38
สิ่งแรกท่ีทรงทําหลังจากตื่นบรรทมก็คือ ขัดหัวเข็มขัดและรองพระบาทสําหรับเครื่องแบบ
ลกู เสือ ทําความสะอาดพระนขา (เล็บ) เตรยี มพรอมสําหรับการตรวจอยตู ลอดเวลา
ในวันคลายวันสถาปนาคณะลูกเสือไทย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ในพิธี
สวนสนามของลูกเสือ ณ กรีฑาสถานแหงชาติ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภมู ิพลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินทรง
เปนประธานครั้งแรก สมเด็จพระเจาลกู ยาเธอ เจาฟา วชริ าลงกรณฯ ในขณะนั้น เสด็จฯ ไปทรง
รว มกจิ กรรมกบั ลกู เสอื โรงเรยี นอื่นเปนคร้งั แรกทที่ รงรว มพธิ ีสวนสนามของลูกเสือ ซึ่งประชาชน
คนไทยท่ีทราบขาวกอนหนาพากันเปนหวงเปนใยพระองคทานไปตาง ๆ นานา ดวยเกรงวา
พระองคจ ะประชวรลง บางคนถึงกับกลา ววา “โถ ทลู กระหมอมจะทรงทนแดดไหวหรอื ทานจะ
ทรงเปน ลมไหมนะ” โดยความหวงใยในพระองคของพสกนกิ รเรอื่ งนี้ เม่ือทรงทราบก็ไดรับสั่งวา
“ตอ งไดซ ิ ทําไมจึงดูถูกกนั อยา งนน้ี ะ”
ครน้ั ถึงวันสวนสนามก็ทรงปฏิบัติหนาท่ีของลูกเสือสํารองของโรงเรียนจิตรลดา
ไดเปน อยา งดี เชนเดียวกับลูกเสือคนอ่ืน ๆ ในวันน้ัน ทรงถือปายชื่อโรงเรียนผานพระท่ีนั่งดวย
พระอาการสงา และทรงรวมแสดงในนามหมลู ูกเสือโรงเรียนจิตรลดาดว ย
สาํ หรับการท่ีทรงมีความอดทนและรูจักหนาท่ีของลูกเสือเปนท่ีประจักษชัดอีก
คร้ังหนึ่งในการซอมใหญสวนสนามวันฉลองครบรอบวันกําเนิดลูกเสือไทย วันที่ 1 กรกฎาคม
พ.ศ. 2508 ขณะน้ันทรงเปนลูกเสือโทแลว วันนั้นที่กรีฑาสถานแหงชาติฝนตกหนักอยางลืมหู
ลมื ตาไมข น้ึ บรรดาผคู ุมการฝกซอมลงความเห็นวา ควรเชิญเสด็จเขาประทับในชายคา เพราะ
อาจจะทาํ ใหประชวรหวัดได เจาหนาที่ผูใหญคนหน่ึงว่ิงออกไปท่ีสนาม ทูลเชิญเสด็จเขาท่ีประทับ
ในชายคา ทรงมองหนาผูทูลเชิญพรอมกับส่ันพระเศียร แลวรับส่ังวา “ทําไมจะตองใหฉัน
หลบเขาไปดวยละ ใคร ๆ เขาตากฝนไดฉันก็ตากไดเหมือนกัน ฉันแข็งแรงพอ” กอนหนาน้ัน
เม่อื โรงเรียนจติ รลดาเขา พธิ ีประจาํ กองลกู เสอื สามัญ โดยสมทบกับหนวยโรงเรียนวชิราวุธ เปน
กองลกู เสือ สังกัด อ.3 เมอื่ วันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ทรงสอบไดเปนลูกเสือโท เมื่อวันท่ี
9 มีนาคม พ.ศ. 2508 ในวนั น้นั ไดเสด็จฯ ไปทรงสอบเดนิ ทางไกล และประกอบอาหารทคี่ ายลูกเสือ
วชิราวุธ ต.บางรัก อ.ศรรี าชา จ.ชลบุรี ตอ งเสด็จฯ ต้งั แตเ ชา มดื พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา-
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงมพี ระราชดํารัสหามใครตามเสด็จนอกจากราชองครักษ ซึ่งใหตามเสด็จได
เพียงหา ง ๆ
การเสด็จเขา คายลกู เสือที่คายวชิราวุธคร้ังนั้น ทรงทําอาหารเอง ซึ่งที่ทรงโปรด
ทาํ ทส่ี ดุ คอื “ขา วสวยคลุกไขปน เปนกอนทอด” โดยทรงโปรดการทําครัวเทากับความชางเสวย
บางคราวทรงทําอาหารเองดวยหมอ และเตาดนิ เผาเลก็ ๆ แลว ประทับเสวยอยางเอร็ดอรอยรวมกับ
ผตู ามเสดจ็
ทรงศึกษาท่ีโรงเรียนจิตรลดาถึงมัธยมศึกษาปท่ี 1 จึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาตอที่
องั กฤษ
39
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงกระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหจัดการศึกษาระดับอนุบาลข้ึน ณ พระท่ีนั่งอุดร ในพระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
เมอื่ วนั ที่ 10 มกราคม พ.ศ.2498
ตอมาเมื่อ พ.ศ. 2500 เสด็จฯ มาประทับ ณ พระที่นั่งจิตรลดารโหฐาน จึงมี
พระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหสรางอาคารเรียนถาวรในบริเวณพระตําหนักจิตรลดา-
รโหฐาน พระราชวังดุสิต และพระราชทานนามโรงเรยี นวา “โรงเรียนจติ รลดา”
บนั ทกึ เรือ่ งน้ีหนังสือพมิ พเดลินิวสนํามาจากหนังสือเฉลิมพระเกียรติที่กองทัพบก
จัดทําข้ึน โดยเฉพาะเรื่องของ “วิชาลกู เสือ” ท่ที รงโปรด
หากสาํ นกั งานลกู เสอื แหงชาติจะนําไปให “ลูกเสือ” ไดเรียนรจู ะเปน การดีย่งิ
https://www.matichonweekly.com/column/article_17373
พระราชปณิธานและพระราโชบายในพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว ร.6
และสมเด็จพระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ ฯ (ร.10)
รชั กาลท่ี 6 ทรงไดพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยขึ้นเมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม 2454
และทรงใหความหมายของ "ลูกเสือ" วา
"ลกู เสอื บใชเสอื สตั วไ พ
เรายืมชื่อมาใช ดวยใจกลา หาญ ปานกัน
ใจกลา มใิ ชกลาอาธรรม เชน เสอื อรญั สญั ชาตชิ นคนพาล
ใจกลา ตองกลา อยางทหาร กลา กอปรกจิ การ แหง ชาตปิ ระเทศเขตตน"
ทรงมีพระราชปณิธานในการฝกลกู เสือวา
"ขา ไมตอ งการตําราเรียนทเี่ ดินได
ทข่ี า อยากไดนนั้ คอื เยาวชน ทเี่ ปน สุภาพบรุ ุษ
ซื่อสตั ย สุจรติ มีอปุ นิสยั ใจคอด"ี
ราม วชริ าวธุ
"I do not want a walking school books.
What I want are just manly young men, honest
truthful, clean in habits and thoughts"
Vajiravudh
40
พระราชอัจฉรยิ ภาพของ รชั การที่ 6 ในการสรา งเด็กและเยาวชนทพี่ งึ ประสงค
กจิ กรรมลกู เสือจงึ เปน เปนกิจกรรมเพ่อื ฝกฝน เด็กและเยาวชนใหมีความสามัคคี
มานะอดทน เสยี สละเพ่ือสวนรวม โดยปลูกฝง ใหเ ด็กและเยาวชนเปนผมู รี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎ
ขอบังคับ และปฏบิ ตั ติ น เปนคนดีของสังคมและประเทศชาติ
ปจจุบันสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงเปน
ประมุขคณะลกู เสอื แหง ชาติ
สมเด็จพระเจาอยูหัว (ร.10) ทรงใหความสําคัญกับการพัฒนาเยาวชน
โดยพระราชทานทุนการศึกษาระดับ ม.ปลาย ตอเนื่องจนจบ ป.ตรี (หรือเทียบเทา) ผานมูลนิธิ
ทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร จํานวน 154 ทุน/ป
มาต้งั แตป พ.ศ. 2552
พระราชประสงคในการพฒั นาเยาวชน
1. มีความรู
2. มรี ะเบียบวนิ ยั
3. ไดรับการพัฒนาศกั ยภาพอยา งตอเนอ่ื ง
4. มีทศั นคตพิ ืน้ ฐานท่ีดี
5. ไดร ับการฝก อาชพี
6. เม่ือจบการศึกษาแลวจะตองเขา สูก ารมอี าชีพทม่ี ัน่ คง
คุณลักษณะเด็กที่พงึ ประสงค
รัชกาลท่ี 6 รัชกาลที่ 9 รชั กาลท่ี 10
เปนสภุ าพบรุ ษุ มีทัศนคติพ้นื ฐานทด่ี ีและไดร บั
การพัฒนาศักยภาพ
นิสยั ดี เปนคนดี อยา งตอ เนือ่ ง
ซ่ือสัตย สุจรติ มีระเบยี บวินยั
กลา ทีจ่ ะทาํ ประโยชนใ หก บั ประเทศ เปนคนดี
มคี วามสามคั คี
มีความอดทน
เสยี สละเพื่อสว นรวม
มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพขอบงั คบั
41
รชั กาลท่ี 6 รชั กาลที่ 9 รัชกาลท่ี 10
เปน คนเกง
ไดรับการฝกอาชีพ
มคี วามรู
เม่ือจบการศึกษาแลวจะตองเขาสู
การมีอาชพี ทมี่ ่ันคง
(มุงเนนสาขาที่ตรงกับความตองการ
ของประเทศ)
คานยิ ม 12 ประการ ของ คสช. ใหนักเรยี นทอ งจาํ และนาํ ไปปฏบิ ตั ิ
1. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ
2. ซ่อื สัตย เสียสละ อดทน
3. กตญั ูตอพอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย
4. ใฝหาความรู หมัน่ ศกึ ษาเลา เรียน
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทย
6. มศี ลี ธรรม มนี ํ้าใจ และแบงปน
7. เขา ใจ เรยี นรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ
8. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย เคารพผใู หญ
9. มีสติรตู วั รคู ดิ รูทํา
10. รูจกั ใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11. มีความเขมแขง็ ทั้งและใจ ไมย อมแพตออํานาจฝายตา่ํ
12. คิดถงึ ประโยชนของสวนรวมมากกวา ผลประโยชนสวนตน
กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 1 ประวัตกิ ารลกู เสือไทย
(ใหผูเรียนไปทํากจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 1 ทส่ี มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
42
เรือ่ งที่ 2 ความรูท่วั ไปเก่ยี วกบั คณะลกู เสอื แหงชาติ
2.1 คณะลูกเสือแหง ชาติ
คณะลูกเสือแหงชาติ ประกอบดวย บรรดาลูกเสือท้ังปวงและบุคลากรทางการ
ลกู เสือ โดยมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขของคณะลกู เสอื แหงชาติ
ลูกเสือ หมายความวา เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง ท่ีสมัครเขาเปนลูกเสือ
ท้ังในสถานศกึ ษาและนอกสถานศึกษา สวนลกู เสือทีเ่ ปนหญิง ใหเ รยี กวา “เนตรนารี”
บรรดาลูกเสือทั้งปวง หมายถึง ลูกเสือในโรงเรียน ลูกเสือนอกโรงเรียน
ลกู เสือหลกั สูตรพเิ ศษ ลกู เสอื ชาวบา น
ลกู เสอื ในโรงเรยี น หมายถงึ เยาวชนท่ีสมคั รเขา เปนลกู เสือในกองลูกเสือโรงเรียน
ไดแก ลูกเสอื สํารอง ลูกเสือสามญั ลกู เสอื สามญั รุนใหญ และลกู เสอื วสิ ามญั
ลกู เสอื นอกโรงเรยี น หมายถึง เยาวชนทไี่ มไดส มคั รเขาเปนลกู เสอื ในกองลูกเสือ
โรงเรียน แตส มัครใจเขารว มกิจกรรมกบั ลกู เสือในโรงเรียน และลกู เสือหลักสูตรพิเศษ
ลูกเสอื หลักสตู รพเิ ศษ หมายถึง ลูกเสอื ทสี่ มัครเขารบั การอบรมในหลกั สตู รพเิ ศษ
ตาง ๆ เชน ลูกเสือชอสะอาด ลูกเสือปาไม ลูกเสือจราจร ลูกเสือปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
ลกู เสอื อาสา กกต. ลูกเสือไซเบอร ลกู เสอื อนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ฯลฯ
ลกู เสอื ชาวบาน หมายถึง กลมุ ชาวบานทีม่ ารวมกันเพ่อื ทําประโยชนใหแกสงั คม
ผานกระบวนการลูกเสอื โดยท่ีมกี ารทํางานหรือการเขาคายตาง ๆ คลายกับลูกเสือในโรงเรียน
ลูกเสือชาวบานเริ่มตนมาตั้งแตป พ.ศ. 2514 โดยตํารวจตระเวนชายแดน ไดฝกอบรมให
ชาวบานรูจักดูแลความปลอดภัยในหมูบาน การปองกันตนเอง ตลอดจนการสอดแนมรักษา
ความปลอดภัยตามแนวชายแดน
บคุ ลากรทางการลกู เสือ หมายความวา ผบู งั คบั บญั ชาลูกเสือ ผูตรวจการลูกเสือ
กรรมการลูกเสือ อาสาสมคั รลูกเสอื และเจา หนา ท่ีลูกเสือ
2.2 การบริหารงานของคณะลูกเสอื แหง ชาติ ประกอบดวย
2.2.1 สภาลกู เสอื ไทย ประกอบดว ยคณะบุคคล ดังตอ ไปน้ี
1) นายกรฐั มนตรี เปน สภานายก
2) รองนายกรฐั มนตรี เปน อุปนายก
3) กรรมการโดยตาํ แหนง ไดแ ก รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
รฐั มนตรีวา การกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย ปลัดสาํ นกั นายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย ผูบัญชาการทหารสูงสุด ผูบัญชาการทหารบก ผูบัญชาการ
ทหารเรือ ผูบัญชาการทหารอากาศ ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการสภากาชาดไทย อธิบดีกรมการปกครอง
43
อธบิ ดีกรมสงเสริมการปกครองทองถนิ่ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูวาราชการจังหวัด และ
ผูอํานวยการศนู ยป ฏบิ ตั ิการลูกเสือชาวบาน
4) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินแปดสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตง ตง้ั ตามพระราชอัธยาศยั
ใหเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ
รองเลขาธิการและผชู วยเลขาธกิ ารสํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปน ผชู ว ยเลขานุการ
สภาลูกเสือไทย อาจมีสภานายกกิตติมศักด์ิ อุปนายกกิตติมศักดิ์ และ
กรรมการกติ ติมศกั ดิ์ ซ่ึงจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ อีกคร้ัง
2.2.2 คณะกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ เปนองคกรบริหารของคณะ
ลกู เสอื แหง ชาติ ประกอบดว ยคณะบคุ คล ดงั ตอ ไปนี้
1) รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เปน ประธานกรรมการ
2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย เปนรองประธาน เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา เลขาธิการสภากาชาดไทย เลขาธิการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั ผูอ ํานวยการสํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน และ
ผอู ํานวยการศูนยป ฏบิ ตั กิ ารลูกเสือชาวบา น
3) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินสิบหาคน ซ่ึงสภานายกสภา
ลูกเสือไทยแตงตั้งโดยคําแนะนําของกรรมการบริหารลูกเสือแหงชาติ ตาม 1 และ 2 ซ่ึงใน
จาํ นวนนต้ี องมาจากภาคเอกชนไมน อ ยกวา ก่ึงหนึง่
ใหเ ลขาธิการสํานักงานลกู เสือแหงชาติ เปนกรรมการและเลขานุการ
รองเลขาธิการและผชู วยเลขาธกิ ารสํานักงานลกู เสือแหงชาติ เปนผชู ว ยเลขานุการ
เลขาธกิ ารสาํ นักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูรับผิดชอบการบริหารงาน
ของสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และเปนผูบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางในสํานักงาน
โดยรัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ าร แตงตั้งรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการคนหน่ึงทําหนาท่ี
เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และแตงตั้งผูบริหารระดับสูงอื่นในกระทรวงศึกษาธิการ
ทาํ หนาที่รองเลขาธกิ ารและผชู ว ยเลขาธกิ ารตามจํานวนทีเ่ หมาะสม
2.2.3 คณะกรรมการลูกเสือจังหวดั ประกอบดว ยคณะบุคคล ดังตอ ไปนี้
1) ผูวา ราชการจังหวัด เปน ประธานกรรมการ
2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแก รองผูวาราชการจังหวัด เปนรอง
ประธานกรรมการ ปลัดจงั หวดั นายกเหลา กาชาดจงั หวัด ผูบ ังคบั การตํารวจภูธรจังหวัด นายก
องคการบริหารสวนจังหวัด นายอําเภอ นายกเทศมนตรี นายกสมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัด
และผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
44
3) กรรมการประเภทผูแทนจาํ นวนหา คน ไดแก ผแู ทนสถาบันอุดมศึกษา
ผแู ทนสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา ผูแทนคายลูกเสือจังหวัด ผูแทนสมาคมหรือสโมสรลูกเสือ และ
ผูแทนจากลูกเสอื ชาวบาน ซ่ึงเลือกกันเองกลุมละหนึ่งคน
4) กรรมการผทู รงคณุ วุฒิจํานวนไมเกินสิบคน ซึ่งประธานกรรมการ
แตงตง้ั โดยคําแนะนาํ ของกรรมการลกู เสือจงั หวดั ตามขอ 2) และ 3) ในจํานวนนี้จะตองแตงตั้งจาก
ภาคเอกชนไมน อ ยกวาก่ึงหนง่ึ
ใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเขต 1 เปนกรรมการและ
เลขานกุ าร
ใหผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด เปนกรรมการ
และผูชว ยเลขานุการ
2.2.4 คณะกรรมการลูกเสอื เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
คณะกรรมการลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบดวยคณะบุคคล
ดงั ตอไปนี้
1) ผูอํานวยการสํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา เปน ประธานกรรมการ
2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแ ก ผูกํากบั การสถานีตํารวจภูธรของทุก
อําเภอในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือผูกํากับการสถานีตํารวจนครบาลของทุกสถานีในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาของกรุงเทพมหานคร
3) กรรมการประเภทผูแทน ไดแก ผูแทนองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น ผูแทนสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา ผูแทนสถานศึกษาเอกชน ผูแทน
สถานศึกษาอาชีวศึกษา ผูแทนสถาบันอุดมศึกษา ผูแทนศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียน
อําเภอ ผแู ทนคา ยลูกเสือ และผแู ทนสมาคมหรอื สโมสรลกู เสอื ซงึ่ เลอื กกนั เองกลุม ละหนง่ึ คน
4) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินเจ็ดคน ซ่ึงประธานกรรมการ
แตงตั้งโดยคําแนะนําของกรรมการลูกเสือเขตพื้นท่ี ตามขอ 2) และ 3) ในจํานวนน้ีจะตอง
แตงตัง้ จากภาคเอกชนไมนอ ยกวากึง่ หนง่ึ
ใหร องผูอ ํานวยการสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาที่ไดรับมอบหมายเปน
กรรมการและเลขานุการและใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาแตงตั้งขาราชการใน
สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาอีกไมเ กินสองคน เปนผูชวยเลขานุการ
45
แผนภูมแิ สดงตําแหนง คณะกรรมการลูกเสอื ตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551
คณะลูกเสอื แหงชาติ - พระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข
- ประกอบดวยบรรดาลูกเสือทัง้ ปวง และบุคลากรทางการลูกเสอื
สภาลกู เสือไทย - นายกรฐั มนตรีเปน “สภานายก” และรองรัฐมนตรีเปน “อุปนายก”
- มกี รรมการโดยตาํ แหนง และกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ จํานวนไมเกนิ 80 คน
ซ่ึงพระมหากษัตริย ทรงโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้ ตามพระราชอธั ยาศัย
- หนาทส่ี ําคัญคอื “วางนโยบายเพื่อความมน่ั คงและความเจรญิ กา วหนาของ
คณะลูกเสือแหง ชาติ”
คณะกรรมการ - รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปน ประธานกรรมการ
บรหิ ารลกู เสือแหงชาติ - ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน รองประธาน
กรรมการ
คณะกรรมการลกู เสือจังหวดั - เลขาธิการสาํ นักงานลูกเสอื แหง ชาติ เปน กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการลูกเสอื - ผูวา ราชการจงั หวดั เปน ประธานกรรมการ
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา - รองผูวา ราชการจังหวดั เปน รองประธานกรรมการ
- ผูอํานวยการสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา เขต 1 เปน กรรมการและ
เลขานกุ าร
- ผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา เปน ประธานกรรมการ
- รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ทไ่ี ดรับมอบหมาย
เปน กรรมการและเลขานุการ
46
2.3 การลูกเสอื ในสถานศกึ ษา
การลูกเสอื ในสถานศกึ ษามีการจัดหนว ยลกู เสอื ดงั นี้
1) กลมุ ลูกเสอื
2) กองลูกเสอื
3) หมลู ูกเสอื
1) กลุมลกู เสือ ประกอบดว ยลูกเสอื 4 ประเภท คือ กองลูกเสือสํารอง กองลูกเสอื
สามัญ กองลูกเสือสามัญรุนใหญ และกองลูกเสือวิสามัญ ประเภทละ 1 กองเปนอยางนอย แตถา
สถานศกึ ษาแหง ใดมลี ูกเสือเพียงประเภทเดียว การจัดกลุมลูกเสือตองมีกองลูกเสือประเภทน้ัน
อยางนอย 4 กองข้นึ ไป หรือถามกี องลูกเสอื อยา งนอย 2 – 3 ประเภท การจัดกลุมลูกเสือตองมี
ประเภทละ 2 กอง ข้ึนไป ผูรับผิดชอบกลุมลูกเสือ คือ ผูกํากับกลุมลูกเสือ และรองผูกํากับ
กลมุ ลกู เสอื
2) กองลูกเสอื ผูรบั ผดิ ชอบกองลกู เสอื คอื ผูกาํ กบั กองลูกเสอื และรองผูกาํ กบั
กองลกู เสือ
3) หมลู ูกเสือ ประกอบดวยลูกเสือ จํานวน 4 – 6 คน หรือ 6 – 8 คน (รวมทง้ั
นายหมูและรองนายหมูลูกเสือ) ผูรับผิดชอบหมูลูกเสือ คือ นายหมูลูกเสือ และรองนายหมู
ลกู เสอื การเรยี กช่อื หมูลกู เสือ กศน. ใหเ รียกเปนหมูเลข เชน
หมู 1 กอง 1....หมู 2 กอง 1....หมู 3 กอง 1....หมู 4 กอง 1....
หมู 1 กอง 2....หมู 2 กอง 2....หมู 3 กอง 2....หมู 4 กอง 2....
หมู 1 กอง 3....หมู 2 กอง 3....หมู 3 กอง 3....หมู 4 กอง 3....
หมู 1 กอง 4....หมู 2 กอง 4....หมู 3 กอง 4....หมู 4 กอง 4....
47
แผนภูมแิ สดงการบรหิ ารงานกองลกู เสอื ภายในสถานศกึ ษา
ผอู าํ นวยการลูกเสือโรงเรยี น
รองผูอํานวยการลูกเสือโรงเรียน
ผูกํากับกลุมลกู เสือ
รองผกู ํากบั กลมุ ลูกเสือ
ผกู าํ กับกองลูกเสือ ผูกํากับกองลูกเสอื ผูก าํ กับกองลูกเสอื
กองที่ 1 กองที่ 2 กองท่ี 6
รองผูกํากบั กองลกู เสือ รองผกู ํากบั กองลูกเสือ รองผูก ํากบั กองลกู เสือ
กองที่ 1 กองท่ี 2 กองท่ี 6
จํานวนหมูล ูกเสือ ในแตละกอง จาํ นวนหมลู ูกเสือ ในแตละกอง จํานวนหมูลูกเสือ ในแตละกอง
มีจาํ นวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี มจี ํานวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี มีจาํ นวน 2 – 6 หมู แตละหมูมี
นายหมูและรองนายหมู นายหมแู ละรองนายหมู นายหมแู ละรองนายหมู
เปน ผูด ูแลหมูน้ัน ๆ เปนผูดแู ลหมูน ้ัน ๆ เปนผดู ูแลหมูน ั้น ๆ
กจิ กรรมทายเร่อื งที่ 2 ความรทู ั่วไปเกีย่ วกับคณะลูกเสือแหงชาติ
(ใหผ เู รยี นไปทํากิจกรรมทา ยเรื่องที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
48
หนวยการเรียนรูท่ี 3
การลูกเสอื โลก
สาระสาํ คญั
ผูใหกําเนิดลูกเสือโลก คือ โรเบิรต สตีเฟนสัน สมิท เบเดน โพเอลล (Robert
Stephenson Smyth Baden Powell) หรือ บี.พี. เปนชาวอังกฤษ เกิดท่ีกรุงลอนดอน เม่ือวันท่ี
22 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2400 เปนเด็กกําพราบิดาตั้งแตอายุ 3 ขวบ ในวัยเด็กชอบใชชีวิตกลางแจง
ศึกษาธรรมชาติ เลนกฬี า และชอบเปนผูนํา สอบเขาโรงเรียนนายรอยแซนดเฮิสต ไดที่ 2 และ
ไดรับพระราชทานยศเปนรอยตรี เมื่ออายุ 19 ป ปฏิบัติหนาท่ีทหารอยางดีเดน ไดรับ
พระราชทานยศเปน รอ ยเอก เมือ่ อายุ 26 ป เปน นายทหารทเ่ี ฉลียวฉลาด กลาหาญ สรางวีรกรรม
ทย่ี ง่ิ ใหญท าํ การตอสูอยางหา วหาญ เพ่ือรักษาเมอื งมาฟคงิ (Mafeking) ใหรอดพนจากวงลอมและ
การบุกรุกโจมตีของกองทัพบัวร (Boer) ท่ีแอฟริกาใต ไดรับการสรรเสริญวา “วีรบุรุษผูกลาหาญ
แหง ยคุ ” เม่อื วันที่ 1 – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2450 บ.ี พี. ไดน าํ เด็กชายที่มอี ายุ 11 – 15 ป จากครอบครัว
ท่ีมีฐานะแตกตา งกนั จาํ นวน 20 คน ไปเขา คายพกั แรมท่ีเกาะบราวนซี นับวาเปนการอยูคายพักแรม
ของลูกเสือครั้งแรกของโลก และถือวาเกาะบราวนซี เปนคายลูกเสือแหงแรกของโลก เชนกัน
ในป พ.ศ. 2463 สมาคมลูกเสืออังกฤษ จดั ประชุมลกู เสอื ท่ัวโลกเปนคร้ังแรก ที่ประเทศอังกฤษ
มีลูกเสือกวา 8,000 คน จาก 34 ประเทศ เขารวมชุมนุมในการชุมนุมครั้งนี้ มีขอตกลง และ
มมี ติเปน เอกฉันทใ ห ลอรด เบเดน โพเอลล หรอื บี.พี. เปนประมุขคณะลูกเสือแหงโลกตลอดกาล
และ บี.พ.ี ถึงแกอ นิจกรรม เมอื่ วนั ที่ 8 มกราคม 2484 สิริอายุ 84 ป
องคการลูกเสือโลก เปนองคการอาสาสมัครนานาชาติ มีความสําคัญในการ
ทาํ หนาท่ีรักษา และดํารงไวซ่ึงความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือแหงโลก และทําหนาท่ี
สงเสรมิ กจิ การลูกเสือทวั่ โลก ใหมีการพัฒนาและกาวหนาอยา งตอเนอ่ื ง โดยมีธรรมนูญลูกเสือโลก
เปนกฎหมายสําหรับยึดถือปฏิบัติ การมีองคกรหลัก 3 องคกร คือ สมัชชาลูกเสือโลก
คณะกรรมการลูกเสือโลก และสํานักงานลูกเสือโลก ปจจุบัน (พ.ศ. 2561) มีสมาชิกกวา
40 ลา นคน ใน 169 ประเทศ
ตามบัญญัติของธรรมนูญลูกเสือโลก ประเทศสมาชิกขององคการลูกเสือโลก
แตล ะประเทศจะมอี งคก ารลูกเสอื แหงชาติไดเ พยี ง 1 องคการเทานั้น กิจการลูกเสือทุกประเทศ
ยดึ มัน่ ในวตั ถปุ ระสงค หลกั การ และวิธีการของลูกเสือเหมือนกันทั่วโลก คือ มุงพัฒนาเยาวชน
ดวยรากฐานของอุดมการณของลูกเสือ ซึ่งมีคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเปนส่ิงยึดเหน่ียว
จติ ใจนําสูการประพฤติปฏิบตั ติ นของความเปน พลเมอื งดี และความเปน พี่นอ งกนั ระหวางลูกเสือ
ทวั่ โลก
49
ตวั ชี้วัด
1. อธบิ ายประวัติผใู หก ําเนิดลูกเสือโลก
2. อธบิ ายความสาํ คัญขององคก ารลกู เสือโลก
3. อธิบายความสัมพันธระหวางการลูกเสือไทยกบั การลกู เสือโลก
ขอบขายรายวิชา
เรื่องท่ี 1 ประวตั ผิ ใู หกาํ เนดิ ลกู เสือโลก
เร่อื งท่ี 2 องคการลกู เสอื โลก
เร่ืองที่ 3 ความสมั พันธร ะหวางลูกเสอื ไทยกับลูกเสือโลก
เวลาที่ใชในการศึกษา 3 ชัว่ โมง
สอื่ การเรยี นรู
1. ชดุ วิชาลกู เสอื กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา
3. สอ่ื เสริมการเรียนรูอ ื่น ๆ
50
เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ผิ ูใหก ําเนดิ ลกู เสอื โลก
ลอรด เบเดน โพเอลล (B.P)
ลอรด เบเดน โพเอลล เปนผูใหกําเนิดลูกเสือโลก มีชื่อเต็มวา โรเบิรต สติเฟนสัน
สมิท เบเดน โพเอลล (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) เรียกยอ ๆ วา บี.พี. (B.P.)
เกิดวนั ท่ี 22 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2400 ท่ีกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ บิดาชื่อ เอช.จี.เบเดน โพเอลล
เปนศาสตราจารย สอนวิชาเรขาคณติ และธรรมชาตศิ ึกษา ณ มหาวทิ ยาลัยออกซฟอรด มารดาชื่อ
เฮนรเิ อทตา เกรซ สมิท เปน ธิดาของ พลเรอื เอก ดบั บิว. ที. สมทิ แหง ราชนาวีองั กฤษ สมรสกับ
นางสาว โมลาฟ เซ็นตแคลร เมอ่ื อายไุ ด 55 ป
ชวี ิตในวัยเด็ก
เมอื่ บี.พี. อายุได 11 – 12 ป ไดเขา ศกึ ษาในโรงเรียนประถมศึกษาช่ือ โรสฮิลล
ในกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เขาเรียนในโรงเรียนมัธยมชื่อชาเดอรเฮาส กรุงลอนดอนได 2 ป
ตอ มาโรงเรยี นไดยา ยไปตั้งอยูในชนบท ณ เมืองโกคาลมิง ในแควนเซอรเรย มีน้ําไหลผานและ
มีปาใหญอยตู ดิ บรเิ วณโรงเรียน เขามกั ใชเวลาวา งหลบเขา ไปใชช วี ิตและศึกษาเกีย่ วกบั ธรรมชาติ
โดยลาํ พัง
ชวี ติ ในวัยเด็ก บ.ี พี. ไดรับความรพู ิเศษจากพลเรอื เอกสมิทผูเปนตา เกี่ยวกับการ
วายน้าํ เลนสเกต ขี่มา การวัดแดด และดูดาว นอกจากน้ีเขายังชอบวาดภาพ รองเพลง แสดง
ละคร มีความสนใจในธรรมชาติศึกษา ศึกษาชีวิตสัตว ตนไมตลอดจนความรูเชิงพราน และใน
วนั ปดภาคเรยี นมักจะทอ งเทย่ี วพักแรมไปกบั พ่ีชายอกี 3 คน
ปสุดทายท่ีเรียนอยูในชาเดอรเฮาส บี.พี. ไดไปสมัครสอบเขาเรียนใน
มหาวิทยาลัยออกซฟอรด 2 ครั้งแตสอบไมได ในป พ.ศ. 2419 จึงสอบเขาโรงเรียนนายรอย
แซนดเฮิสต ไดที่ 5 ไดรับตั้งแตเปนนายรอยตรีในกองทัพบกของอังกฤษ และถูกสงไป
ประจําการทป่ี ระเทศอนิ เดีย เมื่ออายุ 19 ป
ชวี ิตในการรับราชการทหาร
บี.พี. รับราชการทหารในประเทศอินเดีย ประจํากองทหารมาอุสซารท่ี 13
เปนเวลา 8 ป โดยปฏิบัติหนาที่ดวยความเขมแข็ง และไดรับยศรอยเอก เมื่ออายุ 26 ป
ในระหวางนี้มีเหตุการณท่ีแสดงลักษณะพิเศษหลายอยาง เชน ไดรับรางวัลชนะเลิศในการ
แขง ขนั กฬี าแทงหมปู า ขณะอยูบ นหลังมา โดยใชหอกส้นั เมือ่ พ.ศ. 2426 และขณะท่ีมยี ศเปน
รอยตรี ไดรับเงินเดือนนอยมาก เพียงปละ 120 ปอนด จึงดําเนินชีวิตอยางประหยัด คือ
งดสูบบุหร่ี ดมื่ สรุ าแตนอ ย หารายไดพิเศษ โดยการเขยี นเรื่องและเขียนภาพลงหนังสอื พิมพ
ชีวิตราชการทหารของทานสวนใหญอยูในประเทศอินเดียและแอฟริกา มีสิ่ง
ประทับใจทเ่ี ก่ียวกับกจิ การลกู เสอื หลายครง้ั เชน
51
ครงั้ ท่ี 1 พ.ศ. 2431 ไดไปปราบชนเผา ซูลู ซงึ่ มีหัวหนาชื่อ ดินีส ซูลู ในแอฟริกาใต
สําเร็จ เขาไดนําประสบการณบางอยางในคร้ังน้ี มาใชในกิจการลูกเสือดวย ไดแก บทเพลงอินกอน
ยามา
(หัวหนา ) อนิ กอน ยา - มา กอน – ยา – มา
(ลูกค)ู อิน – วู – ยู ยาโบห ยาโบห อิน – วู – ยู
(หัวหนา)
(ลกู ค)ู
สรอ ยคอของดินิส ซูลู ทําดว ยไมแกะเปน ทอ นเลก็ ๆ ซง่ึ ตอมา บี.พี. ไดนํามาเปน
บีดเคร่ืองหมายวดู แบดจ สาํ หรับผทู ่ผี า นการอบรมผูบงั คบั บัญชาลูกเสอื ข้นั ความรูช้ันสงู
คร้ังที่ 2 พ.ศ. 2432 ท่ีเกาะมอลตา บี.พี. ไดรับแตงตั้งเปนผูชวยทูตทหาร
ทําหนา ทเ่ี ปน ทหารสบื ราชการลับ
คร้ังที่ 3 พ.ศ. 2438 ทําการรบกับเผาอาซันดิ ซึ่งมีกษัตริยชื่อวา คิงเปรมเปห
และไดรับชยั ชนะ เหตุการณค รั้งนี้ บี.พี. ไดป ระสบการณด งั ตอ ไปนี้
1) การบุกเบิก เชน การโคนตน ไม การทําสะพาน การสรา งคา ยพัก
2) ทดลองการแตงกายของตนเอง ใชหมวกปกแบบโคบาล จนไดรับฉายา
จากพวกพื้นเมืองวา คัมตะไค แปลวา คนสวมหมวกปกกวา ง
3) ประเพณีการจบั มอื ซาย จากการแสดงความเปนมิตรของคนพ้นื เมอื ง
ครง้ั ท่ี 4 พ.ศ. 2439 พวกมาตาบลิ ี ซ่ึงเปน เผาหน่ึงของซูลู เดิมอยูในทรานสวาล
และถูกพวกบัวรขับไล จึงอพยพไปอยูในมาติบีลีแลนด (ปจจุบันเรียกโรดิเซีย) พวกมาตาบิลี
กอการกบฏรฐั บาลองั กฤษจึงสง่ั ทหารไปปราบ บี.พี. ไดปฏิบัติหนา ที่ดว ยความเขมแข็งและไดรับ
ประสบการณเรื่องการสอดแนม โดยเฉพาะการปฏิบัติงานตอนกลางคืน เลยไดรับฉายาวา
“อมิ ปซา ” แปลวา หมาปาไมเ คยนอนหลับ
ครั้งท่ี 5 พ.ศ. 2442 เหตุการณท่ีเมืองมาฟอีคิง หลังจาก บี.พี. ไดกลับจากการ
ปฏบิ ตั งิ านทอี่ ินเดีย 2 ป บ.ี พ.ี ไดร บั คําสั่งดว นใหเ ดินทางไปแอฟริกา เพ่อื หาทางปองกันการรุกราน
ของพวกบัวร (ชาวดทั ซท่อี พยพไปอยูในแอฟรกิ าใต) ในทรานสวาลและออเรนจทรีสเตท ซ่ึงจะ
ตั้งตนเปนเอกราช บี.พี. ไดนํากองทหารไปรักษาเมืองมาฟอีคิงซ่ึงถูกลอมโดยกองทหารบัวร
เปนเวลานานถึง 217 วนั จึงมีกองทพั ใหญยกไปชวยและทาํ ใหพวกบวั รตอ งลาถอยไป
ในการปอ งกนั เมืองมาฟอคี งิ บ.ี พ.ี ไดป ฏบิ ัตหิ นา ทดี่ วยความเขมแข็ง อดทน ราเริง
ไมยอทอ ใชสติปญญาหาวิธีแกปญหา ทํากลอุบายลวงขาศึกใหเขาใจผิด คิดวา มีกําลังทหาร
มากมาย และมีการปองกันรักษาเมืองอยางเขมแข็ง ตลอดจนใชเด็กอาสาสมัครท่ีไดรับการ
อบรมแลว ปฏิบัติหนาทีส่ งขาว ปรากฏวาทาํ งานไดผลดี ทําให บี.พี. มีความประทับใจในตัวเด็ก
และเห็นวา ถาใชเ ดก็ ใหถกู ทางแลวจะเกดิ ประโยชนแ กประเทศชาติอยางมาก จงึ ไดร เิ ร่ิมการลูกเสือ
ในเวลาตอ มา จากเหตกุ ารณท เี่ มืองมาฟอีคิง ทาํ ให บ.ี พี. ไดร ับฉายาวา “ผูป องกันมาฟอีคิง”
52
การลกู เสือเกิดข้ึนในประเทศอังกฤษเปนแหงแรก
ในโลก เมื่อ พ.ศ. 2451 โดยพลโท ลอรด เบเดน โพเอลล
(Lord Baden Powell) หรือ B - P มูลเหตุจูงใจที่ตั้งกอง
ลูกเสือข้ึนมาก็คือ ทานไปรับราชการทหาร โดยไปรักษา
เมืองมาฟฟคิง (Mafiking) อันเปนเมืองข้ึนของอังกฤษใน
สหภาพแอฟริกาใต ขณะน้ันเกิดสงครามขึ้นกับพวกบัวร
(Boer)
ในการผจญศึกใหญคราวนั้น ทานไดฝกเด็กขึ้น
หนวยหน่ึง เพื่อชวยราชการสงคราม เชน เปนผูสื่อขาว
สอดแนม รักษาความสงบเรยี บรอ ยภายใน รบั ใชในการงานตาง ๆ เชน ทําครัว เปนตน ปรากฏวา
ไดผลดีมาก เพราะเด็กที่ไดรับการฝกเหลานั้นสามารถปฏิบัติหนาท่ีท่ีใชรับมอบหมายไดอยาง
เขม แข็งวองไว ไดผ ลดีไมแพผ ใู หญแ ละบางอยางกลับทําไดดีกวาผูใหญเสยี อีก
เมอ่ื ทานกลับจากราชการสงครามเมืองมาฟฟคิงแลว ทานไดรางโครงการอบรม
เดก็ ขนึ้ มหี ลักการคลา ยลูกเสอื ในปจจบุ ัน ตอมาในป พ.ศ. 2450 ทานไดทดลองตั้ง Boy Scout
ข้ึนเปน กองแรกที่ เกาะบราวนซ ี ไอแลนด (Brown Sea Island) โดยเกล้ียกลอมเด็กท่ีเท่ียวเตร
อยูในทีต่ า ง ๆ มาอบรมแลว ทานไดค อยคุมการฝก ตามโครงการดวยตนเอง และไดผลดีสมความ
มุงหมายทุกประการ จึงทาํ ใหเกิดความบนั ดาลใจ ในอันท่จี ะขยายกิจการใหกวางขวางออกไปใน
วันขางหนา
พอถึงป พ.ศ. 2455 รัฐบาลอังกฤษไดประกาศรับรองฐานะของลูกเสืออังกฤษ
เปนทางการพรอ มกับออกกฎหมายคุมครองใหด ว ย จากนนั้ การลูกเสือองั กฤษก็เจริญแพรหลาย
ออกไปเปน ลําดับมา
คตพิ จนท ที่ า นลอรด บาเดน โพเอลล ไดใ หไ วแกล ูกเสือก็คอื BE PREPARED
(จงเตรียมพรอม)
• หนังสือ Scouting for boys พิมพออกจําหนาย
ท้ังหมด 6 เลม และประเทศตาง ๆ ท่ีมีกิจการ Scout ก็มักเคย
พมิ พอ อกเผยแพรส ําหรบั ผทู ีส่ นใจรวมท้ังประเทศไทยดวย
• ตอ มา พลโท โรเบิรต เบเดน โพเอลล ไดรับการแตงต้ัง
ใหเ ปน บารอน ซ่ึงบรรดาศักดิ์นี้พระราชทานโดยพระเจายอรจ
ท่ี 5 ในป พ.ศ. 2472 ทําใหเขาเปนสมาชิกสภาขุนนาง ซ่ึงตาม
ประเพณีของอังกฤษผูที่ไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์ ตั้งแต
บารอนข้ึนไป จะตองมีชื่อสถานที่ตอทาย ซึ่งเขาเลือกเอา
กิลเวลล (Gil Well Park) ทเี่ ปนชือ่ ของศูนยฝกอบรมผูบังคับบัญชา
53
ลกู เสอื นานาชาติ ทาํ ใหเ ขาไดช ื่อตามบรรดาศักด์ิวา บารอน เบเดน โพเอลล แหง กิลเวลล แตคนท่ัวไป
มักนิยมเรียก ลอรด เบเดน โพเอลล ในการชุมนุม Scout คร้ังแรกของโลก ในป พ.ศ. 2463
ทีป่ ระชมุ ผูแ ทน Scout จากประเทศตา ง ๆ ก็ประกาศใหเขาเปนประมุขของ Scout ตลอดกาล
และทกุ คนเรียกทา นอยา งยอ ๆ วา B-P
กิจกรรรมทา ยเร่อื งที่ 1 ประวตั ผิ ใู หก ําเนดิ ลกู เสือโลก
(ใหผเู รียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองท่ี 1 ท่ีสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชดุ วชิ า)
54
เรอื่ งที่ 2 องคก ารลกู เสือโลก
การลกู เสอื โลกเปน ขบวนการทางการศึกษาสําหรับเยาวชน มีวัตถุประสงคท่ีจะ
สรางบคุ ลิกภาพและพฒั นาการทางดานสงั คม เปน องคการอาสาสมัครไมเกี่ยวของกับการเมือง
เปด โอกาสสาํ หรับคนทวั่ ไป โดยขึน้ อยูบนพน้ื ฐาน ดังน้ี
ปฏบิ ตั ิตามหลักการสําคัญของการลกู เสือท่ีไดกาํ หนดข้นึ โดยผใู หกาํ เนิดลูกเสือโลก
และยดึ มน่ั ตามคาํ สอนของศาสนาทต่ี นเคารพนบั ถือ มีความจงรักภักดีตอชาติบานเมือง ชวยสราง
เสริมสันติภาพความเขาใจอันดีและใหความรวมมือ มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง
เขารวมในการพัฒนาสังคมดวยการยกยองและเคารพในเกียรติของบุคคลอ่ืน เพื่อความเปน
อันหน่ึงอันเดียวกันท่ัวโลก เปนวิธีการพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
บ น พื้ น ฐ า นคํ า ป ฏิ ญ า ณ ตา ม ก ฎ ขอ ง ลู ก เ สื อ เ รี ย น รู โ ดย ก า ร ก ร ะ ทํ า วิ ธี ก า ร ร ะ บ บ ห มู พั ฒ น า
ความกา วหนา ของบคุ คลโดยใชห ลกั สูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสือกิจกรรมกลางแจง
องคการลูกเสือโลก คือ องคการนานาชาตทิ ่มี ิใชองคการของรัฐบาลใดมีองคประกอบ
ทีส่ ําคญั 3 ประการ คอื สมัชชาลูกเสือโลก คณะกรรมการลกู เสือโลก และสาํ นกั งานลูกเสอื โลก
สมัชชาลูกเสือโลก (World Scout Conference) คือ ท่ีประชุมของผูแทนคณะลูกเสือ
ประเทศตาง ๆ ทัว่ โลกเรมิ่ มีการประชุมกันเปนคร้ังแรกเมื่อป 1920 (พ.ศ. 2463) และหลังจากน้ัน
โดยปกติมีการประชุมทุก ๆ 2 ป ต้ังแตครั้งที่ 1 ถึงคร้ังที่ 32 และจะเปลี่ยนเปนการประชุม
ทุกระยะ 3 ป โดยเร่ิมต้ังแตครั้งที่ 33 เปนตนไป ซึ่งจัดข้ึน ณ ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2536
ประเทศตาง ๆ ทไ่ี ดจดั ประชุมสมชั ชาลกู เสอื โลกแลว มดี งั น้ี
ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2463 ประเทศอังกฤษ ครั้งท่ี 2 พ.ศ. 2465 ประเทศฝรงั่ เศส
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2467 ประเทศเดนมารก คร้งั ท่ี 4 พ.ศ. 2469 ประเทศสวิสเซอรแลนด
ครัง้ ที่ 5 พ.ศ. 2472 ประเทศองั กฤษ ครงั้ ท่ี 6 พ.ศ. 2474 ประเทศออสเตรยี
คร้งั ที่ 7 พ.ศ. 2476 ประเทศฮังการี ครั้งท่ี 8 พ.ศ. 2478 ประเทศสวีเดน
ครง้ั ท่ี 9 พ.ศ. 2480 ประเทศเนเธอรแลนด คร้ังท่ี 10 พ.ศ. 2482 ประเทศสกอตแลนด
ครง้ั ที่ 11 พ.ศ. 2490 ประเทศฝรัง่ เศส ครั้งท่ี 12 พ.ศ. 2492 ประเทศนอรเ วย
ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2494 ประเทศออสเตรีย คร้ังที่ 14 พ.ศ.2496 ประเทศลิคเทน สไตน
ครง้ั ท่ี 15 พ.ศ. 2498 ประเทศแคนาดา ครงั้ ท่ี 16 พ.ศ.2500 ประเทศอังกฤษ
ครั้งท่ี 17 พ.ศ. 2502 ประเทศอนิ เดยี ครง้ั ท่ี 18 พ.ศ.2504 ประเทศโปรตุเกส
คร้ังที่ 19 พ.ศ. 2506 ประเทศกรซี ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2508 ประเทศเมก็ ซิโก
55
ครง้ั ที่ 21 พ.ศ. 2510 ประเทศสหรัฐอเมริกา ครัง้ ที่ 22 พ.ศ. 2512 ประเทศฟน แลนด
ครั้งท่ี 23 พ.ศ. 2515 ประเทศญป่ี นุ ครัง้ ที่ 24 พ.ศ. 2516 ประเทศเคนยา
ครง้ั ท่ี 25 พ.ศ. 2518 ประเทศเดนมารก คร้งั ที่ 26 พ.ศ. 2520 ประเทศแคนาดา
คร้งั ท่ี 27 พ.ศ. 2522 ประเทศองั กฤษ ครงั้ ท่ี 28 พ.ศ. 2524 ประเทศเซเนกลั
ครง้ั ท่ี 29 พ.ศ. 2526 ประเทศสหรฐั อเมริกา ครั้งท่ี 30 พ.ศ. 2528 ประเทศเยอรมนตี ะวนั ตก
ครง้ั ท่ี 31 พ.ศ. 2531 ประเทศออสเตรเลยี คร้งั ที่ 32 พ.ศ. 2533 ประเทศฝร่ังเศส
ครง้ั ที่ 33 พ.ศ. 2536 ประเทศไทย (เริ่มตนการประชุม 3 ปต อ คร้งั )
ครั้งท่ี 34 พ.ศ. 2539 ประเทศนอรเ วย ครงั้ ที่ 35 พ.ศ. 2542 ประเทศชิลี
ครั้งท่ี 36 พ.ศ. 2545 ประเทศกรีซ คร้งั ท่ี 37 พ.ศ. 2548 ประเทศตูนเี ซยี
ครัง้ ท่ี 38 พ.ศ. 2551 ประเทศเกาหลใี ต
คณะกรรมการลูกเสอื โลก มีหนา ทีโ่ ดยยอ ดงั น้ี
1) สง เสริมกจิ การลูกเสอื ท่วั โลก
2) แตงตง้ั เลขาธกิ าร และรองเลขาธกิ ารของสาํ นักงานลูกเสอื โลก
3) ควบคุมปฏิบตั งิ านของสาํ นกั งานลกู เสอื โลก
4) จดั หาเงินทนุ สาํ หรับสง เริมกจิ การลกู เสอื
5) ใหเคร่ืองหมายลกู เสอื สดุดี Bronze Wolf ของคณะลูกเสือแกผูที่ไดมีสวนชวยเหลือ
กจิ กรรมลูกเสอื อยา งดเี ดน
(ท่ีมา : http://www.krutujao.com/data/004.bp_world%20scout.htm)
คนไทยคนทไี่ ดร ับเครือ่ งหมายลกู เสอื สดุดีบรอนซวูลฟ (Bronze Wolf Award)
ซงึ่ เปน รางวลั สูงสุดของ องคก ารลกู เสอื โลก
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พ.ศ. 2551
56
นายอภยั จนั ทวิมล เมื่อป พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) เขา รับในการประชมุ สมชั ชาลูกเสือโลก
คร้งั ท่ี 20 พ.ศ. 2514 ณ กรุงโตเกยี ว ประเทศญ่ปี นุ
นายจิตร ทังสุบตุ ร เมอ่ื ป พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) รับในการประชมุ สมัชชาลกู เสือเขตเอเชีย-
แปซิฟก ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2519 ณ กรงุ เตหรา น ประเทศอหิ ราน
นายกอง วิสุทธารมณ เมื่อป พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) รับในการประชมุ สมัชชาลูกเสือ
เขตเอเชีย - แปซิฟก ครั้งท่ี 12 พ.ศ. 2525 ณ ประเทศออสเตรเลีย
57
นายเพทาย อมาตยกุล เม่อื ป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) รบั ในการประชมุ สมัชชาลกู เสือเขตเอเชยี -
แปซฟิ ก ครงั้ ท่ี 14 ณ กรุงเวลลงิ ตนั ประเทศนิวซีแลนด
นายแพทยบญุ สม มารติน เม่อื ป พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) รบั ในการประชมุ สมัชชาลกู เสือโลก
ครั้งท่ี 32 ณ กรุงปารสี ประเทศฝรั่งเศส
นางสุมน สมสาร เมอ่ื ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) รับในการประชมุ สมชั ชาลกู เสือเขตเอเชีย - แปซิฟก
ครง้ั ที่ 19 (พ.ศ. 2541) ณ ฮองกง
58
นายสธุ รรม พันธุศกั ด์ิ เม่ือป พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) รบั ในการประชมุ สมัชชาลูกเสอื เขตเอเชยี -
แปซฟิ ก คร้ังที่ 19 (พ.ศ. 2541) ณ ฮองกง
นายแพทยยงยทุ ธ วัชรดลุ ย เม่ือป พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) รบั ในการประชุมสมัชชาลกู เสือโลก
คร้งั ที่ 38 พ.ศ. 2551 ณ เจจู ประเทศเกาหลี
คนไทยสองทานทเี่ คยไดรบั เลือกเปนกรรมการลูกเสือโลก คอื
1. นายอภัย จันทวิมล (1965 - 1971)
2. นายแพทยบุญสม มารต นิ (1981 - 1987)
สํานกั งานลกู เสือโลก (World Scout Bureau)
1920 ตง้ั ข้ึนทก่ี รงุ ลอนดอน เรยี กวา International Bureau
1958 ยา ยไปอยูทกี่ รุงออตตาวา ประเทศแคนาดา
1961 เปล่ียนช่ือเปน World Bureau ในการประชุมสมัชชาครั้งท่ี 18 ท่ีกรุงลิสบอน
ประเทศโปรตเุ กส
1968 ยายไปอยทู ีเ่ มอื งเจนีวา ประเทศสวติ เซอรแลนด
สํานักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเปนผูบังคับบัญชา และมีเจาหนาที่ประมาณ
40 คน เปน ผชู ว ยนอกจากนี้ยังมสี ํานักงานสาขาอีก 6 เขต คอื
1. ภาคพื้นยุโรป (Europe) - มีประเทศสมาชกิ 41 ประเทศ สํานักงานใหญ
ตัง้ อยูทกี่ รุงเจนวี า ประเทศสวสิ เซอรแ ลนด และกรุงบรสั เซลส ประเทศเบลเยี่ยม
2. ภาคพนื้ เอเชีย-แปซิฟก (Asia-Pacific) - มปี ระเทศสมาชิก 24 ประเทศ
สํานักงานใหญตั้งอยูที่กรุงมนิลา ประเทศฟลิปปนส
59
3. ภาคพน้ื ยูเรเชีย (Eurasia) - มีประเทศสมาชิก 9 ประเทศ สํานกั งานใหญ
ตง้ั อยทู ย่ี ลั ตา - เกอรช ัฟ สาธารณรัฐยูเครน และสาํ นักงานสาขา กรุงมอสโคว ประเทศรสั เซยี
4. ภาคพนื้ อนิ เตอรอ เมรกิ า (Interamerica) - มีประเทศสมาชกิ 32 ประเทศ
สาํ นักงานใหญต ้ังอยูทีก่ รุงซานตเิ อโก ประเทศชิลี
5. ภาคพ้นื อาหรับ (Arab) - มีประเทศสมาชกิ 18 ประเทศ สํานักงานใหญต ้ังอยทู ่ี
กรุงไคโร ประเทศอยี ิปต
6. ภาคพ้นื อาฟริกา (Africa) - มปี ระเทศสมาชกิ 37 ประเทศ สาํ นกั งานใหญ
ตงั้ อยูทก่ี รงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา และมสี าขาแยกออกไปคอื
6.1. สาํ นักงานสาขา 1 ตง้ั อยูท ีก่ รุงดาการ ประเทศเซเนกลั
6.2. สาํ นักงานสาขา 2 ต้งั อยูท่ี กรงุ เคปทาวน ประเทศอาฟรกิ าใต
สาํ นักงานลูกเสือโลกมหี นา ทีโ่ ดยยอ ดังน้ี
1) ดาํ เนินการตามมตขิ องสมชั ชาและคณะกรรมการลกู เสือโลก
2) ติดตอกับประเทศสมาชิกและองคก ารทเ่ี กย่ี วของ
3) ประสานงานกบั ประเทศสมาชกิ
4) สง เสริมกจิ การลูกเสือโดยท่วั ไป
(ทม่ี า : http://www.krutujao.com/data/004.bp_world%20scout.htm)
กจิ กรรรมทา ยเรื่องท่ี 2 องคก ารลกู เสอื โลก
(ใหผเู รยี นไปทํากิจกรรมทา ยเร่อื งท่ี 2 ทีส่ มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
60
เรื่องท่ี 3 ความสมั พนั ธระหวา งลกู เสอื ไทยกับลกู เสอื โลก
การลูกเสือ เปนขบวนการทางการศกึ ษาสําหรบั เยาวชน ทีม่ ีวตั ถุประสงคเพ่ือสราง
บคุ ลกิ ภาพ และพัฒนาการทางสงั คมใหกับเยาวชนใหเปนพลเมืองดีของประเทศ โดยใชวิธีการ
ของลูกเสอื ยึดมั่นในคําปฏิญาณ และกฎเรียนรูโดยการกระทํา เนนการปฏิบัติกิจกรรมกลางแจง
การใชระบบหมูแ ละความกา วหนาของบุคคล โดยใชหลักสตู ร และวชิ าพเิ ศษลกู เสอื
การลูกเสือ เปน การอาสาสมคั รทาํ งานใหก ารศึกษาและพฒั นาเยาวชนโดยท่ัวไป
ไมมีการแบงแยกกีดกันในเร่ืองเช้ือชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ลัทธิทางศาสนาใด ๆ และไมอยู
ภายใตอิทธิพลหรือเก่ียวของกับการเมือง โดยยึดปฏิบัติตามอุดมการณของผูใหกําเนิดลูกเสือโลก
อยางม่ันคง วงการศึกษาท่ัวโลกถือวา การลูกเสือ เปนขบวนการที่ใหการศึกษาแกเยาวชน
นอกระบบโรงเรียนภายใตพ น้ื ฐาน ดังน้ี
1. มีหนา ทต่ี อศาสนาท่ีตนเคารพนับถอื
2. มีความจงรกั ภกั ดีตอ ชาตบิ า นเมือง
3. มีความรบั ผิดชอบในการพฒั นาตนเอง
4. เขารว มในการพฒั นาสงั คมดว ยการยกยอ งและเคารพในเกียรตขิ องบุคคลอน่ื
5. ชว ยเสริมสรา งสันตภิ าพความเขา ใจอันดี เพื่อความมั่นคงเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน
ท่ัวโลก
กิจการของลูกเสือทุกประเทศยึดม่ันในวัตถุประสงค หลักการ และวิธีการของ
ลูกเสอื เหมือนกนั ท่ัวโลก ทกุ ประเทศทีเ่ ขามาเปนสมาชิกโดยสมัครใจและเปนอิสระจากอิทธิพล
ทางการเมอื ง มงุ พัฒนาเยาวชนดวยรากฐานของอุดมการณลูกเสือซึ่งมีคําปฏิญาณและกฎของ
ลกู เสือเปนสงิ่ ยดึ เหนีย่ วจิตใจ นําสูการประพฤติปฏิบัติตนของความเปนพลเมืองดี และมีความ
เปนพี่นอ งกนั ระหวา งลกู เสือทวั่ โลก
การลกู เสือไทย โดยคณะลกู เสือแหงชาติ ไดจ ดทะเบยี นเปนสมาชิกขององคการ
ลูกเสือโลก เมอ่ื ป พ.ศ. 2465 ใชคติพจนวา “เสียชีพอยาเสียสัตย” ทั้งนี้ คณะลูกเสือแหงชาติ
ตอ งชาํ ระเงนิ คา บํารุงลกู เสอื โลก ใหแ กส าํ นักงานลูกเสือโลก และตองปฏิบัติตามธรรมนูญลูกเสือโลก
เพื่อดํารงไว เพ่ือความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือโลก นอกจากน้ันประเทศไทยยังเปน
1 ในจาํ นวน 27 ประเทศ ของสาํ นักงานภาคพื้นเอเชยี – แปซิฟก (Asia – Pacific Region : APR)
ซ่ึงมสี ํานักงานใหญ ตงั้ อยทู กี่ รงุ มาดาติ ประเทศฟล ปิ ปน ส
61
กิจการของคณะลกู เสอื โลกและความสมั พันธระหวา งลกู เสอื นานาชาติ
ภายหลังจากความสําเร็จของ บี.พี. ในการทดลองการอยูคายพักแรมของเด็ก
ท่จี ัดข้นึ ระหวาง วันท่ี 1 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2450 ท่ีเกาะบราวนซี ซึ่งนับเปนคายลูกเสือแหงแรก
ของโลก และการพิมพหนังสือเร่ือง “การลูกเสือสําหรับเด็กชาย” ออกจําหนาย ทําใหทั้งเด็ก
และผูใหญตางก็อยากมีสวนรวมในกิจการลูกเสือ และในช่ัวระยะเวลาไมนานกิจการลูกเสือก็ได
แพรหลายไปยังประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก ตอมาในป พ.ศ. 2463 สมาคมลูกเสืออังกฤษไดจัดใหมี
การชุมนมุ ลกู เสือจากทัว่ โลกเปน คร้ังแรก ทเ่ี มืองโอลิมเปย กรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซ่ึงถือ
เปน การชุมนมุ ลูกเสอื โลกคร้งั ท่ี 1 และการประชุมสมัชชาลกู เสอื โลกครง้ั ท่ี 1 ดวย ขณะเดียวกัน
ก็ไดมีการจัดต้ังสาํ นกั งานลูกเสอื โลกขึ้น เพ่ือการบริหารงานกจิ การลกู เสอื
ในป พ.ศ. 2465 ไดม ีการจัดประชุมสมัชชาลูกเสือโลกครั้งท่ี 2 ท่ีกรุงปารีส ประเทศ
ฝรงั่ เศส โดยมผี เู ขารวมประชุมจาก 31 ประเทศ ที่ประชุมไดเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือโลก
จาํ นวน 9 คน เพ่ือทําหนา ทเ่ี ปนคณะกรรมการบริหารองคการลูกเสือโลก
คณะลูกเสือโลก หมายถึง องคกรที่ทําหนาที่รักษาและดํารงไวซ่ึงความเปน
เอกภาพ ทําหนาท่ีสงเสรมิ กจิ การลกู เสือทว่ั โลกใหมกี ารพัฒนาและกา วหนา อยา งตอเนื่อง โดยมี
ธรรมนูญเปนกฎหมายสําหรับยึดถือปฏิบัติในการดําเนินกิจการลูกเสือทั่วโลก หรือที่เรียก
ในปจ จุบันวา “องคก ารลูกเสือโลก”
สาํ นกั งานลกู เสือโลก มีสาขา 5 แหง ท่ัวโลก
1. สาํ นักงานลกู เสือโลก เขตอเมริกา ซานโฮเซ, คอสตาริกา
2. สํานักงานลกู เสือโลก เขตยโุ รป เจนวี า, สวิตเซอรแ ลนด
3. สาํ นักงานลูกเสอื โลก เขตเอเชีย - แปซฟิ ก มะนิลา, ฟล ิปปน ส
4. สํานักงานลูกเสอื โลก เขตอาหรับ ไคโร, อียิปต
5. สํานกั งานลูกเสือโลก เขตแอฟริกา ไนโนบ,ี เคนยา
เครือ่ งหมายลกู เสือโลก
องคการลูกเสือโลก ประกอบดวยองคกรทสี่ าํ คญั 3 องคก ร คือ
1. สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมใหญประกอบดวยผูแทนประเทศสมาชิก
มาประชมุ รว มกนั ทกุ ๆ สามป ยกเวนกรณีท่ีปใดสถานการณของโลกมีความวุนวายหรือมีเรื่อง
รายแรงหรือเศรษฐกจิ ปนปว นกใ็ หงดการประชุมในชวงเวลาดังกลาว เชนในป พ.ศ. 2484 ไมมี
การประชุม เนื่องจากการถึงแกอสัญกรรมของ ลอรด เบเดน โพเอลล ผใู หก ําเนดิ ลูกเสือโลก
สมัชชาลกู เสือโลกมีหนาที่
1) พจิ ารณานโยบายและมาตรฐานของการลูกเสือทั่วโลก และกําหนดแนวทาง
ใหอ งคก ารลูกเสอื สมาชกิ ทุกประเทศปฏบิ ตั ิตาม เพือ่ ใหบ รรลุวัตถุประสงคขององคก ารลกู เสอื โลก
2) กําหนดนโยบายทว่ั ไปขององคการลกู เสอื โลก
62
3) พิจารณาการเขาเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลกโดยยึดหลักเกณฑวา
องคการลูกเสือแหงชาติท่ีสมัครเขาเปนสมาชิกน้ัน จะตองปฏิบัติตามวัตถุประสงค (Purpose)
หลักการ (Principles) วิธีการ (Method) ขององคการลูกเสือโลก และยึดคําปฏิญาณและ
กฎของลูกเสอื ตามทไ่ี ดบญั ญัตไิ วในธรรมนญู ลกู เสือโลก โดยเครง ครดั เสียกอน
4) พจิ ารณาใหองคการสมาชิกออกจากการเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลก
ในกรณีทไ่ี มป ฏิบตั ิตามบทบญั ญัตทิ ี่กาํ หนดไวใ นธรรมนญู ลกู เสือโลก
5) เลือกตั้งกรรมการลูกเสือโลกใหครบจํานวนตามหลักเกณฑ และวิธีการท่ี
กําหนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก
6) พจิ ารณารายงาน และขอเสนอแนะของกรรมการลกู เสอื โลก
7) พจิ ารณาขอเสนอแนะจากองคการลกู เสอื สมาชกิ ฯ
8) พิจารณาแกไ ข ปรบั ปรุง เพ่ิมเตมิ ธรรมนูญลูกเสือโลก
9) ปฏบิ ัติหนา ท่ีอ่ืน ๆ ทกุ เรอื่ ง ตามทไี่ ดกาํ หนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก
2. คณะกรรมการลกู เสือโลก คอื กรรมการทที่ ําหนาท่ีบริหารองคการลูกเสือโลก
กรรมการลูกเสือโลกถือวาเปนผูบังคับบัญชาลูกเสืออาสาสมัครเพราะไมไดรับเงินเดือนจาก
องคก ารลูกเสือโลก มจี าํ นวน 12 คน ซึง่ ไดรับเลอื กต้ังในทีป่ ระชมุ สมัชชาลูกเสือโลก ตามวิธีการ
และเง่ือนไขและบทบัญญตั ิท่กี ําหนดไวในธรรมนญู ลูกเสอื โลก
คณะกรรมการลกู เสอื โลก มหี นาที่
1) ปฏิบัติหนาที่แทนสมัชชาลูกเสือโลกในชวงเวลาท่ีไมมีการประชุมสมัชชา
ลูกเสอื โลก ในเรื่องทีต่ องมกี ารตัดสนิ ใจ ใหคาํ แนะนาํ ตาง ๆ และการกาํ หนดนโยบายตาง ๆ รวมท้ัง
เปน ตัวแทนขององคการลกู เสอื โลกในกิจกรรมลกู เสอื แหงชาติ และกิจกรรมลูกเสือระหวางประเทศ
2) ชว ยสงเสรมิ กจิ การลกู เสือทัว่ โลก ดวยการเย่ียมเยียน การติดตอทางหนังสือ
ใหการฝกอบรมตามหลักสูตรการฝกอบรมตาง ๆ ตลอดจนกิจกรรมอืน่ ๆ ทเ่ี ห็นสมควร
3) ใหคําแนะนําและความชวยเหลือแกองคการลูกเสือสมาชิก ในการดําเนิน
กิจการลูกเสือใหบ รรลวุ ตั ถุประสงค หลกั การและวธิ กี ารกระบวนการลกู เสือ
4) ใหคําแนะนําแกองคการลูกเสือแหงชาติ ท่ีจะสมัครเขาเปนสมาชิกองคการ
ลูกเสอื โลก
5) หยุดยั้งการเปนสมาชิกของสมาคมลูกเสือแหงชาติไวช่ัวคราว ในเมื่อไมได
ปฏิบตั ิตาม หลกั การ และวธิ กี าร ท่กี ําหนดไวใ นธรรมนูญลกู เสอื โลก
6) จัดเตรียมวาระการประชมุ และระเบยี บการประชมุ สมัชชาลกู เสอื โลก
7) พิจารณาขอเสนอแนะขององคการลูกเสอื แหงชาติ (สมาคมลูกเสือแหงชาติ)
8) แตง ต้ังประธาน รองประธาน การประชมุ สมัชชาลูกเสอื โลก
9) แตง ตงั้ เลขาธกิ ารองคการลูกเสอื โลก และแตง ตั้งรองเลขาธิการฯ โดยคําแนะนํา
ของเลขาธกิ ารฯ
63
10) ดแู ล แนะนาํ การบรหิ ารงานของสาํ นักงานลกู เสือโลก
11) อนุมัติงบประมาณของสาํ นักงานลูกเสอื โลก
12) รับผิดชอบในการหาเงินเพิม่ เติมเขากองทนุ ลูกเสอื โลก
13) อนมุ ัติธรรมนญู ลกู เสอื โลก และธรรมนูญลูกเสอื ของเขตตา ง ๆ ของโลก
14) พจิ ารณาแตงตัง้ ท่ปี รึกษาแกอ งคก ารตาง ๆ ที่ใหความชว ยเหลือและสนับสนุน
กจิ การลกู เสือ
15) พิจารณาใหรางวัลเหรียญลูกเสือสดุดีแหงโลก ที่เรียกวา “บรอนซวูลฟ”
(Bronze Wolf)
16) ปฏิบัติหนาท่ีอ่นื ๆ ทก่ี าํ หนดไวในธรรมนญู ลูกเสือโลก
3. สํานกั งานลกู เสือโลก คือ สํานักงานเลขาธิการขององคการลูกเสือโลก เปน
ศูนยประสานงานระหวา งองคการลูกเสือโลกสมาชิกทว่ั โลกซ่ึงมีจาํ นวน 144 ประเทศ เพื่อสราง
ความสัมพนั ธ รกั ษาและดาํ รงไวซง่ึ ความเปนเอกภาพของขบวนการลูกเสือโลก และเพ่ือใหการ
ปฏบิ ตั งิ านเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ จึงไดแบง เปน สาขา 5 เขต คอื
1) องคการลกู เสอื เขตแอฟรกิ า
2) องคก ารลกู เสือเขตอาหรบั
3) องคการลกู เสอื เขตเอเชยี -แปซฟิ ก
4) องคการลูกเสอื เขตยุโรป
5) องคการลกู เสือเขตอเมรกิ า
สํานักงานลกู เสือมหี นา ที่
(1) ชวยสมัชชาลูกเสือโลก และคณะกรรมการลูกเสือโลก ในการปฏิบัติงาน
ในหนา ทใี่ หประสบความสาํ เร็จดว ยดี โดยเฉพาะอยา งย่งิ จัดเตรยี มการประชมุ ทกุ ๆ เรอื่ ง
(2) นําเอามตขิ องสมชั ชาลูกเสอื โลก และของคณะกรรมการลกู เสือโลกไปปฏิบัติ
ใหเกดิ ผลเปนรูปธรรม
(3) ใหบริการทุกเร่อื งทจ่ี าํ เปนตอการสงเสริมกจิ การลูกเสือทั่วโลกเชน เรื่องการ
วิจยั เอกสารวิชาการการฝก อบรมผูบ ังคับบญั ชาลูกเสือ การฝก อบรมลูกเสือ การประชาสัมพันธ
และการพิมพคูม ือตาง ๆ ออกเผยแพร
(4) ดํารงไวซึ่งความสัมพันธกับองคการลูกเสือสมาชิกและใหความชวยเหลือ
ในการพฒั นาการลูกเสอื
(5) ชว ยพัฒนากิจการลกู เสือใหเ กดิ ขน้ึ ในประเทศตางๆท่ียงั ไมม กี ารลูกเสอื
(6) ชวยเหลือองคการลูกเสือแหงชาติที่ยังไมไดเปนสมาชิกฯใหมีมาตรฐานที่ดี
เพื่อจะไดเขา เปน สมาชิกขององคการลูกเสอื โลกในโอกาสตอ ไป
64
(7) หาทางให (ขอ (5),(6)) สมัครเขาเปนสมาชิกขององคการลูกเสือโลกหากมี
ทางชวยเหลือไดกช็ วยเหลือโดยมิไดช กั ชา
(8) ดูแลแนะนําการจัดกิจกรรมลูกเสือนานาชาติ หรือกิจกรรมลูกเสือของเขต
ตาง ๆ ของโลก
(9) สรา งความสมั พันธกับองคก ารนานาชาติอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั กจิ กรรมเยาวชน
ความสมั พันธระหวา งลกู เสือนานาชาติ
ในหลักการของขบวนการลูกเสือนั้น ถือวาลูกเสือท่ัวโลกมีความเปนพ่ีนองกัน
ตามกฎของลูกเสือ ขอ 4 “ลูกเสือเปนมิตรของคนทุกคนและเปนพ่ีนองกับลูกเสืออื่นทั่วโลก”
ดังนน้ั จงึ ตองมีกิจกรรมเพอ่ื สงเสรมิ มติ รภาพและสรา งความสมั พนั ธอ นั ดรี ะหวางกันซ่ึงแบงออก
ไดดังนี้
1. กิจกรรมเสนอแนะที่ลกู เสอื สามารถปฏบิ ัตไิ ดอยางเปนรูปธรรม คือ
1) การเขียนจดหมายถงึ เพอื่ นลกู เสือดวยกนั อาจผา นผูกํากับลูกเสือหรือ
ผูตรวจการลูกเสือฝายตางประเทศของประเทศนั้น ๆ หรือลูกเสืออาจติดตอโดยตรงกับเพ่ือน
ลกู เสือในตา งประเทศกไ็ ด
Dear Pen – Pal
Dept. W.S.,Box 4054
Santa Barbara, California 93103
U.S.A.
2) การตดิ ตอหาเพ่อื นทางคอมพิวเตอร สํานักงานลูกเสือโลกกับลูกเสือ
อเมริกาไดรวมมือกันจัดโปรมแกรมมิตรภาพ จัดหาเพ่ือนลูกเสือทั่วโลก โดยไมคิดคาบริการ
การหาเพือ่ นทางคอมพวิ เตอรใหจาหนาซอง ดังน้ี
ลูกเสือจะตองแจง ช่ือ ตําบลที่อยู ความสนใจ ภาษาที่ใชในการติดตอ
ประเทศ และความประสงคและจะสงรายละเอยี ดเกี่ยวกับลูกเสือทีต่ อ งการติดตอมาให
3) การแลกเปลีย่ นรูปภาพ คือ การแลกเปลี่ยนภาพถายกจิ กรรมของกอง
หรือของกลมุ ลูกเสอื
4) การแลกเปล่ียนภาพสไลดกิจกรรมลูกเสือพรอมคําบรรยายสามารถ
นาํ ไปแสดงหรือจัดนิทรรศการ
5) การแลกเปลี่ยนวารสารลูกเสือ ขาวสารของกองหรือกลุมลูกเสือกับ
คณะลกู เสือตา งประเทศ
6) การแลกเปลี่ยนดวงตราไปรษณียท้ังที่เปนดวงตราไปรษณียทั่วไป
และดวงตราไปรษณียล กู เสือ
65
2. กจิ กรรมงานชุมนมุ ลูกเสอื เชน
1) การชมุ นมุ ลกู เสือเขต
2) การชุมนุมลกู เสอื โลก
กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 3 ความสัมพนั ธระหวางลูกเสอื ไทยกับลูกเสอื โลก
(ใหผ ูเรียนไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งท่ี 3 ท่สี มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวิชา)
66
หนวยการเรยี นรทู ี่ 4
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสือ
สาระสําคญั
คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เปนรากฐานท่ีสําคัญสําหรับขบวนการลูกเสือ
อาจเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือและเปนหลักสําคัญที่ทําใหลูกเสือประพฤติปฏิบัติตนใหมี
คุณธรรม จริยธรรม หากลูกเสือไดเขาใจอยางแจมแจง และปฏิบัติตามคําปฏิญาณและกฎ
อยูเสมอ อยางชนดิ ใหเปนหลกั ปฏิบัติในชวี ิตประจาํ วนั ใหไ ด โดยเฉพาะในเรื่องความจงรักภักดี
ตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ความเปนพี่นองของลูกเสือทั่วโลก การกระทําความดีตาง ๆ
โดยเนนใหเห็นวาผูเปนพลเมืองดีนั้นจะตองเปนผูกระทําความดี และใชความดีน้ันใหเปน
ประโยชนตอสงั คม
ตวั ชว้ี ดั
1. อธิบายคําปฏญิ าณ และกฎของลูกเสือ
2. อธบิ ายคณุ ธรรม จริยธรรมจากคําปฏิญาณและกฎของลกู เสือ
3. ยกตวั อยางการนําคาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื ท่ีใชใ นชีวิตประจําวนั
4. อธิบายความสมั พนั ธร ะหวา งคุณธรรมจรยิ ธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของ
ลกู เสือกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ขอบขา ยเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 คาํ ปฏิญาณ และกฎของลกู เสือ
เร่ืองท่ี 2 คุณธรรม จรยิ ธรรมจากคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ
เรอ่ื งท่ี 3 การนาํ คําปฏญิ าณ และกฎของลูกเสอื ทใี่ ชในชีวิตประจําวนั
เรอ่ื งท่ี 4 ความสมั พนั ธร ะหวางคุณธรรมจริยธรรมในคําปฏญิ าณและกฎ
ของลูกเสือกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เวลาท่ีใชใ นการศกึ ษา 6 ช่ัวโมง
ส่อื การเรียนรู
1. ชดุ วชิ าลูกเสือ กศน. รหัสรายวิชา สค32035
2. สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวชิ า
3. สอื่ เสริมการเรยี นรูอน่ื ๆ
67
เร่ืองที่ 1 คําปฏิญาณ และกฎของลกู เสอื
การอยูรวมกันในสังคม จําเปนตองอาศัย กฎ ระเบียบ เพื่อเปนรากฐานในการ
ดาํ เนินชีวติ ใหเปนปกตสิ ุขของครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศ ทีจ่ ะอยูรวมกนั ดวยความผาสุก
และยัง่ ยนื
1.1 ความหมายคาํ ปฏิญาณของลกู เสือ
คําปฏิญาณของลูกเสือ คือ คํามั่นสัญญาที่ลูกเสือทุกคนตองใหไวแก
ผูบังคับบัญชา เปนถอยคําท่ีกลาวออกมาดวยความจริงใจและสมัครใจ คํากลาวน้ีสําคัญอยางยิ่ง
ในชีวิตการเปนลูกเสือ เม่ือกลาวแลวตองปฏิบัติตามใหไดเปนการสงเสริมใหลูกเสือรักเกียรติ
ของตน เพ่ือความเปนพลเมืองดีของชาติ โดยอาศัยคําปฏิญาณเปนอุดมการณนําไปปฏิบัติ
ในชีวติ ได
คาํ ปฏญิ าณของลูกเสอื
ดว ยเกียรติของขา ขาสัญญาวา
ขอ 1 ขา จะจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ
ขอ 2 ขา จะชว ยเหลอื ผูอื่นทุกเม่ือ
ขอ 3 ขา จะปฏิบตั ิตามกฎของลกู เสือ
เพื่อความชดั เจนในคาํ ปฏญิ าณของลกู เสือท้งั 3 ขอ จึงมคี ําอธบิ ายเพ่ิมเติม ดงั น้ี
ขอ 1 ขาจะจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ชาติ ประกอบดว ย แผน ดิน นา นนํ้า และประชาชนพลเมอื งท่อี ยูร วมกันโดยมี
กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมเปนหลักปฏิบัติ ลูกเสือทุกคนตองประพฤติ
ปฏิบัตติ นใหเปนพลเมอื งดีของชาติ
ศาสนา ทกุ ศาสนามีความมุงหมายเดยี วกัน คือ สอนใหทุกคนเปน คนดลี ะเวน
ความช่วั ใหกระทาํ แตค วามดี ลกู เสอื ทกุ คนตองมศี าสนา ลูกเสือจะนับถอื ศาสนาใด ๆ กไ็ ด
พระมหากษัตริย ทรงเปนประมุขของคณะลูกเสือแหงชาติ ลูกเสือทุกคน
ตองปฏิบตั ิตนตามรอยพระยุคลบาท
ขอ 2 ขา จะชว ยเหลอื ผูอน่ื ทกุ เมอื่
ลกู เสอื ทุกคนเปนผูมีจิตอาสา ไมน่ิงดูดาย เอาใจใสผูอ่ืน มีความพรอมท่ีจะ
เสยี สละเพื่อสว นรวมทุกโอกาสท่ีพึงกระทําได ซึ่งเปนสิ่งหนึ่งที่ทําใหลูกเสือเปนผูมีเกียรติ และ
ไดรับการยกยองชืน่ ชมจากประชาชนท่ัวไป
ขอ 3 ขา จะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสอื
กฎของลูกเสือเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือท่ีเปนหลักยึดเหนี่ยวใหประพฤติ
ปฏบิ ัติในสิง่ ดงี าม
68
1.2 ความหมายกฎของลกู เสือ
กฎของลูกเสอื หมายถึง ขอปฏิบัติที่ลูกเสือตองยึดเปนแนวทางการประพฤติ
ปฏิบตั ิตนในชีวติ ประจาํ วนั กฎของลกู เสอื มี 10 ขอ ดังนี้
กฎของลกู เสอื
ขอ 1 ลกู เสอื มีเกยี รติเชือ่ ถอื ได
ขอ 2 ลูกเสอื มีความจงรักภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และซอ่ื ตรง
ตอผูม ีพระคณุ
ขอ 3 ลกู เสอื มีหนา ทก่ี ระทําตนใหเ ปนประโยชนแ ละชวยเหลอื ผอู ืน่
ขอ 4 ลกู เสือเปนมติ รของคนทุกคน และเปน พี่นองกับลกู เสอื อ่ืนทัว่ โลก
ขอ 5 ลูกเสือเปนผูส ุภาพเรยี บรอย
ขอ 6 ลูกเสอื มีความเมตตากรุณาตอสตั ว
ขอ 7 ลกู เสอื เชอ่ื ฟงคาํ ส่งั ของบิดามารดา และผบู งั คับบญั ชาดว ยความเคารพ
ขอ 8 ลูกเสอื มใี จรา เรงิ และไมย อทอตอ ความยากลาํ บาก
ขอ 9 ลูกเสือเปน ผมู ัธยสั ถ
ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ
เพ่ือความชัดเจนในกฎของลูกเสือทัง้ 10 ขอ จึงมคี ําอธิบายเพิม่ เตมิ ดังนี้
ขอ 1 ลกู เสอื มเี กยี รติเชอ่ื ถือได
ลกู เสอื ตอ งประพฤติตนเปนคนดี เปน ผูมรี ะเบียบวินัย ผูอ่ืนยอมจะช่ืนชมเชื่อถือ
จะเปนที่ไววางใจแกคนทั้งหลาย โดยเฉพาะในขณะท่ีลูกเสือสวมเคร่ืองแบบอันทรงเกียรติ
ยอ มจะไมท าํ ส่ิงใด ๆ ท่ีกอ ใหเกิด ความเสือ่ มเสียเกียรติของลูกเสอื
ขอ 2 ลกู เสอื มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และซ่อื ตรง
ตอ ผมู ีพระคณุ
ลกู เสอื ตอ งเทิดทูน สถาบันท้งั 3 ไดแก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยบรรพบุรุษ
ของเรายอมพลีชีพเพื่อชาติมาแลว เพ่ือรักษาสถาบันนี้ไว เพ่ือใหประเทศชาติของเราม่ันคง
อยตู อ ไป จงทาํ หนาทีข่ องเราใหดที ี่สดุ ในฐานะที่เราเปนลูกเสือ
ขอ 3 ลูกเสือมีหนา ทกี่ ระทําตนใหเ ปน ประโยชน และชว ยเหลือผูอื่น
ลูกเสือตองเปนผูรูจักการเสียสละ ไมเห็นแกตัว พรอมที่จะบําเพ็ญประโยชน
ใหก บั บา น สถานศกึ ษา สงั คม ชมุ ชน ตลอดจนประเทศชาติ ดวยการเขาไปมีสวนรวมในการทํา
กิจกรรมตาง ๆ ตามความสามารถและโอกาส และพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถ
ใหพ ึง่ ตนเองได และสามารถชว ยเหลอื ผูอ่นื ได
69
ขอ 4 ลูกเสือเปน มติ รของคนทุกคน และเปน พ่ีนอ งกับลกู เสอื อืน่ ทัว่ โลก
ลูกเสือจะตองเปนผูมี จิตใจโอบออมอารี รูจักเอ้ือเฟอเผื่อแผแกทุก ๆ คน
โดยไมเลือกวาเปนเชื้อชาติ ศาสนาใด ๆ รวมทั้งมีความรูสึกเสมือนหนึ่งวาเปนพี่นองกับลูกเสือ
อน่ื ทัว่ โลก ตอ งมกี ารทาํ งานรว มกนั ตองอยูรวมกัน ตองประพฤติปฏิบัติดี ทั้งกาย วาจา ใจ คือ
ตองรูจักแสดงนํ้าใจกับผูอื่น ชวยเหลือผูอ่ืนอยางเต็มใจ เอื้อเฟอ เผื่อแผ เสียสละ มีอัธยาศัย
ไมตรกี ับคนทัว่ ไป ยิ้มแยม แจมใส
ขอ 5 ลูกเสอื เปน ผสู ุภาพเรยี บรอ ย
ลูกเสือตองเปนผูท่ีมีกิริยาและวาจาสุภาพ ออนโยน ออนนอม มีสัมมาคารวะ
ท้ังทางกาย วาจา และใจ ไมย กตนขม ทาน แตงกายสะอาดเรียบรอ ย แสดงทางวาจา เชน พูดจา
ไพเราะ นุมนวล ไมก ลาวรายลว งเกนิ เตอื นตนใหประพฤติดปี ระพฤติชอบ มคี วามออ นนอ มถอมตน
ขอ 6 ลกู เสอื มีความเมตตา กรุณาตอ สัตว
ลูกเสือตอ งเปนคนทีม่ ีใจเมตตา กรณุ าตอ สตั ว ไมร งั แกสัตว หรือทรมานทารุณสัตว
ใหร บั ความเจบ็ ปวด หรอื กักขงั สตั ว มใี จปรารถนาใหผ ูอ่ืนพนทุกข
ขอ 7 ลกู เสอื เชอ่ื ฟง คาํ สั่งของบดิ า มารดา และผบู งั คับบญั ชาดว ยความเคารพ
ลูกเสือตองเคารพและเช่ือฟงคําสั่งบิดามารดาซึ่งเปนผูใหกําเนิด เปนผูเลี้ยงดู
เราจนเติบใหญมีพระคณุ อยางใหญห ลวง และตอ งเช่อื ฟง คําสั่งของครู อาจารย และผูบังคับบัญชา
ที่ลว นมปี ระสบการณในชวี ติ ท่ีสามารถชี้แนะแนวทาง ใหสิ่งที่ดีแกเรา ลูกเสือจึงตองเคารพและ
เชื่อฟง
ขอ 8 ลกู เสอื มีใจรา เรงิ และไมยอ ทอ ตอความยากลาํ บาก
ลกู เสือตองเปนผูท่ียิ้มแยมแจมใส ราเริงอยูเสมอ ไมยอทอตอความยากลําบาก
แสดงถึงมิตรภาพ มีไมตรีจิตที่ดตี อ กันดวยความเต็มใจ
ขอ 9 ลกู เสอื เปนผมู ธั ยสั ถ
ลกู เสือตอ งเปนผูร จู ักเกบ็ หอมรอมริบ ประหยัด ใชจ า ยเฉพาะท่จี ําเปนตามฐานะ
ของตน ตองประหยดั ทรัพยส ินท้ังของตนเองและผอู ื่นดว ยรวมทัง้ ตองไมรบกวนเบียดเบยี นผอู ่ืน
ขอ 10 ลูกเสอื ประพฤตชิ อบดวยกาย วาจา ใจ
ลกู เสอื ตอ งรูจกั สาํ รวมกาย วาจา และใจ คือ "ทําดี คิดดี พูดดี” ไมทําใหตนเอง
และผูอื่นเดือดรอน ตองรูจักเหน่ียวรั้ง ควบคุมสติ บังคับ ขมใจตนเอง ละอายตนเอง คํานึงถึง
มรรยาทของตนเองตลอด จนไมคิดเบียดเบียนทํารายผูอ่ืน เปนผูที่สุภาพออนโยนปฏิบัติตน
ใหเ หมาะกับกาลเทศะและสังคม
70
1.3 ความหมายคตพิ จนของลูกเสอื
1.3.1 คตพิ จนท ่วั ไปของลูกเสือ
เสียชีพอยาเสียสัตย หมายความวา ใหลูกเสือรักษาความซ่ือสัตย
มีสจั จะยง่ิ ชีวติ จะไมละความสตั ยถ งึ แมจะถูกบบี บงั คบั จนเปนอันตรายถึงกับชีวิตก็ตามก็ไมยอม
เสยี สจั จะเพ่อื เกยี รติภูมิแหงตน
1.3.2 คติพจนของลูกเสือแตละประเภท
ลกู เสอื สาํ รอง“ทําดที ี่สุด”
ลูกเสอื สามัญ“จงเตรียมพรอม”
ลกู เสือสามญั รุนใหญ“ มองไกล”
ลูกเสอื วสิ ามัญ“บรกิ าร”
ทาํ ดที ่ีสุด หมายความวา ปฏบิ ัตหิ นาทีข่ องตนอยูใหด ีทส่ี ดุ
จงเตรยี มพรอม หมายความวา เตรียมความพรอมท้งั ทางดานรา งกายและ
จิตใจในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ทรี่ ับผดิ ชอบ
มองไกล หมายความวา การมองใหกวางและไกล ฉลาดท่จี ะมองเห็นความ
จรงิ ของส่งิ ตาง ๆ วา ผลจากการกระทาํ ภารกิจของตน อาจสงผลกระทบถึงภารกจิ อน่ื บคุ คลอืน่
บริการ หมายความวา การกระทําดวยความตั้งใจทีจ่ ะใหผ ูอนื่ มีความสะดวก
หรือลดปญหา หรือความทุกขหวังเพียงใหผูรับบริการไดรับสิ่งที่เหมาะสมที่สุดเสมอโดยไมหวัง
รางวัลหรือสงิ่ ตอบแทนใด ๆ
กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
(ใหผ เู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเรื่องท่ี 1 ท่ีสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
71
เร่ืองที่ 2 คณุ ธรรม จริยธรรมจากคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ
คณุ ธรรมจริยธรรมจากคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเนนการประพฤติปฏิบัติตน
ใหเ ปน พลเมืองดี พรอมท่ีจะนําความสุข ความเจรญิ ความมัน่ คงมาสบู ุคคลสังคม และประเทศชาติ
ดงั นี้
1. ความจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยบุคคลสามารถปฏิบัติตน
ใหมีความซื่อสัตยตอชาติ รัก และหวงแหน ยอมเสียสละเลือดเน้ือและชีวิตเพ่ือใหชาติเปน
เอกราชสืบไป อีกท้ังทํานุบํารุงศาสนาใหม่ันคงสถาพรสืบไปและปฏิบัติตนตามรอยพระยุคลบาท
แหง องคพระมหากษตั ริย ผทู รงบาํ บดั ทกุ ขบาํ รุงสุขใหแ กร าษฎรดวยความเสยี สละ
2. ความรับผิดชอบตอหนาที่ บุคคลสามารถปฏิบัติกิจการงานของตนเองและ
ที่ไดรับมอบหมายดวยความมานะพยายาม อุทิศกําลังกาย กําลังใจอยางเต็มความสามารถ
ไมเห็นแกความเหน็ดเหนือ่ ย
3. ความมีระเบียบวินัย บุคคลสามารถเปนทั้งผูรูและปฏิบัติตามแบบแผน
ท่ีตนเอง ครอบครัว และสังคม กําหนดไว โดยจะปฏิเสธกฎเกณฑหรือกติกาตางๆ ของสังคม
ไมได คุณธรรมน้ตี อ งใชเวลาปลูกฝง เปนเวลานาน และตองปฏบิ ัติสม่ําเสมอจนกวาจะปฏิบัติเอง
ไดแ ละเกิดความเคยชนิ
4. ความซื่อสัตย บุคคลสามารถปฏิบัติตนทางกาย วาจา จิตใจ ท่ีตรงไปตรงมา
ไมแสดงความคดโกง ไมหลอกลวง ไมเอาเปรียบผูอ่ืน ลั่นวาจาวาจะทํางานส่ิงใดก็ตองทําให
สําเร็จ ไมกลับกลอก มีความจรงิ ใจตอ ทุกคน จนเปนทไ่ี ววางใจของคนทุกคน
5. ความเสียสละ บุคคลสามารถปฏิบัติตนโดยการอุทิศกําลังกาย กําลังทรัพย
กําลังปญญา เพ่ือชวยเหลือผูอ่ืนและสังคมดวยความต้ังใจจริง มีเจตนาที่บริสุทธ์ิ เปนท่ีรักใคร
ไวว างใจ เปนทีย่ กยองของสงั คม ผูคนเคารพนับถือ นาํ พาซง่ึ ความสขุ สมบูรณใ นชวี ิต
6. ความอดทน บุคคลสามารถปฏิบัติตนเปนผูท่ีมีจิตใจเขมแข็ง ไมทอถอยตอ
อุปสรรคใด ๆ มุงม่ันที่จะทํางานใหบังเกิดผลดีโดยไมใหผูอ่ืนเดือดรอน มีความอดทนตอความ
ยากลําบาก อดทนตอการตรากตรําทํางาน อดทนตอ ความเจ็บใจ อดทนตอ กิเลส
7. การไมทําบาป บุคคลสามารถละเวนพฤติกรรมท่ีชั่วราย และไมสรางความ
เดือดรอนใหท ้ังทางกาย วาจา ใจ
8. ความสามคั คีบคุ คลสรา งความสามัคคี รักใคร กลมเกลียวซ่ึงนําไปสูความสงบ
รมเย็นของครอบครวั สงั คม ชุมชน และประเทศชาติ
กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 2 คุณธรรม จรยิ ธรรมจากคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือ
(ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
72
เรื่องท่ี 3 การนาํ คาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือทใี่ ชใ นชีวติ ประจาํ วัน
ปจจัยสาํ คัญอยางหนง่ึ ท่ที าํ ใหขบวนการลูกเสือวฒั นาถาวรกาวหนากวาขบวนการ
อ่ืน ๆ ก็คือ คําปฏิญาณและกฎ ซึ่งผูเปนลูกเสือตองยอมรับและนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
ดว ยความเคยชนิ เชน
เมื่อผูเรียนไดเรียนเก่ียวกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือแลวผูเรียนจะตอง
ทบทวนทําความเขา ใจใหถ อ งแทแ ละนําไปสูก ารปฏิบตั ใิ นชวี ิตประจาํ วนั ได
ตวั อยางคําปฏญิ าณของลกู เสอื ตวั อยางกฎของลกู เสอื
1. ปฏบิ ัตติ นใหถ ูกตอ งตามขนบธรรมเนยี ม 1. การกระทาํ ใด ๆ จะตอ งไมก ระทําใหเสยี เกียรติ
ประเพณแี ละวัฒนธรรม เชน การแตงกาย
การแสดงความเคารพโดยการไหว
2. ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย ขอบังคบั ของสังคม 2. มีใจโอบออมอารี เออ้ื เฟอ เผื่อแผแ กคน
และประเทศชาติ เชน กฎจราจร การเลอื กต้ัง ทกุ เชื้อชาติ ทกุ ศาสนา
3. เขา รวมพีทางศาสนาตามแตโ อกาสที่ 3. มีกริ ยิ า วาจา สภุ าพออนโยน ออนนอ ม
เหมาะสม เชน การไปวัดทําบญุ ตักบาตร กับทกุ เพศ ทุกวัย
4. รกั และหวงแหนแผนดินเกิดของตนเอง เชน 4. คอยชวยเหลอื ผอู ื่น มีจติ ใจเมตตา กรณุ าตอ
ตอ งไมทําใหชื่อเสยี งประเทศเสยี หาย ส่ิงมีชวี ติ ไมฆา ไมท รมานหรอื ไมร ังแกผอู ื่น
ใหไดร ับความเจบ็ ปวด
5. ชว ยเหลอื ผูอนื่ เมื่อมโี อกาส เชน การใช 5. เชือ่ ฟง คาํ ส่งั สอนของพอแม ครู อาจารย
เวลาวา งในการอานหนงั สอื ใหคนตาบอดฟง
การชว ยผูส งู อายุเดนิ ขามถนน
6. รูจกั ประหยดั อดออม ไมใชจ า ยสรุ ุย สุรา ย
7. มีหนาตาย้ิมแยมแจมใสเสมอ ไมยอทอตอ
ความทุกขยาก
กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 การนําคําปฏญิ าณ และกฎของลกู เสือทใ่ี ชใ นชีวิตประจาํ วัน
(ใหผเู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ที่สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
73
เร่อื งท่ี 4 ความสัมพนั ธระหวางคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏิญาณและกฎของลกู เสอื
กับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงมีความหวงใย
พสกนกิ รของพระองคใ นการดาํ รงชีวติ ทรงเนน ยาํ้ แนวทางการดําเนินชวี ิตตามหลกั ธรรมคําสอน
เพอื่ ใหป วงชนชาวไทยไดรอดพนจากวิกฤตกิ ารณทางเศรษฐกิจ และสามารถดํารงอยไู ดอ ยางมน่ั คง
และยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภวิ ัตน และความเปลีย่ นแปลงตา ง ๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีเปาหมายเพ่ือใหเกิดความสมดุลและพรอมตอ
การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุสังคมสิ่งแวดลอมและ
วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี
ความพอเพยี ง ประกอบดวย
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป
โดยไมเบียดเบยี นตนเอง และผอู ่นื เชน การผลิต และการบรโิ ภคท่ีอยใู นระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะตอ งเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จ จัยท่เี ก่ยี วของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา
จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทํานน้ั ๆ อยา งรอบคอบ
การมีภมู ิคุม กันท่ีดีในตน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอ มรบั ผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงดา นตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ โดยคํานงึ ถงึ ความเปน ไปไดข องสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา
จะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาํ เนนิ กิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น
ตองอาศัยทง้ั ความรู และคณุ ธรรมเปน พน้ื ฐาน กลา วคือ
เงอื่ นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรูเกีย่ วกบั วชิ าการตา ง ๆ ที่เกี่ยวของอยาง
รอบดานความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกันเพ่ือประกอบการ
วางแผน และความระมัดระวงั ในขั้นปฏิบตั ิ
เง่ือนไขคุณธรรมที่ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรมความซ่ือสัตย
สจุ ริต และมีความอดทน มีความเพียรใชส ติปญ ญาในการดาํ เนนิ ชีวิต
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไดรับการเชิดชูเปนอยางสูงจากองคการสหประชาชาติ
โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติไดทูลเกลาฯถวายรางวัล
ความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษยแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เม่อื วนั ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และไดมีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวาเปนปรัชญา
ท่ีมีประโยชนตอประเทศไทยและนานาประเทศและสามารถเร่ิมไดจากการสรางภูมิคุมกัน
ในตนเองสหู มบู านและสเู ศรษฐกจิ ในวงกวา งขน้ึ ในทสี่ ุด
74
ความสมั พนั ธร ะหวา งคณุ ธรรม จริยธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ
กบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คณุ ธรรม จริยธรรมในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื การปฏิบตั ติ นหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ขอ 1 ลกู เสอื มเี กียรติเชือ่ ถอื ได ความซื่อสตั ย
ขอ 2 ลูกเสือมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา ความกตญั ูกตเวที
พระมหากษตั รยิ และซ่อื ตรงตอผูม ีพระคณุ
ขอ 3 ลูกเสือมีหนาทกี่ ระทาํ ตนใหเปนประโยชน ความมนี ้าํ ใจและจิตอาสา
และชวยเหลอื ผูอื่น
ขอ 4 ลกู เสอื เปน มิตรของคนทกุ คนและเปน พน่ี อ งกับ ความสามคั คี
ลูกเสอื อืน่ ทว่ั โลก
ขอ 5 ลูกเสอื เปน ผสู ุภาพเรยี บรอย ความสภุ าพ
ขอ 6 ลูกเสือมคี วามเมตตากรณุ าตอ สัตว ความมีน้ําใจและจติ อาสา
ขอ 7 ลกู เสือเช่อื ฟงคําสัง่ ของบดิ ามารดา และ ความมนี าํ้ ใจและจิตอาสา
ผูบังคับบญั ชาดวยความเคารพ
ขอ 8 ลกู เสอื มีใจราเรงิ และไมย อทอ ตอความยากลําบาก ความขยนั
ขอ 9 ลกู เสอื เปนผมู ธั ยสั ถ ความประหยดั
ขอ 10 ลกู เสือประพฤตชิ อบดว ยกาย วาจา ใจ ความมีวนิ ยั ความสะอาด
จากตาราง จะเห็นวาลูกเสือสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ปฏิบตั ิใหสอดคลองกับคุณธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื
อยางไรถึงจะเรียกวา พอเพียง มีพระราชดํารัสองคหนึ่งกลาวไววา “พูดจา
ก็พอเพียงปฏิบัติตนก็พอเพียง” คํานิยามบอกหลักการไววา ความพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการสรา งภมู คิ มุ กนั ทดี่ ีในตัวจากผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน
จากทั้งภายนอกและภายใน ภายนอกกระทบเขามาภายในก็เปล่ียนแปลงดวยจะพอเพียงได
ตองคํานึงถึง 3 หลักการ คือ คิดและทําอะไรอยาง พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุมกัน
ในตัวที่ดี ถาครบ 3 หลักการน้ี ถึงจะบอกไดวาพอเพียง ถาไมครบก็ไมพอเพียงและการสราง
ความพอเพยี งใหเกดิ ขน้ึ ไดต อ งใชความรคู วบคูไ ปกบั คุณธรรม
จากคาํ กลาวขางตนความสัมพนั ธร ะหวา งคุณธรรม จรยิ ธรรมในคําปฏิญาณและ
กฎของลกู เสือกบั หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนํามาสรุปเปนผลกระทบจากภายนอก
และภายใน ไดด ังนี้
75
ผลกระทบจากภายใน
“การสรางภูมิคุมกันท่ีดีในตัว” ลูกเสือจะตองจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย เชอื่ ฟงคําสงั่ สอนของบดิ ามารดา และผูบังคับบัญชาดวยความเคารพตองปฏิบัติตน
ใหเปนผูเกียรติเช่ือถือได ตองแสดงความเปนมิตรตอทุกคนและเปนพี่นองกับลูกเสืออื่น
ท่ัวโลกตองผูสุภาพเรียบรอย มีใจราเริง และไมยอทอตอความยากลําบาก และประพฤติชอบ
ดวยกายวาจาใจ กลา วไดวาตองตานทานตอแรงยั่วยทุ ้ังหลาย
ผลกระทบจากภายนอก
“ความพอประมาณ” ลูกเสือตอ งเปนผมู ธั ยสั ถ ประหยดั อดออม อยอู ยางพอเพยี ง
“ความมีเหตุผล” ลูกเสอื จะตองชว ยเหลอื ผูอน่ื ทกุ เมอ่ื ไมน่ิงดูดายเมอ่ื เห็นผูอื่นเดือดรอน
ตอ งกระทําตนใหเ ปนประโยชนแ ละชวยเหลอื ผูอืน่ รวมถงึ การมีความเมตตากรุณาตอ สัตว
การใชชีวิตอยางไมพอเพียง แลวจะเปนอยางไร เชน ใชจายไมพอเพียงดูแล
สุขภาพอยางไรไมพ อเพียง บรโิ ภคอยางไมพอเพียง ทํางานอยางไมพอเพียงมากไปนอยไปหรือ
ผูเรียนดูหนังสืออยางไรไมพอเพียง การใชชีวิตการปฏิบัติตนอยางไมพอเพียงนอยเกินไป
มากเกินไปไมพอดีพอเหมาะพอควรกับความสามารถของเรากับสถานการณส่ิงแวดลอม
มันสง ผลกระทบอะไรบางใหกับตัวเราเอง สงผลกระทบอะไรบางใหกับคนรอบขางกระทบกับ
สังคมกระทบกบั สิง่ แวดลอม สงผลถึงอนาคตของตนเองและสังคม
การประยกุ ตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยพน้ื ฐานก็คอื การพ่ึงตนเอง
เปน หลกั การทําอะไรอยางเปน ขนั้ เปนตอนรอบคอบระมดั ระวงั พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะ
พอควร ความสมเหตสุ มผลและการพรอ มรบั ความเปลีย่ นแปลง การสรา งความสามัคคใี หเ กิดขึ้น
บนพื้นฐานของความสมดุลครอบคลุมทั้งทางดานจิตใจ สังคมเทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอมรวมถงึ เศรษฐกจิ
การประยกุ ตใ ชส าํ หรับประชาชนชาวไทย ไมฟุงเฟอประหยัดในทางท่ีถูกตอง
ประพฤติชอบและประกอบอาชีพดวยความถูกตองสุจริตละเลิกการแกงแยงเบียดบังผูอื่น
ไมหยุดน่ิงทจี่ ะหาทางยนื หยัดไดด วยตนเองเพิ่มพูนความดลี ดละความช่ัว
กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 4 ความสัมพันธร ะหวา งคณุ ธรรม จริยธรรมในคําปฏิญาณและกฎ
ของลกู เสือกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(ใหผูเรียนไปทาํ กจิ กรรมทายเรือ่ งที่ 4 ทส่ี มุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
76
หนว ยการเรียนรทู ่ี 5
วนิ ัย และความเปนระเบยี บเรียบรอ ย
สาระสําคัญ
วินัยและความเปนระเบียบเรียบรอย เปนส่ิงจําเปนมากในกองลูกเสือ คนที่มี
คุณภาพ ควรไดรบั การฝกฝนใหมีระเบียบวินัย ลูกเสือที่มีระเบียบวินัย เชื่อฟงปฏิบัติตามคําสั่ง
ผบู งั คบั บญั ชา ยอมที่จะเปนพลเมอื งดีในอนาคต ลกู เสือท่ไี ดร บั การฝก อบรมอยางดีสามารถเปน
ผูนําได รูจักการทําตนเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของผูท่ีเปนหัวหนา หรือทําตนในฐานะเปน
ผูบังคับบัญชาเปนแบบอยางที่ดีได ซึ่งจะนําประโยชนมาใหตนทั้งในดานสวนตัวและหนาที่
การงาน กองลูกเสือใดมีระเบียบวินัยท่ีดีแลว กองลูกเสือนั้นก็จะมีความสุข ประสบผลสําเร็จ
ในกิจการตาง ๆ ไดโดยงาย สง่ิ ท่จี ะชวยทําใหล กู เสือไดม ีระเบียบวินัยท่ีดี ไดแก การใชคําส่ังให
ปฏบิ ัตอิ ยา งงาย ๆ พิธกี ารตาง ๆ การตรวจในการเปดประชุมกองและปดประชุมกอง หรือการ
ตรวจการอยูคายพักแรมในตอนเชา เครื่องแบบมีความหมายสําหรับชื่อเสียงของขบวนการ
กองลูกเสอื การอยูคายพักแรมตองทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ การเดินทางไกล ไดรับ
ความเหน็ดเหนื่อย ตองอดทน เห็นใจซ่ึงกันและกัน ระเบียบแถว เปนวิธีการฝกท่ีจะตองให
ปฏิบตั ติ ามคําบอกคาํ สง่ั ส่งิ แวดลอ ม ที่มองเหน็ เปนแบบอยางที่จะกระทําตาม และตัวอยางท่ีดี
ของผูก ํากับเปน เรือ่ งสาํ คญั ท่สี ุดที่ลกู เสือจะเกิดศรทั ธายึดถือเปน แบบอยาง
ตวั ชว้ี ัด
1. อธิบายความหมาย และความสําคัญของวินยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย
2. อธบิ ายผลกระทบจากการขาดวนิ ัยและขาดความเปนระเบียบเรียบรอ ย
3. ยกตวั อยา งแนวทางการเสรมิ สรา งวินยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย
4. อธบิ ายระบบหมูลกู เสอื
5. อธิบายและยกตัวอยางการพฒั นาภาวะผนู ํา – ผตู าม
ขอบขา ยเน้อื หา
เรือ่ งท่ี 1 วินัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย
1.1 ความหมายของวินยั และความเปน ระเบยี บเรียบรอย
1.2 ความสาํ คัญของวนิ ยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย
เร่ืองท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวินัย และขาดความเปนระเบยี บเรยี บรอ ย
เรอื่ งท่ี 3 แนวทางการเสริมสรา งวนิ ัยและความเปนระเบียบเรยี บรอ ย
เรอ่ื งที่ 4 ระบบหมูลูกเสือ
เรือ่ งที่ 5 การพัฒนาภาวะผนู าํ - ผตู าม
77
เวลาท่ีใชใ นการศึกษา 6 ช่ัวโมง
ส่ือการเรียนรู
1. ชดุ วชิ าลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035
2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา
3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นรูอนื่ ๆ
78
เรอ่ื งท่ี 1 วนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอย
การประกอบกิจกรรมทุกอยางหรือการฝกอบรมทุกประเภทที่ทํากับคนหมูมาก
ถาขาดวินัยเสยี แลว ก็เทากับเปนการลมเหลวทุกส่ิงทุกอยางโดยส้ินเชิง ลูกเสือท่ีมีระเบียบวินัย
เช่ือฟงปฏิบัติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา ยอมท่ีจะเปนพลเมืองดีในอนาคต ลูกเสือท่ีไดรับการ
ฝกอบรมอยางดีสามารถเปนผูนําได เพราะวาเปนคนที่รักษาสัตย ประพฤติตนตามกฎกติกา
เปน คนมีน้ําใจเมตตาอารี เสียสละ สิ่งเหลาน้ียอมติดตัวไปเปนนิสัยเกิดขึ้นในตัวเองตลอดเวลา
วินัยจึงเปนส่ิงจําเปนมากในกองลูกเสือ คนท่ีมีคุณภาพควรไดรับการฝกฝนใหมีระเบียบวินัย
ทําใหรูจักการทําตนเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของผูที่เปนหัวหนา หรือทําตนในฐานะเปน
ผูบังคับบัญชาเปนแบบอยางที่ดีได ซึ่งจะนําประโยชนมาใหตน ท้ังในดานสวนตัวและหนาที่
การงาน วนิ ัยมีความจําเปนอยางยิ่งที่สรางและสงเสริม เยาวชนจะไดเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ
ตั้งแตยังอยูในเยาววัยเม่ือเติบใหญจะเปนกําลังสําคัญชวยพัฒนาประเทศชาติใหเจริญรุงเรือง
สืบไป
1.1 ความหมายของวนิ ยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอย
วนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรยี บรอย หมายถึง การกระทาํ หรอื งดเวนการกระทํา
ตามระเบยี บ กฎเกณฑ ขอบงั คบั สาํ หรับควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคม
ใหเรียบรอยดีงาม เปนแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อการอยูรวมกันดวยความสุขสบาย
ไมกระทบกระทั่งซึง่ กันและกนั วนิ ยั และความเปนระเบียบเรียบรอยชวยใหคนในสังคมหางไกล
ความชัว่ ทั้งหลาย สามารถอยรู วมกันเปนหมูเหลา ถาขาดวินัยและความเปนระเบียบเรียบรอย
ตางคนตางทําตามอําเภอใจ ความขัดแยงและลักลั่นก็จะเกิดข้ึน ยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเร่ือง
ไมมีความสงบสุข การงานทที่ าํ กจ็ ะเสยี ผล
วินัย มี 2 ประการ
ก. วินยั ภายนอก ซ่งึ เกิดจากการใหกระทําหรอื งดเวน การกระทําในการฝกอบรม
ตองเขมงวดตามลักษณะ หรือกิจการแตละประเภท เพื่อที่จะใหปฏิบัติจนเกิดลักษณะนิสัย
วินัยภายนอกไมยั่งยืนอยูไดนาน หากวาผูท่ีไมพอใจก็อาจละเลย หรือวางเฉย เมื่อไมมีการ
กําหนดไว หรือไมมีใครรูเ หน็
ข. วินัยภายใน เปนท่ีพึงประสงคเพราะเปนวินัยท่ีจะปฏิบัติดวยความเต็มใจ
เพราะเห็นคณุ คาการฝก อบรมจงึ ตองเนนหนกั ในการสรา งวินยั ภายในดว ยการกวดขันการประพฤติ
ปฏบิ ัติอยา งจริงจงั และตอ เน่อื ง วินัยภายในเปนสง่ิ ที่ตองการใหมอี ยูในทุกตวั ตน
1.2 ความสําคญั ของวินยั และความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย
ความสาํ คญั ของวนิ ัยในตนเองมอี ยา งนอย 2 ประการ
ประการที่หน่ึง เหตุผลเกี่ยวกับประโยชนสวนตัวแตละบุคคล ในเร่ืองการ
แสวงหาความรู เน่ืองจากปจจุบันมีอยูมากมาย ไมอาจบรรจุไวในหลักสูตรไดหมดแตละคน
จึงควรแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกเหนือจากท่ีปรากฏในหลักสูตรของสถานศึกษา ฉะนั้น
79
จึงจําเปนตองฝกใหมีการควบคุมตนเอง มีความเฉลียวฉลาด และมีความเปนอิสระ เพ่ือจะได
แสวงหาความรเู พิ่มเติมใหมากท่สี ดุ
ประการที่สอง ชุมชนจะเจริญและมีความมั่นคงย่ังยืนตอไปได จะตองอาศัย
พลเมืองแตละคนทําความดีและเสยี สละใหแกช ุมชน ไมแสวงหาประโยชนสว นตวั เทา นัน้
ลักษณะของผมู ีวินยั ในตนเอง
พฤตกิ รรมของผมู ีวนิ ยั ในตนเอง มดี งั นี้
1) มคี วามเชอ่ื อํานาจภายในตนเอง
2) มคี วามเปนผนู ํา
3) มีความรบั ผดิ ชอบ
4) ตรงตอ เวลา
5) เคารพตอ ระเบียบกฎเกณฑท ั้งตอหนาและลบั หลงั ผูอ น่ื
6) มคี วามซือ่ สตั ยส ุจรติ
7) รจู กั หนา ที่และกระทําตามหนาท่ีเปนอยางดี
8) รจู ักเสียสละ
9) มีความอดทน
10) มีความตั้งใจเพยี รพยายาม
11) ยอมรบั ผลการกระทําของตน
กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 วินัยและความเปนระเบยี บเรียบรอ ย
(ใหผูเรียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 1 ที่สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
เรื่องที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวินัยและขาดความเปน ระเบียบเรียบรอ ย
การท่ีบุคคลขาดวนิ ยั และความเปนระเบียบเรียบรอยในตนเองมีผลทําใหขาดวินัย
ความเปนระเบียบเรียบรอยทางสังคมไปดวยวินัยในตนเองเปนพ้ืนฐานของการควบคุมตัวเอง
ใหมีวินัยทางสังคมการมีวินัยในตนเองจึงเปนสิ่งที่ควรไดรับการสงเสริมเพื่อเปนพื้นฐานของ
การควบคุมตนเองซ่ึงจะนําไปสูการสรางวินัยทางสังคม การมีวินัยจึงถือเปนพ้ืนฐานในการ
ดําเนินกิจกรรมในสังคมและการรวมกันอยูของกลุมการปลูกฝงวินัยจะทําใหบุคคลยอมรับ
กฎเกณฑท่ีสังคมกําหนดและวินัยยังเปนวัฒนธรรมทางสังคมซ่ึงจะทําใหเด็กเรียนรูพฤติกรรม
ที่สังคมยอมรับทําใหพัฒนาตนเองสูความเปนผูใหญที่สามารถควบคุมตนเองไดมีมโนธรรมที่ดี
และมีความมนั่ คงทางอารมณ ดว ยเหตุนีก้ ารปลูกฝง ความมีวนิ ัยในตนเองใหแกคนในชาติเพื่อสราง
ความเจริญรุงเรืองแกบานเมืองน้ันควรเริ่มตนที่เยาวชนโดยใหประพฤติและฝกฝนจนเปนนิสัย
เพื่อจะไดเปน ผูใหญท ีม่ ีวินัยในอนาคต
80
วินัยที่ดีเกิดจากความรักความเล่ือมใสศรัทธา เด็ก ๆ ยอมเชื่อฟงและเคารพ
เล่อื มใสผทู ีฉ่ ลาดกวาตน มีอายมุ ากกวา ตน รูปรางใหญก วาตน ผกู ํากับลกู เสือจงึ เปน กญุ แจดอก
สําคญั ในการสรา งสมวนิ ยั ใหเ กิดขนึ้ ในตัวเดก็ ผกู ํากับลกู เสอื จงึ ตอ งวางตัวใหด ที สี่ ดุ มีบุคลิกภาพ
ที่นานับถือ ย้ิมแยมแจมใสพูดจากชัดถอยชัดคํา เด็กก็จะเกิดความสนใจ รักใครนับถือนิยม
ชมชอบและเลือ่ มใสศรทั ธา เด็กกจ็ ะใหความรวมมอื ในอันที่จะปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑตาง ๆ ซ่ึงผล
ที่สุด การปฏิบัติตามคําสั่งหรือปฏิบัติตัวใหอยูในระเบียบวินัยของลูกเสือก็จะดูเปนของงาย
และผูกาํ กบั ลูกเสอื ก็ควรจะกวดขนั ในเร่ืองวินัย และการเชื่อฟงปฏิบัติตามคําสั่งดวยความรวดเร็ว
และเครง ครดั แมใ นเรื่องเลก็ ๆ นอย ก็ไมค วรปลอยเลยไป
กองลกู เสอื ใดมรี ะเบยี บวนิ ัยท่ีดีแลว กองลูกเสือน้ันก็จะมีความสุข ประสบผลสําเร็จ
ในกิจการตาง ๆ ไดโ ดยงาย
สง่ิ ท่จี ะชวยทาํ ใหลกู เสือไดมรี ะเบียบวนิ ัยทีด่ ี ไดแก
1. การใชค ําสงั่ ใหป ฏบิ ัตอิ ยา งงาย ๆ เปนคําสง่ั ตรง ๆ มีจุดหมายที่แนนอน ไมใช
เปนคําสัง่ ทเี่ กิดจากการขมขู
2. พธิ กี ารตา ง ๆ เพราะในพิธีการตา ง ๆ ทําใหล ูกเสืออยใู นอาการสาํ รวม
3. การตรวจในการเปดประชุมกองและปดประชุมกอง หรือการตรวจการอยู
คา ยพกั แรมในตอนเชา เปนการชวยใหลูกเสือไดรักษามาตรฐานและระเบียบวินัยของกองลูกเสือ
ใหมีระดบั ดีขน้ึ
4. เครอื่ งแบบมคี วามหมายสําหรับชอื่ เสียงของขบวนการกองลกู เสอื บคุ คลภายนอก
เขาจะมองและตัดสินเราดวยสิ่งที่เขาเห็นเทาน้ัน ผูแตงเคร่ืองแบบจะตองสํารวมกิริยาวาจา
ไมกระทาํ การใดทจี่ ะทําใหเ ส่ือมเสยี
5. การอยคู า ยพักแรมตองทาํ งานรวมกนั อยา งมีประสิทธภิ าพ
6. การเดินทางไกล ไดรับความเหนด็ เหนือ่ ย ตองอดทน เห็นใจซึง่ กนั และกัน
7. ระเบยี บแถว เปนวิธกี ารฝก ท่ีจะตอ งใหปฏิบตั ิตามคาํ บอกคาํ สั่ง
8. สง่ิ แวดลอ มทมี่ องเหน็ เปน แบบอยางท่ีจะกระทาํ ตาม
9. ตัวอยางท่ีดีของผูกํากับเปนเรื่องสําคัญที่สุดท่ีลูกเสือจะเกิดศรัทธายึดถือ
เปนแบบอยาง
กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย และขาดความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย
(ใหผ ูเรียนไปทํากจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
81
เร่ืองที่ 3 แนวทางการเสรมิ สรา งวนิ ัยและความเปน ระเบยี บเรียบรอ ย
การจะพัฒนาวินัยในตนเองจะตองเริ่มตนตั้งแตเด็กในวัยทารกและใหแรงจูงใจ
ทางจรยิ ธรรมแกเด็กทีโ่ ตแลว การพัฒนาวินัยในตนเองจะตอ งอาศัยความรวมมือจากสถาบันตาง ๆ
ท่แี วดลอ มตัวเดก็ และตอ งใชว ธิ กี ารกระตุนหรอื พฒั นาวินัยในตนเองของเดก็ อยา งเหมาะสมดวย
วิธีการพฒั นาวนิ ัยในตนเอง
1. สรางวนิ ัยดวยการทาํ ใหเ ปน พฤตกิ รรมเคยชิน
สรางวินัยดวยการทําใหเปนพฤติกรรมเคยชิน วิธีฝกวินัยท่ีดีท่ีสุดตองอาศัย
ธรรมชาติของมนุษยท่ีดําเนินชีวิตกันดวยความเคยชินเปนสวนใหญ แลวก็ยึดม่ันในความ
พึงพอใจในพฤติกรรมที่เคยชินนั้น การฝกคนตองใชความสามารถและตองมีระบบตอง
สอดคลอ งกับธรรมชาติใหเกดิ พฤติกรรมเคยชนิ ถอื วา ตองสรางวินัยใหเ ปนพฤติกรรมเคยชนิ
2. การสรา งวินัยโดยใชปจ จัยอนื่ ชวยเสริม
วินัยจะทําใหเกิดความสุขและประพฤติปฏิบัติดวยความพึงพอใจ โดยใช
ปจจัยอยางอื่นมาชวยอีกก็ได เชน มีกัลยาณมิตร วินัยก็เกิดไดงาย มีศรัทธาและความรักเปน
องคประกอบเสริม ในการสรางวินยั จากพฤติกรรมท่ีเคยชนิ คอื
2.1 เปนตนแบบทด่ี ขี องพฤติกรรม (ศีล)
2.2 มคี วามรัก ทาํ ใหเกดิ ความอบอนุ มคี วามเปนกันเองพรอ มศรทั ธาและ
ความสขุ (จติ ใจ)
2.3 มเี หตุมีผล เขาใจเหตุผลและเหน็ คณุ คา ในสง่ิ ที่ทํา (ปญ ญา)
2.4 สรางวินัยดวยแรงหนุนของสภาพจิตใจ คือ การตั้งเปนอุดมคติในจิตใจ
ทําใหใจมีความฝกใฝมุงมั่นอยางแรง มีเปาหมายอยางแรง เปนอุดมคติ ใฝตั้งใจจริงปฏิบัติตาม
วนิ ัยมีความภูมใิ จรกั ษาวินยั
3. สรางวนิ ัยโดยใชกฎเกณฑบงั คับ
การสรางวินัยโดยใชกฎหมาย หรือกฎเกณฑบังคับควบคุมโดยมีการลงโทษ
วธิ ีนี้กส็ รางวินัยได บางครั้งไดผลแตเมื่อกฎเกณฑน้ันไมบีบบังคับรุนแรงเกินไป และมีชวงเวลา
ยาวพอทจ่ี ะใหคนผานเขาสูความเคยชินจนเขาไมรูตัว พอกลายเปนความเคยชินไปแลวก็เขาสู
กฎธรรมชาติตามวธิ ีแรก คือเปนวินัยพ้ืนฐานที่เกิดขึ้นโดยการสรางพฤติกรรมเคยชินมันกลายเปน
เรื่องของความเคยชินตามธรรมชาติที่มารับทอดจากการใชอํานาจบีบบังคับ อันน้ันตางหาก
ทไ่ี ดผล
4. การเสรมิ สรา งวินยั ในตนเอง
วนิ ัยนนั้ เกย่ี วขอ งกับความสมั พันธร ะหวา งมนุษยกบั มนษุ ย และความสัมพันธ
ระหวา งมนุษยกับธรรมชาติ สังคมมนุษยจําเปนตองมีวินัยเพื่อทําใหเกิดระบบระเบียบ ซึ่งเปน
ปจ จัยสําคญั ในการสรางความสงบสุข และความเจริญกาวหนาแกชีวิตและสังคม วินัยน้ันกอน
อ่นื ตอ งเริ่มจากตนเองกอ นเปนอันดับแรก
82
วินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณและ
พฤติกรรม โดยเกิดจากความรูสึกมองเห็นคุณคาในการปฏิบัติดวยตนเอง มิไดเกิดจากอิทธิพล
ภายนอก เชน ระเบยี บ คาํ ส่งั การบังคบั ถึงแมจ ะมีอุปสรรคก็ยงั ไมเ ปลี่ยนพฤติกรรมนั้น
กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 3 แนวทางการเสริมสรางวินยั และความเปน ระเบียบเรียบรอย
(ใหผูเรยี นไปทํากิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 ทส่ี มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
เรื่องท่ี 4 ระบบหมูลูกเสอื
ระบบหมูลูกเสือเปนการเสริมสรางวินัยและความเปนระเบียบเรียบรอยในการ
ทํางาน และการปฏิบตั ิภารกิจของสมาชกิ ภายในหมู กอง กลุม เพ่ือความกาวหนาของสวนรวม
ดวยความเต็มใจและพอใจของสมาชกิ ทุกคนนายหมูลูกเสือทุกคนจะดูแลสมาชิกภายในหมูของ
ตนเอง เปนการกระจายอํานาจ และแบง หนา ท่กี ันรบั ผดิ ชอบตามระบอบประชาธิปไตย
การจัดหนา ทภ่ี ายในหมลู กู เสอื
1. นายหมลู กู เสือ ทําหนา ทีเ่ ปนผนู ําของหมู ดูแลสมาชิกภายในหมู
2. รองนายหมลู กู เสือ ทาํ หนา ที่ชว ยนายหมู ชว ยดแู ลสมาชกิ ภายในหมู
3. พลาธิการ ทําหนาท่ีดูแลวัสดุ อุปกรณ บัญชีตาง ๆ และความเปน
ระเบียบเรียบรอ ย
4. คนครัว ทําหนาทแี่ มค รัว จัดทาํ เตา หลุมเปยก หลุมแหง ที่ลา ง
และควํา่ จาน
5. ผชู วยคนครวั ทําหนา ทชี่ วยแมค รวั ทกุ ประการ
6. คนหาฟน ทําหนา ท่จี ดั หาเชอ้ื เพลงิ หาฟน เก็บฟน ไมใ หเ ปย กฝน
7. คนหาน้าํ ทําหนา ที่จดั หาน้ํา สําหรับประกอบอาหาร น้ําด่ืม นํ้าใช
8. ผูช ว ยเหลือทัว่ ไป ทําหนา ที่ชว ยงานคนอ่นื ๆ พัฒนาท่พี ัก กําจัดขยะ
ทาํ ราวตากผา
(ถามี 8 คนขึ้นไป ใหเพม่ิ ผูชว ยคนหาฟน หาน้ําหรือตําแหนง อน่ื ๆ ตามความ
เหมาะสม)
ใหแ ตล ะคนรบั รบู ทบาทในการทํางานภายในหมู ใชระบบหมู ฝกและพัฒนาการ
เปน ผูนํา - ผูต าม รบั ฟงความคดิ เห็น และการยอมรบั ซ่ึงกันและกัน
กิจกรรมลกู เสือ มหี ลกั การสงเสรมิ ประชาธิปไตย โดยสมาชิกทุกคนสามารถพูด
สามารถแสดงออกไดเสมอ เชน การเลอื กเลนเกม เพลง การทําความดี การทํากิจกรรมที่นาสนใจ
เปน ตน
การประชุมนายหมู หมายถึง การประชุมนายหมูทุกหมู โดยมีหัวหนานายหมู
เปนประธานในทีป่ ระชมุ ใหน ายหมูน าํ มติหรอื ขอตกลงจากท่ปี ระชุมไปแจง แกล กู หมู
83
การประชุมลูกหมู หมายถึง การประชุมภายในหมู โดยมีนายหมูเปนประธาน
ในทปี่ ระชมุ นายหมจู ะเปนผูกระตุนใหทุกคนพูดคุย เสนอความคิด แสดงเหตุผลในเรื่องตาง ๆ
เชน เสนอวา จะทํากจิ กรรมอะไร ไปทํากจิ กรรมที่ไหน ใครมีหนาทอ่ี ะไร เปน ตน
การพบหมู แตกตางจากการประชุมหมู เพราะจะนัดพบเฉพาะหมูของตนเอง
เพ่ือนดั หมายไปทํากิจกรรมเพอ่ื แสดงความสามารถ การพบกันของสมาชิกจะประสบความสําเร็จ
คอื การใหโอกาสทกุ คนเปน ผนู าํ
บทบาทหนา ทข่ี องนายหมแู ละรองนายหมู
บทบาทหนา ท่ีของนายหมูและรองนายหมู แตละหมูจะมีการเลือกนายหมูและ
รองนายหมู ตามระบอบประชาธิปไตย การเลือกต้ังนายหมูควรมีการสับเปลี่ยนใหสมาชิกคนอ่ืน
มโี อกาสเปน นายหมแู ละรองนายหมู เพอ่ื เปนการเปลี่ยนกันทํางาน และฝก ความรับผดิ ชอบ
ในฐานะผนู าํ บทบาทของนายหมแู ละรองนายหมู มีดังน้ี
1. บรหิ ารงานในหมู
2. ใหค าํ ปรึกษาแกสมาชกิ
3. เปน ผูนําในการประชุม
4. แบงงานใหส มาชกิ ทํา
5. เปน ตัวแทนในการประชมุ กับหมอู ่ืนๆ
6. แจงผลการประชุม
7. ชวยเหลือสมาชกิ
8. จดบันทกึ เหตุการณทสี่ าํ คญั ๆ ของหมู ศึกษาบทบาทการทําหนาท่ขี องนายหมู
ชว ยเหลือนายหมใู นการดูแลสมาชิก และปฏบิ ตั หิ นา ท่ีเม่ือนายหมูไ มอ ยู
ระบบหมูเปนการฝกใหสมาชิกไดรวมกันทํางานอยางเปนระบบ สรางวินัยและ
ความเปนระเบียบเรียบรอยโดยยึดหลักประชาธิปไตย มีนายหมูและรองนายหมูเปนผูนํา มีการ
ประสานงานกนั เปนอยางดที ัง้ ในหมขู องตนเองและหมูอ ื่นๆ มีการรวมแสดงความคิดเห็น การมี
สวนรว มในการบรหิ ารงานหมูตลอดจนการชวยเหลือเกือ้ กูลกนั
กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 4 ระบบหมลู กู เสือ
(ใหผ ูเรยี นไปทาํ กจิ กรรมทายเรือ่ งท่ี 4 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
84
เรอื่ งที่ 5 การพฒั นาภาวะผูนาํ - ผตู าม
ผูนาํ และภาวะผนู ํา หมายถึง บุคคลท่ีไดร ับการแตงต้ัง หรือไดรับการยกยองให
เปนผูตัดสินใจ และสามารถนําพาสมาชิกในกลุมรวมมือกันปฏิบัติภารกิจดวยความเต็มใจ
จรงิ ใจ เพอ่ื ใหภาระงานลุลว งไปดวยดี
ลักษณะของผนู าํ ทด่ี ี ประกอบดวย
1. มีนํ้าใจจะพฒั นามุงเปลย่ี นแปลงคุณภาพชีวติ ใหด ีขึน้
2. มคี วามเชอื่ ม่ันในตนเอง
3. เปน ผูที่รกั การทํางานรว มกับสมาชกิ ภายในหมูและกอง
4. เปน ผทู เี่ รียนรสู ่ิงใหม ๆ และยอมรับเอาแนวความคิดและเทคโนโลยี
ใหม ๆ มาใช
5. มบี คุ ลิกลักษณะของการเปนผูนาํ
6. มคี วามคิดริเริม่ สรา งสรรค มองเหน็ ความตอ งการของกลมุ
7. เปน ผูเ สียสละมงุ ทาํ ประโยชนตอสว นรวม
8. เปน ผูทีม่ ีความสามารถในการรวมกลุม
9. เปน ผทู ีม่ คี วามสามารถในการประสานงานกับหมูอ่ืน ๆ
10. เปนผูท ี่มคี วามสนใจตองาน
11. เปน ผูเขา ใจในขบวนการเปลย่ี นแปลง
12. เปนผทู มี่ ีมนษุ ยสมั พันธทด่ี ี
คณุ สมบตั ขิ องผนู าํ ทีด่ ี
ผนู ําทด่ี ีควรจะประกอบดว ยคณุ สมบัตทิ สี่ ําคัญ ดังน้ี
1. มีความรู การเปนผูนําน้ัน ความรูเปนสิ่งจําเปนที่สุด เพราะจะเปน
เครอื่ งมือชวยรักษาสถานการณต าง ๆ ไดเ ปน อยา งดี
2. มีความคิดริเริ่ม ความคิดริเริ่มคือความตองการท่ีจะปฏิบัติส่ิงใด
สิ่งหนง่ึ โดยไมตอ งมีคําสง่ั และแสดงขอ คดิ เหน็ ทีจ่ ะแกไขสิ่งใดสิง่ หน่ึงใหด ขี ึ้นหรอื เจริญข้ึน
3. มีความกลาหาญ ความกลาหาญคือลักษณะอาการที่ไมกลัวตออันตราย
ความลําบากหรือความเจ็บปวดใด ๆ โดยสามารถควบคุมความกลัวไวได ความกลาหาญนี้จะตองมี
ท้งั ทางกาย วาจา และจิตใจจงึ จะปฏิบัติเปนผูนาํ ที่ดไี ด
4. มีความเดด็ ขาด ความเด็ดขาดหรือความสามารถที่จะตัดสินใจหรือ
ตกลงใจไดท ันทีเมอ่ื ตกลงสง่ั การใด ๆ แลว จะสัง่ ไดอยางเด็ดขาด สน้ั และชดั เจน
5. มคี วามแนบเนียน ความแนบเนยี น คอื ความสามารถที่จะตอ งติดตอ
เกี่ยวของ หรือมคี วามสัมพันธก บั ผูอ ่ืน ดวยกิริยาอาการและวาจาที่ถูกตองเหมาะสม โดยไมทํา
ใหผูท่เี ราตดิ ตอ ดวยเกดิ ความกระดา งกระเด่อื งหรอื ไมพ อใจแกต นได
85
6. มีความยตุ ธิ รรม ความยตุ ิธรรมคอื การปฏิบัติตนใหถูกตองตามความ
ยตุ ิธรรมและศีลธรรม วางตนเปนกลางไมเอนเอียง ในการท่ีจะกอใหเกิดประโยชนหรือโทษตอ
ผูหน่งึ ผูใดความยตุ ิธรรมนคี้ อื ความเทยี่ งตรงนัน่ เองและไมเกย่ี วกับความยุติธรรมทางกฎหมาย
7. ทาทาง ทาทาง คือ การแสดงออก ซ่ึงรูปรางลักษณะของรางกายท่ี
ตอ งประสงค มกี ริ ิยาอาการและเครอื่ งแตง กายท่ถี ูกตอ งเหมาะสม
8. มีความอดทน ความอดทน คือ ความสามารถของรางกายและ
ความคิดจิตใจที่อดทนตอการปฏิบัติกิจการหรือหนาที่อยางใดอยางหนึ่งที่สมเหตุสมผลหรือ
หนาที่อยางใดอยางหน่ึงที่สมเหตุสมผลใหตอเนื่องและบรรลุผลสําเร็จ ความอดทนน้ีเปนพลัง
อนั หน่งึ ที่จะผลักดนั งานของเราไปสจู ุดหมายปลายทางไดอยา งแทจริง
9. มีความกระตือรือรน ความกระตือรือรน คือ การมีจิตใจจดจอที่ดี
และมีความเอาใจใสตอหนาที่หรือกิจการที่จะตองปฏิบัติอยูเสมอซ่ึงเปนคุณสมบัติที่จะใหเรา
ตดิ ตอกับบุคคลอน่ื ไดง า ย นอกจากน้ีความกระตอื รอื รนยงั ชว ยใหกจิ การตา ง ๆ ของหนวยสําเร็จ
ลลุ ว งไปดว ยดี
10. มคี วามไมเ ห็นแกตวั ความไมเ ห็นแกตัว คือ การขจัดเสียซ่ึงความสุข
หรือผลประโยชนแหง ตน โดยทค่ี นอนื่ กลับเสียประโยชน ซึ่งก็หมายความวาเปนการขมขืนหรือ
บังคับ ความโลภ ความหลงและความอยากไดของตนเอง คนที่ไมเห็นแกตัวน้ันยอมเปนคนที่มี
ความซือ่ สัตย สจุ รติ ตรงไปตรงมาและไมทําลายผูอ น่ื
11. มีความตืน่ ตวั ความต่ืนตัว คือ ความระมัดระวัง ความสุขุมรอบคอบ
ความไมป ระมาท ไมยดื ยาด ทําอะไรทันทที ันควันและมคี วามวองไวปราดเปรียวอยเู สมอ
12. มคี วามชงั่ ใจ (ดลุ พินจิ ) คือ อํานาจแหงความคิดที่สามารถพิจารณา
ส่งิ ตา ง ๆ หรือเหตตุ าง ๆ อยา งถูกตอ ง โดยช่งั นํา้ หนกั เหตุผลนน้ั ๆ และสรปุ เปนขอ ๆ ลงความเห็น
หรือขอตกลงใจอนั เฉยี บแหลม
13. มีความสงบเสงี่ยม ความสงบเสง่ียม คือ ความไมห ยิ่งยโส จองหอง
และไมม ีความภูมิใจในสง่ิ ท่ไี รเ หตุผล
14. มคี วามเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ คือ คุณสมบัติประจําตัว
อันเปน แบบอยางของมนษุ ย คอื ตองประกอบดวยความเมตตาปราณี ความกรุณา ความสงสาร
ความเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนในลักษณะที่ไมเสียผลประโยชนของสวนรวม อันเปนการแบงเบา
ความรสู ึกของผทู อ่ี ยรู ว มกัน
15. มีความจงรักภักดี ความจงรักภักดี คือ สภาพหรือคุณสมบัติ
ประจาํ ตัวของการเปนบุคคลทีซ่ ่ือสัตยสุจริตและซ่อื ตรงตอผอู น่ื ตอหนา ที่ ตอรัฐน่ันเอง การเปน
ผนู ํานน้ั จาํ เปน ตอ งมคี วามจงรักภกั ดีตอ หมูคณะหรือสว นรวม ท้งั นีเ้ พือ่ ความไววางใจ
86
16. มีการสังคมที่ดี การสังคมท่ีดี คือ การมีบุคลิกภาพที่จะเขาสังคม
ไดอยางถูกตอง หมายความวา การที่เราเปนผูนําที่ดีน้ันจะตองปรับตัวเองใหคบคาสมาคมกับ
เพ่อื นมนษุ ยด วยกันอยา งถกู ตอ งแนบเนียน และตองพยายามศึกษาปรับตนใหเขากับสังคมตาง ๆ
ทเี่ ราจะไปติดตอใหไ ดและถูกตองอกี ดวย
17. มกี ารบังคับตนเอง การบังคับตนเอง คือ การบังคับจิตใจโดยผาน
ทางอารมณซ ่งึ รับมาจากประสาทท้ัง 5 เพื่อมิใหแสดงออกซึง่ กริ ิยาอาการตาง ๆ ที่ไมเหมาะสมแก
ผูอ่ืนไดการบังคับตนเองน้ันนับวาเปนส่ิงสําคัญมากของผูนํา เพราะตลอดเวลาผูนํามักจะเปน
เปาสายตาของผรู ว มงานอยเู สมอ
ผตู าม และภาวะผตู าม
ผตู าม หมายถงึ ผูปฏิบัติงานในองคการที่มีหนาที่และความรับผิดชอบท่ีจะตอง
รับคาํ ส่ังจากผูบ ังคับบัญชามาปฏบิ ตั ใิ หสาํ เรจ็ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค
คุณลกั ษณะพฤติกรรมของผตู าม 5 แบบ มีดังน้ี
1) ผตู ามแบบหา งเหิน ผตู ามแบบน้ีเปน คนเฉอ่ื ยชาแตม ีความเปนอิสระและ
มคี วามคดิ สรา งสรรคส งู ผูตามแบบหางเหินสว นมากเปนผูตามทมี่ ีประสทิ ธผิ ล มีประสบการณ
และผานอุปสรรคมากอ น
2) ผตู ามแบบปรบั ตาม ผตู ามแบบน้ี เรยี กวา ผูตามแบบครับผม เปนผูทม่ี ี
ความกระตือรอื รน ในการทาํ งาน แตขาดความคดิ สรางสรรค
3) ผูตามแบบเอาตัวรอด ผูต ามแบบน้ีจะเลือกใชลักษณะผตู ามแบบใดข้ึนอยูกบั
สถานการณทจี่ ะเออ้ื ประโยชนก ับตวั เองใหม ากทส่ี ดุ และมคี วามเสยี่ งนอ ยทส่ี ดุ
4) ผตู ามแบบเฉื่อยชา ผูตามแบบนีช้ อบพงึ่ พาผูอืน่ ขาดความอิสระ ไมมี
ความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรค
5) ผตู ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล ผตู ามแบบน้ีเปน ผูที่ทีความต้ังใจในการปฏิบัติงาน
สูงมคี วามสามารถในการบริหารจัดการงานไดดวยตนเอง
กจิ กรรมทายเรื่องท่ี 5 การพฒั นาภาวะผูนาํ – ผตู าม
(ใหผูเ รียนไปทํากิจกรรมทายเร่ืองที่ 5 ที่สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชดุ วิชา)
87
หนวยการเรียนรทู ่ี 6
ลูกเสือ กศน.กบั การพฒั นา
สาระสําคญั
การลูกเสือไทย ไดถือกําเนิดโดยองคพระมหากษัตริยไทย ในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั รัชกาลท่ี 6 ซึ่งมคี วามเจริญรุดหนา อยางมีคุณคา และ
สมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบาย
ดา นการศึกษากบั ความมน่ั คง มีพระราชประสงคเ ห็นคนไทยมวี ินัย รูหนาที่ มีความรับผิดชอบ สราง
วนิ ัยโดยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ดังน้ัน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงาน กศน.
ซึง่ เปนหนวยงานหลกั ในการสงเสรมิ การศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน มีความตระหนักและ
เหน็ คณุ คาของกิจการลกู เสือ ซึ่งเปนพระราชมรดกอันลํ้าคาย่ิงท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-
เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ไดพระราชทานไวใหแกปวงชนชาวไทย จึงไดนอมนํากิจการลูกเสือ
กระบวนการลูกเสอื รวมท้ังเนอ้ื หาความรูตา ง ๆ ทเ่ี ก่ียวของกบั การลกู เสือมาเปนหลักในการจัด
กิจกรรม สงเสริมประสบการณใหผูเรียน กศน. ในฐานะท่ีเปนลูกเสือ กศน. ใหมีทักษะชีวิต
สามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถนําอุดมการณ คําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสอื มาใชใ นชวี ิตประจําวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสงางามในการ
ดํารงตนใหเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะการใหบริการ และบําเพ็ญประโยชนตอชุมชน สังคม
และประเทศชาติ
ตัวช้ีวดั
1. อธบิ ายความเปนมา และความสําคัญของลกู เสือ กศน.
2. อธิบายลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา
3. ระบบุ ทบาทหนา ท่ขี องลกู เสือ กศน. ทมี่ ตี อตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสังคม
4. ระบุบทบาทหนา ที่ของลูกเสือ กศน. ทมี่ ตี อ สถาบันหลักของชาติ
ขอบขา ยเนอื้ หา
เรื่องท่ี 1 ลกู เสอื กศน.
1.1 ความเปนมาของลกู เสอื กศน.
1.2 ความสําคัญของลกู เสอื กศน.
เรอ่ื งที่ 2 ลูกเสือ กศน. กบั การพฒั นา
เรือ่ งที่ 3 บทบาทหนา ท่ีของลูกเสือ กศน. ท่มี ีตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และสงั คม
เรือ่ งท่ี 4 บทบาทหนา ท่ีของลกู เสือ กศน. ท่มี ีตอสถาบนั หลักของชาติ