The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by goi.porntip, 2021-01-04 03:37:26

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

ม.ปลาย สค32035 ลูกเสือ กศน.

138

ขน้ั ท่ี 3 นําบวงจากขั้นที่ 2 ข. สวมลงในเสาแลวดึงปลายเชือกจัดเง่อื นใหแ นน

ประโยชน
(1) ใชผูกเชือกกับเสาหรือสิ่งอื่น ๆ จะใหความปลอดภัยมาก ถาผูกกลาง ๆ
ของเชือก ถาใชป ลายเชือกผูกอาจไมแ นน กระตกุ บอ ย ๆ จะหลดุ ปมเชือกจะคลาย
(2) ใชท ําบันไดเชอื ก บันไดลงิ
(3) ใชใ นการผูกเงอ่ื นตาง ๆ ทผ่ี ูกกบั หลักหรือวัตถุ
(4) ใชในการผกู เงอ่ื นกระหวดั ไม
(5) ใชในการผูกเงือ่ นแนน เชน ผกู ประกบ กากบาท
(6) ใชใ นการผูกปากถุงขยะ
6) เง่ือนประมง
ข้ันท่ี 1 ใหปลายเชอื กซอ นกันดงั รปู

ข้นั ท่ี 2 ผกู ปลายเชือก ก. รอบตวั เชอื ก A ดวยผูกขัดช้นั เดยี วธรรมดา

139

ขนั้ ที่ 3 ผูกปลายเชือก ข. รอบตวั เชอื ก B
ข้นั ที่ 4 ดงึ เสนเชอื ก A , B ใหปมเงื่อนเขา ไปชนกัน

ประโยชน
(1) ใชต อเชอื กทมี่ ีขนาดเล็ก (gut) หรือดา ยเบ็ด (fishing line) ตอ เอ็น (leader)
(2) ใชตอเชือก 2 เสนที่มีขนาดเดยี วกัน
(3) ผูกคอขวดแยม ใชส ําหรบั เปนท่ีถือหว้ิ และผูกคอขวดตา ง ๆ ท่ปี ากขวดมีขอบ
(4) ใชล ากจงู ตอเชอื กขนาดใหญใชลากจูง
(5) ใชตอ เชือกดายทอ สายเบด็ ใชตอ เชอื กกันเปนเกลยี ว
(6) ผกู สายไฟทาํ กบั ระเบดิ

7) เงอื่ นผกู ซุง
ขนั้ ที่ 1 สอดเชือกใหคลอ งรอบตนซงุ หรือเสา

140

ขน้ั ที่ 2 งอปลายเชอื กคลองตัวเชือก

ขน้ั ท่ี 3 พันปลายเชือกรอบเสนตัวเอง 3 – 5 รอบ ดงึ ตวั เชอื ก A ใหเ ง่ือนแนน

ผูกกอนหนิ ประโยชน
(1) ใชผูกกบั วัตถทุ อ นยาว ๆ เชน ดันซุง วัตถุทรงกระบอก เสา เพื่อการลากโยง

(2) ใชผูกทแยง
(3) ใชผ กู สตั ว เรือ แพ ไวก บั ทา หรือเสา
(4) เปนเชอื กแกงาย เมอ่ื เชอื กหยอน

8) เงอื่ นผกู รั้ง
ขน้ั ท่ี 1 นําเชือกคลองกบั หลงั เสาหรือบวง
ข้นั ท่ี 2 ใชป ลายเชือกพนั เชอื กเสน ยาว โดยพันปลายเกลยี วประมาณ 3 - 4 เกลยี ว

พนั ลงมาทางดา นเปน หว ง
ขั้นท่ี 3 ดงึ ปลายเชือกขนึ้ ไปดา นบน แลวพันกบั เชอื กเสน ยาวดานบนเพ่อื กนั ไมใ ห

เกลยี วเชอื กหลดุ

141

ประโยชน
ใชผกู สายเตน็ ท ยึดเสาธงเพื่อกันลม ใชร ง้ั ตนไมเ ปนเง่ือนเล่ือนใหตึงและหยอ นได
9) เงอื่ นปมตาไก
วธิ ีผกู เอาตวั เชอื กทําเปน บวงทับปลาย แลวออมเชอื ก a ออ มออกมาทับบวง
สอดปลายเขาในบวง ดงึ ปลาย a จะเกดิ ปม

ประโยชน
(1) ใชผกู ปลายเชอื กใหเปน ปม
(2) ใชผ กู แทนการพันหัวเชอื กชัว่ คราว
การผูกแนน มี 3 ประเภท คือ
1. ผูกประกบ (Sheer Lashing)
2. ผูกทแยง (Diagonal Lashing)
3. ผูกกากบาท (Square Lashing)

142

1. การผกู ประกบ (Sheer Lashing) มหี ลายชนิด เชน ผูกประกบสอง ผูกประกบสาม ผูกประกบส่ี
1.1 ผูกประกบ 2 ใชส ําหรบั ตอ ไม หรอื เสา 2 ตนเขาดว ยกนั

วธิ ผี ูก

โดยเอาไมทีจ่ ะตอ มาวางซอนขนานกันตรงปลาย

ทจ่ี ะตอ การวางซอ นตองซอนกันประมาณ 1 ของความยาว
4
ของไมหรือเสา เอาเชือกผูกตะกรุดเบ็ดกับไมท่ีเปนหลัก

หรืออันใดอันหนึ่ง แลวเอาปลายเชือกบิดพันกัน

(แตงงานกัน) แลวพันรอบไมท้ัง 2 อัน ใหเชือกเรียงกัน

ความหนาของเชือกที่พันมีขนาดกวางเทากับความกวาง

ของไม 2 อนั รวมกัน เอาปลายเชอื กพันหกั คอไก (พันรอบ

เสนเชือกระหวางไม 2 - 3 รอบ ดึงใหแนน แลวผูก

ตะกรดุ เบ็ดบนไมที่ตอหรือบนตนไมอีกตนหนึ่งที่ไมใชอัน

เรม่ิ ตน ผูก)

ประโยชน
(1) ใชต อไมห ลาย ๆ ทอ นเขา ดว ยกนั ใหยาว หรอื ใชมดั ไมเ ขาดวยกัน
(2) ตอความยาวของไมเพื่องานกอ สรา ง

143

1.2 ผกู ประกบ 3 (Tripod Lashing) มี 2 วิธี
1) วธิ ีท่ี 1

วธิ ผี กู
ผูกตะกรดุ เบ็ดทเ่ี สาอันกลาง เอาปลายเชือกบิดควั่นเขาดวยกันแลวพันรอบเสา
ทั้ง 3 ตน ใหพ ันรอบเสาหรือหลัก มีความกวางของเชือกพันอยางนอยเทากับเสนผาศูนยกลาง
ของเสาหรือหลักแลว ลงทา ยดว ยผกู ตะกรดุ เบ็ดท่ีเสาอันรมิ กอ นผกู ตะกรดุ เบด็ หักคอไก รัดเชือก
ระหวางเสาหรือไมหลักใหแ นน เสยี กอ น
2) วิธที ี่ 2
วิธผี ูก
โดยวิธีพันรอบเสาสลับเปนเลข 8 โดยเร่ิมผูกตะกรุดเบ็ดที่เสาตนริมใด
รมิ หน่ึง แลว เอาปลายเชือกพันแตงงานกัน โดยเอาเชือกพันรอบสามทั้ง 3 ตน เม่ือพันไดกวางพอ
หกั คอไกร ะหวางเสารัดจนแนนดแี ลว จึงผูกเงือ่ นตะกรดุ เบ็ดทหี่ ลกั ตน รมิ อีกตนหน่ึงคนละตนกับ
ตนแรก

ประโยชนของผกู ประกบ
(1) ใชตอ เสา หรอื ตอไมใ หยาว
(2) ทําเสาธงลอย
(3) ตอประกอบ 3 เพ่อื ทําขาตัง้

144

1.3 การผกู ประกบสามแบบพนั หัวเชอื ก (Sail maker’s Lashing)
ผูกประกบสามแบบพันหัวเชือกกนั ลุย จะผกู ประกบ 4 ก็ได

ประโยชน
(1) ทําขาตงั้ วางอา งนํา้ ลางมือลางหนา
(2) ใชทาํ สามเสา ในงานกอสราง

2. ผกู ทแยง (Diagonal Lashing)
2.1 ผูกทแยง

145

วธิ ีผกู
เอาเชือกพันรอบไมเสาทงั้ 2 ตน ตรงระหวา งมุมตรงขาม ดวยเงื่อนผูกซุง เอาปลายเชือก
บิดพันกบั ตัวเชือกแลวพนั รอบไมเ สาทงั้ 2 ตน ตามมมุ ทแยงนน้ั (มุมตรงขามคแู รก) 3 รอบ แลวพัน
เปล่ียนมุมตรงขามคูท่ี 2 อีก 3 รอบ แลวพันหักคอไก (พันรอบเชือกระหวางไมเสา) สัก 2 - 3 รอบ
แลว เอาปลายเชอื กผกู ตะกรุดเบด็ ทไี่ มเสาตน ใดตน หนงึ่ เกบ็ ปลายเชือกใหเ รียบรอ ย

ประโยชน
(1) ใชในงานกอ สราง
(2) ใชผ ูกเสาหรอื ไมค ้าํ ยนั เพื่อปอ งกนั เสาลม
2.2 ผกู ทแยงฟล ิปปน ส (Filipino Diagonal Lashing)

ชาวเกาะฟลิปปนสน ยิ มผกู วิธีนี้ ใชกอสรา งทอี่ ยอู าศยั ตามปาชนบทไกล ๆ
บานเรอื น มักทาํ ดวยไมไ ผ

146

วธิ ีผกู
ใชเชือกทบ 2 เอาบวงพันรอบหลักท้ัง 2 ตรงมุมตรงขามคูแรก (คูใดคูหน่ึง) เอา
เชอื กสอดเขาในบว ง (ดังรูปที่ 1) จับตัวเชือกดึงใหเ ชอื กรดั ไมท้ัง 2 ใหแ นน แลว ดึงเชือกยอนบวง
พนั รอบมุมตรงขาม 2 รอบ (เสนคู) แลวเปล่ียนพันมุมตรงขามคู 2 อีก 2 รอบ แยกปลายเชือก
ออกพนั หกั คอไก 2 รอบ ดงึ ใหแนน เอาปลายเชือกผูกเง่ือนพิรอด
ประโยชน เชน เดยี วกับผูกทแยงอื่น ๆ

3. ผูกกากบาท (Square Lashing)
3.1 ผกู กากบาท

วิธีผกู
เริ่มผูกตะกรุดเบ็ดที่ไมอันตั้ง (รูปท่ี 1) หรือจะผูกอันขวางกอนก็ได เอาปลาย
เชอื กท่ีผกู ตะกรุดเบ็ด บิดไขวกับตวั เชือก แลวดึงเชือกพันออมใตไมอันขวางทางซาย (ขวาก็ได)
ของไมอ ันต้ัง ออมไปทางหลังไมอันขวาง ดึงเชือกข้ึนขางบนทางซายของไมอันต้ัง ดึงเชือกออม
มาทางดา นหนาไมอนั ตัง้ ไปทางขวาบนของไมอ ันขวาง แลวออ มเชอื กไปทางดานหลังไมอันขวาง
ดึงเชือกลงใตไมอันขวางทางขวาไมอันต้ัง ดึงออกมาทางดานหนาไมอันต้ังพันออมมาทางซาย
แลวเร่ิมพันจากซายไปใหม ทุกรอบที่พันตองเรียงเชือกใหเรียบรอย พันเชือกวนไปสัก 3 รอบ
แลวหกั คอไก 2 - 3 รอบ เอาปลายเชือกผูกตะกรุดเบ็ดท่ีไมอันขวาง (ผูกตะกรุดเบ็ดคนละอันกับ
ขนึ้ ตนผกู )
ประโยชน
(1) ใชในการกอ สรา ง ทํานั่งรานทาสีอาคาร
(2) ใชในงานสรา งคอยพักแรม อุปกรณการพกั แรม
3.2 ผูกกากบาทแบบกิลเวลล (Gelwell Scaffold Lashing)
วธิ ผี กู
กากบาทแบบกลิ เวลล วิธีผูกเชนเดียวกับผูกกากบาท แตตองพันหักคอไกทุกรอบ
ทพี่ ัน พนั และหักคอไกป ระมาณ 3 รอบ แลว จบลงดว ยผูกเงอ่ื นตะกรุดเบด็ เชนเดียวกนั

147

ประโยชน
(1) ใชใ นการกอสรางน่งั ราน
(2) ใชใ นการสรา งคา ยพักแรม
(3) สรา งรั้ว ทําคอกสตั ว

3.3 กากบาทญีป่ นุ (Japanese Lashing)

วิธผี กู
เปน วิธผี กู กากบาทอกี วธิ ีหน่งึ เชนเดียวกับกากบาทของ Thurman แตผูกไดไวกวา
เน่อื งจากการฝกอบรมทําข้ึนที่กิลเวลล จึงตั้งช่ือตามสถานท่ีฝกอบรม เอาเชือกที่จะผูกทบเขา
ดว ยกนั คลองเสาตน ต้ัง (ดงั รปู 1) ดึงปลายเชือกท่ีทบกัน พันพาดบนเสาตนขวางทางดานบนซาย
ดึงออมลงมาใหเสาอันขวางทางซายของอันตั้ง ดึงออมข้ึนดานหนาเสาอันตั้ง ทําเชนเดียวกับ
Square Lashing แตพันพรอมกันทีละ 2 ชาย เม่ือพันไดความกวางตามตองการแลว แยก
ปลายเชือกออกจากกัน หกั คอไก 2 - 3 รอบ ผูกดว ยเงื่อนพริ อด (ดังรปู 6 , 7)
ประโยชน
(1) ใชในการกอ สรา ง
(2) ทํารา นทาสี
(3) สรา งคายพกั แรม ทําคอกสตั ว

148

3.4 กากบาทขนั ชะเนาะ (Tourniquet Lashing)
เรียกวา กากบาทไทย ก็ได เพราะการทําน่ังรานหรือผูกมัดไทยเรานิยมทําแบบน้ี

เพราะรวดเรว็ และแกไ ดไ ว
วิธีผกู
วางไมทาบเปน มมุ ฉาก เชน เดยี วกับผกู กากบาท เอาเชือกทําเปน บวงคลองทแยง

มุมกัน เอาไมเล็ก ๆ แข็งและเหนียวสอดเขาไปในบวง แลวหมุนไมอันเล็ก ขันเชือกใหบิดเปน
เกลยี วแบบขันชะเนาะจนเชอื กรัดไมท ้ัง 2 อันแนน หมนุ ไมอันเล็กที่ขันชะเนาะใหทาบขนานกับ
ไมอันต้งั หรืออันขวางก็ได แลวเอาเชือกเล็ก ๆ มัดตดิ กบั ไมเ สาอันใดอนั หนง่ึ

ประโยชน
(1) ใชทาํ น่งั ราน ในงานกอ สราง ทาสี
(2) ใชส รา งคา ยพกั ชว่ั คราว
วิธีการเก็บเชอื ก มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
ข้ันที่ 1 แบง เชือกออกเปน 8 สวน ใชมอื ซาย
จบั เชือกแลว ทบเชอื ก 3 คร้ัง โดยแตละคร้ังใหเชอื กยาว
เทา กับ 1 ใน 8 สวน เชอื กทเี่ หลอื อกี 5 ใน 8 สว น ปลอ ยไว
สาํ หรับพัน
ข้นั ท่ี 2 เอาเชอื กที่เหลือ 5 ใน 8 สว น
พนั รอบเชอื กทท่ี บไว โดยเร่ิมพันถดั จากปลายบว ง (ข)
เขามาประมาณ 1 นวิ้ เมอื่ พันจบเหลอื ปลายเชือก ใหสอด
ปลายเชอื กนนั้ เขา ในบว ง
ขนั้ ท่ี 3 ดึงบวง (ข) เพอ่ื ร้ังบวง (ก) ใหร ดั ปลายเชอื กทสี่ อดไวจ นแนน เปน อันเสร็จ

149

การรักษาเชือก มแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดังนี้
1) ระวงั รกั ษาเชอื กใหแหง เสมอ อยา ใหเปยกช้นื เพ่ือปองกันเชือ้ รา
2) การเก็บเชือก ควรขดเก็บเปนวง มัดใหเรียบรอย เก็บใหหางไกลจากมด แมลง

หนู หรือสตั วอ่นื ๆ และควรแขวนไว ไมค วรวางไวกับพ้นื
3) อยา ใหเ ชือกผูกร้งั เหน่ียว ยึดหรือลาก ฉดุ ของหนกั เกินกาํ ลังเชือก
4) ขณะใชงาน อยาใหเชือกลากครูด หรือเสียดสีกับของแข็ง จะทําใหเกลียว

ของเชือกสกึ กรอ นและขาดงาย
5) กอนเอาเชือกผูกมัดกับตนไม กิ่งไมหรือของแข็ง ควรเอากระสอบพันรอบ

ตน ไมหรือกงิ่ ไมก อน และเชอื กท่ีใชงานเสร็จแลว จะตอ งระวังรกั ษา ดังนี้
(1) เชือกท่ีเลอะโคลนเลนหรือถูกนํ้าเค็ม เมื่อเสร็จงานแลว ตองชําระลาง

ดวยนา้ํ จืดใหสะอาด แลวผึ่งใหแ หง ขดมดั เก็บไวก ับขอหรือบนทแ่ี ขวน
(2) เชือกลวดเมื่อเสร็จงาน ตองรีบทําความสะอาด ลางดวยนํ้าจืด เช็ดให

แหงแลวผึ่งแดดจนแหงสนิท แลวเอานํ้ามันจาระบี หรือยากันสนิมชโลมทาใหทั่ว จึงเก็บให
เรยี บรอย

(3) ปลายเชือกท่ีถูกตดั จะตอ งเอาเชือกเล็ก ๆ พันหัวเชือกเพ่ือปองกันเชือก
คลายเกลยี ว

กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 4 เง่อื นเชอื กและการผูกแนน
(ใหผเู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 4 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)

150

หนวยการเรยี นรทู ่ี 10
ความปลอดภัยในการเขา รวมกิจกรรมลูกเสอื

สาระสาํ คญั
ลูกเสือ มหี ลากหลายกิจกรรม ทง้ั กิจกรรมกลางแจง กิจกรรมผจญภัย กิจกรรม

บุกเบิก การสรางส่ิงตาง ๆ สําหรับการปน การขาม และตองใชทั้งกําลังกาย กําลังความคิด
เพ่อื แกป ญหา และตดั สนิ ใจ เพอื่ ใหต นเองและผูทีจ่ ะภายหลังมคี วามสะดวก สบาย และปลอดภยั

ลูกเสือ กศน. ควรฝกทักษะท่ีจําเปนในการปองกันภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้น
ตอตนเอง และผูอ ่ืน ท้งั นี้ รวมถึงการสรางความปลอดภยั ในการเขา รว มกิจกรรมตาง ๆ ในลักษณะ
ของการเตรยี มความพรอ มทั้งทางดา นรางกาย จิตใจ การต้ังสติ และการติดตอขอความชวยเหลือ
จากบุคคลอืน่ ที่มคี วามสามารถ เชน หนว ยกูช ีพ หรือหนว ยแพทยฉ ุกเฉิน

ตัวชีว้ ดั

1. บอกความหมาย ความสําคัญของความปลอดภยั ในการเขา รวมกจิ กรรมลูกเสือ
2. บอกหลักการ วิธีการเฝาระวังเบ้อื งตน ในการเขารว มกจิ กรรมลูกเสอื
3. อธิบายสถานการณหรอื โอกาสที่จะเกิดความไมปลอดภัยในการเขา รวม

กิจกรรมลกู เสอื

ขอบขายเนอ้ื หา
เร่อื งที่ 1 ความปลอดภัยในการเขา รว มกิจกรรมลูกเสอื
1.1 ความหมายของความปลอดภยั ในการเขา รวมกจิ กรรมลูกเสือ
1.2 ความสําคญั ของความปลอดภัยในการเขารวมกจิ กรรมลูกเสือ
เร่อื งที่ 2 หลักการ วิธีการในการเฝา ระวงั เบ้อื งตนในการเขารวมกจิ กรรมลกู เสอื
เรือ่ งที่ 3 การชวยเหลือเมอื่ เกิดเหตุความไมป ลอดภัยในการเขา รว มกจิ กรรมลูกเสอื
เรอื่ งท่ี 4 การปฏบิ ตั ิตนตามหลักความปลอดภัย

เวลาท่ใี ชในการศึกษา 6 ชัว่ โมง

สื่อการเรียนรู
1. ชุดวชิ าลูกเสอื กศน. รหัสรายวชิ า สค32035
2. สมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า
3. สื่อเสริมการเรยี นรอู ่ืน ๆ

151

เรอื่ งท่ี 1 ความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมลูกเสอื
1.1 ความหมายของความปลอดภัย
ความปลอดภัย หมายถึง การที่รางกายปราศจากอุบัติภัย อยูในสภาวะที่

ปราศจากอันตราย หรือสภาวะท่ีปราศจากการบาดเจ็บ เจ็บปวด เจ็บปวย จะมากหรือนอย
ขน้ึ อยูกับการปฏิบัตหิ รือการกระทําของตนเอง

1.2 ความสาํ คญั ของความปลอดภัย
ความปลอดภัยชวย ใหเกิดความระมัดระวังในการปองกันตนเอง และผูอ่ืนใหพน

จากภัยอันตราย หรือการเสยี ชีวติ โดยการใหค ําแนะนาํ ในการใชเครอ่ื งมือ เครอ่ื งใช และสิง่ อํานวย
ความสะดวกตา ง ๆ เพ่ือใหเกดิ ประโยชน และปลอดภยั

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 ความปลอดภัยในการเขา รวมกิจกรรมลกู เสอื
(ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทายเรื่องที่ 1 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

เรื่องท่ี 2 หลักการ วธิ ีการในการเฝา ระวงั เบ้อื งตน ในการเขา รว มกิจกรรมลูกเสือ
ลูกเสือตอ งตระหนกั ในความสาํ คญั และมจี ติ สํานกึ ตอ ความปลอดภัยในการรวม

กจิ กรรม ทอ่ี าจเกดิ อุบตั เิ หตุ เนื่องจาก
1. ขาดความรู ความเขา ใจ ในการรวมกจิ กรรมน้ัน ๆ ลกู เสือตองทําความเขาใจ

ในกฎ กตกิ า ของกจิ กรรมน้ัน ๆ อยา งถอ งแท และปฏบิ ตั ิตามอยา งเครง ครดั
2. ขาดประสบการณ และขาดความชาํ นาญ ลกู เสอื ตองขวนขวายในการหา

ประสบการณ และความรู ทักษะท่จี าํ เปน ตอ การรวมกิจกรรมนนั้ ๆ
3. ขาดความพรอมทางดานรา งกายและจิตใจ ลูกเสือตองเตรียมความพรอม

ทางดา นรางกายและจติ ใจกอน
4. ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ ความแข็งแรงของอุปกรณที่ใชในแตละ

กิจกรรม ลูกเสือตองตรวจสอบอุปกรณท่ีใชในแตละกิจกรรมใหมีสภาพแข็งแรง พรอมใชงาน
อยเู สมอ

การเฝา ระวงั เบ้อื งตน ในการเขา รวมกจิ กรรมลูกเสือเปน การฝก ตนเองของลูกเสือ
ใหป ลอดภยั จากอุบัติเหตุ และภัยอันตรายตาง ๆ เปนวิธีการในการเตรียมความพรอมของลูกเสือ
ทง้ั ดานรา งกายและจิตใจ ดงั น้ี

ดา นรางกาย ลกู เสอื ตองเตรยี มรางกายใหพรอม โดยออกกาํ ลงั กายอยางสมํา่ เสมอ
และหาเวลาพักผอนใหเ พยี งพอ เพือ่ สขุ ภาพและรา งกายจะไดแข็งแรงอยูตลอดเวลา

ดานจิตใจ ลูกเสือตองทําจิตใจใหสบาย ๆ สรางความรูสึกที่สนุกสนานพรอม
รวมกิจกรรมตาง ๆ มีความรางเริง พรอมรับการฝกฝน ปฏิบัติดวยตนเอง หรือชวยผูอื่น หาวิธี
หลีกเลยี่ งอุบัติเหตุ อันจะเกดิ ขึ้นไดในขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมลูกเสือ

152

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 2 หลกั การ วธิ กี ารในการเฝา ระวงั เบื้องตน ในการเขารวมกจิ กรรมลกู เสอื
(ใหผเู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองท่ี 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

เรอื่ งท่ี 3 การชวยเหลอื เมอ่ื เกดิ เหตคุ วามไมป ลอดภยั ในการเขา รว มกจิ กรรมลกู เสอื
การเขา รวมกจิ กรรมลกู เสือ อาจมีความไมปลอดภัยในดานรา งกายขึ้นได ลูกเสือ

จึงมคี วามจําเปน ตอ งเรียนรถู ึงสาเหตุท่ีทําใหเกิดความไมปลอดภยั ในการเขา รวมกิจกรรมลูกเสือ
และวิธีการสรา งความปลอดภยั ในการเขา รวมกจิ กรรมลกู เสือ ดังน้ี

1. สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเกิดความไมปลอดภัยในการเขารว มกิจกรรม มี 3 ประการ คือ
1.1 สาเหตุที่เกิดจากมนุษย มีดงั น้ี
1) ผูปฏิบัตกิ ิจกรรม มีความประมาทโดยคิดวาไมเปนไร ลองผิดลองถูก

หรือรเู ทาไมถ ึงการณ
2) ผูปฏบิ ตั กิ ิจกรรม มีความเชอื่ ใจ ไววางใจผูใดผูหนึ่งท่ีไดรับมอบหมาย

ใหด ําเนนิ การ และไมมีการตรวจสอบกอ น จึงอาจทาํ ใหมขี อผดิ พลาดได
3) ผปู ฏบิ ัติกจิ กรรมมีสขุ ภาพไมแ ขง็ แรง หรือมีโรคประจําตัว แตเขารวม

กจิ กรรมบางอยา งทอี่ าจทําใหเ กิดอบุ ตั ิเหตุได
4) ผูปฏิบัตกิ จิ กรรมแตง กายไมเหมาะสมในการเขารว มบางกจิ กรรม
5) ผูปฏบิ ัติกิจกรรมขาดการประเมินตนเอง หรือบางครั้งประเมินตนเอง

ผิดพลาด โดยคิดวาตนเองสามารถปฏิบัติกิจกรรมน้ันได และบางคร้ังผูปฏิบัติเกิดความ
คกึ คะนองกลน่ั แกลง และหยอกลอ กนั

6) ผปู ฏบิ ัติกิจกรรม ขาดระเบยี บวินัย ไมเชอื่ ฟงผูบงั คับบญั ชา
1.2 สาเหตทุ เ่ี กดิ จากเคร่อื งมอื หรืออุปกรณ มีดังนี้

1) ขาดเครื่องมือ และอุปกรณในการชวยเหลือเมื่อเกิดเหตุความไม
ปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมที่เหมาะสม หรืออุปกรณบางชนิดเสื่อมสภาพไมเหมาะที่จะ
นํามาใชงาน

2) ขาดความรูในการใชเครื่องมือและอุปกรณแตละประเภท หรือใช
เคร่ืองมอื และอปุ กรณผ ดิ ประเภท

3) ขาดทักษะ ความชาํ นาญ ในการใชเ คร่อื งมอื และอุปกรณต าง ๆ
4) ขาดการตรวจสอบความสมบูรณ ความแข็งแรงของอปุ กรณในฐาน
โดยละเอียด และขาดการบํารงุ รกั ษาท่ีเหมาะสม

153

1.3 สาเหตทุ เ่ี กดิ จากภยั ธรรมชาติ มีดงั นี้
1) ภัยทางน้ํา อาจเกิดความไมปลอดภัยในขณะที่ปฏิบัติกิจกรรมได

เชน น้าํ หลาก นํา้ ไหลเชย่ี ว เปนตน
2) ภยั ทางบก อาจเกิดความไมปลอดภัยในขณะปฏิบัติกิจกรรมได เชน

การสรา งสะพานดวยเชอื กทไ่ี ปผูกกบั ตนไม ทาํ ใหต นไมอาจหกั เปน ตน
3) ภัยทางอากาศ อาจเกดิ ความไมป ลอดภัยขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได เชน

เกิดมีพายุ ลมแรง เปนตน
2. การสรางความปลอดภัยในการเขารวมกิจกรรมลูกเสือ คือ วิธีการปองกัน

กอนจัดสรางอุปกรณ และกอนเขารวมกิจกรรม โดยมีอุปกรณปองกัน หรือสรางอุปกรณท่ีใช
ในกิจกรรมใหปลอดภัย โดยใหความรู มีมาตรการบังคับ ควบคุมการใชอุปกรณใหถูกกับ
กิจกรรมจะชวยสรางความปลอดภัยใหกับลูกเสือในการปฏิบัติกิจกรรม เชน กิจกรรมบุกเบิก
กิจกรรมผจญภยั และกจิ กรรมเดนิ ทางไกล ดังนี้

2.1 กิจกรรมบกุ เบิก
1) ลกู เสอื ตอ งเตรียมความพรอ มทางรา งกายและจิตใจ
2) ลูกเสือตองมีระเบียบวินัย เชื่อฟง และปฏิบัติตามคําแนะนําของ

ผูกาํ กบั ลูกเสอื
3) ลกู เสือตอ งตรวจเช็คอุปกรณใ นฐานบกุ เบกิ อยา งสม่ําเสมอ
4) ลกู เสอื ตอ งไมก ลั่นแกลง เพอื่ นขณะทํากิจกรรม
5) ลกู เสอื ตองเตรยี มพรอ มทางดา นความรู ศกึ ษากิจกรรม และทําความ

เขา ใจกอ นเขา รวมกิจกรรม
2.2 กิจกรรมผจญภยั
1) ลูกเสอื ตอ งการเตรยี มความพรอ มทางรา งกายและจติ ใจ
2) ลูกเสอื ตองมีระเบยี บวินยั เชื่อฟงและปฏิบัตติ ามคําแนะนาํ ของ

ผูก าํ กบั ลกู เสือ
3) ลกู เสือตองตรวจเช็คอปุ กรณในฐานบุกเบกิ อยา งสม่ําเสมอ
4) ลกู เสือตองไมกล่ันแกลงเพอ่ื นขณะทาํ กิจกรรม
5) ลกู เสอื ตองเตรยี มพรอมทางดานความรู ศกึ ษากจิ กรรม และทาํ

ความเขาใจกอ นเขา รว มกจิ กรรม
2.3 กิจกรรมเดินทางไกล
1) กอนท่ีจะกาํ หนดเสน ทางการเดินทางไกล ลูกเสือตองสํารวจเสนทาง

หากจําเปนตองขออนุญาต ก็ตองขออนุญาตผานจากเจาของสถานท่ีนั้น ๆ และประเพณี
วัฒนธรรมในทอ งถ่ินนัน้ ตามสมควร

154

2) ในการกําหนดเสนทางเดิน ลูกเสือควรเล่ียงการเดินตามถนนใหญท่ีมี
การจราจรคับคง่ั เพื่อปอ งกันการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ

3) ในระหวางการเดินทางไกล ลูกเสือไมควรแขงขันหรือแทรกกันเดิน
ระหวางหมู

4) ในระหวา งการเดินทางไกล ลูกเสือควรออกเดินทางเปนหมู และตอง
ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบของลูกเสือ และกฎจราจรอยา งเครง ครัด เพื่อความปลอดภยั

กิจกรรมทา ยเร่ืองท่ี 3 การชวยเหลอื เม่อื เกิดเหตุความไมป ลอดภยั ในการเขา รวมกจิ กรรม
(ใหผเู รียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองที่ 3 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า)

เรอื่ งที่ 4 การปฏบิ ัตติ นตามหลักความปลอดภยั
ลกู เสือตองปฏิบตั ติ นตามหลักความปลอดภัย ดงั น้ี
ดานรางกาย ตองเตรียมความพรอมของรางกาย การออกกําลังกาย รักษา

รางกายไมใหเจบ็ ปว ย พรอ มปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตาง ๆ ได
ดานจิตใจ ควรศึกษาหาความรูในกิจกรรมลูกเสือโดยเฉพาะลูกเสือ กศน.

เปนการเตรียมความพรอมดานหนึ่งในการปฏิบัติตนเองและพรอมชวยเหลือผูอื่นไดตามความ
เหมาะสม

ลูกเสือตองทําความเขาใจในความหมายของคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
เพ่ือนํามาใชในการอยูรวมกันท้ังเวลาพบกลุม และการเขาคายพักแรมรวมกัน วิเคราะห
สถานการณความปลอดภัยความไมปลอดภัยและความเสี่ยง วิเคราะหขอดี ขอเสีย และ
นาํ ขอ บกพรอ งหรือชอ งทางท่จี ะปองกันไวเบื้องตน เปนมาตรการในการอยูรวมกันและการเขา
รวมกจิ กรรม ดังน้ี

1. นําขอมลู จากการวิเคราะหจ ากกฎของลกู เสือ มาระดมพลังสมองเปรียบเทียบ
กับฐานการเรียนรูและฐานกิจกรรมที่สรางขึ้นในคายพักแรม และสรุปความเส่ียงเพ่ือปองกัน
ไมใหเ กิดเหตหุ รือภัยตา ง ๆ ไวล ว งหนา

2. นําเสนอผลการจดั ทํามาตรการในการอยูรวมกัน ทั้งการพบกลุมและการอยู
คายพกั แรม เพื่อกําหนดมาตรการใหใชรว มกันอยางเหมาะสม

3. ทดลองนําขอบกพรองของกระบวนการผลิตท่ีมีความเส่ียงในการปฏิบัติ
มานําเสนอและแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) เพื่อฝกปฏิบัติ เปนการเตรียมความพรอม เพ่ือ
เตรยี มการกอ นผลิตส่อื หรือสรา งคา ยกจิ กรรมลูกเสอื กศน.

กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 4 การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ความปลอดภัย
(ใหผเู รยี นไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 4 ที่สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

155

หนวยการเรยี นรูที่ 11
การปฐมพยาบาล

สาระสําคญั
การปฐมพยาบาล เปนการใหความชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ หรือผูที่ไดรับ

บาดเจบ็ เบื้องตน โดยใชเครือ่ งมอื อุปกรณที่พึงหาไดในบริเวณน้ัน เพ่ือชวยบรรเทาอาการ และ
ชวยใหผ ูบาดเจ็บไดรับอันตรายนอยลง กอ นนาํ สงโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในโอกาสตอไป
ดังนั้น ผใู หก ารชวยเหลอื ตอ งมคี วามรู ความสามารถ ในการชวยเหลือเบื้องตน เพื่อปองกันการ
เกิดภาวะแทรกซอ น หรือเกดิ อาการทรุดลงถงึ ข้ันอนั ตรายถึงแกชีวิต

การปฐมพยาบาลผูประสบอุบัติเหตุทางรถยนต ทางน้ํา ตกจากท่ีสูง หกลม
ทม่ี อี าการกระดูกหัก ขอ เคลด็ ขอเคล่ือน ผูใ หก ารชวยเหลอื ควรมคี วามรู ความสามารถเกี่ยวกับ
การเขา เฝอ ก มัดเฝอ ก การพนั ดว ยผา การใชผาสามเหลีย่ ม และการเคลื่อนยายผปู วย

การปฐมพยาบาล ผูมีภาวการณเปนลม ลมชัก ลมแดด หรือ หมดสติ ผูใหการ
ชวยเหลือ ควรมีความรู ความสามารถ เก่ียวกับการประเมินอาการเบ้ืองตน หรือตัดสินใจ
ใชวธิ กี ารชวยชีวติ ข้ันพ้นื ฐานอยา งถกู วธิ ี ถูกตอง และรวดเร็ว เพ่ือปองกันการเกิดภาวะแทรกซอน
หรือเกดิ อาการทรดุ ลงถึงขน้ั อนั ตรายถงึ แกช วี ิต

ตัวชว้ี ดั

1. อธบิ ายความหมายและความสําคญั ของการปฐมพยาบาล
2. อธบิ ายและสาธติ วิธีการปฐมพยาบาลกรณีตา ง ๆ อยางนอย 3 วิธีร
3. อธิบายการวัดสญั ญาณชพี และการประเมินเบื้องตน
4. สาธิตวธิ ีการชวยชีวติ ขั้นพ้ืนฐาน

ขอบขายเนอ้ื หา
เรื่องท่ี 1 การปฐมพยาบาล
1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล
1.2 ความสําคัญของการปฐมพยาบาล
1.3 หลกั การของการปฐมพยาบาล
เร่อื งที่ 2 วิธีการปฐมพยาบาลกรณตี า ง ๆ
เร่อื งท่ี 3 การวัดสัญญาณชพี และการประเมินเบื้องตน
เรื่องท่ี 4 วิธีการชวยชีวติ ข้ันพนื้ ฐาน

156

เวลาท่ีใชในการศึกษา 12 ชั่วโมง

ส่อื การเรยี นรู
1. ชุดวิชาลกู เสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035
2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูประกอบชดุ วิชา
3. สือ่ เสริมการเรยี นรูอ่ืน ๆ

157

เร่ืองที่ 1 การปฐมพยาบาล
1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล
การบาดเจ็บหรือเกิดการเจ็บปวย ยอมเกิดข้ึนไดทุกเวลา โดยเฉพาะอุบัติเหตุ

การชว ยเหลอื ผูป ระสบภยั ถา ผูใหการชวยเหลอื รหู ลกั การ First Aid หรือที่เรียกวา การปฐมพยาบาล
สามารถชว ยชวี ิตผูปวย ชวยบรรเทาความเจ็บปวด ปองกันอาหารของโรคทรุดลงปองกันไมให
เกดิ ความพกิ าร หรือโรคแทรกซอนตามมา

การปฐมพยาบาล หมายถึง การใหค วามชวยเหลือผูบาดเจ็บเบื้องตน โดยใช
เครือ่ งมอื หรอื อปุ กรณท ี่พอจะหาไดในบริเวณนั้น เพื่อชวยบรรเทาอาการและชวยใหผูบาดเจ็บ
ไดร บั อนั ตรายนอ ยลงกอนจะสงโรงพยาบาล เพอื่ ใหแพทยท ําการรกั ษา

1.2 ความสาํ คญั ของการปฐมพยาบาล
ในชว งชวี ิตของมนุษยทุกคน อาจมีชวงที่ไดรับบาดเจ็บหรือเจ็บปวยไดทุกเวลา

ทุกสถานที่ โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลตองกระทําอยางรวดเร็วและถูกตอง ดังนั้น
จงึ ไมจําเปนวา ผูใหการปฐมพยาบาลจะตองเปนแพทยหรือพยาบาลเทานั้น เมื่อมีการบาดเจ็บ
เกดิ ขน้ึ ผูใ หการชวยเหลือสามารถใหก ารชวยเหลือ เพ่ือบรรเทาความเจบ็ ปวยได

ความสาํ คัญของการปฐมพยาบาล มีดังน้ี
1. เพอื่ ชว ยเหลือผูบาดเจบ็
2. เพอ่ื ปองกนั และลดความพิการท่ีอาจจะเกิดขึ้น
3. เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดและปอ งกันอนั ตราย

1.3 หลกั การของการปฐมพยาบาล
1. การมอง สํารวจความปลอดภัย รวมทั้งสํารวจระบบสําคัญของรางกาย

อยา งรวดเรว็ และวางแผนใหก ารชว ยเหลอื อยา งมสี ติ ไมต ื่นเตน ตกใจ
2.-หามเคลื่อนยาย หรือไมควรเคล่ือนยายผูบาดเจ็บจนกวาจะแนใจวา

เคลอ่ื นยา ยไดอยางรวดเร็ว ยกเวนกรณที ีเ่ กดิ การบาดเจ็บในสถานท่ีทไี่ มสะดวกตอ การปฐมพยาบาล
หรอื อาจเกิดอนั ตรายมากขน้ึ ทัง้ ผบู าดเจ็บ และผูชวยเหลอื จําเปนตองเคล่อื นยา ยไปที่ท่ีปลอดภัยกอน

3.-ชวยเหลือดวยความนุมนวลและระมัดระวัง ใหการชวยเหลือตามลําดับ
ความสําคญั ของการมชี ีวติ หรอื ตามความรุนแรงท่ผี ูบาดเจบ็ ไดร ับ ดงั นี้

3.1 กลุม อาการชวยเหลือดวน ไดแก หยุดหายใจ หัวใจหยุดเตน หมดสติ
และเสียเลือด

3.2-กลุมอาการชวยเหลือรอง ไดแก ความเจ็บปวด การบาดเจ็บของกระดูก
และขออมั พาต

กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 1 การปฐมพยาบาล
(ใหผ เู รยี นไปทํากิจกรรมทายเร่อื งท่ี 1 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

158

เรื่องที่ 2 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณตี า ง ๆ
2.1 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณอี บุ ตั เิ หตุ
อุบัตเิ หตุ หมายถึง เหตุการณท่ีเกดิ ข้นึ โดยมไิ ดว างแผนไวล วงหนา ซ่ึงกอ ใหเ กิด

การบาดเจ็บ พิการ หรือทําใหทรัพยสินไดรับความเสียหาย นอกจากนี้ความหมายในเชิง
วิศวกรรมความปลอดภัยนั้น อุบัติเหตุ ยังมีความหมายครอบคลุมถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นแลว
มผี ลกระทบกระเทอื นตอกระบวนการผลิตปกติ ทําใหเกิดความลาชา หยุดชะงัก หรือเสียเวลา
แมจ ะไมก อใหเ กิดการบาดเจ็บ หรือพิการก็ตาม เชน อุบัติเหตุทางรถยนต หรือทางถนนอุบัติเหตุ
ทางนาํ้ อบุ ัตเิ หตุทั่วไป เปน ตน

อบุ ตั ิเหตุทางรถยนต หรอื ทางถนน
อุบัติเหตุทางถนนเปนสาเหตุสําคัญท่ีคราชีวิตคนไทย ซึ่งการชวยเหลือ

ผูประสบเหตุอยางถูกวิธีจะชวยลดการบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตได เพราะบอยครั้งท่ีผูเขา
ชวยเหลือไดรับอันตรายจากอุบัติเหตุซํ้าซอน จึงมีขอแนะนําที่ควรปฏิบัติในการชวยเหลือ
ผปู ระสบอบุ ัติเหตุทางถนนอยา งถูกวิธี ดังนี้

1. ประเมนิ สถานการณ จากสภาพแวดลอมและสภาพการจราจรของจุดเกดิ เหตุ
โดยเฉพาะในชว งเวลากลางคืนหรอื ทัศนวสิ ยั ไมดี ควรเพม่ิ ความระมดั ระวังเปนพเิ ศษเพื่อปองกัน
อุบตั เิ หตซุ ํา้ ซอน

2. สง สัญญาณเตือนใหผ รู ว มใชเ สนทางเพมิ่ ความระมดั ระวัง โดยเปด สัญญาณไฟ
ฉุกเฉนิ ของรถคนั ทเ่ี กิดเหตุ นาํ กงิ่ ไม ปา ยสามเหล่ยี ม หรอื กรวยสะทอ นแสงมาวางไวดานหลังรถ
หางจากจดุ เกดิ เหตุในระยะไมต ํา่ กวา 50 เมตร

3. โทรศพั ทแจงหนวยงานที่เก่ยี วขอ ง อาทิ ตาํ รวจ หนวยแพทยฉุกเฉนิ พรอ มให
ขอมลู จดุ เกิดเหตุ จาํ นวนและอาการของผบู าดเจบ็ เพอ่ื เจา หนา ทีจ่ ะไดว างแผนใหการชวยเหลือ
ผูป ระสบเหตไุ ดอยา งถกู ตอ ง

4. ชวยเหลือผูท่ีมีอาการรุนแรงเปนลําดับแรก โดยเฉพาะผูที่หมดสติ
หยดุ หายใจ-หวั ใจหยุดเตน และเสียเลือดมาก กรณีผูประสบเหตุบาดเจ็บเล็กนอยใหปฐมพยาบาล
เบื้องตนตามอาการ

5. หากไมมีทักษะการชวยเหลือ หามเคล่ือนยายผูประสบเหตุดวยตนเอง
ควรรอใหท ีมแพทยฉุกเฉินมาชว ยเหลอื และนําสงสถานพยาบาล จะชวยลดการบาดเจ็บรุนแรง
ทท่ี ําใหผปู ระสบเหตุพกิ ารหรอื เสยี ชีวิต

การชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุอยางถูกวิธีจะชวยลดความเสี่ยงตอการไดรับ
อันตราย และทําใหผูประสบเหตุไดรับการดูแลอยางปลอดภัย จึงชวยลดอัตราการบาดเจ็บ
รนุ แรงและเสยี ชีวิตจากการชวยเหลือไมถูกวิธี

159

อบุ ตั เิ หตทุ างน้ํา
อุบัติเหตุทางน้ําอาจเกิดจากสาเหตุที่สําคัญ 2 ประการ คือ ตัวบุคคล และ

สภาพแวดลอม ซ่ึงสาเหตุสว นใหญของอุบตั ิเหตทุ างน้าํ มกั เกดิ จากความประมาท และการกระทํา
ท่ไี มปลอดภัยของผขู บั เรือ และผูโ ดยสาร

อยางไรกต็ าม กรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุทางนํ้า สวนใหญผูท่ีประสบเหตุที่จะไดรับ
อันตราย คือ ผทู ีอ่ ยใู นสภาวะจมน้ํา และขาดอากาศหายใจ ในท่ีนี้จึงยกตัวอยางวิธีการปฐมพยาบาล
กรณจี มนํ้า ดงั น้ี

การจมน้ํา
การจมน้ําทําใหเกิดอันตรายจากการขาดออกซิเจนไปเลี้ยงสมองการชวยชีวิต

และการกูฟนคนื ชพี จงึ เปนปจ จยั สําคญั ทที่ าํ ใหร อดชวี ติ มี วธิ กี ารปฐมพยาบาล ดงั น้ี
(1) จดั ใหน อนตะแคงกง่ึ ควํ่า รบี ตรวจสอบการหายใจ
(2) ถา ไมมกี ารหายใจใหชวยกชู พี ทันที
(3) ใหความอบอุนกบั รา งกายผูจมน้ําโดยถอดเสอ้ื ผาทีเ่ ปยกน้ําออกและใชผาแหง

คลุมตวั ไว
(4) นําสงสถานพยาบาล

ขอ ควรระวัง
(1) กรณผี จู มน้าํ มปี ระวตั กิ ารจมนา้ํ เนื่องจากการกระโดดนาํ้ หรอื เลน กระดาน

โตคลื่น การชวยเหลือตองระวังเรื่องกระดูกหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนยายผูจมนํ้า โดยเมื่อนํา
ผจู มนา้ํ ขน้ึ ถงึ นา้ํ ต้ืนพอที่ผูชวยเหลือจะยืนไดสะดวกแลวใหใชไมกระดานแข็งสอดใตนํ้ารองรับตัว
ผูจมนํ้าใชผา รัดตวั ผูจ มน้ําใหติดกับไมไว

(2) ไมควรเสียเวลากบั การพยายามเอานํ้าออกจากปอดหรือกระเพาะอาหาร
(3) หากไมสามารถนาํ ผจู มนํา้ ข้นึ จากนํ้าไดโดยเร็วอาจเปา ปากบนผวิ นํา้ โดย
หลีกเลยี่ งการเปาปากใตน ํา้ และหามนวดหนา อกระหวา งอยูใ นน้าํ
อุบตั เิ หตุท่ัวไป (ตกจากท่ีสูง หกลม ไฟไหม/ นํ้ารอ นลวก)
อบุ ตั เิ หตุทวั่ ไป เปน สง่ิ ที่เกิดข้ึนได ทุกที่ ทกุ เวลา และเกดิ ไดกับบคุ คล ทกุ เพศ
และทกุ วยั เชน การตกจากท่สี ูง หกลม ไฟไหม นํ้ารอนลวก เปน ตน
1. การตกจากทส่ี งู
การตกจากที่สูง สามารถทําใหเกิดอันตรายไดรุนแรงมากนอยตาง ๆ กันไป
เชน ตกจากทสี่ งู มากอาจทาํ ใหเ สียชวี ติ ทําใหก ระดูกสันหลังหัก กดไขสันหลัง กลายเปนอัมพาต
อาจทาํ ใหก ระดูกสวนตา ง ๆ หัก ในรายที่รุนแรงอาจเปนกระดูกซ่ีโครงหัก ทําใหเกิดเลือดออก
ในชอ งปอด และอาจทําใหอ วัยวะภายในชองทองทสี่ ําคญั แตกเกดิ อันตรายถึงชีวิตได

ท้ังน้ี จากการตกจากที่สูงสวนใหญจะสงผลกอใหเกิดการบาดเจ็บของ
กลา มเน้ือและกระดกู ดังน้ี

160

1.1 ขอ เคล็ด หมายถงึ การทีข่ อมกี ารเคล่อื นไหวมากเกินไป ทําใหเนื้อเย่ือออน ๆ
และเอน็ รอบ ๆ ขอ หรือกลา มเน้อื มีการชอกช้ํา ฉกี ขาด หรอื ยดึ เนือ่ งจากขอน้ันถูกบิด พลิก หรือ
แพลงไปทาํ ใหเ จ็บปวดมาก

ขัน้ ตอนการชว ยเหลือเบอื้ งตน
(1) ใหขอ พักนง่ิ ๆ
(2) ควรยกมอื หรอื เทา ทเ่ี คลด็ ใหสูงข้ึน ถา เปน ขอมอื ควรใชผา คลอ งแขนไว
(3) ภายใน 24 ชั่วโมงแรกใหประคบดวยความเย็น เพ่ือใหเลือดใตผิวหนัง
หยุดไหล หลงั จากน้ันใหป ระคบดว ยความรอ น
(4) พันดวยผา
(5) ภายใน 7 วัน หากอาการไมดีข้ึน ใหไปโรงพยาบาล เพ่ือตรวจใหแนนอนวา
ไมม กี ระดูกหักรว มดว ย
1.2 ขอเคล่ือน หมายถึง สวนของขอตอบริเวณปลายกระดูกเคลื่อนหรือหลุด
ออกจากท่ีเกดิ จากการถูกกระชากอยางแรง หรอื มีโรคที่ขอ อยูกอนแลว เชน วณั โรคท่ขี อสะโพก
ขั้นตอนการชวยเหลือเบื้องตน
(1) ใหขอพักนิ่ง อยา พยายามดึงกลบั เขา ท่ี
(2) ประคบดวยความเยน็
(3) เขาเฝอ กช่ัวคราว หรอื ใชผาพัน
(4) รีบนําสงโรงพยาบาล ควรงดอาหาร น้ํา และยาทุกชนดิ
1.3 กระดูกหัก หมายถึง ภาวะที่กระดูกไดรับแรงกระแทกมากเกินไป
สงผลใหก ระดกู ไมสามารถรองรับน้ําหนักจากแรงกระแทกได กอใหเกิดอาการปวด บวม รอน
บริเวณทีห่ กั ถา จบั กระดกู น้ันโยกหรอื บดิ เลก็ นอยจะมีเสียงดังกรอบแกรบ เน่ืองจากปลายกระดูก
ท่หี ักนั้นเสียดสกี ัน การเคล่ือนไหวผิดปกติอาจมีบาดแผล และพบปลายกระดูกโผลออกมาเหน็ ได
ข้นั ตอนการชว ยเหลือเบือ้ งตน
การหักของกระดูกชิ้นสําคัญ เชน กระดกู เชงิ กราน กะโหลกศรี ษะ ขากรรไกร
คอ และกระดูกสันหลัง ตอ งการการดูแลรกั ษาท่ีถูกตอง เพราะการหักของกระดูกเหลาน้ีจะทํา
อนั ตรายอยา งรนุ แรงตอ เน้อื เยื่อใกลเคยี งกะโหลกศีรษะแตก และสันหลังหักเปนอันตรายมากที่สุด
เพราะวาเน้อื สมองและไขสันหลงั ถูกทําลายท้ังนี้ เมอ่ื มีภาวะกระดูกแตกหักในบริเวณกระดูกท่ีมี
ลักษณะเปน แทง ยาว ผูปฐมพยาบาลตอ งจัดใหมกี ารเขา เฝอก ซ่ึงการเขาเฝอก หมายถึง การใช
วสั ดตุ า ง ๆ พยุง หรือหอหุมอวัยวะที่กระดูกหักใหอยูน่ิง ซ่ึงมีประโยชนชวยใหบริเวณที่บาดเจ็บ
อยูนิ่ง เปนการบรรเทาความเจ็บปวดและปอ งกนั อันตรายเพม่ิ มากข้ึน
การปฐมพยาบาลกระดูกหักตองพยายามตรึงกระดูกสวนที่หักใหอยูกับที่
โดยใชวัสดุที่หางา ย เชน ไม หรือกระดาษหนังสือพิมพพับใหหนา รวมทั้งผา และเชือกสําหรับ
พันรดั ดว ย

161

กระดูกโผลอ อกมานอกเนื้อ หามดันกลบั เขา ไปเปนอันขาด ถา มเี ลอื ดออกให
ทําการหามเลือด และปด แผลกอนทาํ การเขา เฝอ กชวั่ คราว

การตรวจบริเวณที่หกั ตองทําดวยความระมัดระวงั เพราะอาจทําใหปลาย
กระดกู ที่หักเคล่ือนมาเกยกัน หรือทะลุออกมานอกผวิ หนงั

การถอดเสื้อผาผูบาดเจ็บ ควรใชวิธีตัดตามตะเข็บอยาพยายามให
ผูบาดเจ็บถอดเอง เพราะจะทําใหเ จบ็ ปวดเพ่มิ ข้นึ

หลกั การเขา เฝอ กชว่ั คราว
(1) วัสดทุ ่ีใชดามตอ งยาวกวาอวยั วะสว นทห่ี ัก
(2) ไมวางเฝอ กลงบนบริเวณทีก่ ระดูกหกั โดยตรง ควรมีส่ิงอ่ืนรอง เชน ผา
วางกอนตลอดแนวเฝอก เพื่อไมใหเ ฝอ กกดลงบริเวณผวิ หนังโดยตรง ซึ่งทําใหเจ็บปวด และเกิด
เปนแผลจากเฝอ กกดได
(3) มัดเฝอ กกับอวยั วะท่หี ักใหแ นน พอควร ถา รัดแนนจนเกินไปจะกดผิวหนัง
จนทาํ ใหก ารไหลเวยี นของเลือดไมสะดวกเปน อนั ตรายได

.

162

2. การหกลม
การหกลมเปนอาการหรือพฤติกรรมที่รูจักกันทั่วไป ซ่ึงหมายถึง การที่เกิด

การเปล่ยี นทาโดยไมตั้งใจ และเปน ผลใหร างกายทรดุ หรือลงนอนกบั พื้น หรือ ปะทะสิ่งของตาง ๆ
เชน โตะ เตยี ง

ทง้ั นี้ จากการหกลม อาจสง ผลทาํ ใหเ กิดการบาดเจ็บทรี่ นุ แรงแตกตางกัน
ขนึ้ อยูกับสภาพรางกาย และส่ิงแวดลอมในขณะที่เกิดเหตุ เชน เกิดแผลเปด บาดแผลปด และการ
บาดเจ็บในลักษณะฟกช้ํา ไมมีเลือดออก เปนตนจึงสามารถนําเสนอขอมูลวิธีการปฐมพยาบาล
ไดด งั นี้

บาดแผล รอยฉีกขาด รอยแตกแยกของผิวหนัง หรือเย่ือบุสวนที่ลึกกวา
ชั้นผิวหนงั ถกู ทาํ ลาย ทําใหอวัยวะนัน้ แยกจากกันดวยสาเหตตุ า ง ๆ บาดแผลแบง ออกเปน 2 ชนิด

(1) บาดแผลเปด คือ บาดแผลท่ีผิวหนังฉีกขาดจนเห็นเน้ือขางใน เชน
แผลถลอก แผลท่ีเกิดจากการเจาะ การแทง การกระแทก แผลถูกของมีคมบาด แผลฉีกขาด
เน่ืองจากวัตถุมคี มอาจลึกลงไปถงึ เนอ้ื เยอื่ เสนเอน็ ทําใหเ สียเลอื ดมาก แขนขาขาดจากอบุ ตั ิเหตุ
ถกู สตั วดุรา ยกดั หรือถกู ยิง เปนตน ซ่ึงบาดแผลบางอยางอาจทําใหเสียเลอื ดมาก และอาจทําให
เสียชวี ิตได

การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนสําหรับบาดแผลที่มีเลือดออกก็คือการหามเลือด
โดยหลีกเลีย่ งการสมั ผัสกับเลอื ดของคนเจ็บโดยตรง แตหากหลีกเล่ียงไมไดใหรีบลางมือดวยสบู
รวมทัง้ บริเวณท่ีเปอนเลือดใหเร็วท่ีสุดเทาท่ีจะทําได ไมควรถอดหรือเปล่ียนเสื้อผาของคนเจ็บ
แมว าจะเปอนเลือดจนชมุ แลว เพราะอาจยิง่ ทําใหเ ลือดออกมาก

หากสามารถทําได ควรทําความสะอาดแผลกอนเพื่อปองกันการติดเช้ือ
โดยลางแผลดวยนํ้าสะอาด แลวใชผาก็อซหรือผาสะอาดวางไวตรงบาดแผล ยกเวนเม่ือเกิด
บาดแผลที่ดวงตา เพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมทําใหดวงตาไดรับบาดเจ็บมากข้ึน แลวใชผา
สะอาดพันปด แผลไว อยา ใหแ นน จนชา หากไมมีผาพันแผล สามารถดัดแปลงส่ิงของใกลตัวมา
ใชไ ด เชน ผา เชด็ หนา ชายเส้ือ ชายกระโปรง หรือเนคไท

แผลที่แขนหรือขาใหยกสูง จะชวยใหเลือดไหลชาลง ปกติเลือดจะหยุดไหล
ภายในเวลาประมาณ 15 นาที หากเลือดไหลไมหยุด ใหกดเสนเลือดแดงใหญท่ีไปเลี้ยงแขนขา
โดยกดบริเวณเหนือบาดแผล ถาเลือดออกที่แขนใหกดแขนดานใน ชวงระหวางขอศอกและ
หัวไหล ถา เลอื ดออกทีข่ าใหก ดท่หี นาขาบรเิ วณขาหนีบ

การหา มเลอื ดโดยการกดเสนเลือดแดงใหญควรทําก็ตอ เม่ือใชวธิ ีการหา มเลือด
โดยการกดบาดแผลหรอื ใชผ า พันแผลแลว ไมไดผ ล เพราะจะทําใหอวัยวะท่ีตํ่ากวาจุดกดขาดเลือด
ไปเล้ียง หากกดนาน ๆ กลามเนื้ออาจตายได จงึ ไมค วรกดเสนเลอื ดแดงใหญเ กินกวา คร้ังละ 15 นาที

163

สําหรับบาดแผลท่ศี ีรษะ ไมควรใชน ํา้ ลา งแผล เพราะจะทําใหปด ขวางทางออก
ของแรงดันภายใน และสมองอาจติดเช้ือโรคที่อยูในน้ําได หากมีเลือดไหลออกจากปาก จมูก
หรอื หอู ยาพยายามหา มเลอื ด เพราะจะปดก้ันทางออกของแรงดนั ในสมองเชน กัน

การทาํ ความสะอาดบาดแผลเลก็ นอ ย
วิธีการปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กนอย ทําไดโดยลางมือใหสะอาดทุกครั้ง
กอนทจ่ี ะทาํ แผล ใชน้าํ สะอาดลางแผล ใชส บูอ อน ๆ ลา งผิวหนังท่ีอยูรอบ ๆ บาดแผล แลวลาง
ดว ยนา้ํ สะอาดอกี คร้งั หลีกเล่ียงการกระทบบาดแผลโดยตรง ใชผากอซหรือผาสะอาดซับแผล
ใหแหง แลวใสย าสําหรับแผลสด เชน โพวิโดนไอโอดีน ซ่ึงจะชวยลดการติดเชื้อได จากน้ันเปด
แผลดว ยผา พนั แผล

(2) บาดแผลปด คือ บาดแผลท่ีไมมีรอยแผลใหเห็นบนผิวหนังภายนอก
อาจเหน็ เพยี งแคร อยเขียวช้ํา แตบางกรณีเน้ือเยื่อภายในอาจถูกกระแทกอยางแรง ทําใหเลือด
ตกใน บางครง้ั อวัยวะภายในไดรบั ความเสียหายมาก เชน มามแตก ตับแตก หรือเลือดค่ังในสมอง
ระยะแรกอาจไมแสดงอาการใด ๆ แตเม่อื เวลาผานไปคนเจบ็ อาจอาเจยี น เลือดออกปาก หรือจมูก
หนาวส่ัน ตวั ซดี เจ็บปวดรนุ แรง หมดสติ และอาจเสียชีวิตเนอื่ งจากเสียเลือดมาก

แผลฟกซํ้าไมมีเลอื ดออก
บาดแผลฟกซํ้าจะไมม เี ลอื ดออกมาภายนอก แตเกิดอาการบวม ผิวเปลี่ยนสี
และมีรอยฟกซ้าํ ซงึ่ เกิดจากเสน เลือดบริเวณนนั้ แตกแตผิวหนังไมฉกี ขาด จึงทาํ ใหเลือดซึมอยูใต
ผิวหนงั ระยะแรกจะมีสีแดงแลว เปล่ยี นเปนสีมว งคล้าํ ในเวลาตอมา
คนสวนใหญมกั ไมใสใจกบั แผลฟกซาํ้ แตความจริงแลวแผลฟกซํ้าก็มีวิธีการ
ดูแลที่ถูกตองเชน กนั กอ นอืน่ ใหตรวจดูวา ไมมีบาดแผล หรืออาการอื่น ๆ หรือกระดูกหักรวมดวย
ใหคนเจ็บน่ังในทาที่สบาย แลวประคบแผลดวยถุงนํ้าแข็งหรือถุงนํ้าเย็นเพ่ือลดอาการบวม
หากเปนแผลที่แขนใหใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนใหอยูกับท่ี หากเปนแผลท่ีขาใหนอนหนุนขา
ใหสงู หากเปน ท่ีลําตวั ใหน อนตะแคงหนุนหมอนท่ีศีรษะและไหล
3. ไฟไหม/ น้าํ รอนลวก
บาดแผลไฟไหม นํ้ารอนลวก โดยมากมักจะมีสาเหตุจากอุบัติเหตุ
ความประมาท ขาดความระมัดระวัง แผลไหมจะทําใหเกิดอันตรายแกรางกาย ต้ังแตเล็กนอยไป
จนถงึ เสียชวี ติ ได การชว ยเหลืออยา งถกู ตองจะชว ยลดความรุนแรงได
ขน้ั ตอนการชวยเหลือเบ้อื งตน
หลกั การปฐมพยาบาลไฟไหมนํา้ รอ นลวกใหดับไฟโดยใชน ้ําราด หรอื ใชผา
หนา ๆ คลุมตัวถอดเสอ้ื ผาทีไ่ หมไ ฟหรือถูกน้าํ รอ น พรอ มถอดเครือ่ งประดบั ที่อมความรอนออก
ใหหมดเม่อื เกิดแผลไหมน ํา้ รอนลวกใหป ฐมพยาบาลตามลักษณะของแผล ดังน้ี

164

1) เฉพาะชั้นผิวหนงั
(1) ระบายความรอ นออกจากแผล โดยใชผ า ชบุ นํ้าประคบบริเวณบาดแผล

แชลงในน้าํ หรือเปดใหนํ้าไหลผา นบริเวณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซ่ึงจะชวย
บรรเทาความเจ็บปวดได

(2) ทาดวยยาทาแผลไหม
(3) หามเจาะถุงนํ้าหรอื ตดั หนังสว นท่ีพองออก
(4) ปดดวยผา สะอาด เพื่อปอ งกนั การตดิ เช้อื
(5) ถาแผลไหมบรเิ วณกวาง หรืออวยั วะท่ีสาํ คัญตองรบี นาํ สง โรงพยาบาล

2) ลึกถึงเนอ้ื เยอื่ ใตผิวหนัง
(1)ไมต อ งระบายความรอ นออกจากบาดแผล เพราะจะทําใหแผลติดเชื้อ

มากขึน้
(2) หา มใสยาใด ๆ ทัง้ ส้ินลงในบาดแผล
(3) ใชผาสะอาดหอตัวผูบาดเจ็บเพื่อปองกันส่ิงสกปรกใหความอบอุน

และรีบนาํ สง โรงพยาบาล

2.2 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณีการเจบ็ ปว ยโดยปจ จบุ ัน
2.2.1 การเปน ลม
การเปนลม เปน อาการหมดสติเพียงช่ัวคราว เน่ืองจากเลือดไปเล้ียงสมอง

ไมพ อ สาเหตุและลักษณะอาการของคนเปนลมท่ีพบบอย เชน หิว เหนื่อย เครียด ตกใจ กังวลใจ
กลัว เสยี เลอื ดมาก มอี าการวิงเวยี นศีรษะ ตาพรา หนา มดื ใจส่นั มอื เทาไมม ีแรง หนา ซดี เหง่ือออก
ตวั เย็น ชพี จรเบา/เร็ว

165

ขั้นตอนการชวยเหลอื เบอื้ งตน
(1) พาเขาที่รม ทอ่ี ากาศถายเทสะดวก
(2) นอนราบไมห นุนหมอน หรือยกปลายเทาใหสูงเล็กนอ ย
(3) คลายเส้อื ผา ใหหลวม
(4) พัดหรือใชผา ชบุ นาํ้ เช็ดเหงอื่ ตามหนา มอื และเทา
(5) ใหด มแอมโมเนยี
(6) ถา รูส ึกตัวดี ใหด ม่ื นา้ํ
(7) ถา อาการไมดขี น้ึ นาํ สง ตอแพทย
2.2.2 ลมชกั
ลมชัก อาการชักของผปู วย บางรายอาจชักดวยอาการเหมอลอย เริ่มกระตุก
ทา ทางแปลก ๆ ผิดปกติ ตาเหลือก อาจจะเริ่มทําทาเหมือนเคี้ยวอะไรอยู หรือบางคนอาจจะ
เรม่ิ ตนดว ยอาการสับสน มนึ งง พดู จาวกวนกอ นกไ็ ด กอ นทีจ่ ะเริ่มมอี าการชัก
ข้ันตอนการชว ยเหลอื เบอ้ื งตน
(1) สังเกตวาผูปวยมีสติสัมปชัญญะหรือไม สวนใหญยังไมถึงกับขั้นสลบ
แตจะควบคมุ ตวั เองไมไดเม่ือผูปวยเริ่มมีอาการชัก แลวลงไปกองกับพ้ืน พยายามพาเขามาอยู
ในที่โลง ๆ ปลอดภัย ไมมีสง่ิ ของใด ๆ รอบตวั
(2) คลายกระดมุ เนคไทที่คอเส้ือ เข็มขัดที่กางเกงหรือกระโปรง ถอดแวนตา
นําหมอน หรือเสื้อพับหนา ๆ มารองไวท่ีศรี ษะ
(3) จับผูปว ยนอนตะแคง
(4) ไมงัดปากดวยชอน ไมยื่นอะไรใหผูปวยกัด ไมยัดปากดวยสิ่งของตาง ๆ
เด็ดขาด ไมกดทอง ไมถ า งขา ไมท ําอะไรทง้ั น้ัน
(5) จับเวลา ตามปกติผูปวยลมชักจะมีอาการสงบลงไดเอง เมื่อผานไป 2 – 3
นาที หากมอี าการชกั เกนิ 5 นาทคี วรรีบสง แพทย (หรอื กด 1669 บริการแพทยฉ ุกเฉิน)
(6) อยา ลมื อธบิ ายผูคนรอบขา งดวยวาเกิดอะไรขึน้ และขอความชว ยเหลอื
เทาท่ีจําเปน เชน อยา มงุ ผูปว ยใกล ๆ หรอื ชวยเรียกรถพยาบาลกรณที ่ผี ูปว ยชักเกิน 5 นาที
หรือมอี าการบาดเจบ็
ในกรณีทผ่ี ูปวยลมชักมีอาการกัดลิ้นตัวเอง ไมตองตกใจ โดยสวนใหญแลว
จะไมไดกัดล้ินตัวเองจนขาดหรือมีบาดแผลใหญมากนัก อาจจะมีความเปนไปไดที่เผลอกัดล้ิน
ตัวเองจนไดรับบาดแผลมีเลือดออก แตไมไดเปนอันตรายถึงชีวิตมากเทากับการยัดสิ่งตางๆ
เขาไปในปากของผูปวย ดวยหวังวาจะใหกัดแทนลิ้น เพราะมีหลายครั้งท่ีส่ิงของเหลานั้นทําให
ผูปวยมีอาการบาดเจ็บหนักกวาเดิม แผลท่ีกัดล้ินใหญกวาเดิม หรือผลัดหลุดเขาไปติดใน
หลอดลม หลอดอาหาร

166

2.2.3 การเปน ลมแดด
การเปนลมแดด เกิดจากการที่รางกายไมสามารถปรับตัวกับความรอนที่

เกิดขน้ึ จนเกิดภาวะวกิ ฤต ในภาวะปกติรางกายจะมีระบบการปรับสมดลุ ความรอน เมื่อความรอน
ในรางกายเพิม่ ข้ึน อาการสาํ คญั ไดแก ตัวรอ น อณุ หภูมิรา งกาย 41 องศาเซลเซียส หนารอนแดง
ไมมเี หงอื่ มอี าการเพอ ความดันลดลง กระสับกระสา ย มึนงง สับสน ชักเกร็ง หมดสติ โดยกลไก
การทํางานของรา งกาย จะมีการปรับตวั โดยสงนาํ้ หรือเลือดไปเล้ียงอวัยวะภายใน เชน สมอง ตับ
กลา มเน้อื ทําใหผวิ หนังขาดเลือดและนํ้าไปเล้ียง จงึ ไมส ามารถระบายความรอนออกจากรา งกายได

ขนั้ ตอนการชว ยเหลือเบ้ืองตน
นําผูที่มีอาการเขาในที่รม นอนราบ ยกเทาสูง เพื่อเพ่ิมการไหลเวียนเลือด
ถอดเสื้อผา ใชผาชุบน้ําประคบบริเวณใบหนา ขอ พบั ขาหนบี เช็ดตวั เพื่อระบายความรอน และ
ถารูสึกตัวดใี หค อย ๆ จบิ น้ําเย็น เพือ่ ลดอณุ หภูมิรางกายใหเ รว็ ที่สุด และรีบนาํ สง โรงพยาบาล
2.2.4 เลือดกําเดาไหล
สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเปนหวัด การส่ังนํ้ามูกการติดเชื้อ
ในชองจมกู หรือความหนาวเยน็ ของอากาศ
ข้ันตอนการชว ยเหลือเบอ้ื งตน
(1) ใหผูป วยน่งั นงิ่ ๆ เอนตวั ไปขางหนา เล็กนอย
(2) ใชมือบีบปลายจมูก และใหหายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว 10 นาที
ใหคลายมอื ออกถาเลือดยังไหลตอใหบีบตออีก 10 นาทีถาเลือดไมหยุดใน 20 นาทีใหรีบนําสง
โรงพยาบาล
(3) ถามเี ลอื ดออกมาก ใหผ ูป วยบวนเลือดหรือน้ําลายลงในอาง หรือภาชนะ
ที่รองรบั
(4) เมอื่ เลือดหยุดแลว ใชผาสะอาดเชด็ บรเิ วณจมกู และปาก
ขอ หา ม
หา มส่ังนํ้ามูกหรอื ลวงแคะ ขยจ้ี มกู เพราะจะทาํ ใหอาการแยล ง
2.2.5 การหมดสติ
การหมดสติ เปนภาวะท่ีรางกายไมมีการตอบสนองตอสิ่งกระตุน สาเหตุ
เน่ืองจากสมองไดรับการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ ซึ่งเปนบริเวณท่ีมีเสนเลือดใกลผิว
ชน้ั นอกมาทาํ ใหเ ลอื ดไหลออกมาก แตมีบางกรณไี มม เี ลอื ดไหลออกมาภายนอก ทําใหผูบาดเจ็บ
หมดสติ หากไมไดรับการชวยเหลืออาจทําใหเสียชีวิต จึงตองประเมินสถานการณและการ
บาดเจบ็ เพื่อใหการชวยเหลอื เบ้อื งตน และนําสงโรงพยาบาลเพือ่ รับการรักษา

167

ขั้นตอนการชวยเหลือผหู มดสติ
1. สํารวจสถานการณ บริเวณท่ีเกดิ เหตอุ ยา งรวดเร็ว ถาสถานการณปลอดภัย
ใหต ะโกนเรยี กผูหมดสติ
2. หากไมม กี ารตอบสนอง ใชม ือทัง้ 2 ขา งตบไหล เรยี ก พรอมสังเกตการณ
ตอบสนอง (การลมื ตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคล่ือนไหวของทรวงอก หนาทอง ถาพบวา
ยงั หายใจอยใู หรบี ใหการชวยเหลือ และขอความชวยเหลือโดยการโทรเรียกรถพยาบาล 1669
แตหากไมตอบสนอง หนาอกหนาทองไมกระเพื่อมขึ้นลง แสดงวา หมดสติและไมหายใจ ตอง
ชว ยเหลอื โดยการปมหวั ใจ และการผายปอด
2.3 วิธีการปฐมพยาบาลกรณีสัตว แมง หรอื แมลงท่ีมพี ิษกดั ตอ ย
2.3.1 สนุ ัข/แมว
โรคพิษสนุ ขั บา หรอื โรคกลัวนํ้า เปนโรคติดตอรายแรงที่เกิดจากเชื้อเรบีสไวรัส
โรคน้เี กดิ ไดใ นสตั วเ ลี้ยงลกู ดว ยนมทกุ ชนดิ ดงั นั้น เมือ่ ถูกสนุ ขั กัดจะตองปฏิบตั ิตามขั้นตอน ดงั น้ี
(1)-ชําระลา งบาดแผล ดว ยการฟอกแผลดวยน้ําสะอาดและสบูหลายคร้ัง
ใหสะอาดโดยการถูเบา ๆ เทาน้ัน หากแผลลึกใหลางจนถึงกนแผล แลวซับแผลใหแหงดวยผา
กอซหรือผาที่สะอาด (ในกรณีน้าํ ลายสุนขั เขาตา ใหใชน ้าํ สะอาดลางตาเทา นน้ั แตลา งหลาย ๆ คร้งั )
(2) พบแพทยเพ่ือดูแลแผล และฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาหรือ
โรคกลวั น้ํา-ขอ สังเกต สําหรบั สตั วทเ่ี ปน โรคพิษสุนัขบา จะมีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม
เชน สัตวท่ีมีนิสัยดุรายจะกลายเปนสัตวที่เช่ือง สัตวที่เชื่องจะกลายเปนสัตวดุราย ตื่นเตน
กระวนกระวาย สุดทา ยจะเปน อมั พาต และตายในทีส่ ดุ
2.3.2 งูมีพษิ /งูไมมีพษิ
พิษจากการถูกงูกัด งูในประเทศไทย แบงเปนงูมีพิษและไมมีพิษ ซึ่งจะมี
ลักษณะบาดแผลตางกันคืองูพิษมีเขี้ยวอยูดานหนาของขากรรไกรบนและมีฟน สวนงูไมมีพิษ
มีแตร อยฟน ไมม รี อยเขีย้ ว
ขั้นตอนการชวยเหลอื เบือ้ งตน
การปฐมพยาบาล เปนสิ่งที่ตองกระทําหลังถูกงูกัดทันทีกอนท่ีจะนําสง
โรงพยาบาล การปฐมพยาบาลผทู ถ่ี กู งกู ัด มดี ังน้ี

(1) รบี นําผปู วยสง โรงพยาบาล ระหวา งนําสงอาจใชเชือก ผา หรือสายยาง
รัดแขนหรือขาระหวางแผลงูกัดกับหัวใจเหนือรอยเข้ียว ประมาณ 2 - 4 น้ิว เพ่ือปองกันพิษงู
ถูกกัดซึมเขารางกายโดยเร็วในปจจุบันนักวิชาการบางทานไมแนะนําใหรีบทําการใชเชือกรัด
และขนั ชะเนาะ เนอ่ื งจากอาจทาํ ใหเกิดผลเสีย คือ การชว ยเหลือลา ชาข้ึน และเส่ียงตอการขาด
เลอื ดบรเิ วณแขนหรอื ขา ทาํ ใหพษิ ทําลายเนือ้ เยื่อมากขึ้นดังน้นั ถารัดควรคาํ นึงถึงความเสี่ยงของ
การรัดดวย โดยคลายเชือกทกุ ๆ 15 นาที นานครั้งละ 30 - 60 วินาทีจนกวาจะถึงโรงพยาบาล

168

ในกรณที ถ่ี ูกงมู พี ิษตอเลือดกดั ไมค วรรัด เพราะจะทําใหแผลท่ีบวมอยูแลว เสี่ยงตอการเกิดเนื้อตาย
และการบวมอาจกดเบยี ดเสน ประสาทและเสนเลือดได

(2) ควรลา งบาดแผลใหส ะอาด อยาใชไฟหรือเหล็กรอนจ้ีที่แผลงูกัด และ
อยาใชมีดกรีดแผลเปนอันขาด เพราะอาจทําใหเลือดออกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ถาถูกงูที่มี
พษิ ตอ เลอื ดกดั หรืออาจตดั ถูกเสนเอ็นหรือเสนประสาท รวมทั้งอาจทาํ ใหเ กิดการตดิ เช้อื ได รวมท้ัง
ไมแนะนําใหใชปากดูดพิษจากแผลงูกัดเพราะพิษอาจเขาทางเย่ือบุปากไดโดยเฉพาะอยางย่ิง
ถา มบี าดแผล ถา รูสึกปวดแผลใหรบั ประทานพาราเซตามอล หามใหแอสไพรินเพราะอาจทําให
เลือดออกงา ยข้นึ

(3) เคลื่อนไหวแขนหรอื ขาสว นที่ถูกงูกัดใหนอยที่สุด ควรจัดตําแหนงของ
สวนที่ถูกงูกัดใหอยูในระดับต่ํากวาหัวใจ เชน หอยมือหรือเทาสวนท่ีถูกงูกัดลงต่ําระหวาง
เดนิ ทางไปยังสถานพยาบาลอยา ใหผ ูปวยเดินหรือขยับสวนท่ีถูกกัด เน่ืองจากการขยับตัวจะทํา
ใหก ลามเนอ้ื มีการยืดและหดตวั พษิ งูเขา สูกระแสเลือดเร็วข้ึน

(4)-ควรตรวจสอบวางอู ะไรกัด และถาเปนไดควรจับหรือตีงูที่กัด และนําสง
ไปยงั สถานพยาบาลดว ย

(5)-อยาใหผูปวยด่ืมแอลกอฮอล หรือยาดองเหลา หรือรับประทานยา
กระตุน ประสาทรวมท้ังชากาแฟ

(6)-ถาผูปวยหยุดหายใจจากงูที่มีพิษตอประสาท ใหทําการเปาปากชวย
หายใจไปตลอดทางจนกวา จะถงึ สถานพยาบาลทีใ่ กลบ า นท่สี ดุ

ขอหาม
หา มรับประทานยาและเครื่องด่มื กระตุนหัวใจ
ขอ สงั เกต
ปลอบโยนใหกําลังใจอยาใหต่ืนเตนตกใจซึ่งจะทําใหหัวใจสูบฉีดโลหิตมากย่ิงขึ้น
พิษงูแพรกระจายไดเ ร็วขึน้ ควรนาํ งทู ีก่ ดั ไปพบแพทยเพ่อื สะดวกตอ การวนิ จิ ฉยั และรกั ษา
2.3.3 แมงปอ ง/ตะขาบ

ผทู ถ่ี ูกแมงปอ งตอ ยหรอื ตะขาบกัด เมื่อถูกแมงปองตอยจะมีอาการปวดแสบ
ปวดรอนอยางรุนแรงบริเวณที่ถูกตอย สําหรับผูที่ถูกตะขาบกัด เข้ียวตะขาบจะฝงลงในเน้ือ
ทาํ ใหมองเห็นเปน 2 จุด อยูดานขาง เม่ือถูกตะขาบกัดจะมีอาการบวมแดง และปวด บางราย
อาจมไี ข ปวดศรี ษะ คล่นื ไส อาเจียน

ขนั้ ตอนการชวยเหลอื เบอ้ื งตน
(1) ใชสายรัดหรือขนั ชะเนาะเหนอื บรเิ วณท่ีถูกกัด หรือเหนือบาดแผล
เพ่อื ปอ งกนั มิใหพ ิษแพรก ระจายออกไป
(2) พยายามทาํ ใหเลอื ดไหลออกจากบาดแผลใหมากท่ีสุด อาจทําไดหลายวิธี
เชน เอามอื บบี เอาวตั ถทุ ่ีมรี ูกดใหแผลอยตู รงกลางรูพอดี เลือดจะไดพ าเอาพิษออกมาดวย

169

(3) ใชแ อมโมเนยี หอมหรือทิงเจอรไอโอดี ทาบรเิ วณแผลใหท วั่
(4) ถามอี าการบวมอกั เสบและปวดมาก ใหใชกอนนํ้าแข็งประคบบริเวณแผล
เพอื่ ชว ยบรรเทาอาการความเจบ็ ปวดดว ย
(5) ถาอาการยงั ไมทุเลาลง ตอ งนําตัวสง โรงพยาบาล เพ่ือใหแพทยตรวจรักษา
ตอ ไป
2.3.4 ผงึ้ ตอ แตน
ผึ้ง ตอ แตน แมลงเหลานี้มีพิษตอคน เมื่อถูกแมลงเหลาน้ีตอย โดยเฉพาะผ้ึง
มันฝงเหล็กในเขาไปในบริเวณที่ตอยและปลอยสารพิษจากตอมพิษออกมา ผูถูกแมลงตอย
สวนมากมีอาการเฉพาะท่ี คอื บริเวณทีถ่ กู ตอ ยจะ ปวด บวม แดง แสบ รอน แตบางคนแพมาก
ทาํ ใหอาการหายใจลําบาก หัวใจเตนผิดปกติ หอบ คล่ืนไส อาเจียน เจ็บหนาอก มีไข และชัก
ความรนุ แรงข้นึ อยูกับภูมิคุมกันของแตละคน และจาํ นวนคร้งั ทถ่ี กู ตอย
ข้ันตอนการชว ยเหลอื เบอื้ งตน
(1) รบี เอาเหลก็ ในออก โดยระวังไมใหถุงนํ้าพิษท่ีอยูในเหล็กในแตกอาจทํา
โดยใชใบมีดขูดออก หรือใชสก็อตเทปปดทาบบริเวณท่ีถูกตอย แลวดึงออกเหล็กในจะติด
ออกมาดวย
(2) ประคบบริเวณทีถ่ ูกตอยดวยความเย็นเพอื่ ลดอาการปวด
(3) ทาครีมลดอาการบวมแดง หรือน้ํายาที่มีฤทธิ์เปนดางออน ๆ ปดแผล
เชน แอมโมเนีย นา้ํ ปูนใส
(4) ถามอี าการแพเฉพาะท่ี เชน บวม คัน หรือเปน ลมพษิ ใหย าแกแ พ
(5) ในกรณที มี่ ีอาการบวมตามหนา และคอ ซ่งึ ทําใหห ายใจไมสะดวกตองรีบ
นาํ สง โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษาขั้นตอไป
2.4 วิธีการปฐมพยาบาลกรณีหมดสติจากการถกู ทาํ รายรา งกาย
การหมดสติ เปน ภาวะท่รี า งกายไมม กี ารตอบสนองตอสิ่งกระตุน สาเหตุเนื่องจาก
สมองไดรับการกระทบกระเทือนจากการถูกทํารายรางกายบริเวณศีรษะ ซ่ึงเปนบริเวณท่ีมี
เสนเลือดใกลผ ิวช้นั นอก ทําใหเลือดไหลออกมาก แตมีบางกรณีไมมีเลือดไหลออกมาภายนอก
ทาํ ใหผ บู าดเจ็บหมดสติ หากไมไ ดร ับการชวยเหลืออาจทําใหเสียชีวิต จึงตองประเมินสถานการณ
และการบาดเจ็บ เพื่อใหก ารปฐมพยาบาลเบอ้ื งตนและนําสงโรงพยาบาลเพ่ือรับการรกั ษา
ขนั้ ตอนการชวยเหลือผูหมดสติ
(1) สํารวจสถานการณบริเวณที่เกิดเหตุอยางรวดเร็ว ถาสถานการณ
ปลอดภัยใหต ะโกนเรยี กผหู มดสติ
(2) หากไมมีการตอบสนอง ใชมือท้ัง 2 ขางตบไหล เรียกพรอมสังเกตการ
ตอบสนอง (การลืมตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคล่ือนไหวของทรวงอก หนาทอง ถาพบวา
ยังหายใจอยูใหร บี ใหการชวยเหลือ และขอความชวยเหลือโดยการโทรเรียกรถพยาบาล 1669

170

แตหากไมตอบสนอง หนาอกหนาทองไมกระเพื่อมข้ึนลง แสดงวา ผูถูกทํารายหมดสติและไม
หายใจ ตองชว ยเหลือผูห มดสติ โดยการทาํ CPR (Cardiopulmonary Resuscitation) โดยเร็ว
ทันทีใหแกผูบาดเจ็บ ซ่ึงจะชวยใหเลือดไดรับออกซิเจนเพิ่มมากข้ึนและมีการไหลเวียนเขาสู
สมองและอวยั วะสาํ คญั อ่ืน ๆ กอ นท่จี ะถึงมือแพทยผูเช่ยี วชาญ ทัง้ นี้ ในกรณีท่ีศีรษะ ลําคอหรือ
หลงั ของผูบาดเจบ็ ไดร ับการบาดเจ็บดวย ผูใหการปฐมพยาบาล จะตองระมัดระวังไมใหศีรษะ
ลําคอหรือหลังของผูบาดเจ็บมีการเคลื่อนไหว ซึ่งทําไดโดยดึงขากรรไกรลางหรือคางของ
ผบู าดเจบ็ ไปขางหนาเพ่อื เปด ทางใหอ ากาศเดนิ ทางเขา ไดส ะดวก

กจิ กรรมทายเรื่องที่ 2 วิธีการปฐมพยาบาลกรณตี า ง ๆ
(ใหผเู รียนไปทาํ กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 2 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)

เรอ่ื งท่ี 3 การวดั สญั ญาณชพี และการประเมนิ เบ้อื งตน
สัญญาณชพี เปน สงิ่ ที่บงบอกความมีชีวิตของบคุ คล ถาสญั ญาณชพี ปกติ จะบงบอก

ถึงภาวะรา งกายปกติ ถาสญั ญาณชีพมกี ารเปล่ียนแปลง สามารถบอกไดถึงการเปลี่ยนแปลงใน
การทําหนาทข่ี องรา งกาย ความรุนแรงของการเจบ็ ปวย และความรบี ดวนที่ตองการรกั ษา

สัญญาณชีพ หมายถึง สิ่งท่ีแสดงใหทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและ
ตรวจพบไดจ ากทชี่ ีพจร อัตราการหายใจ อุณหภูมิรา งกาย และความดันโลหิต ซ่ึงเกิดจากการ
ทาํ งานของอวยั วะของรา งกายท่สี ําคัญมากตอชวี ติ ไดแก หวั ใจ ปอด และสมอง รวมถึงการทํางาน
ของระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ

วตั ถุประสงคข องการวดั สญั ญาณชพี
1.-เพื่อประเมินระดับอุณหภูมิของรางกาย อัตราการเตน ลักษณะชีพจรการ
หายใจ และความดนั โลหติ
2. เพอ่ื สังเกตอาการทวั่ ไปของผปู ว ย และเปนการประเมนิ สภาพผปู ว ยเบ้ืองตน
ขอบง ชี้ของการวัดสัญญาณชพี
1. เมื่อแรกรบั ผูปว ยไวใ นโรงพยาบาล
2. วัดตามระเบียบแบบแผนท่ีปฏิบัตขิ องโรงพยาบาลหรอื ตามแผนการรกั ษาของ
แพทย
3. กอนและหลังการผา ตดั
4. กอ นและหลงั การตรวจวินจิ ฉยั โรคทตี่ องใสเครือ่ งมือตรวจเขาไปภายในรา งกาย
5. กอ นและหลังใชยาบางชนิดที่มผี ลตอหวั ใจและหลอดเลือด
6. เมอ่ื สภาวะทั่วไปของรางกายผปู วยมกี ารเปลีย่ นแปลง เชน ความรสู กึ ตัวลดลง
หรอื ความรนุ แรงของอาการปวดเพ่มิ ขึ้น

171

7. กอนและหลังการใหการพยาบาลที่มีผลตอสัญญาณชีพ สัญญาณชีพ
ประกอบดว ย ชีพจร อัตราการหายใจ อณุ หภูมิรา งกายและความดันโลหติ มีรายละเอยี ดดังนี้

7.1 ชีพจรเปน การหดและขยายตวั ของผนงั หลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัว
ของหัวใจ จังหวะการเตนของเสนเลือดจะสัมพันธกับการเตนของหัวใจ การวัดอัตราการเตน
ของหัวใจ วัดนับจากการใชน ้ิวกลางและน้ิวชี้คลําการเตนของหลอดเลือดแดงตรงดานหนาของ
ขอมือ (ดา นหวั แมมือ) ท่ีอยูต่ํากวา ฐานของนิ้วหัวแมมือ ประมาณ 60 – 100 ครั้งตอ นาที

7.2 อตั ราการหายใจ การหายใจเปนการนําเอาออกซเิ จนเขา สรู า งกายและนาํ
คารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย การวัดอัตราการหายใจดูจากการขยายตัวของชองอก
ประมาณ 12 – 20 ครัง้ ตอนาที

7.3 อุณหภูมิรา งกายเปนระดับความรอนของรา งกาย ซึ่งเกิดจากความสมดุล
ของการสรางความรอนของรางกายและการสูญเสียความรอนของรางกาย มีหนวยเปนองศา-
เซลเซียส (°C) หรือองศาฟาเรนไฮต (°F) ซ่ึงจะไมคอยเปล่ียนแปลงมากนักถึงแมอุณหภูมิ
ภายนอกอาจจะเปลย่ี นแปลง คาปกติ ประมาณ 37 องศาเซลเซยี ส +/- 0.5 องศาเซลเซยี ส

7.4 ความดันโลหิต เปนแรงดันของเลือดท่ีไปกระทบกับผนังเสนเลือดแดง
มหี นวยเปนมลิ ลเิ มตรปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ความดันโลหิตใชตรวจวัดจากเครื่องวัด
คนปกติจะมคี วามดนั โลหติ ประมาณ 90/60 - 120/80 มิลลิเมตรปรอท

กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 3 การวัดสญั ญาณชีพและการประเมินเบอ้ื งตน
(ใหผูเรยี นไปทํากิจกรรมทายเร่อื งท่ี 3 ทีส่ มดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวิชา)

เร่ืองที่ 4 วธิ ีการชว ยชวี ติ ข้ันพน้ื ฐาน
การชวยชีวิตขั้นพ้ืนฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) เปน

การชวยเหลือผูบาดเจ็บ เมื่อเกิดภาวะหัวใจหยุดเตนกะทันหัน เพ่ือนําออกซิเจนเขาสูรางกาย
และชวยใหโลหิตมีการไหลเวียนไปเล้ียงเน้ือเย่ือตาง ๆ ของรางกาย จนกระทั่งระบบตาง ๆ
กลับมาทําหนา ท่ไี ดเปนปกติ

สาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเตนกะทันหัน ไดแก หัวใจ
ขาดเลอื ด ไฟฟาดูด ไดรบั สารพษิ จมน้าํ อุบตั ิเหตตุ าง ๆ เปนตน

อาการของผูที่ตองไดรับการชวยเหลือ โดยการทํา CPR คือ หมดสติ หยุดหายใจ
หรอื มีการหายใจผิดปกติ (Gasping)

172

ขั้นตอนการชว ยชวี ติ ขน้ั พืน้ ฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR)
1. สํารวจสถานการณ

สาํ รวจสถานการณบ ริเวณทเ่ี กิดเหตอุ ยางรวดเร็ว ถาสถานการณปลอดภัยให
ตะโกนเรยี กผบู าดเจบ็

2. หากไมมกี ารตอบสนอง ใชมอื ทง้ั 2 ขางตบไหล เรียกพรอมสงั เกตการตอบสนอง
(การลืมตาขยับตัว และพูด) และดูการเคล่ือนไหวของทรวงอก หนาทอง พบวาหนาซีดไมมีการ
ตอบสนอง หนาอก หนาทองไมเคลอ่ื นไหว แสดงวาหมดสติ ไมหายใจ ใหต ะโกนขอความชว ยเหลอื

3. ขอความชว ยเหลือ
ถาผูบาดเจ็บหมดสติไมหายใจ ใหขอความชวยเหลือ โทรศัพทแจง 1669

(ศูนยนเรนทร)
4. การกระตนุ หัวใจ โดยการกดหนา อก 30 ครั้ง
(1) ตําแหนง : ก่ึงกลางหนาอก
(2) กดดว ย : สันมอื 2 ขา งซอ นกัน
(3) กดลกึ : 5–6 เซนตเิ มตร
(4) กดเร็ว : 100–120 ครั้ง/นาที และตอ งผอนมือใหทรวงอกคืนตัวกอน
กดครั้งตอ ไป
(5) จํานวน : 30 คร้งั
(6) ออกแรงกดจากลําตัวโดยมีสะโพกเปนจุดหมุน กดในแนวต้ังฉากกับพ้ืน

ขอศอกเหยียดตรง เวลาในการกดและผอนตองเทากัน กดแรงและกดเร็วเปนจังหวะ
(Push Hard – Push Fast)

5. การผายปอด และการชวยหายใจ
5.1 การชวยหายใจโดยวิธีเปาปาก ใหผูปวยนอนหงาย วางศีรษะใหตํ่ากวาไหล

เล็กนอย และใหแหงนศีรษะไปขางหลังเทาที่จะทําได เพ่ือใหทางเดินหายใจของผูปวยโลง
ล้ินมาจุกที่คอหอย ใชมือหนึ่งบีบจมูกของผูปวย ใชนิ้วหัวแมมือของอีกมือหน่ึงแหยเขาไป
ในปากผูป วยเพอ่ื ดึงคางใหอา ออก หายใจเขา ลกึ ๆ อาปากใหกวาง ๆ เอาปากประกบกบั ปากผปู ว ย
ใหแนนแลวเปาลมเขาไปในปากผูปวย ดูวาหนาอกผูปวยพองข้ึนหรือไม ถาพองขึ้นแสดงวา
ลมเขาไปในปอดไดดี ถอนปากที่ประกบออกเพื่อใหผูปวยไดหายใจออกเอง เม่ือผูปวยหนาอก
ยบุ ลง ก็เปาลมเขาไปในปากผูปวยอีก ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ประมาณ 15 - 20 คร้ังตอนาทีจนกวา
ผูปวยจะหายใจไดเ อง ระหวา งปฏบิ ตั ใิ หศรี ษะผปู ว ยแหงนไปขา งหลงั ตลอดเวลา

173

5.2 การชวยหายใจโดยวิธีเปา จมูก ใหผปู ว ยอยใู นทาเชนเดียวกับวิธีชวยหายใจ
ดวยวธิ เี ปาปาก แตใชมือขา งหนึ่งดันคางผปู ว ยใหปากปดสนิท หายใจเขาลึก ๆ เอาปากประกบ
ลงไปบนจมูกผูปวยใหแนบสนิท แลวเปาลมเขาไป ดูวาหนาอกผูปวยพองขึ้นหรือไม
ถา พองขนึ้ แสดงวา ลมเขา ไปในปอดไดด ี ถอนปากออกแลวใชมือจับคางผูปวยใหอาออก เพื่อให
ผปู ว ยหายใจออกไดท างปาก เม่ือผูปวยหนาอกยุบลง ก็เปาลมไปทางจมูกเชนเดิมอีก ทําเชนนี้
ไปเรื่อย ๆ จนกวา ผปู วยจะหายใจไดเอง

5.3 การชวยหายใจโดยการยกแขนและกดทรวงอก ใหผูปวยอยูในทา
เชนเดียวกับสองวิธีแรก พับแขนผูปวยเขาหากันไวบนอก น่ังคุกเขาอยูเหนือศีรษะผูปวย
จบั ขอมือผูปวยทง้ั 2 ขา ง ขา งละมอื โยตวั ไปขางหนาเหยียดแขนตรงกดลงไปตรงมือของผูปวย
ซงึ่ จะเทากบั กดทรวงอกของผปู วยใหหายใจออกขับเอานาํ้ ออกมา แลวโยต วั ไปขา งหลงั พรอมกับ
จับแขนผูปวยท้ัง 2 ขางดึงแยกขึ้นไปขางบนใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดจะทําใหปอดผูปวยขยายตัว
ทาํ ใหอากาศไหลเขาไปได ทําเชน นไี้ ปเรอ่ื ย ๆ จนกวาผูป ว ยจะหายใจไดเ อง

5.4 การชวยหายใจโดยการแยกแขนและกดหลัง ใหผูปวยนอนควํ่า ใหแขน
ของผูปว ยทงั้ 2 ขา งพบั เขาหากัน หนุนอยใู ตค าง นัง่ คกุ เขาอยเู หนือศีรษะผูปวย วางฝามือลงบนหลัง
ของผปู ว ยใตตอ กระดูกสะบัก ขา งละมือ โดยใหหัวแมม ือมาจดกัน กางนิ้วมือทั้ง 2 ขา งออก โนมตวั
ไปขา งหนา แขนเหยียดตรงใชน้ําหนักตัวกดลงบนแผนหลังของผูปวย ซึ่งจะเทากับกดทรวงอก
ของผปู ว ยใหห ายใจออก ขบั เอานํ้า (ถาม)ี ออกมาจากน้ียายมือท้ัง 2 ขางมาจับตนแขนผูปวยแลว

174

โยต ัวกลับพรอ มกับดึงขอศอกของผูปวยมาดวย จะทําใหปอดผูปวยขยายตัว ทําใหอากาศไหล
เขา ไปได ทําเชนนี้เรอ่ื ย ๆ ไปจนกวาผูปวยจะหายใจไดเอง ถาการชวยหายใจกระทําไดถูกตอง
ดงั กลาว และหัวใจของผูปว ยยังเตนอยูตลอดเวลาผูปวยจะดูแดงข้ึน และอาจกลับมาหายใจได
เปนปกตอิ กี

ขอ สังเกต
(1) การกดหนาอกใหกดตอเนื่อง ระวังอยาหยุดกดหรืออยาใหมีการเวนระยะ
การกด
(2) การกดหนาอกแตล ะครงั้ ตอ งมกี ารปลอ ยใหท รวงอกกลับคืนสูสภาพเดิมกอน
(แตไ มย กสันมอื ขน้ึ พนจากทรวงอก) แลวจึงกดครัง้ ตอไป
เมือ่ หวั ใจถูกกดดว ยความลกึ 5 – 6 เซนติเมตร ความดันในชองอกจะเพ่ิมข้ึนทํา
ใหม ีเลอื ดสูบฉดี ออกจากหวั ใจ และไหลเวยี นไปเลย้ี งสมองและอวยั วะอืน่ ๆ
เมื่อหัวใจคลายตัวกลับสูสภาพเดิมในระหวางการกดหนาอก และความดัน
ในชองอกลดลงเลือดจะไหลกลับสูหัวใจและปอด เพื่อรับออกซิเจนท่ีเปาเขาไปจากการชวย
หายใจ และพรอมท่จี ะสบู ฉดี ครั้งใหมตอ ไป

กจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 4 วิธีการชวยชีวิตขน้ั พืน้ ฐาน
(ใหผูเรยี นไปทํากจิ กรรมทายเรอื่ งที่ 4 ทส่ี มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)

175

หนว ยการเรยี นรทู ี่ 12
การเดนิ ทางไกล อยคู า ยพกั แรม และชีวติ ชาวคาย

สาระสาํ คญั
การเดินทางไกล เปนการเดินทางของลูกเสือ จากกองลูกเสือ หรือกลุมลูกเสือ

ไปทํากจิ กรรมตาง ๆ ในสถานที่ใดท่ีหน่ึง ซึ่งนายหมูลูกเสือ และผูกํากับลูกเสือรวมกันกําหนด
เพอ่ื ใหสมาชกิ ไดเ กิดการเรยี นรรู ว มกนั ปฏิบตั กิ ิจกรรมรวมกัน ใชชีวติ รวมกัน แลกเปล่ียนเรียนรู
ประสบการณรวมกัน โดยมีระบบหมูลูกเสือเปนหลักในการทํากิจกรรมเสริมสรางคุณธรรม
และอุดมการณลูกเสือ มีความเปนพ่ีนองกัน และพัฒนาความเปนพลเมืองดี ตามทักษะของ
ลูกเสือ ท้ังน้ี เพื่อฝกความอดทน ความสามัคคี ความมีวินัย และความเปนระเบียบเรียบรอย
ตลอดจนรจู กั การเตรยี มความพรอ มในการใชชีวิตกลางแจง

การอยูค า ยพักแรม เปนการไปพักแรมในสถานที่ตาง ๆ และนําสิ่งท่ีไดจากการ
เรียนรูท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยมีกระบวนการถายทอดความรู และการแลกเปล่ียน
ประสบการณตลอดจนการเสริมสรางพัฒนาทักษะลูกเสือ รวมทั้งการฝกกระบวนการคิด
วิเคราะห และสรางสรรคส งิ่ ที่เปน ประโยชน และสมั พนั ธก ับวิถชี ีวติ

ชีวิตชาวคาย เปนกิจกรรมเสริมสรางลักษณะนิสัยท่ีดีในการใชชีวิตรวมกันทํา
กิจกรรมรวมกัน มีความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะการประกอบ
อาชีพแบบชาวคาย ทักษะการใชอุปกรณ เครื่องมือเคร่ืองใชท่ีจําเปนในการอยูคายพักแรม
รวมทั้งการเสริมสรางคุณธรรมในตนเอง โดยมีคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เปนหลักใน
การดาํ รงชวี ิตชาวคา ย

การจัดการคายพกั แรม เปนการกาํ หนดตาํ แหนง ทจ่ี ะสรางเต็นท ครัว สุขาภิบาล
ราวตากผา ใหเหมาะสมกบั สถานทต่ี งั้ คายพักแรม ดังนนั้ ตอ งศึกษาสภาพภมู ปิ ระเทศ คาดคะเน
ความเหมาะสมของพืน้ ที่ แหลง นํ้า เสนทางคมนาคม และความปลอดภยั จากผูกอ การราย

ตวั ชี้วัด

1. อธิบายความหมายของการเดินทางไกล
2. อธบิ ายความหมายของการอยูคา ยพักแรม
3. อธบิ ายการใชเครือ่ งมือสาํ หรับชีวิตชาวคา ย
4. อธิบายวิธีการจัดการคา ยพกั แรม

176

ขอบขายเน้ือหา
เร่ืองท่ี 1 การเดนิ ทางไกล
1.1 ความหมายของการเดินทางไกล
1.2 วตั ถุประสงคของการเดนิ ทางไกล
1.3 หลักการของการเดินทางไกล
1.4 การบรรจุเคร่อื งหลงั สาํ หรบั การเดนิ ทางไกล
เร่ืองท่ี 2 การอยูคา ยพักแรม
2.1 ความหมายของการอยคู ายพกั แรม
2.2 วัตถุประสงคของการอยูคายพกั แรม
2.3 หลกั การของการอยูค า ยพกั แรม
เร่ืองท่ี 3 ชวี ิตชาวคา ย
3.1 เครอ่ื งมอื เคร่ืองใชท ่ีจาํ เปนสําหรับชีวติ ชาวคา ย
3.2 การสรางครัวชาวคา ย
3.3 การสรา งเตาประเภทตา ง ๆ
3.4 การประกอบอาหารแบบชาวคา ย
3.5 การกางเต็นท และการเก็บเต็นทช นิดตา ง ๆ
เรอ่ื งท่ี 4 วธิ ีการจัดการคายพักแรม
4.1 การวางผงั คา ยพกั แรม
4.2 การสุขาภบิ าลในคา ยพักแรม

เวลาทีใ่ ชในการศกึ ษา 6 ชว่ั โมง

ส่ือการเรียนรู
1. ชุดวิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรูประกอบชดุ วชิ า
3. ส่อื เสริมการเรยี นรูอ ่นื ๆ

177

เร่อื งที่ 1 การเดนิ ทางไกล
1.1 ความหมายของการเดินทางไกล
การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกองหรือกลุมลูกเสือ

เพ่ือไปทํากิจกรรมทใี่ ดทห่ี นึ่ง โดยมผี ูก าํ กบั และนายหมูลูกเสอื เปน ผกู ําหนดรว มกนั เพือ่ นาํ ลูกเสือ
ไปฝกทักษะวิชาการลูกเสือเพ่ิมเติม ใหรูจักการใชชีวิตกลางแจงและสัมผัสกับธรรมชาติ
อยางใกลชิด โดยลูกเสือไดใชความสามารถของตนเอง การเดินทางไกลของลูกเสือสามารถ
เดนิ ทางดวยเทา เรอื หรอื จกั รยานสองลอ รวมถงึ รถยนตอีกดว ย

1.2 วตั ถุประสงคของการเดินทางไกล มดี ังนี้
1) เพอื่ ฝกความอดทนความมรี ะเบยี บวินัยและเสริมสรางสุขภาพอนามยั ใหแ ก

ลูกเสือ
2) เพอ่ื ใหล ูกเสือมีเจตนารมณ และเจตคตทิ ่ดี ีรจู ักชวยตนเองและรูจ กั ทํางาน

รว มกบั ผูอนื่
3) เพ่อื ใหมโี อกาสปฏบิ ัตติ ามคติพจนของลูกเสอื และมโี อกาสบริการตอ ชมุ ชน

ที่ไปอยูคา ยพกั แรม
4) เพื่อเปน การฝกและปฏิบตั ิตามกฎของลูกเสอื

1.3 หลักการของการเดนิ ทางไกล
การเดินทางไกล ใชร ะบบหมู เพื่อฝกความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย

การชว ยเหลือซ่ึงกนั และกนั รจู กั การระมดั ระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการเตรียมตัว
ในการเดินทางใหไดใชชีวติ กลางแจง

1.4 การบรรจุเครอื่ งหลงั สําหรบั การเดนิ ทางไกล
เปนกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ ซึ่งลูกเสือจะตองมีการเตรียมการเร่ืองเครื่องหลัง

ใหพรอ มเหมาะสมกบั เดินทางไกลไปแรมคืน ซ่ึงอุปกรณที่จะจัดเตรียม คือ อุปกรณเฉพาะบุคคล
หรืออุปกรณประจําตัวที่จําเปนจะตองเตรียมพรอมกอนกําหนดเดินทางควรมีน้ําหนักไมมากนัก
มดี งั น้ี

1) เครอ่ื งแตง กาย ไดแก เคร่อื งแบบลูกเสือและเครื่องหมายประกอบเคร่ืองแบบ
คือ หมวก ผา ผูกคอ เสอ้ื กางเกงหรอื กระโปรง เข็มขดั ถงุ เทา รองเทาหรอื ชดุ ลําลอง หรอื ชุดสุภาพ
ชุดกีฬา ชดุ นอน

2) เครือ่ งใชประจําตัว ไดแก สบู แปรงสฟี น ยาสีฟน ผาเช็ดตัว ผาขาวมา ผาถุง
ไฟฉาย ขันน้ํา รองเทา แตะ จาน ชาม ชอ น ยากนั ยงุ ยาขัดโลหะ เชอื ก หรือยาง สําหรับผูกหรือ
รดั อปุ กรณเลก็ ๆ นอ ย ๆ ถุงพลาสตกิ สําหรับใสเสอ้ื ผาทใ่ี ชแ ลวหรอื เปยกชน้ื

3) ยาประจาํ ตัว หรืออุปกรณปฐมพยาบาล
4) อุปกรณประกอบการเรียนรู และการจดบันทึกกิจกรรม เชน สมุด ปากกา
ดินสอ แผนท่ี เขม็ ทิศ

178

5) อุปกรณท ่ีจาํ เปน ตามฤดูกาล เชน เสอื้ กนั ฝน เสื้อกนั หนาว
6) อปุ กรณเ ครอ่ื งนอน เชน ผา หม ถุงนอน
7) อปุ กรณท่ีประจํากายลูกเสอื เชน ไมงา ม กระตกิ นา้ํ เชือกลกู เสอื
ขอ แนะนําในการบรรจเุ คร่ืองหลัง
เครือ่ งหลงั คอื ถุงหรอื กระเปาสําหรับใสสิ่งของตาง ๆ และใชสะพายหลัง เพ่ือให
สามารถนําสิ่งของไปยังสถานที่ตาง ๆ ไดอยางสะดวก เคร่ืองหลังจึงเปนส่ิงสําคัญ และมีความ
จาํ เปน มากสําหรับกจิ กรรมการเดนิ ทางไกล เพราะลูกเสือตองใชบรรจุอุปกรณประตัว อุปกรณ
ประจําหมู ซง่ึ ตองนําไปใชใ นการอยูค า ยพักแรม การบรรจุส่ิงของลงในถุงเคร่ืองหลัง หรือกระเปา
มีขอแนะนาํ ดังน้ี
1) ควรเลือกเคร่อื งหลังทม่ี ีขนาดพอเหมาะไมเลก็ หรือใหญจ นเกินไป
2) ควรบรรจสุ ่งิ ของท่ีมีนา้ํ หนกั มากหรือสง่ิ ของท่ีใชภายหลังไวขางลาง สวนสิ่งของ
ท่ใี ชก อนหรอื ใชร บี ดว น เชน ไฟฉาย เสื้อกันฝน ไมข ีดไฟ ใหไ วขางบนสุดของเคร่ืองหลังซึ่งสามารถ
นาํ ออกมาใชไดอยา งสะดวก
3) ควรบรรจุส่งิ ของนุม ๆ เชน ผาเช็ดตัว ผาหม เส้ือผาใสในเคร่ืองหลังตรงสวนที่
จะสมั ผัสกบั หลงั ของลกู เสือเพ่อื จะไดไมเ จบ็ หลงั ขณะเดินทาง
4) สิ่งของบางประเภท เชน ยารักษาโรค ขาวสาร เปนตน ควรใสถุงผาหรือ
ถงุ พลาสตกิ กอน แลวจึงบรรจุลงเครื่องหลัง
5) ในกรณีท่ีถงุ นอน และผา หม บรรจุเคร่อื งหลังไมได ใหผูกถุงนอนและผาหมนอน
ของลูกเสอื ไวนอกเคร่อื งหลัง คลมุ ดวยพลาสติกใสเพือ่ กนั เปยกนาํ้
6) เครือ่ งหลงั ที่ลกู เสือนําไปตอ งไมห นักจนเกินไป เพราะถาหนักเกินไปจะทําให
ลูกเสือเหนื่อยเร็ว นํ้าหนักของเคร่ืองหลังควรหนักไมเกิน 1 ใน 5 ของนํ้าหนักตัวลูกเสือ เชน
ถา ลกู เสือหนัก 50 กโิ ลกรมั เครือ่ งหลงั ควรหนกั ไมเกนิ 10 กิโลกรัม เปนตน ปจจุบันเคร่ืองหลัง
ท่ีใชบรรจุส่ิงของนั้นมีหลายชนิดแลวแตลูกเสือจะเลือกใช เชน กระเปา ยาม หรือเป ลูกเสือ
ควรเลือกใชเคร่ืองหลังที่มีลักษณะคลายเป เพราะมชี อ งสําหรับบรรจุสิ่งของหลายประเภท

กจิ กรรมทา ยเรื่องท่ี 1 การเดนิ ทางไกล
(ใหผูเรียนไปทํากจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

179

เรื่องที่ 2 การอยูคายพักแรม
2.1 ความหมายของการอยคู ายพกั แรม
การอยูคายพักแรมลูกเสือ คือ องครวมของการเรียนรูท้ังภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏบิ ตั ิ โดยมีนวัตกรรมและขบวนการถา ยทอด การทดสอบ การเสรมิ สรา งพฒั นาการใหแก
ลูกเสือในทุกระดับ โดยการนําลูกเสือออกจากที่ตั้งปกติไปพักแรมคืนตามคายลูกเสือตาง ๆ
รวมทง้ั สถานที่ท่ีมอี งคป ระกอบทีเ่ หมาะสมกบั การจัดกจิ กรรมลูกเสือ เชน วนอุทยาน ชายทะเล
เปนตน โดยมีแผนการอยูคายพักแรมในแตละครั้งสอดคลองกับการเรียนการสอนกิจกรรม
ลูกเสือในเวลาปกติ

2.2 วัตถปุ ระสงคของการอยคู า ยพักแรม มดี ังนี้
1) เพ่อื ใหลกู เสอื ทบทวนส่งิ ท่ไี ดเรียนรูจากทฤษฎี และการฝก ปฏบิ ตั ิ
2) เพ่อื เปน การฝกทกั ษะทางลกู เสอื ใหม ีระเบียบวนิ ัย มีเจตคติ มีคานยิ มทดี่ งี าม
3) เพื่อใหล ูกเสอื ปฏบิ ตั ติ ามคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื

2.3 หลกั การของการอยคู า ยพกั แรม มดี งั นี้
1) ยดึ หลักการมีสวนรว ม โดยใหผ บู งั คบั บัญชาลูกเสือ ลกู เสือ และชุมชน มีสวนรวม

ในการจดั กิจกรรม
2) ใชก ระบวนการเรยี นรูท่ีเนน ลูกเสือเปนสําคัญ มีทักษะในการแสวงหาความรู

จากแหลงเรียนรใู นชมุ ชน
3) ใชกระบวนการกลุมในการจัดประสบการณการเรียนรู ฝกใหคิดวิเคราะห

สรางสรรค ที่เปน ประโยชนและสัมพนั ธกบั วถิ ีชวี ิต
4) มีกิจกรรมวิชาการและกิจกรรมนันทนาการท่ีใหลูกเสือไดรับความรู และ

ความสนุกสนาน ทาํ งานรว มกนั เปนกลุม เพอ่ื เสรมิ สราง ความสามัคคี มนษุ ยสมั พันธ ความเปนผนู าํ
5) ตอ งคาํ นงึ ถึงความปลอดภัยในดานตาง ๆ ระหวางการทํากจิ กรรม

กิจกรรมทายเร่อื งท่ี 2 การอยคู ายพกั แรม
(ใหผ เู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเรื่องที่ 2 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)

180

เรือ่ งที่ 3 ชีวติ ชาวคา ย
ชีวติ ชาวคาย เปนกิจกรรมสรา งนิสัย การบําเพ็ญประโยชน รูจักการปรับตัวเขา

หากนั และการอยูรวมกันอยางมีความสุข โดยการฝกปฏิบัติตนดวยการทํางานรวมกันเปนหมู
รูจักยอมรับในบทบาทหนาท่ีซ่ึงกันและกัน ฝกการเปนผูนํา ผูตาม ฝกใหรูจักชวยเหลือตนเอง
เมอื่ มีเหตุการณคับขัน รูจักการดํารงชีพกลางแจงโดยไมน่ิงเฉย เชื่อฟงกฎกติกาอยูในระเบียบ
อยา งเครง ครดั สรางเสรมิ คณุ ธรรม สรางความมีวนิ ัย

ชวี ติ ชาวคาย ประกอบดวย
1. เคร่ืองมือ เครือ่ งใช ทจี่ ําเปน สาํ หรบั ชีวิตชาวคาย
2. การสรางครวั ชาวคาย
3. การสรางเตาประเภทตาง ๆ
4. การประกอบอาหารแบบชาวคาย
5. การกางเต็นท และการเกบ็ เต็นทช นิดตา ง ๆ
3.1 เครอื่ งมือ เครื่องใช ทจี่ าํ เปนสําหรบั ชีวติ ชาวคาย
เคร่ืองมือ เคร่ืองใช สําหรับการอยูคายพักแรม มีหลากหลายประเภทแยกตาม
ลักษณะของการใชงาน แบงออกเปน ของมีคม ไดแก มีด ขวาน เล่ือย เคร่ืองมือที่ใชสําหรับขุด
ไดแก จอบ เสียม พลั่ว พล่ัวสนาม และเครื่องมือท่ีใชสําหรับตอก ไดแก คอน โดยแยกเก็บ
ตามประเภท และลักษณะการใชงาน เพื่อความสะดวกในการหยิบใชงาน และความเปนระเบียบ
เรียบรอ ย
มีด คือ เคร่ืองมือชนิดแรก ๆ ท่ีมนุษยประดิษฐขึ้นเพื่อใชในชีวิตประจําวัน
มาอยางยาวนานเก่ียวของสัมพันธกับแทบทุกกิจกรรมในการดําเนินชีวิตมีดเปนเครื่องมือ
ตัดเฉือนชนิดมีคม สําหรับใชสับหั่นเฉือนปาดบางชนิดอาจมีปลายแหลมสําหรับกรีดหรือแทง
มักมขี นาดเหมาะสมสาํ หรบั จับถอื ดว ยมือเดยี ว
ขวาน เปนเครื่องมือท่ีทําดวยเหล็กมีสันหนาใหญใชในการตัดไม ฟนไม
ผาไม ตอกไม รวมไปถงึ การใชเ ปน อาวุธ โดยทั่วไปขวานจะประกอบดวยสองสวนหลัก คือ สวนหัว
และสวนดามจับ โดยขวานจะมีทั้งแบบทีด่ า มยาว และแบบดา มสัน้ ข้นึ อยกู บั งานท่ใี ช
การดแู ลรกั ษามดี และขวาน
1) ไมควรวางมดี หรือขวานไวกับพ้นื เพราะจะเปนอันตรายตอ ผูอ่นื ถา เผลอไปเหยียบ
รวมทัง้ จะทําใหคมมีดและขวานเปน สนมิ ได
2) อยาใชมีดหรือขวานห่ันถากวัตถุที่แข็งเกินไป เพราะอาจทําใหหมดคมหรือ
อาจบ่นิ เสียหายได
3) ไมค วรเอามีดหรอื ขวานลนไฟหรือหั่นสบั สิง่ ทก่ี าํ ลงั รอ นเพราะจะทําใหท อ่ื งา ย

181

4) หลงั จากใชมดี หรอื ขวานเสร็จแลวตองลางใหสะอาดเช็ดใหแหงทาน้ํามันแลว
เก็บเขาท่ีใหเ รยี บรอย ถา เปนมดี หรอื ขวานทม่ี ีปลอกมหี นา กากควรสวมปลอกหรือหนากากกอน
แลว นําไปเก็บ

5) เม่ือคมมีดหรอื คมขวานทอ่ื ควรลับกบั หนิ ลบั มีดหรือหินกากเพชร
6) ถาดามมีดหรือดามขวานแตกราวตองรีบซอมแซมใหอยูในสภาพดีกอนนําไปเก็บ
หรือนําไปใชง าน
วิธถี อื มดี และขวานใหป ลอดภยั
1) ตองหันดานคมของมดี หรือขวานออกนอกตวั
2) เวลาแบกขวานตองระวงั อยาใหคมขวานหอ ยลงหรือหนั เขา หาตวั
3) ถา เปนขวานขนาดเล็กเวลาถือใหจบั ทีต่ ัวขวานปลอยดามขวานช้ีลงพ้ืนหันคม
ขวานไปทางดา นหลัง
วิธีสงมีดและขวานใหป ลอดภยั
1) การสงมีดผูสงจับสันมีดหันคมมีดออกนอกตัวหรือหันดานคมลงพื้นสงดามมีด
ใหผจู บั
2) การสง ขวานผูสงจับปลายดามขวานหอยตัวขวานลงใหคมขวานหันไปดานขาง
ผูร ับตอ งจับดามขวานใตม อื ผสู ง
เล่ือย เปนเล่ือยสําหรับงานไมโดยท่ัวไป ทําดวยโลหะแผนบาง มีฟนเปนซ่ี ๆ
โดยฟนของซเ่ี ล่ือยมคี วามแตกตางกนั ตามความเหมาะสมกบั การใชงาน
การดแู ลรกั ษา
1) หลงั จากการใชงานใหคลายใบเล่ือยออกเล็กนอย เพอ่ื ยดื อายใุ บเลอื่ ยใหใชง าน
ไดย าวนานขน้ึ
2) ใชแปรงปดทําความสะอาดทุกสวน ทาดวยนํ้ามัน แลวเก็บไวในที่เก็บหลัง
การใชงาน
จอบ เปน เคร่อื งมือขุดเดิน ที่มีน้ําหนักปานกลางและมีความทนทานสูง จอบใช
ในการขดุ ดินแขง็ ๆ และขดุ หลุมใหมีขนาดกวา งและลึกได ลกั ษณะเดนของจอบ คือ มีใบที่แบน
กวางและคม สามารถเจาะผานพื้นดินหรือกอนดินทแี่ ขง็ ๆ ใหแ ยกขาดออกจากกันไดโ ดยงาย
การดแู ลรกั ษา
หลงั จากการใชท ุกครั้งควรลา งทาํ ความสะอาดดวยน้ํา เพ่ือกําจัดดินที่ติดตามใบ
จอบ และคมจอบใหห มดเสยี กอ น จากนน้ั ใหใชผ าเชด็ ใหแหง แลวทานํ้ามันกันสนิมและเก็บเขา
ท่ใี หเรยี บรอย
เสียม เปนเครื่องมือขุดดิน ท่ีมีน้ําหนักเบาที่สุดในบรรดาเครื่องมือขุดดิน
ทุกชนิดดวยรูปทรงที่เล็กมีนํ้าหนักเบา จึงไมกินแรงผูใช เสียมจึงมีบทบาทสําคัญในงาน
ดา นการเกษตรทุกชนดิ จึงพดู ไดวาเสยี มเปนเครอื่ งมือการเกษตรท่มี าคูกับจอบ เพราะสิ่งท่ีจอบ

182

ทําไดเสียมก็สามารถทําได เชน การขุดดิน ขุดลอก เปนตน แตสิ่งท่ีเสียมทําไดน้ันจอบ
ไมสามารถทําไดก็คือการขุดหลุมที่ลึกและแคบ และการขุดดินในที่แคบ ๆ ท่ีตองใช
ความระมดั ระวงั สูง เชน การขดุ ลอมตนไมขนาดเลก็ และการขุดหนอกลวย เปนตน

การดูแลรักษา
หลังจากการใชง านทุกครงั้ ควรลางทําความสะอาดดว ยน้ํา เพอ่ื กาํ จัดดินท่ีติดปลาย
เสยี มใหห มดเสยี กอน จากนน้ั กใ็ ชผา เช็ดใหแหง ทาน้ํามันกันสนมิ แลว หาทีเ่ ก็บเขาท่ีใหเรียบรอ ย
พลั่ว เปนเครื่องมือใชในการตักดิน หรือตักทรายที่ความละเอียดมาก หรือเปน
กอนที่ไมใหญนัก พล่ัวมีน้ําหนักพอ ๆ กับเสียม แตมีใบที่กวางและบางกวาเสียมและจอบ
เลก็ นอ ย คมของพลั่วไมไดมีไวใชในการขุดหรือเจาะ แตมีไวในการตักหรือโกย เศษทราย เศษดิน
หรือเศษวัชพชื ที่ไดท าํ การกวาดรวม ๆ กันไวเปน กอง ๆ เรียบรอยแลว เพื่อตักไปใสถุงปุย หรือ
บุง กีห๋ รือถงั ขยะ เพื่อเพม่ิ ความรวดเร็วในการจัดเกบ็ และทาํ ความสะอาด
การดแู ลรกั ษา
หลงั จากการใชท ุกครัง้ ควรลา งทาํ ความสะอาดดวยนํ้า เพ่ือกําจัดเศษดินเศษทราย
ท่ีติดตามปลายพลั่วใหหมดเสียกอน จากนั้นก็ใชผาเช็ดใหแหง ทาน้ํามันกันสนิมแลวเก็บเขาที่
ใหเ รยี บรอย
คอน คือเคร่ืองมือสําหรับตอกหรือทุบบนวัตถุอ่ืน สําหรับการใชงานเชน
การตอกตะปู การจัดช้ินสวนใหเขา รปู และการทบุ ทลายวตั ถุ คอนอาจไดรับการออกแบบมาให
ใชง านเฉพาะทาง และมีรูปรางกับโครงสรางที่หลากหลาย แตมีโครงสรางพื้นฐานที่เหมือนกัน
คือ ดามจบั และหัวคอน ซ่ึงน้าํ หนักจะคอ นไปทางหวั คอนมากกวา แรงท่ีกระทบเปาหมายจะมาก
เทาใด ข้ึนอยูกับมวลของคอนและความเรงของการตอก ดังนั้นเมื่อคอนยิ่งหนักมากและหวด
ดวยความเรง มาก แรงท่ีไดจากคอ นย่ิงมากตามไปดวย
การดแู ลรกั ษา
1) เลอื กชนิดของคอนใหเ หมาะกบั งาน
2) เม่ือใชง านเสรจ็ ควรเช็ดทาํ ความสะอาด แลว ทาน้าํ มนั ท่หี วั คอนเพื่อปอ งกันสนมิ
3.2 การสรา งครัวชาวคาย
การสรางครัว เปนการกําหนดพนื้ ท่ีสําหรับใชในการประกอบอาหารตลอดระยะเวลา
ในการอยูคา ยพักแรม มอี งคป ระกอบในการสรา งครวั ดังนี้
ที่ทําครัว ควรมีเขตทําครัวโดยเฉพาะ โดยเลือกพื้นที่ท่ีจะเปนเหตุใหเสียหายแก
พ้ืนที่นอยท่ีสุด ถามีหญาข้ึนอยูตองแซะหญาออก (ใหติดดินประมาณ 10 ซม.) แลวจึงคอย
ตั้งเตาไฟ สวนหญาท่ีแซะออกน้ันจะตองหมั่นรดน้ําไว เม่ือการอยูคายพักแรมไดส้ินสุดลงแลว
ก็ใหปลูกหญาไวที่เดิม แลวรดน้ําเพอื่ ใหค ืนสูสภาพเดิม

183

ในการจัดทาํ เคร่ืองใชน้ัน อะไรควรจัดทํากอน อะไรควรจัดทําภายหลังถือหลักวา
อันไหนสําคัญที่สุดก็ใหจัดทํากอน แลวจึงคอย ๆ จัดทําส่ิงท่ีมีความสําคัญรองลงมาตามลําดับ
ตอ ไปน้ี คอื คาํ แนะนาํ ในการสรา งเครือ่ งใชต า ง ๆ

เตาไฟ มหี ลายแบบ เชน แบบขดุ เปน ราง แบบใชอิฐ หรือกอนหินวางเปนสามเสา
แบบเตายืนเปนแบบสะดวกในการทาํ ครวั กอ นต้ังเตาไฟควรทําความสะอาดบริเวณนั้น อยาให
มเี ช้อื ไฟหรอื สง่ิ ที่ติดไฟงายอยใู กล ๆ

กองฟน ลักษณะของฟน ที่นํามาใชควรเปนไมแหง เพ่ืองายตอการกอไฟ ควรกอง
ใหเปน ระเบยี บ อยูไมห างจากเตาไฟ ถา ฝนตกจะตอ งมหี ลังคาคลุมดิน สําหรบั เตายนื อาจเอาฟน
ไวใตเตากไ็ ด

เคร่อื งใชตาง ๆ หมอ กระทะ แกวนํ้า มีด
เขียง ฯลฯ ทเ่ี ก็บมีด ทเี่ กบ็ กระบอกน้ํา เก็บจาน ท่ีเก็บถังนํ้า
ที่เก็บอาหาร จะตอ งจัดทาํ ข้ึน

ที่หุงตมและรับประทานอาหาร ควรมี
หลังคามุงกันแดดกันฝน อาจใชโตะอาหารและมาน่ัง
ควรจดั ทาํ ขึน้ ตามแบบงา ย ๆ

หลุมเปยก ขุดหลุมขนาดใหญใหลึก
พอสมควร ท่ีปากหลุมใชกิ่งไม ใบไมสานเปนแผงปด
แลวเอาหญาโรยขางบน หลุมน้ําสําหรับเทนํ้าตาง ๆ
ที่ไมใชแลว เชน นํ้าปนไขมัน ซึ่งส่ิงเหลาน้ีเม่ือเทลงไป
ไขมนั และส่งิ ตา ง ๆ จะติดอยูท ีห่ ญา มีแตน ํ้าแท ๆ ไหลลงไป
ในหลมุ แผงท่ีปากหลมุ จะตอ งนาํ ไปเผา และเปลยี่ นใหมวนั ละคร้งั เปนอยา งนอ ย

หลมุ แหง ขุดเปนอกี หลุมหนง่ึ เม่อื ท้ิงเศษอาหารแลว จะตองเอาดินกลบ ถาเปน
กระปอง กอนทิง้ ตองทุบใหแ บนและเผาไฟ ในกรณีท่ีคา ยน้ันมถี ังสาํ หรบั เผาขยะหรือเศษอาหาร
โดยเฉพาะอยแู ลว ก็ใหน าํ ขยะและเศษอาหารไปเผา ณ ทกี่ ําหนดไว

3.3 การสรา งเตาประเภทตา ง ๆ
เตาสําหรับหุงอาหาร
เตาไฟที่ใชใ นการหุงอาหารในการอยูคายพักแรมมีอยูหลายแบบ ซึ่งจะ

จดั การสรางไดขณะอยคู ายพกั แรมตามสภาพของพื้นท่ี เตาไฟแบบตาง ๆ ไดแก เตาราง เตาใชอิฐ
และหิน เตายืน เตาแขวน ในการกอสรางเตาแตละคร้ังลูกเสือจะตองทําความสะอาดรอบ ๆ
บริเวณที่กอ สรา งเตาใหเตียนและอยา ใหม เี ชอื้ ไฟหรือวัสดทุ ต่ี ิดไฟไดงา ย ๆ อยูใกลบริเวณน้นั

184

เตาสามเสา เปน การนํากอนหินสามกอนมาวางบนพ้ืน จัดระยะหางใหพอดีกับ
กนหมอ เปน สามมุมดูใหอากาศถา ยเทไดสะดวก

เตาหลุม ขุดหลุมใหมีขนาดกวางพอเทากับหมอ ลึกพอประมาณ แลวเจาะรู
เพ่ือใสฟ นดา นหนา แลวมีรูระบายอากาศ ดา นขา งเพ่อื ใหค วนั ออก

เตาลอย ใหขดุ หลุมสี่มมุ แลวนําทอนไมแข็งแรงส่ีตนทําเปนเสาส่ีมุม นําไมมาวาง
พาดผูกเปนสี่เหลี่ยมและวางคานใหเต็มพื้นที่ ใชใบไมปูใหราบ เอาดินปูพ้ืนใหหนาพอสมควร
อีกช้ัน แลวใชกอนหินทําเปนเตาสามเสา หรือเตารางแลวแตสะดวก (หากเปนหนาฤดูฝน
สามารถสรา งหลงั คาตอ เตมิ ได)

185

เตารางไม นําไมท่ีมีงามสองทอนมาปกลงดินตรงขามกัน แลวนําไมทอนตรง
วางพาดเปนคานไวแขวนภาชนะ (ไมท ่คี วรใชพ าดควรเปนไมด ิบ ซ่งึ จะไมทําใหไหมไ ดง า ย)

เตาแขวน หรอื เตาราว ใชไมทมี่ ีงามมาปก ลงดินเปน ระยะหางใหพ อดี แลวหาไม
ยาวเปน คานมาพาดงา มไวส าํ หรบั แขวนภาชนะ

เตากระปอ ง นํากระปอ งหรือถงั ขนาดเล็ก ทีพ่ อดีกับหมอหรือภาชนะ มาผาขาง
ออกเปน ประตูลมแลวเจาะรูสว นบนส่รี ูเพ่ือใหอากาศถายเท

3.4 การประกอบอาหารแบบชาวคาย
การปรงุ อาหารในขณะอยูค ายพักแรมหรอื เดินปา เปน การปรงุ อาหารเเบบชาวคาย

ไมส ามารถเตรยี มเครือ่ งมอื เคร่ืองใชใ นการหุงตมไดครบถว น เชน ใชเ ตาหลมุ เตาสามเสาเตาราง
ใชม ะพรา วออ นแทนหมอ กระบอกไมไ ผ ใชด นิ พอกเผาแทนการตม การปง เปนตน

186

การปฏิบัตหิ รอื ประกอบอาหารบางอยา งที่จําเปนในขณะท่ีอยูคายพักแรม ควรเลือก
ประกอบอาหารอยา งงาย รวดเร็ว คงคุณคา ทางอาหาร ดว ยวธิ ีการตาง ๆ ดังน้ี
การหงุ ขาวดว ยวิธีตาง ๆ

1. การหงุ ขาวดว ยหมอ หู สามารถหุงขาวได 2 แบบ คอื แบบไมเช็ดนํา้ และเช็ดนา้ํ
1) การหงุ ขาวไมเชด็ นํ้า ขาว 1 สวน ตอ น้ํา 2- 2.5 สว น
วธิ หี ุง
(1) ซาวขาวใหหมดสงิ่ สกปรก รินน้ําทง้ิ
(2) ตวงน้ําใสน า้ํ หมอ ปดฝาใหสนิท ต้งั บนเตา ใสไฟแรงจัด
(3) เมอื่ นาํ้ เดอื ดใชพายกวน 1 คร้ัง พอน้ําจวนแหงปดฝาหมอใหสนิท

เอาถา นหรือฟนออกเหลือเกลี่ยไวใ หไฟนอยทีส่ ุด (การกวนคนขา วนี้เพื่อใหไดร ับความรอนทัว่ ถึงกนั )
(4) เอียงขาง ๆ หมอใหรอบ ๆ ตั้งตอไปจนน้ําแหงใหขาวสุกและ

ระอุดีใชเวลาประมาณ 20-25 นาที
2) การหงุ ขา วเช็ดนาํ้ ขา ว 1 สวน ตอ นํา้ 3 สว น
วธิ หี งุ
(1) ซาวขา วพอหมดสงิ่ สกปรก รินน้าํ ทงิ้
(2) ตวงน้ําใสหมอ ปดฝาใหสนิท ตั้งบนไฟใชไฟแรงจนกระทั่งขาว

เดอื ด
(3) เมื่อนํ้าเดือดใชพายกวนขาว 1 ครั้ง หรือมากกวา เพื่อใหไดรับ

ความรอ นท่วั ถึง
(4) สงั เกตดพู อเม็ดขาวบาน รินนํา้ ขา วทง้ิ เอาข้นึ ดงบนเตา ใชไฟออน ๆ

ตะแคงหมอ หมนุ ใหไดความรอ นทัว่ จนนาํ้ แหง จากนนั้ ใหยกลงจากเตา
2. วิธกี ารแกข า ว
1) วธิ กี ารแกขาวแฉะ
ขา วแฉะเกิดจากปลอยทิ้งไวจนเม็ดขา วบานมาก หรือใสน้ํานอยจนน้ําขาว

ขน มากกอ นจะเชด็ นา้ํ ขาวใหใ สนา้ํ เปลา ลงไปใหนํ้าไมขน คนใหท ัว่ หมอ แลวเช็ดนํ้าใหแหงปดฝาหมอ
ใหส นทิ แลวหมนุ หมอไปมา และนาํ หมอขา วไปตั้งท่เี ตาไฟ โดยใชไฟออ น ๆ

2) วธิ ีแกข าวดบิ
ใหใชน้ําพรมขาวพอประมาณ คุยพรมใหท่ัวหมอแลวจึงนําหมอขาวขึ้น

ดงใหมห มุนใหท่วั ดงใหนานกวาดงขาวธรรมดาเม่ือยกลงหามเปดฝาดู ควรปดใหสนิท เพ่ือขาว
จะไดส ุกระอุดี

187

3) วิธีแกข า วไหม
หากไดกลิ่นขาวไหม รีบเปดฝาหมอเพื่อใหไอนํ้าออก และความรอนใน

หมอ จะไดล ดลงเรว็ ขณะเดยี วกนั กล่ินไหมจ ะไดออกไปดวย คุยขาวตอนบนท่ีไมไหมใหสุก แลว
เปดฝาท้ิงไว
การประกอบอาหารดว ยวิธตี า ง ๆ

การตม ทาํ ได 2 วธิ ี คอื
1) โดยการใสข องทจ่ี ะทําใหส ุกลงไปพรอมกบั น้ํา แลว นําไปตั้งไฟ เชน การตมไข

ถาใสใ นน้าํ เดอื ดแลวไขจ ะแตกเสียกอ น
2) โดยการใสของที่จะทาํ ใหสกุ เม่อื น้ํานัน้ เดือดแลว เชน การตม ปลากนั เหม็นคาว

การผดั หมายถงึ การทําวัตถสุ งิ่ เดยี วหรือหลายสิ่ง ซ่ึงตองการใหสุกสําเร็จเปนอาหาร
ส่งิ เดียว

วิธกี ารผัด
โดยการใชน้ํามันหรือกะทิ ใสในภาชนะท่ีจะใชผัด แลวนําของที่จะผัดรวมลงไป
คนใหส ุกทั่วกนั และปรุงรสตามชอบ
การทอด ใสน้ํามนั ลงในภาชนะท่จี ะใชใ นการทอดโดยประมาณใหท ว มของทจี่ ะทอดต้ัง
ไฟใหน้ํามันรอนจัด จึงใสของลงไปทอด การสังเกตของท่ีทอดวาสุกหรือยังใหสังเกตตามขอบ
ของสิ่งที่ทอด
การถนอมอาหาร
การตากแหง เปนวิธีท่ีงายและประหยัด
มากท่ีสุด ใชไดกับอาหารประเภทเนื้อสัตว ผักและ
ผลไม เปนวิธีท่ีทําใหอาหารหมดความช้ืนหรือ
มีความชื้นอยูเพียงเล็กนอย เพื่อไมใหจุลินทรีย
สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตไดทําใหอาหาร
ไมเกิดการบูดเนา โดยการนํานํ้าหรือความช้ืนออก
จากอาหารใหม ากท่สี ุด เชน เนื้อเค็ม ปลาเคม็ กลว ยตาก เปนตน
การรวน เปนวิธีการที่คลายกับการคั่ว
แตตองใสน้ํามัน นิยมใชประกอบอาหารประเภท
เนือ้ สัตว และปรงุ รสใหเ ค็มมากขึ้น เพื่อใหสามารถ
เก็บไวรับประทานไดนาน เชน ไกรวน เปดรวน
และปลาหมกึ รวน เปนตน


Click to View FlipBook Version