The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by goi.porntip, 2021-01-04 03:37:26

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

188

3.5 การกางและการเก็บเตน็ ทชนดิ ตา ง ๆ
การไปอยูคายพกั แรมของลกู เสอื แตกอนนัน้ ลกู เสอื ไปหาทีพ่ ักขางหนาตามแตจะ

ดัดแปลงไดในภูมิประเทศ ซึ่งเปนการแกปญหาเฉพาะหนา ถาลูกเสือไมพักในอาคาร ลูกเสือ
จะตอ งนอนกลางแจง ซึ่งจะตอ งหาวิธีสรางเพิงทพี่ ักงาย ๆ ท่สี ามารถกันแดด กนั ฝน กันลม และ
ปอ งกนั สตั วเ ล้ือยคลานไดโดยใชอุปกรณตาง ๆ เทาท่ีจะหาได ตอมาเร่ิมมีการเตรียมอุปกรณไปดวย
เชน เชือกหลาย ๆ เสน พลาสติกผืนใหญ เปน ตน ทาํ ใหงา ยตอการสรา งเพงิ ทพ่ี กั มากข้ึน

ปจ จุบนั ลกู เสือสวนมากจะเตรียมเต็นทส าํ เร็จรูปไปดวย เพราะเต็นทมีขายอยาง
แพรหลาย และมีใหเลือกหลายแบบ หลายสี หลายขนาด มีน้ําหนักเบา มีขนาดกะทัดรัด
สามารถนําพาไปไดส ะดวก

การกางเตน็ ทก ระแบะ หรอื เตน็ ท 5 ชาย

อปุ กรณแ ละสว นประกอบ
ในการใชเต็นทสําหรับอยูคายพักแรม จะใชเต็นท 5 ชาย ซ่ึงเหมาะสําหรับ

ลูกเสือจํานวน 2 คน ซ่ึงจะใชพื้นที่ในการกางเต็นทไมมากนักและวิธีกางก็ไมยุงยาก
สว นประกอบของเต็นท 5 ชาย มดี งั นี้

1) ผา เตน็ ท 2 ผืน
2) เสาเต็นท 2 ชุด (2 เสา) ชดุ ละ 3 ทอ น (3 ทอ นตอกันเปน 1 ชดุ )
3) สมอบก 10 ตวั (หัวทาย 2 ตัว ชายดานลางดานละ 3 ตวั ประตูหนา 1 ตัว
และหลัง1 ตวั )
4) เชอื กยดึ สมอบก 10 เสน (เชือกยาวใชร้ังหัวทายเต็นท 2 เสน เชือกส้ันใชยึด
ชายเตน็ ท 6 เสน และประตูหนา - หลงั 2 เสน )
การกางเต็นท
การกางเต็นท 5 ชายนั้น มวี ธิ กี ารดงั ตอ ไปนี้
1) ติดกระดุมทงั้ 2 ผืนเขาดวยกัน
2) ตงั้ เสาเต็นทท ้ัง 2 เสา
3) ผูกเชอื กร้งั หัวทายกบั สมอบก
4) ตอกสมอบกยึดชายเตน็ ท

189

การรอื้ เตน็ ทท พ่ี กั แรม
1) แกเชอื กท่ีรัง้ หวั ทายกับสมอบกออก
2) ลม เสาเต็นททง้ั 2 เสาลง
3) ถอนสมอบกท่ยี ึดชายเต็นทและทใี่ ชร ้งั หัวทายเตน็ ท
4) แกะกระดมุ เพ่ือแยกใหเ ต็นทเปน 2 ผืน
5) ทําความสะอาด เก็บพบั ใหเรียบรอ ย
6) นาํ ผาเต็นทและอุปกรณเ ก็บรวมไวเ ปนทีเ่ ดียวกัน

เตน็ ทส ําเร็จรปู
เตน็ ทส าํ เรจ็ รปู จะมลี ักษณะและ

รูปแบบท่ีหลากหลาย ซ่งึ มวี างจําหนายโดยท่ัวไป
งายตอการประกอบและการเก็บ แตละแบบ
จะมีรูปแบบการประกอบไมเหมือนกัน จึงให
ผใู ชพ ิจารณาตามวธิ ีการของเต็นท

เต็นทส าํ เร็จรูปใชเ ปนท่พี กั สําหรบั ลกู เสอื ท้ังหมู (1 หม)ู เปนเต็นททม่ี ขี นาดใหญกวา
เตน็ ทก ระแบะ มนี ํา้ หนักมากกวาเต็นทกระแบะสามารถพกพาไปไดสะดวก พื้นที่ท่ีใชกางเต็นท
จะมีบริเวณกวางพอสมควร สวนวิธีกางเต็นทไมยุงยากมีลูกเสือชวยกันเพียง 2 คน ก็สามารถ
กางเต็นทไ ด

สวนประกอบของเตน็ ทสําเร็จรปู มีดงั นี้
1) ผา เตน็ ท 1 ชดุ
2) เสาเต็นท 2 ชุด (2 เสา) ชุดละ 3 ทอ น (3 ทอ นตอ กันเปน 1 ชุด หรอื 1 เสา)
3) สมอบก 12 ตัว (ยดึ มุมพนื้ 4 ตวั ยึดชายหลงั คา 6 ตวั หัว 1 ตวั ทา ย 1 ตวั )
4) เชือกยดึ สมอบก 8 เสน ทุกเสนมัดติดกับแผนเหล็กสําหรับปรับความตึงหยอน

ของเชือก (เชอื กสนั้ 6 เสนใชยึดชายหลังคา เชือกยาว 2 เสน ใชรั้งหัวทา ยเตน็ ท)
วธิ ีกางเตน็ ทส าํ เรจ็ รูป ปฏบิ ตั ิดงั นี้
1) ยึดพืน้ ของเต็นทท ้งั 4 มุมดวยสมอบก 4 ตัว
2) นาํ เสาชดุ ที่ 1 (ตอ 3 ทอ นเขาดว ยกัน) มาเสยี บทรี่ ูหลังคาเตน็ ท ใหค นที่ 1 จบั ไว
3) ใหคนที่ 2 ใชเชือกยาว 1 เสน ยึดจากหัวเสา (หรือหวง) ไปยังสมอบก

ดานหนา (โดยผกู ดว ยเง่อื นตะกรดุ เบด็ หรอื ผกู เงือ่ นกระหวัดไม ไมต อ งใชเงื่อนผูกรั้ง เพราะเปน
แผนปรับความตึงอยูแลว) แลวใชเชือกส้ัน 2 เสน ยึดชายเต็นทเขากับสมอบกใหเต็นทกาง
ออกเปนรูปหนาจัว่

190

4) ใหค นที่ 2 เดนิ ออ มไปอีกดานหน่งึ ตอ เสาที่ 2 เสียบเขารูหลังคา เต็นทอีกดาน
หน่งึ แลว จบั เสาไวใ หคนท่ี 1 ปลอยมือจากเสาท่ี 1 แลวนําเชือกยาวเสนที่ 2 ยึดจากหัวเสาท่ี 2
ไปยังสมอบกดานหลัง

5) ใหคนท่ี 2 ปลอยมอื จากเสาท่ี 2 ได เตน็ ทจะไมลม ท้ังสองคนชวยกันใชเชือก
ยึดชายหลังคาเต็นท (จุดที่เหลือ) ใหเขากับสมอบกแลวปรับความตึงหยอนของเต็นทให
เรยี บรอย

หมายเหตุ เต็นท สําเร็จรูปมีหลายแบบ มีรูปทรงไมเหมือนกัน บางแบบคลาย
เต็นทกระแบะ เปน ตน ใชสะดวกและเบามากแตบอบบาง

เตน็ ทอ ยา งงาย

วิธีน้ีปจ จบุ นั สะดวกมาก ทง้ั ยงั ราคาถกู หาซอื้ งายใชประโยชนไ ดดีสามารถใชวัสดุ
อุปกรณท่ีหาไดในทองถ่ิน โดยใชถุงปุยหรือเสื่อเย็บตอกันใหไดเปนผืนใหญ ๆ สามารถใชแทน
ผา เต็นทได จะใหม ีขนาดใหญเ ทาใดกไ็ ดตามท่ีตองการ แตสวนใหญมักจะทําเปนผืนใหญใชเปน
ท่พี กั ของลกู เสอื ไดท ั้งหมู

วิธีทํา
หาไมส องทอนมาทําเสา ปกลงในดนิ ใหแ นน แลวเอาไมอ กี อันหนึง่ พาดทําเปนข่ือ
เสรจ็ แลวใชถุงทีเ่ ยบ็ หรอื ผา ใบพาดกับขือ่ นัน้ ทป่ี ลายทงั้ สองขา งร้ังเชอื กกบั สมอบก
การนาํ วสั ดุตา ง ๆ ท่ีหาไดใ นทอ งถิ่นจะงา ย สะดวกและประหยดั เพื่อเปน การสงเสริม
และปฏิบัติตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภูมพิ ลอดลุ ยเดช

191

รูปแบบเตน็ ทแ บบตา ง ๆ
เตน็ ทแบบโดม

เตน็ ทแ บบโครง

เตน็ ทแ บบสามเหลี่ยม

เตน็ ทแบบกระโจม

192

เตน็ ทแ บบก่ึงถุงนอน

เตน็ ทแ บบอุโมงค

ขอ ควรระวงั ในการกางเตน็ ท
เมื่อตองการกางเต็นทหลายหลังเปนแนวเดียวกัน ข้ันแรกเล็งใหสมอบกและ

เสาตนแรกของทกุ เต็นทอ ยใู นแนวเดียวกนั การกางเตน็ ทแ ตล ะหลงั ใหเล็งสมอบกตัวแรกเสาแรก
เสาหลัง และสมอบกตัวหลังท้ัง 4 จุดอยูในแนวเดียวกันเสาทุกตนที่ยึดเต็นทจะตองต้ังฉากกับ
พื้นเสมอหลังคาเต็นทจะตองไมมีรอยยน สมอบกดานขางของเต็นทแตละหลังจะตองเรียงกัน
อยางเปนระเบียบ ถา เตน็ ทตึงไปอาจจะขาดได หรือถาหยอนเกินไปก็จะกันฝนไมได ซึ่งจะเปน
สาเหตทุ ําใหนํ้าซมึ ไดง ายและถาหากลมพัดแรง อาจทาํ ใหเ ตน็ ทขาดได การผูกเต็นทควรใชเงื่อน
ผูกรั้งเพราะสามารถปรบั ใหตงึ หยอนไดตามตอ งการ

การดแู ลรกั ษาเตน็ ท
การดูแลรักษาเต็นทใหมีอายุการใชงานที่ยาวนาน หลายคนอาจจะคิดวาเปน

เรอ่ื งยาก ลองอานวิธกี ารเหลานด้ี ูแลวคณุ จะรูวา เต็นทด ูแลงา ยนิดเดยี ว
1. ฝกกางเต็นทใหถูกวิธี การที่คุณเรียนรูวิธีการกางเต็นทอยางถูกวิธี จะทําให

เตน็ ทของคณุ ไมเกิดความเสียหาย เพราะบางคร้งั การกางเต็นทไมถูกวิธี อาจทําใหอุปกรณบางชิ้น
เกิดความเสียหายได เชน อาจจะใสเสาเต็นทผิดอันทําใหเกิดความเสียหายเวลางอเสาเขากับ
เต็นท เปนตน

193

2. อยาเกบ็ เต็นทข องคณุ ขณะทเ่ี ปย กถาไมจําเปน เพราะอาจจะทําใหเกิดกลิ่นอับได
เราควรจะนําเต็นทมาผึ่งลมใหแหงกอนและนําเศษสิ่งสกปรกออกจากเต็นท แลวจึงปดซิปให
เรยี บรอย

3. ไมควรใชสารเคมใี นการทําความสะอาดเต็นท เพราะสารเคมีเหลา นี้จะทาํ ลาย
สารท่ีเคลือบเต็นทไว ควรใชแคผาชุบน้ําเช็ดก็พอ หามใชแปรงขัดเพราะแปรงจะทําใหสาร
เคลือบหลดุ ออกเชน กนั

4. ใชผาพลาสติกปูรองพื้น ผารองพ้ืนจะใชปูรองพื้นกอนกางเต็นท ประโยชน
คอื ชว ยปกปองตัวเตน็ ท จากหินและก่ิงไมอันแหลมคม ซ่ึงสิ่งเหลานี้อาจจะทําใหพ้ืนเต็นทเกิด
ความเสียหายได และนอกจากน้ียังชวยลดเวลาในการทําความสะอาด เพราะเราเพียงแตทํา
ความสะอาดที่ผาปเู ทาน้นั

5. ใชส มอบกปกเต็นท บางคนอาจคิดวาสมอบกไมจําเปน เพราะเต็นทสามารถ
ทรงตวั ไดอยูแลว แตบางคร้ังเม่ือลมแรง เต็นทอาจจะมีการพลิกซ่ึงอาจจะทําใหเต็นทเสียหาย
ถาชวงท่ีคุณกางเต็นทมีลมแรงควรจะนําสัมภาระเขาไปไวในเต็นท แลวปกสมอบกยึดไว ซ่ึง
จะชว ยปอ งกันเตน็ ทพลิกจากแรงลมได

6. ใชอปุ กรณซอ มแซมเตน็ ทถาจําเปน หากเต็นทคุณเกิดการเสียหาย เชน ผนัง
เต็นทมรี อยฉีกขาด ควรใชพวกผาเทปปดรอยขาดน้ันไว มิฉะน้ันรอยขาดน้ันจะใหญข้ึนเรื่อย ๆ
(ลองคิดถึงเส้อื ผาที่ขาดดู ถาเรายงิ่ ดึงก็จะยิ่งขาดมากข้นึ ) อุปกรณซ อมแซมเต็นทสามารถหาซ้ือได
ตามรานอปุ กรณท ว่ั ไป

กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 3 ชีวิตชาวคา ย
(ใหผเู รยี นไปทํากจิ กรรมทายเรื่องที่ 3 ทสี่ มุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา)

เรือ่ งที่ 4 วิธีการจดั การคายพักแรม
การจดั การคายพักแรม เปน การจัดวางผังการอยูค ายพกั แรม ลูกเสือจะตองสํารวจ

คาดคะเนความเหมาะสมของพื้นท่ี แหลง น้ํา เสน ทางคมนาคม เพื่อไมใหเกิดความผิดพลาดในการ
เลอื กสถานท่ีตง้ั คายและกางเต็นท

กอนท่ีจะไปตั้งคายพักแรมนั้น ควรจะไดมีการศึกษาลักษณะพื้นที่ภูมิประเทศ
ใหด ีเสยี กอ น โดยพจิ ารณาความเหมาะสมจากส่ิงตอไปนี้

1. อยูบนทสี่ งู หรือเชิงเขา เวลาฝนตกมที างระบายนํา้ ออกอยา งรวดเร็ว ทาํ ใหไมมี
น้ําขังในบริเวณคา ย หรอื มิฉะน้ันควรต้งั คายบริเวณท่เี น้อื ดนิ เปนดินปนทราย เพอื่ ใหน้ําดูดซึมได
โดยรวดเร็ว

2. ไมค วรอยใู กลส ถานทีท่ ม่ี คี นพลุกพลา น เชน สถานทต่ี ากอากาศ
3. ไมควรอยูใกลถนนหรอื ทางรถไฟ เพราะอาจเกิดอบุ ัตเิ หตุกับลูกเสือได

194

4. ไมค วรอยูใกลต น ไมใ หญ เพราะเม่อื เกดิ ลมพายุอาจหกั โคน ลงมาทําใหเ กิด
อันตรายได

5. สถานที่ตง้ั คา ย ควรมีนา้ํ ด่มื นา้ํ ใชเพียงพอ แตไ มควรอยูใกลแ มนํา้ ลาํ คลอง
หนองหรือบงึ เพราะอาจเกิดอบุ ตั เิ หตกุ บั ลกู เสอื ได

6. สถานท่ตี ง้ั คาย ไมค วรอยูไ กลจากตลาดมากนกั ท้งั นี้ เพอ่ื สะดวกแกการไป
ซอื้ กับขาว และไมค วรอยูไกลจากสถานีอนามยั มากนัก เพ่อื วาเกดิ การเจ็บปว ยหรอื เกิดอบุ ัติเหตุ
รา ยแรง จะไดช ว ยเหลอื ไดท ันทวงที

7. ควรอยูในสถานที่ที่ปลอดภัยจากผูกอ การรา ย
การวางผงั คา ยพกั แรม

การวางผงั คา ยพักแรม คือการกาํ หนดตําแหนงทจ่ี ะสรา งเต็นท สุขาภบิ าล ครวั
ราวตากผา ขน้ึ อยูก บั ความตอ งการ และความเหมาะสมของสถานท่ีนั้น ๆ

รูปแบบการจดั คา ยหมลู ูกเสือ

กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 4 วธิ กี ารจัดการคา ยพักแรม
(ใหผ ูเรียนไปทํากิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 4 ท่สี มุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา)

195

หนวยการเรียนรทู ่ี 13
การฝกปฏิบัตกิ ารเดินทางไกล อยูคา ยพักแรม และชีวิตชาวคา ย

สาระสาํ คญั
การฝกปฏิบัติการเดินทางไกล อยูคายพักแรม และชีวิตชาวคาย เปนการนํา

ความรูจากการไดศึกษาบทเรียนภาคทฤษฎีไปสูการปฏิบัติ โดยมุงใหลูกเสือ สามารถวางแผน
และปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเดินทางไกล อยูคายพักแรมและชีวิตชาวคายทุกกิจกรรม คือ กิจกรรม
เสริมสรางคุณธรรมและอุดมการณลูกเสือ กิจกรรมสรางคายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวคาย
กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจง กิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟ กิจกรรม
นําเสนอผลงานตามโครงการท่ีไดดําเนินการมากอนการเขาคาย และสามารถใชชีวิตชาวคาย
รวมกับผูอ่ืนในคา ยพกั แรมไดอ ยางสนกุ สนานและมีความสขุ

ตวั ชว้ี ดั 1. วางแผนและปฏิบัตกิ จิ กรรมการเดินทางไกล อยคู า ยพักแรม และชีวิตชาวคา ย
ทุกกิจกรรม 2. ใชชีวติ ชาวคายรว มกบั ผอู ื่นในคายพกั แรมไดอ ยา งสนกุ สนานและมีความสุข

ขอบขายเนอ้ื หา
เรอ่ื งท่ี 1 กจิ กรรมเสริมสรา งคณุ ธรรม และอดุ มการณลูกเสือ
เร่ืองที่ 2 กจิ กรรมสรา งคา ยพกั แรม
เร่อื งท่ี 3 กิจกรรมชีวิตชาวคาย
เรือ่ งที่ 4 กจิ กรรมฝก ทักษะลูกเสอื
เรื่องท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจง
เรอ่ื งท่ี 6 กิจกรรมนันทนาการ และชมุ นุมรอบกองไฟ
เรอ่ื งท่ี 7 กจิ กรรมนาํ เสนอผลการดาํ เนินงาน ตามโครงการทไ่ี ดดาํ เนินการ
มากอนการเขาคาย

เวลาท่ใี ชในการศึกษา 40 ช่วั โมง

สอ่ื การเรยี นรู
1. ชดุ วิชาลูกเสอื กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูป ระกอบชุดวชิ า
3. ส่ือเสริมการเรยี นรูอ ื่น ๆ

196

เร่ืองท่ี 1 การวางแผนและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเดนิ ทางไกลการอยคู า ยพักแรม
และชีวติ ชาวคาย
การเดินทางไกล ลูกเสือตองเตรียมความพรอมทุกดาน ท้ังทางรางกาย จิตใจ

ความรู ความสามารถทักษะท่ีจําเปนในการให รวมท้ังการบรรจุเครื่องหลัง ซึ่งประกอบดวย
เครื่องแตงกาย เครื่องใชป ระจําตัว ยาประจําตัว อุปกรณการเรียนรูและการจดบันทึกกิจกรรม
อปุ กรณทีจ่ ําเปน ตามฤดกู าล อุปกรณเครอ่ื งนอนสว นตัว และอปุ กรณประจํากายลกู เสอื

ลกู เสือและผบู ังคบั บญั ชาลกู เสือ รว มกนั วางแผนการการเดนิ ทางไกล โดยการสํารวจ
เสนทางการเดินทาง ความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรม และกําหนดวัน เวลา สถานท่ี
ใหเหมาะสม กําหนดบทบาทใหแตละคนในฐานะผูนํา ผูตาม ผูประสานงาน ผูควบคุม
ผูรับผิดชอบรวมกัน ประชุมซักซอมความเขาใจที่ตรงกัน กําหนดนัดหมายที่ชัดเจน รัดกุม
และปฏิบัตติ ามแผน

การอยคู า ยพักแรม ตองมกี จิ กรรมการแสดงรอบกองไฟ เพื่อปลุกใจ และสงเสริม
ความสามัคคีของหมูคณะ เปดโอกาสใหลูกเสือไดแสดงออก และรูจักกันมากยิ่งขึ้นซ่ึง บี.พี.
ไดร ิเร่มิ ในการนําเด็กไปอยูคายพักแรมท่ีเกาะบราวนซี ประเทศอังกฤษ การชุมนุมรอบกองไฟ
ภาษาอังกฤษ เรียกวา Camp Fire ในภาษาไทยเดิมมักเรียกกันวา การเลนหรือการแสดง
รอบกองไฟ ซ่ึงความจรงิ การเลน หรอื การแสดง เปนเพียงสวนหนึง่ ของการชมุ นมุ รอบกองไฟ

การชมุ นมุ รอบกองไฟ มคี วามมงุ หมาย ดงั นี้
1. เพื่อเปน การฝกอบรมในตอนกลางคนื ดงั ที่ บี.พี. ไดใชเปนหลักในการฝกอบรม
ผทู ่ไี ปอยคู า ยพกั แรม
2. เพือ่ ใหล ูกเสือไดรอ งเพลงรว มกัน หรือแสดงกิริยาอาการอยา งเดียวกัน
3. เพอื่ ใหล กู เสอื แตละหมไู ดม ีโอกาสออกมาแสดงรอบกองไฟ
4. ในบางกรณี อาจใชเ ปนโอกาสสําหรบั ประกอบพธิ ีสาํ คัญ
5. ในบางกรณีอาจเชิญบุคคลสําคัญในทองถ่ิน ตลอดจนชาวบานใหมารวมการ
ชมุ นมุ รอบกองไฟ เพื่อเปนการประชาสมั พนั ธแ ละสง เสรมิ กิจการลูกเสอื
การแสดงรอบกองไฟมขี อกาํ หนดบางประการ เพ่ือใหเกิดความเหมาะสม ไดแก

1) เรื่องที่จะแสดงควรเปนเร่ืองสนุกสนานขนบธรรมเนียมประเพณี
ประวตั ิศาสตรเรอื่ งทเ่ี ปนคติเตือนใจ

2) เร่ืองที่ไมควรนํามาแสดง เชน เรื่องไรสาระ เรื่องผีสาง เร่ืองลามก
เร่ืองอนาจาร เรื่องเสียดสีสังคม เร่ืองลอเลียนการเมือง เร่ืองหม่ินสถาบัน ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษตั ริย

3) การใชคาํ พดู และวาจาท่ีเหมาะสม คาํ สภุ าพคาํ ท่ีไมห ยาบคายคาํ ดาทอ
4) ชดุ การแสดง ควรเปน ชุดที่มคี วามเหมาะสมกับเร่ืองที่จะแสดงมีความ
สุภาพสอดคลอ งกบั เน้ือเร่อื งทีแ่ สดง

197

แผนการปฏิบัตกิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกล อยคู ายพกั แรม และชีวิตชาวคาย

วนั – เวลา กจิ กรรม เวลา ขอบขา ยเนือ้ หา
วนั ที่ 1 (นาท)ี
07.00 – 08.00 น. รายงานตวั /ลงทะเบียน
08.00 – 09.00 น. ปฐมนเิ ทศ ชี้แจงวัตถปุ ระสงคการเขา คา ย 60 กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรม
09.00 – 10.00 น. พธิ ีเปดทางราชการ (ในหอประชมุ ) 60 กจิ กรรมเสริมสรา งอุดมการณ
- กลา วรายงาน 60 กิจกรรมเสรมิ สรา งคณุ ธรรม
10.00 – 10.30 น. - ประธานกลา วเปด ใหโ อวาทและ
ถวายราชสดุดี และอุดมการณลูกเสือ
10.30 – 11.15 น. พธิ ีเปด ทางการลูกเสือ (รอบเสาธง)
11.15 – 12.00 น. - ผอู าํ นวยการฝก อบรมกลาวตอ นรับ 30 กจิ กรรมเสริมสรา งอุดมการณ
12.00 – 13.00 น. - แนะนาํ คณะวิทยากร ลูกเสือ
13.00 – 13.30 น. วชิ าประวตั ิลูกเสอื ไทย
13.30 – 14.30 น. 45 กจิ กรรมเสริมสรางอุดมการณ
14.30 – 17.00 น. วชิ าประวตั ลิ ูกเสือโลก ลูกเสอื
17.00 – 18.00 น.
18.00 – 19.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั 45 กจิ กรรมเสริมสรางอุดมการณ
นนั ทนาการ ลกู เสือ
19.00 – 19.30 น. วชิ าวินัย ความเปนระเบียบเรียบรอ ย
19.30 – 21.30 น. สัญญาณนกหวดี และระเบยี บแถว 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวคาย
21.30 น. วิชาชาวคาย 30 กจิ กรรมนันทนาการ
ฐานท่ี 1 อปุ กรณ เคร่ืองมือ เคร่อื งใช 60 กจิ กรรมทักษะลูกเสือ
ฐานท่ี 2 สขุ าภิบาล
ฐานที่ 3 อุปกรณค รัว 150 กจิ กรรมสรางคา ยพกั แรม
ฐานที่ 4 เต็นท 60 กจิ กรรมชีวติ ชาวคา ย
ประกอบอาหารแบบชาวคาย 60 กิจกรรมชวี ิตชาวคาย
ชกั ธงลง/รบั ประทานอาหาร
ภารกิจสวนตัว 30 กจิ กรรมนันทนาการ

นันทนาการ 120 กิจกรรมฝก ทกั ษะลกู เสอื
พิธปี ระจํากองลูกเสือวิสามญั 30 กจิ กรรมเสริมสรา งคณุ ธรรม
นัดหมาย สวดมนต เขา นอน

198

วัน – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบขา ยเนือ้ หา
(นาที)

วันท่ี 2 ต่นื นอน ภารกิจสวนตวั 60 กจิ กรรมชีวติ ชาวคา ย
05.00 – 05.30 น. กายบริหาร/ระเบียบแถว/ประกอบ 60 กิจกรรมกลางแจง/ทกั ษะ
05.30 – 06.30 น. อาหาร
06.30 – 07.30 น. รบั ประทานอาหาร/ภารกิจสวนตวั ลูกเสือ
07.30 – 08.00 น. ตรวจเย่ียม 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวคา ย
สายที่ 1 เคร่อื งแบบ ท่ีพกั สขุ าภบิ าล 30 กิจกรรมเสรมิ สรา งคุณธรรม
08.00 – 08.30 น. สายท่ี 2 เคร่ืองแบบ ที่พกั สุขาภิบาล
สายบริการ (พเิ ศษ) ความสะอาด 30 กจิ กรรมเสริมสรา งอุดมการณ
ความเรียบรอยรอบบริเวณ ลกู เสอื
ประชมุ กองรอบเสาธง
30 กิจกรรมนันทนาการ
08.30 – 09.00 น. นันทนาการ 180 กิจกรรมเสรมิ สรา งอดุ มการณ
08.30 – 09.00 น. สาํ รวจชุมชน
ลกู เสอื
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวคา ย
13.00 – 13.30 น. นนั ทนาการ 30 กิจกรรมนันทนาการ
13.30 – 14.30 น. 60 กจิ กรรมฝกทกั ษะลกู เสอื
14.30 – 16.00 น. วชิ าแผนที่ – เขม็ ทิศ 90 กิจกรรมฝก ทักษะลกู เสือ
กิจกรรมบุกเบกิ
16.00 – 17.00 น. - ผกู ประกบ 60 กจิ กรรมนันทนาการ
17.00 – 18.00 น. - ผกู กากบาท 60 และชุมนมุ รอบกองไฟ
18.00 – 19.00 น. - ผกู ทแยง 60 กจิ กรรมชวี ิตชาวคา ย
การชุมนุมรอบกองไฟ (ทฤษฎ)ี
ประกอบอาหารแบบชาวคาย กิจกรรมชีวิตชาวคาย
ชกั ธงลง/รับประทานอาหาร/ภารกจิ กิจกรรมนันทนาการ
สวนตัว 120 และชมุ นุมรอบกองไฟ
30 กจิ กรรมเสรมิ สราง
19.00 – 21.00 น. ชุมนมุ รอบกองไฟ (ปฏิบตั )ิ คุณธรรม
21.00 – 21.30 น. นัดหมาย สวดมนต เขา นอน

199

วัน – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบขา ยเนือ้ หา
(นาที)

วนั ท่ี 3 ตื่นนอน ภารกิจสวนตัว 60 กิจกรรมชวี ติ ชาวคา ย
05.00 – 05.30 น. กายบริหาร/ระเบียบแถว/ประกอบ 60 กจิ กรรมกลางแจง/ทักษะ
05.30 – 06.30 น. อาหาร
รับประทานอาหาร/ภารกิจสว นตัว ลูกเสอื
06.30 – 07.30 น. ตรวจเย่ียม 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวคาย
07.30 – 08.00 น. สายท่ี 1 เครือ่ งแบบ ท่ีพัก สขุ าภิบาล 30 กจิ กรรมเสริมสรา งคณุ ธรรม
สายที่ 2 เครอ่ื งแบบ ท่ีพัก สขุ าภิบาล
สายบริการ ความสะอาดบรเิ วณ

08.00 – 08.30 น. ประชุมกองรอบเสาธง 30 กิจกรรมเสรมิ สรางอุดมการณ
ลูกเสอื
08.30 – 09.00 น. นันทนาการ
09.00 – 12.00 น. วิชาปฐมพยาบาล 30 กิจกรรมนันทนาการ
12.00 – 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั 180 กจิ กรรมทกั ษะลกู เสือ
13.00 – 13.30 น. นันทนาการ 60 กิจกรรมชีวิตชาวคา ย
13.30 – 14.30 น. จติ อาสากับการสรางปณธิ านความดี 30 กจิ กรรมนันทนาการ
ของลูกเสือ กศน. 60 กิจกรรมเสริมสรา งอุดมการณ
14.30 – 15.30 น. สรุปบทเรียนสะทอนความคดิ เห็น
ประเมนิ ผล ลกู เสือ
15.30 – 16.30 น. พธิ ีปด การอบรม 60 กจิ กรรมนาํ เสนอผลการ
- ในหอ งประชุม
16.30 น. - รอบเสาธง ดําเนินงานตามโครงการ
เดนิ ทางกลบั 60 กจิ กรรมเสรมิ สรา งอดุ มการณ

ลูกเสอื

กจิ กรรมเสริมสรางอุดมการณ
ลูกเสือ

กิจกรรมทายเรื่องท่ี 1 การวางแผนและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการเดนิ ทางไกล การอยคู ายพกั แรม
และชวี ติ ชาวคาย

(ใหผ ูเ รียนไปทํากจิ กรรมทายเร่อื งท่ี 1 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

200

เร่อื งท่ี 2 การใชชีวิตชาวคา ยรวมกบั ผอู นื่ ในคายพกั แรม
กจิ กรรมในคา ยพกั แรมมีหลากหลายมากมาย ไดแ ก กิจกรรมเสริมสรางคณุ ธรรม

และอดุ มการณล ูกเสอื กจิ กรรมสรางคายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวคาย กิจกรรมทักษะลูกเสือ
กิจกรรมกลางแจง กิจกรรมนันทนาการ และชุมนุมรอบกองไฟ ตลอดจนกิจกรรมนําเสนอ
ผลการดําเนนิ งานตามโครงการพฒั นาชุมชนและสงั คม ซงึ่ ไดดาํ เนินการไวกอนการเขาคายพักแรม
ซึ่งกจิ กรรมทง้ั หลายเหลานีไ้ ดกําหนดใหล กู เสือทกุ คน ทกุ หมู รวมกันคดิ แกปญหา รวมกันวางแผน
ลองผิดลองถูกรวมกัน ตัดสินใจปฏิบัติรวมกันอยางมีความสุข และมีความภาคภูมิใจรวมกัน
ซง่ึ กิจกรรมทกุ กจิ กรรมจะทําใหลูกเสอื ไดสัมผสั ประสบการณข องการผจญภัย การไดเพื่อน การได
สมั ผัสกับธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม การไดห วั เราะอยางมคี วามสขุ และมคี วามสาํ เร็จสุขสมรว มกนั

การใชชีวติ ชาวคา ย และการปฏิบตั ิกิจกรรมรว มกบั ผูอื่นในคายพกั แรม เปน การฝก
ทกั ษะชีวติ ฝก ใหร ูจ ักความเอ้อื อาทร ความเขา ใจ รจู กั การใหอภัย รจู ักรูร ัก รูสามัคคี รูจักหนาที่
มีวินัย รูจักการปรับตัวเขาหากัน เพื่อการอยูรวมกันอยางมีความสุขในสถานการณที่คับขัน
และมีขอจํากัดมากมาย ทําใหมีโอกาสพัฒนากระบวนความคิดจากการแลกเปล่ียนเรียนรู
การทํางานเปนหมู ยอมรับบทบาท หนาที่ของกันและกัน พัฒนาความเปนผูนํา ผูตาม
เสริมสรา งคณุ ธรรม จริยธรรม ความมีวินยั เพอื่ การเปน พลเมอื งดขี องสังคม

กจิ กรรมทายเร่อื งท่ี 2 การใชช วี ติ ชาวคายรวมกบั ผูอื่นในคายพักแรม
(ใหผ ูเ รยี นไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรื่องท่ี 2 ท่ีสมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า)

201

บรรณานกุ รม

กรมการแพทยก ระทรวงสาธารณสุข. คมู ือปฐมพยาบาลสาํ หรบั ประชาชน ฉบบั จติ อาสา
เฉพาะกจิ ดา นการแพทย. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเพทฯ : บริษทั โอ – วทิ ย
(ประเทศไทย) จํากัด, 2560.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (4 มีนาคม 2551). “พระราชบญั ญัติลูกเสอื พ.ศ.2551.”
ราชกจิ จา นุเบกษา. 92(93).

กวี พนั ธุมีเชาว. เงอ่ื นเชอื ก. พิมพค รงั้ ที่ 7. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ สกสค., 2555.
คณะอนุกรรมการลูกเสอื ฝายฝกอบรม สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหงชาติ. คูมือ

ฝก อบรมวชิ าผกู าํ กบั ลกู เสือวสิ ามญั ขนั้ ความรเู บือ้ งตน (B.T.C.). พมิ พครัง้ ที่ 3.
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ สกสค.ลาดพราว, 2550.
“จรยิ ธรรม”. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/จรยิ ธรรม.
(วนั ท่ีคน ขอมูล : 16 กุมภาพนั ธ 2561).
ชนิ วรณ บุญยเกียรต.ิ ในสารานกุ รมลกู เสอื (เลม1, หนา ข). กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณ
การเกษตรแหงประเทศไทย, 2554.
เทวนิ ทร วารีศร.ี “วชิ าอุบัตเิ หตุและการปอ งกันอบุ ตั ิเหตุ”. [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก :
http://www.tawin.org. (วนั ท่ีคน ขอมูล : 6 กมุ ภาพันธ 2561).
นุชจรยี  ปดสวน. ประเภทเข็มทศิ ซิลวา. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก :
https://noppadonnie2222. wordpress.com (สวนประกอบของเขม็ ทิศซลิ วา).
(วนั ที่คน ขอ มูล : 6 กมุ ภาพันธ 2561).
บญุ ไสย มาตยนอก L.T..คมู ือลกู เสอื วิสามัญ 1 หลกั สูตรเครื่องหมายลกู เสือโลก. พิมพคร้งั ที่
4.กรงุ เทพมหานคร : บี.พ.ี ที. บคุ แอนดป ร้ิน, 2554.
พลเอก ดาวพ งษ รตั นสุวรรณ. องคมนตรี. แนวทางการพฒั นาเดก็ และเยาวชนโดยใช
กระบวนการลูกเสอื . http://www.nidtep.go.th/webnidtep2015/files/nps7/
lecturer_whelp_43.pdf 22 มี.ค. 2560
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั .[ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั .
(วนั ที่คนขอมลู : 7 กมุ ภาพนั ธ 2561).
เรืองชัย ทรพั ยนิรนั ดร “ลกู เสอื ” วิชาทท่ี รงโปรด. มติชนสุดสปั ดาห ฉบับวันที่ 9 - 15
ธันวาคม 2559 https://www.matichonweekly.com/column/article_17373
เผยแพรวันเสารท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ.2559

202

วธิ กี ารผายปอด และการชวยหายใจ”. [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก :
https://www.honestdocs.co/ artificial-respiration-methods.
(วันท่ีคน ขอ มูล : 8 กมุ ภาพนั ธ 2561).

วิภาพร วรหาญ. การปฐมพยาบาลและการพยาบาลฉุกเฉนิ . พมิ พค รัง้ ที่ 13. ขอนแกน :
ขอนแกน การพิมพ, 2552.

ศูนยฝก อบรมปฐมพยาบาลและสุขภาพอนามัย สภากาชาดไทย. คูมอื ปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน
(Basic First Aid Manual). พิมพครง้ั ท่ี 6. นนทบรุ ี : บรษิ ทั เนช่นั ไฮย 1954
จาํ กดั , 2559.

_______. คมู ือปฐมพยาบาลเบอื้ งตน (Basic First Aid Manual). พมิ พคร้งั ที่ 10.
กรุงเทพฯ :บริษัท เซเวนพริ้นติ้ง กรปุ จาํ กดั .2552.

_______. “โรคลมแดด”. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก :
www.bangkokhealth.com/health/article/โรคลมแดด-638.(วนั ที่คนขอ มลู : 8
กมุ ภาพนั ธ 2561).

สถาบันการพลศึกษา วทิ ยาเขตสพุ รรณบุรี. “อบุ ตั ิเหตจุ ากการจมนํ้าและการปอ งกนั ”.
[ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก :
http://www.ipesp.ac.th/learning/supitcha/html/D3-3-7.html. (วนั ที่คน
ขอ มลู : 8 กุมภาพนั ธ 2561).

สภาลูกเสอื แหงชาติ. 90 ป ลูกเสอื ไทย. กรุงเทพ : โรงพิมพคุรุสภา. ลาดพราว, 2544.
สมเด็จพระเจาอยูหวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ราโชบาย แนวทางปฏบิ ัติ 9 ขอ .

[ออนไลน] . เขาถึงไดจาก : http//www.thairath. (วนั ที่คนขอ มูล : 8 กุมภาพนั ธ
2561).
สมบตั ิ เดชบาํ รุง และประเสริฐ อนิ ทรรักษ. “ยุทธศาสตรก ารฟน ฟกู ิจการลกู เสอื ไทย”.
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปท ่ี 7 ฉบบั ที่ 2 เดอื น พฤษภาคม -
สิงหาคม 2557.
สมาคมวางแผนครอบครวั แหง ประเทศไทย. คูมือการจัดกิจกรรมลกู เสอื วิสามัญเสริมสรา ง
ทกั ษะชวี ิต ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 5 - 6 และ ปวช. 2 - 3. กรุงเทพฯ : สมาคม
วางแผนครอบครัวแหง ประเทศไทย. 2559.
สโมสรเสอื ปาแลลกู เสอื สยาม. ประวัติลกู เสอื โลก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก : http://k-
rc.net/imageupload/22136/prawat.pdf. (วนั ทค่ี นขอ มลู : 4 มิถนุ ายน 2561)
สํานักการลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ กรรมนกั เรียน. กจิ กรรมลกู เสอื เพอื่ พฒั นา. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย, 2554.

203

สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. สํานักการลูกเสอื ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรียน. เกณฑ
การประเมนิ คณุ ภาพงานลกู เสอื ในสถานศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สกสค.ลาดพรา ว, 2551.

_______. คมู ือการฝก อบรมหลักสตู รลกู เสอื ตา นภยั ยาเสพตดิ . [ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก :
http://202.29.215.172/sec6/gis/57000001/files/tbl_datagovform/20150
813161642KSoz8dh..pdf. (วันท่คี นขอ มูล : 4 มิถุนายน 2561)

สาํ นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา งเสริมสุขภาพ (สสส.). คมู อื การจัดกิจกรรมลูกเสือ
เสริมสรา งทกั ษะชวี ิต ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สตู รลกู เสอื โท ชัน้ ประถมศกึ ษา
ปท่ี 5 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2559). [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก :
http://resource.thaihealth.or.th/library/ musthave/15683. (วันท่ีคนขอ มูล
: 8 กมุ ภาพนั ธ 2561).

สํานกั งานคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหงชาติ. คมู ือการฝก อบรมวชิ าผกู ํากบั ลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ
ข้นั ความรูเบื้องตน . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค รุ สุ ภาลาดพราว. 2525.

_______. คมู อื การฝก อบรมวชิ าผกู ํากบั ลกู เสือสํารอง ข้นั ความรเู บ้อื งตน. กรงุ เทพฯ : โรง
พิมพคุรสุ ภาลาดพรา ว. 2529.

_______. คมู ือการฝก อบรมวิชาผกู าํ กับลกู เสือสามัญ ขน้ั ความรูเบอื้ งตน . กรุงเทพฯ :
โรงพิมพค รุ ุสภาลาดพรา ว. 2532.

_______. คมู ือการฝก อบรมผบู งั คับบญั ชาลกู เสือขนั้ ผูช ว ยผใู หการฝก อบรมวชิ าผกู าํ กบั
ลกู เสอื . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพครุ ุสภาลาดพรา ว. 2537.

_______. ขอ บงั คับคณะลกู เสอื แหง ชาติ วา ดว ยการปกครอง หลักสตู รและวิชาพเิ ศษ
ลูกเสอื สามญั รนุ ใหญ (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ.2528. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พคุรสุ ภา
ลาดพราว. 2542.

สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหงชาต.ิ (2542).
สาํ นักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แหง ชาติ รว มกับ ฝา ยวชิ าการ กองการลูกเสือ

กรมพลศกึ ษา . “คมู อื การจดั การฝก อบรมลกู เสอื วสิ ามัญ”
สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สารานุกรมลูกเสือไทย 100 ปการลกู เสือไทย.

กรุงเทพ. : โรงพมิ พชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จํากดั , 2554.
เสถยี ร หมดุ ปน. การใชเขม็ ทศิ ซลิ วา Silva. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก :

http://scout.bmk.in.th/map_asimut/silva.htm (รปู เขม็ ทิศแบบซิลวา). (วนั ที่
คนขอ มูล : 5 กมุ ภาพนั ธ 2561).
สุภาพร จตรุ ภัทร และคณะ. “แนวทางการพัฒนาการลกู เสอื ไทยเพอ่ื สง เสรมิ ความเปน
พลเมอื งด”ี . วารสารครุศาสตร ปที่ 82 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2557)
หนา 63 - 66.

204

สรุ เดช รอดจินดา. แนวทางการพฒั นากจิ กรรมลกู เสือในสถานศกึ ษา สังกดั สํานกั งานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานาน เขต 1. กรงุ เทพฯ : สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน.

สเุ วศ กลบั ศรี. การพฒั นากิจกรรมลูกเสอื เพอ่ื สรา งภาวะผนู ําของเยาวชนไทย. ดษุ ฎีนพิ นธ
ศึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต (การบรหิ ารการศกึ ษา). นครราชสมี า : บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั วงษชวลติ กุล. 2556.

องคการลูกเสอื โลก. หลกั การลูกเสือ.[ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก :
http://www.Scout.org/wso/ scout.html. (วนั ที่คน ขอมลู : 5 กุมภาพันธ
2561).

อนุรัตน พันธศ ลิ ป. คมู ือการบรหิ ารกจิ การลกู เสอื . ปตตานี : สาํ นกั งานลกู เสือโรงเรยี นมา
ยอ (สถิต ภูผา). มปป.

205

รายช่ือผเู ขา รว มประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทําตน ฉบบั ชดุ วชิ า รายวชิ าเลือกบังคบั
และสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู รายวชิ าลกู เสอื กศน. ทง้ั 3 ระดบั การศกึ ษา

ระหวา งวนั ท่ี 5 – 9 กมุ ภาพนั ธ 2561
ณ โรงแรมนนทบรุ พี าเลซ จังหวดั นนทบรุ ี

1. นายกฤตชยั อรณุ รัตน เลขาธกิ าร กศน.
2. นางสาววิเลขา ลสี วุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
3. นางสรุ ีวลั ย ลมิ้ พิพฒั นกุล ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดา นมาตรฐานการศกึ ษา
4. นางรุงอรณุ ไสยโสภณ ผูอํานวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
5. นางสาววราภรณ ศริ ิวรรณ ขา ราชการบาํ นาญ
6. นางสาวเนาวเรศ นอ ยพานชิ ย ขาราชการบาํ นาญ
7. นายไพฑูรย ลศิ นันท ขา ราชการบํานาญ
8. นายเจริญศักด์ิ ดีแสน ผูอํานวยการศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษาลาํ ปาง
9. นายอนันต คงชุม รองผอู าํ นวยการ สํานกั งาน กศน. จังหวัดสุโขทยั
10. นายวรวุฒิ หุนมาตรา ผูอาํ นวยการ กศน.เขตคลองสาน กทม.
11. นางสาววมิ ลรัตน ภรู ิคุปต ผอู ํานวยการ กศน.เขตบางเขน กทม.
12. นางอบุ ลรัตน ชุณหพนั ธ ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอเมืองจนั ทบุรี จงั หวดั จนั ทบุรี
13. นายไพโรจน กันทพงศ ผูอํานวยการโรงเรียนลาํ มหาเมฆ
(ประชาราตรีอนสุ รณ) จังหวดั ปทุมธานี
14. วาท่รี อ ยตรี สุเมธ สุจริยวงศ รองผอู ํานวยการโรงเรียนงามมานะ (แผน - ทับอทุ ศิ )
15. นายบวรวิทย เลศิ ไกร รองผอู ํานวยการโรงเรยี นศุภกรณว ทิ ยา
16. นายบันเทิง จนั ทรน ิเวศน โรงเรยี นบางมดวทิ ยา“สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ”
17. นางสาวสโรชา บรุ ศี รี เลขานกุ ารฯ สํานกั งาน ก.ค.ศ.
18. นายกฤตพัฒน นิชยั วรุตมะ สํานกั การลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
19. นางกนกวรรณ น่มิ เจริญ สาํ นกั การลกู เสือ ยวุ กาชาด และกิจการนักเรียน
20. นายเอกสิทธ์ิ สวัสดวิ์ งค สาํ นักงานลกู เสอื แหง ชาติ
21. นายเอกชัย ลาํ เหลือ สํานกั งานลกู เสือแหงชาติ
22. นายศรัณยพงศ ขตั ิยะนนท กศน.อําเภอเมืองจันทบรุ ี จังหวัดจนั ทบรุ ี
23. นายขวญั ชยั เนยี มหอม กศน.อําเภอบา นนา จังหวัดนครนายก
24. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย

25. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี 206
26. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ
27. นางสาวฐิติมา วงศบัณฑวรรณ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
28. นางกมลทพิ ย ชวยแกว ตามอธั ยาศัย
29. นางสาวสุจรยิ า พุมไสล กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
30. นายจตรุ งค ทองดารา ตามอธั ยาศัย
31. นางสุกญั ญา กลุ เลิศพทิ ยา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
32. นายชัยวิชิต สารญั ตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย
กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย

207

รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชุมปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารตน ฉบับชุดวิชา รายวิชาเลอื กบงั คบั
และสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู รายวิชาลกู เสอื กศน. ทัง้ 3 ระดับการศกึ ษา
ครงั้ ท่ี 1 วนั ที่ 12 – 16 มนี าคม 2561
ณ หอั งประชุมอารีย กุลตณั ฑ อาคาร กศน.ช้นั 6

นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ ผอู ํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั
นางสาววราภรณ ศริ ิวรรณ ขา ราชการบาํ นาญ
นางสาวเนาวเรศ นอยพานชิ ขา ราชการบํานาญ
นายเจรญิ ศกั ดิ์ ดีแสน ผูอาํ นวยการศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษาลาํ ปาง
นายบันเทิง จันทรนิเวศน โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดอปุ ถมั ภ”
นายขวญั ชัย เนียมหอม กศน.อาํ เภอบานนา จังหวดั นครนายก
นายชัยวิชิต สารญั กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย

208

รายชื่อผเู ขา รวมประชุมปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารตน ฉบบั ชดุ วชิ า รายวชิ าเลือกบงั คบั
และสมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู รายวชิ าลกู เสอื กศน. ทง้ั 3 ระดับการศกึ ษา
ครัง้ ที่ 2 วนั ท่ี 26 – 30 มนี าคม 2561
ณ โรงแรมชลพฤกษ รีสอรท จงั หวดั นครนายก

นางรุงอรณุ ไสยโสภณ ผูอ ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นางสาววราภรณ ศิริวรรณ ขา ราชการบํานาญ
นางสาวเนาวเรศ นอยพานิช ขา ราชการบาํ นาญ
นายเจรญิ ศักดิ์ ดแี สน ผูอาํ นวยการศนู ยวทิ ยาศาสตรเพอื่ การศึกษาลําปาง
นายบันเทงิ จันทรนิเวศน โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดอุปถัมภ”
นายขวญั ชัย เนียมหอม กศน.อาํ เภอบา นนา จงั หวดั นครนายก
นายชยั วิชติ สารัญ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย

209

รายชื่อผเู ขา รวมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารตน ฉบบั ชดุ วชิ า รายวชิ าเลอื กบงั คบั
และสมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู รายวชิ าลกู เสอื กศน. ท้ัง 3 ระดับการศกึ ษา
ครั้งที่ 3 วันท่ี 7 – 9 พฤษภาคม 2561
ณ โรงแรมนนทบุรี พาเลซ นนทบรุ ี

นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาววราภรณ ศิรวิ รรณ ขา ราชการบาํ นาญ
นางสาวเนาวเรศ นอ ยพานิช ขาราชการบํานาญ
นางนพรัตน เวโรจนเสรวี งศ ขา ราชการบาํ นาญ

210

คณะผูจดั ทํา

ที่ปรึกษา เลขาธิการ กศน.
นายกฤตชัย อรณุ รัตน รองเลขาธิการ กศน.
นางสาววเิ ลขา ลีสวุ รรณ ขา ราชการบํานาญ
นางสาววราภรณ ศริ วิ รรณ ผูอ ํานวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นางรงุ อรณุ ไสยโสภณ และการศึกษาตามอธั ยาศัย

คณะทํางาน หัวหนา กลุมงานพัฒนาสื่อการเรยี นรู
นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางสาวชมพูนท สังขพ ชิ ัย
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
ผพู ิมพต นฉบบั กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาววยิ ะดา ทองดี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางวรรณี ศรศี ริ วิ รรณกลุ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาวชาลินี ธรรมธิษา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวชมพูนท สงั ขพ ชิ ยั
นางสาวขวัญฤดี ลวิ รรโณ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

ผูออกแบบปก
นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป


Click to View FlipBook Version