชิกแตละคนจะมีความแตกตางกันไป แตในหลักใหญและรายละเอียด
จะเหมอื นกัน ถา สมาชิกทุกคนในสังคมไดปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีของตนอยางถูกตองก็จะได
ชื่อวาเปน "พลเมืองที่ดีของสังคมและประเทศชาติ" และยังสงผลใหประเทศชาติพัฒนา
อยา งยงั่ ยนื ดังนนั้ สมาชิกในสังคมทุกคน โดยเฉพาะเยาวชนท่ีถอื วา เปนอนาคตของชาติ จึงจําเปน
อยางยงิ่ ทจ่ี ะตอ งเรยี นรแู ละปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาที่ของตน เพ่ือชวยนําพาประเทศชาติใหพัฒนา
สืบไป

16

การเปนสมาชิกท่ีดีของสังคมและประเทศชาตินั้นประชาชนทุกคนนับเปนพลัง
อันสําคัญท่ีจะชวยกันเสริมสรางกิจกรรม ควรเปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม กลาวคือจะตองมี
ธรรมะในการดําเนินชีวติ และรว มแรงรว มใจ สามัคคแี ละเสยี สละเพื่อสว นรวม ไดแก

1) การเสียสละตอสวนรวม เปนคุณธรรมท่ีชวยในการพัฒนาประเทศชาติใหมี
ความเจริญกาวหนา เพราะหากสมาชิกในสังคมเห็นแกประโยชนสวนรวม และยอมเสียสละ
ประโยชนส ว นตน จะทําใหส ังคมพฒั นาไปอยางรวดเรว็ และมั่นคง

2) การมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบตอหนาที่ เปนคุณธรรมท่ีชวยใหคน
ในสงั คมอยรู วมกันไดอยา งสงบสุข เพราะถาสมาชิกในสังคมยึดมั่นในระเบียบวินัย รูและเขาใจ
สทิ ธิของตนเอง ไมละเมิดสิทธิผูอ่ืน และตั้งใจปฏิบัติหนาท่ีของตนใหดีท่ีสุด สังคมน้ันก็จะมีแต
ความสุข เชน ขาราชการทําหนาที่บริการประชาชนอยางดีที่สุด ก็ยอมทําใหเปนที่ประทับใจ
รกั ใครข องประชาชนผมู ารับบริการ

3) ความซื่อสตั ยสุจริต เปน คุณธรรมทมี่ คี วามสําคัญ เพราะหากสมาชิกในสังคม
ยึดมั่นในความซื่อสัตยสุจริต เชน ไมลักทรัพย ไมเบียดเบียนทรัพยสินของผูอ่ืนหรือของ
ประเทศชาติมาเปนของตน รวมทั้งผูนําประเทศมีความซื่อสัตยสุจริตก็จะทําใหสังคมมีแต
ความเจรญิ ประชาชนมีแตค วามสุข

4) ความสามัคคี ความรักใครกลมเกลียวปรองดองและรวมมือกันทํางาน เพื่อ
ประโยชนสวนรวมจะทําใหสังคมเปนสังคมท่ีเขมแข็ง แตหากคนในสังคมเกิดความแตกแยก
ทง้ั ทางความคดิ และการปฏบิ ัติตนในการอยูรวมกนั จะทาํ ใหส งั คมออนแอและลมสลายในท่สี ดุ

5) ความละอายและเกรงกลัวในการทําช่ัว ถาสมาชิกในสังคมมีหิริโอตัปปะ
มคี วามเกรงกลวั และละอายในการทาํ ชวั่ สังคมกจ็ ะอยกู ันอยางสงบสุข เชน นักการเมืองจะตอง
มีความซ่ือสัตยสุจริตไมโกงกิน ไมเห็นแกประโยชนพวกพอง โดยตองเห็นแกประโยชนของ
ประชาชนเปนสาํ คญั ประเทศชาตกิ จ็ ะสามารถพฒั นาไปไดอ ยา งมน่ั คง

ดงั น้ัน การสํารวจตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพ่ือการพัฒนา จําเปนตอง
มองใหครอบคลุมประเด็นของการพัฒนา และตรงตามความจําเปนท่ีควรไดรับการพัฒนา
เพ่ือใหเกิดทักษะการดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ไมวาจะเปนการพัฒนาตนเอง
การพฒั นาสัมพันธภาพระหวางบุคคล หรอื การพฒั นาสมั พนั ธภาพภายในชุมชนและสังคม ซึ่งการ
สํารวจเพอ่ื การพฒั นา จึงสามารถทําไดทั้งการสํารวจดวยวิธีมองตนเอง และใหบุคคลอื่นชวยมอง
ตัวเรา จากน้ันจึงนาํ ขอ มูลท่ีไดม าคดิ วิเคราะห จัดลาํ ดบั ความเปนไปไดวามีเร่ืองใดที่จะสามารถ
พฒั นาไดด ว ยปจ จยั ใด

17

ตัวอยางแบบสาํ รวจ เพอ่ื การพัฒนา ลูกเสอื กศน.

หัวขอการสํารวจ ขอ ดี ขอ ควรพฒั นา วิธกี ารพฒั นา ปจ จัย
สนับสนุน

1. การพัฒนาตนเอง
1.1 การพัฒนาทางกาย

1.2 การพฒั นาทาง
สติปญญา

1.3 การพฒั นาทาง
จิตใจ

1.4 การพฒั นาทาง
สังคม

2. การพัฒนา
สัมพนั ธภาพ
ระหวางบคุ คล

3. การพฒั นา

สมั พนั ธภาพภายใน
ชุมชนและสังคม

กจิ กรรมทา ยเรอื่ งที่ 4 การสาํ รวจตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม เพอื่ การพฒั นา
(ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 4 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

18

หนวยการเรยี นรูที่ 2
การลูกเสอื ไทย

สาระสาํ คญั
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูห วั ทรงเล็งเหน็ ความสําคัญของกจิ การลกู เสอื

จึงไดทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยขึ้นเม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ในการตั้งลูกเสือ
กเ็ พอ่ื ใหค นไทยรกั ชาติบานเมือง เปนผูนับถือศาสนาและมีความสามัคคี ไมทําลายซ่ึงกันและกัน
เปน รากฐานแหง ความม่ันคงของประเทศชาติ โดยกิจการลูกเสือไทย เร่ิมขึ้นครั้งแรกที่โรงเรียน
มหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ในปจจุบัน) เมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454
มคี วามเจริญกาวหนามาถงึ ปจจุบัน (พ.ศ. 2561) นับเนอ่ื งเปนเวลา 107 ป โดยจําแนกตามรัชสมัย
ดังน้ี 1) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 6 (พ.ศ. 2454 –2468)
2) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468 –2477) 3) รัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี 8 (พ.ศ. 2477 – 2489) 4) รัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอลุยเดช รัชกาลท่ี 9 (พ.ศ. 2489 – 2559) และ 5) รชั สมยั
สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 (พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2561
ถงึ ปจ จบุ ัน)

พระราชบัญญัติลกู เสอื แหงชาติ พ.ศ. 2551 ไดกําหนดไววาคณะลูกเสือแหงชาติ
ประกอบดวย บรรดาลูกเสือท้ังปวง และบคุ ลากรทางการลูกเสือ โดยมพี ระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ การบริหารงานของคณะลูกเสือแหงชาติ ประกอบดวย
สภาลูกเสือแหงชาติมีนายกรัฐมนตรีเปนสภานายก มีกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการ
ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
เปนประธานกรรมการ มีกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการลูกเสือ
จังหวัด มีผูวาราชการจังหวัด เปนประธานกรรมการมีกรรมการโดยตําแหนง กรรมการ
ประเภทผูแ ทน และกรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการลกู เสอื เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา มผี ูอ าํ นวยการ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เปนประธานกรรมการ มีกรรมการโดยตําแหนง กรรมการ
ประเภทผแู ทน และกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ

19

ตัวช้ีวดั

1. อธิบายประวตั ิการลูกเสือไทย
2. อธิบายความรูทว่ั ไปเก่ยี วกบั คณะลกู เสือแหงชาติ

ขอบขา ยเน้อื หา
เรือ่ งท่ี 1 ประวัติการลูกเสือไทย
1.1 พระราชประวตั ิของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั
1.2 กาํ เนิดลูกเสือไทย
1.3 กจิ การลูกเสือไทยแตละยคุ
เรอ่ื งท่ี 2 ความรูท ัว่ ไปเก่ียวกบั คณะลูกเสือแหง ชาติ
2.1 คณะลูกเสอื แหง ชาติ
2.2 การบริหารงานของคณะลูกเสือแหง ชาติ
2.3 การลูกเสอื ในสถานศกึ ษา

เวลาที่ใชใ นการศกึ ษา 3 ชัว่ โมง

ส่ือการเรยี นรู
1. ชดุ วิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035
2. สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรูประกอบชุดวชิ า
3. ส่อื เสริมการเรียนรูอืน่ ๆ

20

เรื่องท่ี 1 ประวตั กิ ารลูกเสือไทย
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว ทรงเล็งเห็นความสาํ คญั ของกจิ การลกู เสอื

จึงไดทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยข้ึนเม่ือวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยมีพระราช
ประสงค 3 ประการ ซึ่งเปนรากฐานแหงความม่ันคงที่จะนําใหชาติดํารงอยูเปนไทยไดสมนาม
คอื 1) ความจงรักภกั ดตี อผทู รงดาํ รงรัฐสีมาอาณาจักรโดยตองตามนิติธรรมประเพณี 2) ความรัก
ชาตบิ านเมืองและนับถอื พระศาสนา และ 3) ความสามัคคีในคณะและไมทําลายซ่ึงกันและกัน
ประเทศไทยเปน ประเทศอนั ดับทส่ี ามของโลกทม่ี ีลูกเสอื โดยต้ังกองลกู เสือกองแรกข้นึ ทีโ่ รงเรียน
มหาดเล็กหลวงหรือโรงเรียนวชิราวุธวทิ ยาลยั ในปจ จบุ นั เรียกวา กองลูกเสือกรงุ เทพฯ ที่ 1 ลูกเสือ
คนแรกของประเทศไทย คือ นายชัพน บุนนาค พระองคไดทรงดําเนินการสอนลูกเสือโดย
พระองคเอง วิชาที่ใชในการฝกอบรมเปนวิชาฝกระเบียบแถว ทาอาวุธ การสะกดรอย หนาที่
ของพลเมอื ง ฯลฯ และไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอมพระราชทานพระบรมราชานุญาต
ใหจ ดั ตั้งกองลูกเสือตามโรงเรียนตาง ๆ ทาํ ใหก ิจการลูกเสือไดร ับความนยิ มแพรห ลายและเจริญขึ้น
อยางรวดเรว็ และโปรดเกลา โปรดกระหมอ มใหมขี อบังคับลักษณะการปกครองลูกเสือ พระองค
ทรงต้ังสภากรรมการลูกเสือแหงชาติและพระองคดํารงตําแหนงสูงสุดของคณะลูกเสือแหงชาติ
หลังจากนั้นพระมหากษตั ริยไ ทยทกุ ประองคท รงเปนพระประมุขของคณะลกู เสือแหง ชาติ

ประวัตลิ กู เสือไทย แบงออกเปน 5 ยุค ไดแ ก
1) ยุคกอตัง้ (พ.ศ. 2454 - 2468) เปน ยคุ รชั กาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ-

เกลาเจาอยูหัว โดยพระองคทรงสถาปนาลูกเสือแหงชาติขึ้น เมื่อวันท่ี 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2454
โปรดใหต้ังกองลกู เสือกองแรกข้ึนที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง เรียกวากองลูกเสือกรุงเทพฯ ที่ 1
ซง่ึ ตอมากิจการลกู เสอื ไดขยายตัวไปหลายจังหวดั

2) ยคุ สงเสริม (พ.ศ. 2468 - 2482) เร่มิ ตง้ั แตแผน ดนิ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา-
เจา อยูห ัว จนถึงตนสงครามโลกครง้ั ที่ 2 ยคุ น้ไี ดมกี ารชุมนุมลูกเสือแหงชาติข้ึนเปนคร้ังแรก เมื่อ
พ.ศ. 2470 ณ พระราชวงั อทุ ยานสราญรมย จงั หวดั พระนคร และเม่ือ พ.ศ. 2473 ไดมีการจัดงาน
ชุมนมุ ลูกเสอื แหงชาติ คร้งั ท่ี 2 ณ สถานท่เี ดียวกัน ป พ.ศ.2476 ตงั้ กองลกู เสือสังกัดกรมพลศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และ พ.ศ. 2482 ไดมีการตราพระราชบัญญตั ลิ ูกเสือข้ึนเปน ฉบับแรก

3) ยคุ ประคบั ประคอง (พ.ศ. 2482 - 2489) เปนยุคทีอ่ ยูใ นระหวางเกิดสงครามโลก
ครง้ั ท่ี 2 ผลของสงครามทาํ ใหก จิ การลกู เสอื ซบเซาลงมาก มกี ารตราพระราชบญั ญตั ิยวุ ชนแหงชาติขึ้น
โดยแบงหนวยราชการเปนหนวยลกู เสอื และหนวยยุวชนทหาร

4) ยคุ กา วหนา (พ.ศ. 2489 - 2514) กิจการลูกเสือท่ีสําคัญที่เกิดข้ึนในยุคน้ี
คือ การยกเลิกพระราชบัญญัติยุวชนแหงชาติ พ.ศ. 2486 ไดตราพระราชบัญญัติลูกเสือข้ึน
พ.ศ. 2490 และไดต้งั คายลูกเสือวชริ าวุธทจี่ ังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2504 มีการฝกอบรมวิชาผูกํากับ
ลูกเสอื สามัญ ขนั้ วูดแบดจ ครั้งท่ี 1 และสงเจาหนา ที่ไปรวมกิจกรรมของกิจกรรมลูกเสือนานาชาติ
กจิ กรรมของลกู เสอื โลกหลายกจิ กรรม

21

5) ยุคถึงประชาชน (พ.ศ. 2514 - ปจจุบัน) เกิดกิจกรรมลูกเสือชาวบาน
โดยสภาลูกเสอื แหงชาติ มีมติรับกิจการลูกเสือชาวบานเปนสวนหน่ึงของคณะลูกเสือแหงชาติ
เม่ือ พ.ศ. 2516 และกระทรวงศึกษาธิการไดมีคําสั่งลงวันท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2516 ใหนําวิชา
ลกู เสือเขาสูหลกั สูตรของโรงเรียน

จะเห็นไดวา กจิ การลูกเสือมีประวัติที่ยาวนาน เปน กระบวนการท่ีทั่วโลกยอมรับวา
สามารถพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองท่ีดี มีความรับผิดชอบตอตนเอง ตอสวนรวมและชาติ
บา นเมืองไดเปนอยางดี รูจักการทํางานเปนระบบหมู รูจักการเปนผูนําและผูตาม รวมทั้งเปน
กระบวนการท่ีฝกคนใหรูจักการเปนประชาธิปไตย ฝกผูใหญใหรูจักวิธีการฝกชาวบานใหรูจัก
แยกแยะชัว่ ดี

1.1 พระราชประวัตขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนพระราชโอรสใน

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูห วั และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จ
พระนางเจาเสาวภาผองศรี) ทรงพระราชสมภพ เม่ือวันเสารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ไดรับ
พระราชทานพระนามวาสมเด็จเจาฟาวชิราวุธ เมื่อทรงพระเยาวไดศึกษาวิชาหนังสือไทยกับ
พระยาศรสี ุนทรโวหาร เพิ่งไดพระชนมายุได 13 พรรษา เสด็จไปทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ ใน
สาขาประวตั ิศาสตร รัฐศาสตร กฎหมาย วรรณคดี ทีม่ หาวทิ ยาลยั ออกฟอรด และวิชาทหารบกที่
โรงเรยี นแฮนดเ ฮสิ ต รวม 9 ป

พระองคไดเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตอจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ
เม่อื วนั ท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ขณะน้ันมีพระชนมายุได 31 พรรษา ตลอดรัชสมัยของพระองค
ไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจทํานุบํารุงประเทศชาติในดานการปกครอง การทหาร
การศกึ ษา การสาธารณสุข การคมนาคม การศาสนา โดยเฉพาะทางวรรณคดีทรงพระราชนิพนธ
ทัง้ รอ ยแกว รอ ยกรองประมาณ 200 เรื่อง ดว ยพระปรชี าสามารถของพระองค ประชาชนจึงถวาย
พระสมญาแดพระองควา “พระมหาธีรราชเจา” ทรงอยูในราชสมบัติเพียง 16 ป เสด็จสวรรคต
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระชนมายุ 46 พรรษา แตเน่ืองดวยพระราชกรณียกิจ
ของพระองค ทําใหเกดิ คุณประโยชนแกบานเมืองอยา งใหญห ลวง รฐั บาลกบั ประชาชนจึงรว มใจกัน
สรางพระบรมรูปของพระองคประดิษฐานไวที่สวนลุมพินี และคณะลูกเสือแหงชาติ รวมดวย
คณะลูกเสือท่ัวราชอาณาจักร ไดสรางพระบรมรูปของพระองคประดิษฐานไวหนาคายลูกเสือ
วชริ าวธุ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบรุ ี

22

1.2 กําเนิดลกู เสอื ไทย
ในการตั้งลูกเสือก็เพ่ือใหคนไทยรักชาติบานเมือง เปนผูนับถือศาสนาและ

มีความสามัคคี ไมทําลายซึ่งกันและกัน เปนรากฐานแหงความมั่นคงของประเทศชาติ ทรงให
ทม่ี าของช่อื ลกู เสอื ไววา

“ลูกเสือบใ ชเสือสัตวไพร
เรายืมมาใชดว ยใจกลา หาญปานกนั
ใจกลา มใิ ชก ลา อธรรม
เชน เสืออรญั สญั ชาติชนคนพาล
ใจกลา ตองกลา อยา งทหาร
กลา กอปรกิจการแกชาติประเทศเขตคน”

พทุ ธศักราช 2454 (ค.ศ. 1911)
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ทรงกอ ตั้งกจิ การลกู เสอื ไทย เมือ่ วันท่ี
1 กรกฎาคม 2454

พทุ ธศกั ราช 2463 (ค.ศ. 1920)
สง ผูแทนคณะลูกเสือไทยไปรว มงานชมุ นุมลูกเสือโลก คร้งั ท่ี 1 ณ ประเทศองั กฤษ

พุทธศกั ราช 2465 (ค.ศ. 1922)
คณะลกู เสือแหง ชาติ เขาเปนสมาชกิ สมัชชาลูกเสือโลก

พทุ ธศกั ราช 2467 (ค.ศ. 1924)
สง ผแู ทนคณะลกู เสือไทยไปรวมงานชุมนมุ ลกู เสอื โลก คร้ังท่ี 2 ณ ประเทศเดนมารก

พุทธศกั ราช 2470 (ค.ศ. 1927)
จัดงานชุมนมุ ลูกเสอื แหง ชาติคร้ังท่ี 1 (1st National Jamboree) ณ พระราช
อุทยานสราญรมย
26 กุมภาพนั ธ - 3 มีนาคม 2470 จํานวนลกู เสือไทยท้งั ส้ิน 1,836 คน

พทุ ธศกั ราช 2473
จัดงานชุมนมุ ลกู เสอื แหงชาติครง้ั ท่ี 2 (2st National Jamboree) ณ พระราช
อทุ ยานสราญรมย
1 - 7 มกราคม 2473 จํานวนลูกเสอื ไทย 1,955 คน ลูกเสอื ตา งประเทศ 22 คน

23

พุทธศกั ราช 2478
กําเนิดตราประจําคณะลูกเสอื แหง ชาติ

พุทธศกั ราช 2497
จัดงานชมุ นมุ ลกู เสือแหง ชาติครง้ั ท่ี 3 (3st National Jamboree) ณ กรีฑา
สถานแหง ชาตพิ ระนคร
20 - 26 พฤศจิกายน 2497 จํานวนลกู เสือไทย 5,155 คน

พทุ ธศกั ราช 2499 (ค.ศ. 1956)
เปน สมาชิกของสํานักงานลกู เสือภาคตะวนั ออกไกล ซึง่ เพง่ิ จดั ตง้ั ข้นึ ขณะนั้น
มปี ระเทศสมาชิกอยู 10 ประเทศ

พทุ ธศกั ราช 2504 (ค.ศ. 1961)
เฉลมิ ฉลองครบรอบ 50 ปลกู เสือไทย
จดั งานชมุ นุมลูกเสอื แหง ชาติครง้ั ที่ 4 ณ สวนลุมพินี พระนคร
19 - 25 พฤศจิกายน 2504 จํานวนลูกเสอื ไทย 5,539 คน ลกู เสือตา งประเทศ
348 คน

พุทธศกั ราช 2505 (ค.ศ. 1962)
เปน เจา ภาพจัดการประชุมผูบังคับบญั ชาลูกเสือภาคพ้นื ตะวันออกไกล ครั้งที่ 3
(3rd Far East Scout Conference) ณ ศาลาสนั ติธรรม

วชริ าวธุ พุทธศกั ราช 2508 (ค.ศ. 1965)
จัดงานประชุมสภาลกู เสอื แหงชาติ ครงั้ ท่ี 1 (1st National Scout Conference)
จดั งานชมุ นุมลกู เสือแหงชาติครง้ั ท่ี 5 (5st National Jamboree) ณ คา ยลูกเสือ
9 - 15 ธันวาคม 2508 จาํ นวนลกู เสอื ไทย 5,736 คน ลูกเสือตางประเทศ 431 คน

วชิราวุธ พทุ ธศกั ราช 2512 (ค.ศ. 1969)
จดั งานชมุ นมุ ลูกเสือแหง ชาติครัง้ ที่ 6 (6st National Jamboree) ณ คา ยลกู เสือ
11 - 17 ธันวาคม 2512 จํานวนลกู เสอื ไทย 5,000 คน ลกู เสือตา งประเทศ 582 คน

24

จงั หวัดเลย พุทธศกั ราช 2514 (ค.ศ. 1971)
วชิราวธุ เฉลิมฉลองครบรอบ 60 ปก ารลูกเสือไทย
เขา รว ม ทดลองเปด อบรมลกู เสอื ชาวบา นครัง้ แรก ณ บา นเหลา กอหก ก่งิ อําเภอนาแหว

จัดงานชุมนมุ ลกู เสือแหงชาติครงั้ ที่ 7 (7st National Jamboree) ณ คายลูกเสอื

28 - 30 มิถนุ ายน 2514 จํานวนลกู เสือไทย 1,667 คน ลูกเสอื ตางประเทศไมไ ด

วชริ าวธุ พุทธศกั ราช 2516 (ค.ศ. 1973)
256 คน จัดงานชมุ นุมลกู เสือแหง ชาติครั้งที่ 8 (8st National Jamboree) ณ คายลกู เสือ
23 - 30 พฤศจิกายน 2516 จํานวนลูกเสอื ไทย 4,968 คน ลูกเสือตางประเทศ
วชริ าวธุ พทุ ธศกั ราช 2520 (ค.ศ. 1977)
159 คน จดั งานชมุ นุมลกู เสอื แหงชาติครั้งท่ี 9 (9st National Jamboree) ณ คา ยลกู เสือ
21 - 27 พฤศจิกายน 2520 จํานวนลูกเสอื ไทย 10,827 คน ลกู เสอื ตางประเทศ

พุทธศกั ราช 2523 (ค.ศ. 1980)
จดั งานชุมนุมลกู เสอื แหง ชาติคร้งั ที่ 10 (10st National Jamboree)
ณ คา ยลูกเสอื วชริ าวุธ
28 ธ.ค. 2523 - 3 ม.ค. 2524 จาํ นวนลกู เสือไทย 12,692 คน ลูกเสือ
ตางประเทศ 108 คน

พทุ ธศกั ราช 2528 (ค.ศ. 1985)
เปน เจา ภาพจัดงานชมุ นมุ ลูกเสอื ภาคพ้ืนเอเชีย - แปซิฟก คร้งั ท่ี 9
งานชมุ นุมลกู เสอื แหงชาติ ครง้ั ที่ 11 (11st National Jamboree)
ณ คายลูกเสอื วชิราวุธ
21 - 27 พฤศจกิ ายน 2528 จาํ นวนลกู เสือไทย 5,336 คน ลกู เสือตา งประเทศ
391 คน

25

พุทธศกั ราช 2529 (ค.ศ. 1986)
เปนเจา ภาพจดั การประชมุ สมชั ชาลูกเสือภาคพน้ื เอเชยี - แปซฟิ ก ครงั้ ท่ี 15

พุทธศกั ราช 2532 (ค.ศ. 1989)
งานชมุ นุมลูกเสือครงั้ ท่ี 12 ณ คา ยลูกเสอื วชริ าวุธ
21 - 27 พฤศจิกายน 2532 จาํ นวนลูกเสอื ไทย 9,330 คน ลูกเสอื ตางประเทศ

422 คน

พทุ ธศกั ราช 2534 (ค.ศ. 1991)
จดั กจิ กรรมเฉลิมฉลอง 80 ปล ูกเสอื ไทย
งานชุมนุมลกู เสอื แหงชาติ ครัง้ ท่ี 13 (13st National Jamboree)
ณ คายลกู เสือวชริ าวธุ
1 - 7 กรกฎาคม 2534 จํานวนลูกเสอื ไทย 10,022 คน ลกู เสือตา งประเทศ
357 คน

พทุ ธศกั ราช 2536 (ค.ศ. 1993)
เปนเจาภาพจดั การประชมุ สมชั ชาลูกเสอื โลก ครงั้ ท่ี 33 ทก่ี รงุ เทพ (33rd World
Scout Conference)
งานชุมนมุ ลูกเสอื แหง ชาติ ครั้งที่ 14 (14st National Jamboree)
ณ คายลกู เสอื วชิราวธุ
22 - 28 พฤศจกิ ายน 2536 จาํ นวนลูกเสือไทย 10,263 คน ลกู เสือตางประเทศ
357 คน

พทุ ธศกั ราช 2540 (ค.ศ. 1997)
จัดงานชมุ นุมลกู เสือแหง ชาติครั้งท่ี 15 (15st National Jamboree)
ณ คา ยลูกเสอื วชิราวธุ
21 - 27 พฤศจิกายน 2540 จํานวนลูกเสอื ไทย 11,274 คน ลกู เสอื ตา งประเทศ
160 คน

พุทธศกั ราช 2544 (ค.ศ. 2001)
เฉลมิ ฉลองครบรอบ 90 ปล ูกเสอื ไทย
เตรยี มการ การจดั งานชมุ นุมลูกเสอื โลก
จดั งานชุมนุมลูกเสือแหง ชาติ คร้งั ท่ี 16 ณ หาดยาว จ.ชลบุรี
28 ธ.ค. 2544 - 4 ม.ค. 2545

26

พทุ ธศกั ราช 2546 (ค.ศ. 2003)
เปน เจาภาพจดั งานชุมนุมลูกเสอื โลก ครงั้ ท่ี 20 (20thWorld Scout Jamboree)

พุทธศกั ราช 2548 (ค.ศ. 2005)
จดั งานชุมนมุ ลกู เสอื แหงชาติครั้งที่ 17 (17st National Jamboree) ณ หาดยาว
จ.ชลบุรี
25 - 31 กรกฎาคม 2548
เปนเจา ภาพจดั งานชมุ นุมลูกเสอื ภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟก ครัง้ ท่ี 25 (25th Asia –
Pacific Regional Scout Jamboree)

พุทธศกั ราช 2552 (ค.ศ. 2009)
จดั งานชุมนุมลกู เสือแหงชาติครง้ั ท่ี 18 ณ คา ยลกู เสือไทยเฉลิมพระเกียรติ จ.ตรัง
25-30 เมษายน 2552

พทุ ธศกั ราช 2554 (ค.ศ. 2011)
เฉลมิ ฉลองครบรอบ 100 ปการลกู เสอื ไทย

1.3 กจิ การลกู เสือไทยแตล ะยคุ
กิจการลูกเสือไทย เร่ิมข้ึนครั้งแรกที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียน

วชิราวุธวิทยาลัย ในปจจุบัน) เม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 มีความเจริญกาวหนามาถึง
ปจจุบนั (พ.ศ. 2561) นับเนือ่ งเปนเวลา 107 ป โดยจําแนกตามรชั สมัย ดงั น้ี

1) รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั รชั กาลท่ี 6
(พ.ศ. 2454 –2468)

2) รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูห ัว รชั กาลที่ 7
(พ.ศ. 2468 –2477)

3) รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล รชั กาลท่ี 8
(พ.ศ. 2477 – 2489)

4) รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอลยุ เดช รัชกาลที่ 9
(พ.ศ. 2489 – 2559)

5) รชั สมัยสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
รัชกาลที่ 10 (พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2561 ถึงปจจุบนั )

27

1) การลูกเสอื ไทยรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6
(พ.ศ. 2454 –2468)

ภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานกําเนิด
เสอื ปาได 2 เดือน ซึ่งในระยะเวลาน้ันกิจการเสือปาไดดําเนินไปอยางเปนท่ีพอพระราชหฤทัย
อยางยิ่ง เห็นไดจากการเพ่ิมจํานวนสมาชิกของเสือปาท่ีมากขึ้น และกิจการเสือปาถูกจําแนก
ออกไปเปน กองเสอื ปาประเภทตาง ๆ อกี มาก แมจะทรงพอพระราชหฤทัยเพยี งใด พระองคก็ไม
เคยทจี่ ะยุติในพระราชดําริที่จะเปนประโยชน ตอประเทศชาติ ดวยพระองคทรงเห็นวากิจการ
เสือปา นน้ั แมจ ะประสบผลสาํ เร็จเพยี งใด แตสมาชิกน้ันเปนผูใหญแตฝายเดียว ทั้ง ๆ ที่บานเมืองน้ัน
ประกอบดวยพลเมอื งหลายชวงวัย เด็กผูชายทั้งหลายก็เปนผูท่ีสมควรจะไดรับการฝกฝน และ
ปลูกฝงอุดมการณความรักชาติไปพรอม ๆ กับการฝกฝนใหมีความรู และทักษะในทางเสือปาดวย
เพือ่ วาในอนาคตเม่อื เติบโตขึ้นจะไดประพฤติตัวใหเปนประโยชนแกบ า นเกดิ เมืองนอน

ดงั นั้น ในวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
จงึ ไดท รงพระราชทานกําเนดิ กจิ การเสือปาสาํ หรบั เด็กชาย ท่ีทรงพระราชทานช่ือวา ลูกเสือ

ในกิจการน้ีพระองคทรงมีพระราชประสงคที่ใหเด็กชายจดจําหลักสําคัญ
3 ประการคอื

1) ความจงรักภักดีตอผูทรงดํารงรัฐสีมาอาณาจักร โดยตองตามนิติธรรม
ประเพณี

2) ความรักชาติบา นเมอื ง และนับถือพระศาสนา
3) ความสามัคคใี นคณะ และไมทาํ ลายซ่ึงกันและกัน

การกอตั้งกิจการลูกเสือในครั้งแรกน้ัน พระองคทรงต้ังกองลูกเสือใหมีใน
โรงเรียนกอน และกองลูกเสอื กองแรกของสยามประเทศคือ กองลกู เสอื โรงเรียนมหาดเล็กหลวง
หรือโรงเรยี นวชริ าวธุ ในปจจุบัน และถูกเรียกวากองลูกเสือหลวง หรือกองลูกเสือกรุงเทพที่ 1
และลูกเสือในโรงเรียนน้ีก็ถูกเรียกวาลูกเสือหลวงเชนกัน กอนที่กิจการลูกเสือจะขยายไปสู
โรงเรยี นเด็กชายท่ัวประเทศในเวลาไมนาน โดยลูกเสือคนแรก คือ นักเรียนโรงเรียนมหาดเล็กหลวง
ทีช่ อ่ื ชัพน บนุ นาค การเปนลูกเสือของนาย ชัพน บุนนาค น้ันเกิดจากการที่ไดแตงเครื่องแบบ
ลูกเสือ และกลาวคําปฏิญาณของลูกเสือ ซึ่งเปนการกลาวตอหนาพระพักตร ซึ่งคร้ังน้ันมีผูท่ี
บนั ทกึ เหตุการณเอาไวว า

28

ร.6 - “อา ยชพั น ดอกหรือ เอง็ กลาวคาํ สาบานของ
ลกู เสอื ไดห รอื เปลา”

ชพั น - “ขา พระพุทธเจา ทอ งมาแลววา
1. ขา จะมใี จจงรักภักดีตอพระเจาอยหู ัว
2. ขาจะประพฤติตนใหส มควรเปนลกู ผชู าย
3. ขาจะประพฤตติ นตามขอบังคับและแบบแผน

ของลูกเสอื ”
ร.6 - ในหนาที่ซึ่งขาไดเปนผูประสิทธิประสาทลูกเสือ

ของชาตขิ ้นึ มา ขาขอใหเ จาเปน ลูกเสือคนแรก”

จากน้ันพระองคทรงมีพระราชดํารัสเพียงส้ัน ๆ วา “อาย ชัพน เอ็งเปนลูกเสือแลว"
และแลวกิจการลูกเสือ ก็ไดถือกําเนิดขึ้นมาอยาง
สมบูรณแบบ

ตอมาพระองคก็ทรงพระราชทานคติพจน
ใหก บั ลูกเสือท่ีภายหลังลือล่ันไปทั่วท้ังแผนดินและ
เปนท่ีกลาวขาน รําลึก พูดสอนกันอยางติดปากใน
สงั คม อีกท้งั ยังปรากฏอยบู นเคร่ืองหมายสําคัญตาง ๆ
ของลกู เสอื วา “เสยี ชพี อยาเสยี สัตย”

คาํ วา ลูกเสือ ทพี่ ระองคท รงพระราชทาน
ชื่อน้ัน มีนัยวาพระองคทรงเลนลอคํากับคําวา
เสือปา ที่บางครั้งทรงเรียกวา พอเสือ และเม่ือมีกิจการแบบเดียวกันท่ีมีเหลาสมาชิกเปน
เด็กชาย พระองคจึงทรงใชคําวาลูกเสือ แตภายหลังทรงพระราชนิพนธถึงท่ีมาของชื่อลูกเสือ
อยา งเปนทางการเอาไวว า

“ลกู เสอื บ ใชส ตั วเสอื ไพร เรายมื มาใชดวยใจกลาหาญปานกนั
ใจกลามใิ ชก ลา อาธรรม เชนเสอื อรญั สัญชาติชนคนพาล
ใจกลา ตองกลาอยา งทหาร กลากอปรกิจการแกช าตปิ ระเทศเขตคน"

29

เปนเวลา 6-7 เดือน หลังจากท่ี พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวฯ ทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือ
ในสยามประเทศ หากยอนกลับไปที่ประเทศอังกฤษท่ีเปน
ตนกําเนิดกิจการลูกเสือโลกขณะนั้น ก็กําลังคึกคักและแพร
ขยายความนยิ มไปยังพนื้ ทต่ี าง ๆ ท่ัวเกาะอังกฤษ เด็ก ๆ รวมไป
ถึงผูใหญตางใหความสนใจในกิจการน้ีมาก นายซิดนีย ริชเชส
ซ่ึงอดีตเคยเปนครูสอนศาสนาวันอาทิตย เปนผูหนึ่งท่ีสนใจ
กิจการลูกเสอื และไดเ ขารับตําแหนง เปนผกู ํากบั กองลูกเสือที่ 8
แหงลอนดอนตะวันตกเฉียงใต นายริชเชส ซ่ึงครั้งหนึ่งบิดาของ
เขาไดเคยทํางานอยูในสถานกงศุลไทย ซึ่งภายหลังไดเปนถึงกงศุลใหญประจําสถานทูตไทย
ณ กรุงลอนดอนนั้นมีความใกลชิดสนิทสนมกับ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เม่ือ
ครงั้ ทีย่ งั ทรงดํารงอสิ รยิ ยศเปนมงกฎุ ราชกุมาร สมยั ทีย่ งั ทรงศึกษาอยูที่ประเทศอังกฤษและเมื่อ
ความเจริญกาวหนา ของกจิ การลูกเสือในอังกฤษน้ัน ควบคูไปกับการเจริญกาวหนาของกิจการ
ลูกเสือแหงสยามประเทศ ขาวคราวของกิจการลูกเสือแหงสยามประเทศ ก็แพรกระจายเขาสู
เกาะอังกฤษอยางรวดเร็ว นายริชเชส เปนผูหน่ึงท่ีไดรับทราบขาวน้ัน และประกอบกับ
ความสัมพนั ธข องผูเ ปน บดิ ากับพระเจาแผนดินแหงสยามประเทศ เขาจึงไดทําหนังสือมากราบ
บังคมทูลอัญเชิญ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ใหทรงเปนองคอุปถัมภกองลูกเสือที่
เขาเปนผูกํากับอยูและขอพระบรมราชานุญาตใหชื่อลูกเสือกองนี้วา “King of Siam ’s own
boy scout group” ซึ่งแปลวา กองลูกเสือในพระเจากรุงสยาม หรือ กองลูกเสือแหง
พระบาทสมเดจ็ พระเจา กรงุ สยาม หรอื กองลูกเสอื รักษาพระองคพ ระเจา แผนดนิ สยาม โดย
มชี ื่อยอวา K.S.O.

หลงั จากทพ่ี ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหวั ไดทรงพระราชกรุณาโปรดเกลา
ใหจ ดั ต้งั กองลูกเสอื แหงชาตขิ น้ึ เพียง 5 เดือนเทานัน้ ก็ปรากฏวา มีกองลูกเสือทั่วราชอาณาจักร
อยถู ึง 61 กอง

30

การดําเนินกิจการลูกเสือทั่วทั้งโลก
มั ก มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ี เ ห มื อ น กั น อ ย า ง ห น่ึ ง คื อ
เร่ิมจากกิจการลูกเสือสําหรับเด็กชายกอน
ที่จะเร่ิมแพรเขาไปในหมูเด็กหญิง และ
สาํ หรบั กิจการลูกเสือในไทยก็เชนกัน เม่ือถึง
ระยะเวลาอันควร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ-
เกลาเจาอยูหัว ก็ทรงมีพระราชดําริท่ีจะให
สตรีและเด็กหญิงไดมีสวนรวมในกิจการ
ลูกเสือ โดยทรงเหน็ วา สามารถทจ่ี ะเปนกําลัง
ใหก บั ชาตบิ านเมอื งได แมจะไมใ ชกองกาํ ลงั หลกั กต็ ามที ดงั นั้น จึงทรงตั้งกลุมสตรีข้ึนมากลุมหนึ่ง
ซงึ่ พระองคเ รียกวา สมาชกิ แมเสือ สวนใหญเปนบุตรและภรรยาเสือปา โดยแมเสือมีหนาที่หลัก
ในการจัดหาเสบียงและเวชภัณฑใ หกบั กองเสอื ปา ในขณะเดียวกันก็ทรงจดั ตง้ั กองลูกเสือสาํ หรับ

เด็กหญิง และพระราชทานช่ือวา เนตรนารี
ซึ่งเนตรนารี กองแรก คือ กองเนตรนารี
โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ตอมาไดเปน
ชอื่ โรงเรยี นวฒั นาวทิ ยาลยั

นางสาวหนยุ โชติกเสถียร หน่ึงใน
เนตรนารีกองแรก ไดเขียนถึงกิจกรรม
สําหรับเนตรนารใี นสมัยน้ันไวว า

“ในป พ.ศ. 2457 โรงเรียนกุลสตรี
วังหลงั จัดต้งั กองเนตรนารีข้ึน และใหเราเปนกลุมแรกที่รับการฝกหัด ขาพเจายังจําและรูสึกถึง
ความสนุกสนานของเวลาน้ันไดจ นบัดนี้ เราชวยกันจัดขาวของและหองหลับ หองนอน ตลอดจน
ชวยครวั หาโมงเย็นก็ลงมือรบั ประทานอาหาร สองทุมก็เขา นอนกันหมด เขาเรียนเวลา สามโมงเชา
และเรียนกนั ตามใตรม ไม วิชาที่เรียนคอื

1. วชิ าพฤกษศาสตร เปนวิชาทีพ่ วกเราชอบมาก เพราะไดล งมือเพาะเมล็ดพืช ผัก ดอกไม
มนั ฝรั่งและหวั หอม

2. วชิ าปฐมพยาบาล หดั ชวยคนเปน ลม วธิ พี นั ผาพนั แผลและเขาเฝอ ก เราจบั เดก็ ชาวนามา
ชําระลา งและพนั แผลให

3. วิธที าํ กบั ขา ว หุงขา ว วิชานีเ้ ปน งานไปในตวั เพราะเราตองผลดั เวรกนั ไปตลาดและทํากับขาว
เวลาบาย ๆ เราตองเรียนและฝกซอมกฎของเนตรนารี คือ พยายามหาความงามในทุกสิ่ง
ทกุ อยางท่ตี นประพฤติ โดยมีความสุภาพออนโยน อารีอารอบ ตองพยายามหาความรูเพ่ือเปน
ประโยชนแ กส วนรวม และสวนตวั อดทนในส่งิ ทเี่ ปนประโยชนแ กสว นรวม เวลาเรยี กเขาประชุม

31

อาจารยมกั จะกวู า โว วลิ โล (คําที่ใชเปน เสยี งรองเรยี ก แทนการใชสญั ญาณนกหวีด) หลาย ๆ ครั้ง
พวกเราก็รีบวงิ่ มาทนั ที”

2) รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหวั รชั กาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 –2477)

พทุ ธศักราช 2468
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงรับราชภาระตอจากพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั โดยทรงรบั ตําแหนง เปน นายกสภากรรมการกลางลูกเสือ ซึ่งมีหนาท่ี
กําหนดนโยบาย และอนุมัตงิ บประมาณ
ทรงโปรดเกลาใหคดั เลอื กนักเรียน 2 คนเขา รวม ประชมุ ในเรื่องเกี่ยวกับลูกเสือ
รุนใหญ ท่ีประเทศอังกฤษ คอื นายปนุ มีไผแ กว และ นายประเวศ จนั ทนยง่ิ ยง

พทุ ธศักราช 2469
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ คัดเลือก นักเรียนไทย ท่ีศึกษาอยูท่ีประเทศอังกฤษ
ซึ่งเคยเปนรองผูกํากับ หรือนายหมูลูกเสือเอก ไปเขารวมงานชุมนุมลูกเสือนานาชาติ
ประเทศสวสิ เซอรแ ลนด ระหวา งวนั ท่ี 22 - 28 สงิ หาคม

พทุ ธศกั ราช 2470
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหมีการจัดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติข้ึน ในราชพิธี
ฉตั รมงคล ซง่ึ ถือเปนการจดั งานชมุ นมุ เปนครั้งแรกของประเทศ ซึ่งมีลูกเสือ 14 มณฑลเขารวม
ในวันท่ี 26 กุมภาพนั ธ - 3 มีนาคม เนือ่ งจากงานชุมนุมน้ีไดผ ลดีอยางย่ิง จึงทรงใหมีการจัดงาน
ชุมนมุ ลกู เสือแหง ชาติข้ึน ทุก ๆ 3 ป

พุทธศกั ราช 2470
จดั ใหม ีการอบรมวชิ าผกู าํ กับข้นึ ณ สมคั ยาจารยส มาคม

พทุ ธศกั ราช 2473
จัดชุมนมุ ลูกเสอื แหง ชาตคิ รง้ั ที่ 2 ณ พระราชอุทยานสราญรมย และพระราชทาน
บริเวณพระรามราชนิเวศน จ.เพชรบรุ ี (พระราชวังบานปน ) เปน สถานทอ่ี บรมวิชาผกู าํ กับลูกเสือ

พทุ ธศกั ราช 2475
เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองทําใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
ทรงพระราชทานอํานาจการปกครองใหประชาชน อันทําใหตําแหนงนายกสภากรรมการกลาง
จัดการลูกเสือแหงชาติ ตองยุติไปดวย แตตอมาไดทรงโปรดเกลาใหอธิบดีกรมพลศึกษา ดํารง
ตําแหนงอุปนายกสภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแหงชาติและตอมากองลูกเสือจึงตกอยู
ในการบริหารจัดการของกรมพลศึกษา นับแตบัดน้ัน (กรมพลศึกษาเปนหนวยงานในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ และเมื่อกิจการลูกเสือเติบโตขึ้นจึงไดโอนยายออกมาจัดต้ังหนวยงาน

32

ข้ึนใหม เพอ่ื รบั ผดิ ชอบกจิ การลูกเสือโดยตรง ไดแ ก คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ ซ่ึงอยู
ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการเชนกัน)

พุทธศกั ราช 2477
ทรงโปรดเกลา ฯ ใหม การจดั ตง้ั กองลูกเสือเหลาสมุทรเสนาในจังหวัดชายทะเล
หลงั จากนัน้ เพียง 7 วนั พระองคก ไ็ ดท รงสละราชสมบตั ิ
3) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี 8
(พ.ศ. 2477 – 2489)
อาจกลาวไดวากิจการลูกเสือในยุคน้ีเปนยุคท่ีมี
ความเคลือ่ นไหว ตลอดจนพัฒนาการแหงคณะลูกเสือนอยท่ีสุด
ดว ยเหตวุ า
(1) เกิดสงครามขอ พิพาทดินแดนในอินโดจนี ระหวางไทย
กับฝรง่ั เศส ในป พ.ศ. 2482
(2) เกดิ สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ในป พ.ศ. 2484
(3) ยุคเร่มิ ตน ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ทรงเปนพระประมุข กอใหเกิดระบอบการเมือง
ทีม่ ีความผันผวนอยูต ลอดเวลา ความขัดแยงระหวางฝายบริหาร
และนติ ิบญั ญัติ ทาํ ใหตองยบุ สภาและเปล่ียนรัฐบาลบอย ๆ เม่ือ
การเมืองไมนิ่งสงบทําใหไมมีใครเขามาดูแลกิจการลูกเสืออยาง
จรงิ จัง เพราะอํานาจในการบริหารเปล่ียนมอื ตลอดเวลา
(4) รัฐบาลในยุคน้ันกอตั้งกิจการยุวชนทหาร เพื่อรับมือ
กบั สถานการณท ร่ี ุนแรงของโลก ซ่ึงไดท บั ซอนกับกิจการลกู เสอื จนถงึ ที่สดุ ก็ไดยุบกิจการลูกเสือ
ใหเปนเพียงหนว ยหน่งึ ในกจิ การยวุ ชนทหาร

33

(5) รัชสมัยของพระองคนั้นส้ันมากโดยสิ้นสุดลงในวันท่ี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 รวม
เวลาในการครองสิรริ าชสมบัตเิ พียง 9 ป

แตอยางไรก็ดียงั มปี รากฏการณส าํ คญั ของกิจการลูกเสือ
ทต่ี อ งจารกึ ไว คือ

1) การมตี ราสัญลักษณประจาํ คณะลกู เสอื เปนครั้งแรก
เ พื่ อ ใ ห เ ข า กั บ ห ลั ก ส า ก ล ท่ี ลู ก เ สื อ ท่ั ว โ ล ก ต า ง ก็ มี ต ร า
สัญลักษณข องตนเองทง้ั สิ้น โดยใชส ญั ลักษณลูกเสือโลก คือ
รูป เฟอร เดอ ลีร ประกอบกับรูปหนาเสือ มีอักษรจารึก
ดานลา งวา เสยี ชพี อยา เสียสตั ย

2) มีการออกพระราชบัญญัติลูกเสือข้ึนครั้งแรก ใน
ป พ.ศ. 2482 มีสาระคอื การกําหนดใหคณะลูกเสือแหงชาติ
มีสภาพเปนนิติบุคคล และโอนทรัพยสินท้ังหลายในกิจการ
เสอื ปาใหต กเปนของคณะลูกเสือแหงชาติ เน่ืองจากกิจการ
เสือปา หยุดลงไป และไมม ใี ครใสใ จดูแล

3) ป พ.ศ. 2479 เม่ือถึงวันท่ี 1 กรกฎาคม ซึ่งเปนวัน
กําเนิดลูกเสือ แตทางคณะลูกเสือไมสามารถจัดงานใหญได
เพราะสถานการณการเมืองและสถานการณที่ตึงเครียดทั่วโลก
จึงไดเปลี่ยนใหมการจัดสรางพระบรมรูปพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว องคใหญ โดยประกาศของสํานัก
นายกรัฐมนตรี เพื่อเทิดพระเกียรติและประดิษฐานไวท่ีหนา
สวนลมุ พนิ ี จนปจ จบุ นั

34

4) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอลยุ เดช รัชกาลท่ี 9
(พ.ศ. 2489 – 2559)

คร้ันมาถึงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่ 9 ท่ีทรงเสด็จข้ึนเสวยสิริราชสมบัติ ตอจากพระเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 8 ในวันท่ี 9 มิถุนายน
พ.ศ. 2489 พระองคทรงปฏิบัติราชภารกิจในฐานะกษัตริย ในหลาย ๆ ดาน กิจการลูกเสือ เปน
กิจการทพี่ ระองคทรงใหความสาํ คัญเปนอยา งยงิ่ อันสงผลในการกระตนุ ใหข าราชการท่เี กีย่ วของ
มีความกระตือรือรน ซึ่งน่ันเปนการสงสัญญาณวา
กิจการลูกเสือจะไดรับการฟนฟูใหกลับมามีชีวิตชีวา
อกี ครั้ง เพยี ง 1 ป หลังจากการข้ึนครองราชย รัฐบาลท่ี
มีนายปรีดี พนมยงค เปนผูนํา ไดออกพระราชบัญญัติ
ป พ.ศ. 2490 ซ่ึงมีลักษณะท่ีคลายกับพระราชบัญญัติ
ป พ.ศ. 2482 แตม สี าระที่เพ่ิมข้ึน คอื
“กําหนดใหพระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนง
บรมราชูปถมั ภค ณะลกู เสือแหงชาติ” กิจการยุวชน
ทหารจึงไดถกู ยบุ ลงไปโดยปรยิ าย ทาํ ใหล ูกเสือกลับมา
มบี ทบาทในสังคมอีกคร้ัง รวมทั้งไดทรัพยสินที่เคยถูก
ถายโอนใหไปอยูรวมกับยุวชนทหารกลับคืนมาดวย
หลัง จา กกิ จกา รลู กเ สือถู กป ลุก ใหฟ นคื นม า
ก็ไดกาวหนาไปอยา งรวดเรว็ จนไดม ีการจัดตัง้ กอง
ลกู เสอื ในโรงเรยี นตาง ๆ ท่วั ประเทศ แมองคพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชเอง
กย็ งั ทรงจัดตั้งกองลูกเสือข้ึนในโรงเรียนจิตรลดา และโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ
เจาฟาวชิราลงกรณฯ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารฯ) ทรงสมัครเขาเปน
ลูกเสือดวย ในป พ.ศ. 2507 รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติอีก 1 ฉบับ เพื่อปรับปรุงกฎหมาย
วา ดว ยกิจการลกู เสือใหทนั สมยั และทันเหตุการณยง่ิ ขน้ึ

โดยมาตรา 5 กําหนดใหคณะลูกเสอื แหง ชาติ ประกอบดว ยลูกเสือท้ังปวง ผูบังคับบัญชา
ลูกเสือ ผูตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และเจาหนาที่ลูกเสือ และมาตรา 8 กําหนดให
พระมหากษตั ริยทรงเปน พระประมขุ ของคณะลูกเสอื แหง ชาติ

35

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
นน้ั มสี งิ่ ท่ีบง บอกถึงพัฒนาการอันสําคัญของ
กจิ การลูกเสอื ในประเทศ และนับเปน ประเทศ
เดียวในโลกที่มีกิจการลูกเสือประเภทนี้ คือ
การกอตง้ั กจิ การลกู เสือชาวบาน ซ่ึงกอต้ังใน
วนั ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ท่ีหมูบานเหลา
กอหก ตําบลแสงพา กิ่งอําเภอนาแหว อําเภอ
ดา นซา ย จงั หวดั เลย ดวยการจัดทําหลักสูตร
และฝกอบรม ลูกเสือชาวบานน้ันจะแตงกาย
อยางไรก็ไดท ส่ี ุภาพเรียบรอย ขอสําคัญตองมี
ผาผูกคอ วอคเก้ิลรูปหนาเสือ ที่ไดรับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดช ลกู เสอื รุนแรกที่หมูบานเหลากอหกน้ัน มีมุมผาผูกคอเปนรูปพระแกวมรกต เปน
สัญลักษณ ซ่งึ หมายถงึ ประชาชนในผืนแผนดนิ ไมวาจะเปนใครกส็ ามารถเขา รบั การฝกอบรมและ
เปน ลกู เสือชาวบานได
นอกจากนี้กิจการลูกเสือของไทยยังกาวหนาทั้งในระดับชาติและระดับสากล
เจาหนา ที่ลกู เสอื ของไทยมโี อกาสเขา รวมงานลกู เสอื ระดับโลก และขณะที่งานลูกเสือระดับโลก
หลายงานก็มาจดั ข้ึนท่ีเมอื งไทยเชน กนั
แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง
กับลูกเสือนั้น ก็ไมใชจะเพียงแครูกันในหมู
คนไทย หากแตลูกเสือทั่วโลกก็ไดยิน ไดฟง
และไดรู ในสิ่งท่ีพระองคทรงปฏิบัติเชนกัน
แ ล ะ เ ห ตุ ก า ร ณ ที่ โ ล ก ต อ ง จ า รึ ก ไ ว สํ า ห รั บ
พระมหากษตั รยิ ผูที่ทรงงานอันสงเสริมกิจการ
ลูกเสือใหกาวหนาพัฒนา คือการทูลเกลาถวาย
เคร่ืองหมายวูดแบดจช้ันพิเศษ 4 บีด ในวันที่
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 จากศูนยฝกอบรม
ผูบังคับบัญชาลูกเสือนานาชาติ กิลเวลล
ประเทศอังกฤษ ซ่ึงไมเคยมีใครท่ีจะไดรับถาไมไดผานการฝกอบรม และไมเคยถวายแด
พระประมุขของประเทศใดเลย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปน
บุคคลแรกของโลกทไ่ี ดรบั เกียรตยิ ศอันสงู สง นี้

36

และอีกคร้ังหนึ่งในป มหามงคลการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ท่ีทรงเปน
พระมหากษัตริยพระองคแรกและพระองคเดียวในโลก (ป พ.ศ. 2549) ที่ทรงครองราชสมบัติ
ยาวนานที่สุด ประเทศไทยจึงไดมีการจดั งานท่ียงิ่ ใหญและมีการเฉลมิ ฉลองกนั ทง้ั ป

ในวันท่ี 20 มิถุนายน พระราชาธิบดี คารล
ท่ี 16 กุสตาฟ (กษตั รยิ ) แหงสวีเดน เสด็จมาเพ่ือ
เขาเฝาในฐานะประธานกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิ
ลูกเสือโลก (World Scout Foundation) เพื่อ
ทูลเกลาถวายอิสริยาภรณสดุดีลูกเสือโลก หรือ
บอรน วูฟ (The Bronze Wolf) ท่ีมีสัญลักษณเปน
รูปสุนัขจิ้งจอก สีบอรน ประดับอยูบนสายริบบ้ิน
พ้ืนคลองคอสีเขียว ที่มีปลายสีเหลือง เปน
อิสริยาภรณที่คณะกรรมการลูกเสือโลกพิจารณา
มอบใหเปนเกียรติแกบุคคลที่มีผลงานโดดเดนทางดานการสนับสนุนกิจการลูกเสือ โดย BP
ประมุขตลอดกาลของลูกเสือโลกเปนผูริเริ่มในการมอบมาตั้งแตป พ.ศ. 2478 และมีคนไทย
เพียงไมก่ีคนที่เคยไดรับเคร่ืองหมายอันทรงเกียรตินี้ โดยคนแรกท่ีไดรับคือ นายอภัย จันทวิมล
อดตี รัฐมนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ ในป พ.ศ. 2514
5) รัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
รชั กาลท่ี 10 (พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2561 ถึงปจ จุบนั )
สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เมื่อคร้ังดํารง
พระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ไดพระราชทานพระราโชวาท
ในพิธีปฏิญาณตนและสวนสนาม เน่ืองในวันคลายวันสถาปนาคณะลูกเสือแหงชาติ
เม่ือวนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2541

“...กิจการลกู เสือและเนตรนารนี ้มี คี วามสาํ คัญอยา งยงิ่ ในการพฒั นาเยาวชนของ
ชาติ เพราะการฝก อบรมอยางถูกตองครบถวนตามแบบแผนและวิธีการของลูกเสือน้ัน ยอมจะ
ทําใหเยาวชนมีคุณสมบัติในตัวเองสูงขึ้นหลายอยาง เชน ทําใหมีระเบียบวินัยที่ดี มีความ
เขม แข็งอดทนขยนั หมนั่ เพียร เออ้ื เฟอ เสียสละ ซ่ือสัตย สุจริต และรูจักใชความคิดอยางฉลาด
คณุ สมบัติเหลาน้ี ลวนเปนปจจัยหลักที่จะเกื้อหนุนสงเสริมใหแตละคนสามารถพ่ึงตนเอง และ
สรา งสรรคประโยชนอนั ยั่งยืน เพ่ือสวนรวมและประเทศชาติได”

37

เม่ือพระองคทา นขนึ้ ครองราชย ทรงมีพระบรมราโชบายดา นการศึกษาและความม่ันคง
มพี ระราชประสงค เห็นคนไทยมีวนิ ัย รูหนาที่ มีความรับผิดชอบ สรางวินัยโดยกิจกรรมลูกเสือ
เนตรนารี

“ลกู เสือ” วิชาท่ีทรงโปรด
พระราชบัญญัตลิ กู เสือ พ.ศ. 2551 หมวด 1 บทท่ัวไป มาตรา 6 ใหมีคณะลูกเสือ

แหงชาติ ประกอบดวยลูกเสือทั้งปวงและบุคลากรทางการลูกเสือ มาตรา 7 พระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร-
เทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงเปนลูกเสือสํารองต้ังแตวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 ซ่ึง
เปนวันทโ่ี รงเรยี นจิตรลดาทําพิธีเปดหนวย “ลูกเสือสํารอง” โดย นายกอง วิสุทธารมณ อธิบดี
กรมพลศึกษาขณะน้ัน ในฐานะเลขาธิการสภาคณะกรรมการจัดการลูกเสือแหงชาติ เปน
ประธานในพธิ ี หนังสือพิมพเ ดลินิวส ฉบับประจําวนั พฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 อัญเชิญ
พระบรมฉายาลกั ษณส มเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อครั้งทรงพระเยาว
ทรงฉลองพระองคดวยชุดลูกเสือสามัญ ซ่ึงเปน วชิ าทพี่ ระองคทรงโปรดมากท่สี ุด ข้ึนเปน ภาพปก
พรอ มพาดหัวขา ววา (ขออนุญาตนําความบางประการมาตีพมิ พซาํ้ ณ ท่ีนี้)

“ทรงโปรดวิชาลูกเสือ” พรอมโปรยขาวตอนหน่ึงวา “ต้ังแตทรงพระเยาว วิชาที่
ทรงโปรดคือ “ลูกเสือ” เพราะไดอ อกกําลังกลางแจง จดุ ประกายความฝนใหศึกษาตอวิชาทหาร
จากสถาบันช้ันนาํ จนไดร บั การยกยอ งในระดับสากล”

ความอีกตอนหนึ่งบรรยายวา “การไดเ ปน ลกู เสอื สํารองเปนความภาคภูมิใจและ
เปนทใี่ ฝฝนสําหรับเด็กชายท่ีเขาสูวัยเรียนทุกคนเชนไร สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิรา-
ลงกรณฯ ในขณะนั้นก็รูสึกเชนนั้น โดยพระองคทรงเฝารอเวลานี้มานานแลว พรอมกับพระสหาย
ในวยั เดียวกนั ”

หนว ยลกู เสอื ของโรงเรยี นจิตรลดาแบง ออกเปน 2 หมู หรอื 2 ซิกซ เพราะขณะน้ัน
มีนกั เรยี นอยใู นเกณฑเ ปนลูกเสอื สาํ รองไดเพียง 12 คน โดยหมูหนึ่งแบงออกเปน 6 คน หมูแรก
ชื่อหมูสีฟา ทรงเปนหัวหนาหมู หมูที่สองชื่อหมูสีน้ําเงิน หัวหนาหมูคือ สัณห ศรีวรรฑธนะ
การเปนหัวหนาหมูลูกเสือสํารองน้ี โดยท่ัวไปผูบังคับบัญชาลูกเสือเปนผูเลือก แตในโรงเรียน
จติ รลดาเปดโอกาสใหน กั เรียนเลือกกนั เอง

หัวหนาหมูม ีหนา ที่ดแู ลและเกบ็ สง่ิ ของซึ่งเปน ของหมูใ หเ รียบรอย เมื่อถึงเวลาฝก
กน็ ําออกมาแจกใหลูกหมู เสร็จแลวกเ็ กบ็ รวบรวมไปไวยังทใี่ หเปน ระเบียบ ซ่งึ ทรงปฏบิ ัติหนาที่นี้
ไดโดยไมข าดตกบกพรอง แมทรงอิดเอื้อนบางในตอนแรก เพราะยังไมเขาพระทัยในหนาที่น้ีดี
แตเม่ือพระอาจารยอธิบายถวายก็ทรงปฏิบัติตาม พระองคทรงโปรดวิชาลูกเสือสํารองมาก
เพราะนอกจากจะไดทรงกระโดดโลดเตน ออกกําลงั กายกลางแจงแลว ยังไดท รงฟงนิทานสนุก ๆ
และไดท รงรองเพลงทีส่ นกุ สนานอีกดว ย ทรงเปนนักเรียนท่ีชางซักมากที่สุดในช้ัน วันใดท่ีมีการ
ฝกลูกเสือสํารองจะทรงตื่นบรรทมเชากวาปกติ เตรียมฉลองพระองคลูกเสือดวยพระองคเอง


Click to View FlipBook Version