88
เวลาท่ีใชในการศกึ ษา 6 ช่ัวโมง
สือ่ การเรียนรู
1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค32035
2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา
3. ส่อื เสรมิ การเรยี นรูอืน่ ๆ
89
เรื่องที่ 1 ลกู เสือ กศน.
1.1 ความเปนมาของลกู เสอื กศน.
การลูกเสือไทย ไดถ ือกําเนิดข้ึนโดยองคพระมหากษัตริยไทย และมีความเจริญ
รุดหนาสืบมากวา 107 ป อยางทรงคุณคา ซึ่งเปนพระราชมรดกอันล้ําคาย่ิงท่ีพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 ไดพระราชทานไวใหแกปวงชนชาวไทย ตอมาสมเด็จ
พระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายดาน
การศึกษากบั ความมัน่ คงมพี ระราชประสงคเ หน็ คนไทยมีวินัยรูหนาที่มีความรับผิดชอบ สราง
วินัยโดยกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี
1.2 ความสําคัญของลกู เสอื กศน.
สํานักงาน กศน. ไดตระหนักและเห็นคุณคาของกิจการลูกเสือ จึงไดนอมนํา
พระบรมราโชบายดังกลาว มากําหนดเปนนโยบายหลักสูตรและแนวทางการปฏิบัติ พรอมทั้ง
สนับสนุนการพฒั นาคณุ ภาพของผูเรยี น กศน. โดยนํากระบวนการลูกเสือ เน้ือหาความรูตาง ๆ
ท่ีเก่ียวของกับการลูกเสือเปนหลักในการจัดกิจกรรมสงเสริมประสบการณใหผูเรียน กศน.
มีทักษะชีวิต สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถนําอุดมการณคําปฏิญาณ
และกฎของลูกเสือ มาปรับใชในชีวิตประจําวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และ
มีความสงางามในการดํารงตนใหเปนพลเมืองดี บําเพ็ญประโยชนตอ ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ
ลูกเสือ กศน. เปนลูกเสือที่อยูในกองลูกเสือวิสามัญของสถานศึกษา สังกัด
สํานักงาน กศน. จึงตองมีความพรอมในการประพฤติปฏิบัติตนตามคติพจนของลูกเสือ
วิสามัญ คือ “บริการ” ลูกเสือ กศน. ตองพรอมและพัฒนาตนเอง ทั้งดานรางกาย ดานสติปญญา
ดานจิตใจ ดา นศีลธรรม และมีความพรอมในการเปนผูนําในการพัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติ
กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 ลกู เสือ กศน.
(ใหผ ูเ รียนไปทํากจิ กรรมทา ยเร่อื งท่ี 1 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
90
เรอื่ งท่ี 2 ลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา
ลกู เสอื กศน. เปน ผูมคี วามสําคัญตอการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติเปน อยา งยิ่ง ดงั น้นั ลูกเสือ กศน. ทุกคนพึงนําอุดมการณ คําปฏิญาณ กฎ และ
คติพจนของลูกเสือ เปนหลักในการพัฒนาตนเองใหเปนพลเมืองดีในทัศนะของลูกเสือ และมี
จติ อาสาให“ บริการ”ชวยเหลือกจิ การตาง ๆ ทม่ี ีอยใู นชมุ ชน สงั คม และสรา งความสัมพันธอันดี
กบั องคกร หรือหนว ยงานอืน่ ๆ
การพฒั นาตนเองในดานตา ง ๆ ดงั น้ี
1. พฒั นาทางดา นความคิดเร่ืองศาสนา ซึ่งมวี ธิ ีการแตกตางกันไปตามศาสนาท่ีตน
นับถอื มุงเนน ยึดมั่นในหลกั การของศาสนา เพอ่ื ใหบรรลุผลแหงความจงรกั ภักดตี อ ศาสนา
2. พัฒนาทางดา นความรสู ึกดา นคานยิ ม มุงเนนการเอาใจใส ระมัดระวังในการ
เผชญิ ปญ หา สถานการณปจ จบุ ันเปนพิเศษ
3. พัฒนาทางดานรางกาย มุงเนนการเขารวมกิจกรรมลูกเสือเพื่อใหมีสุขภาพ
แขง็ แรง
4. พัฒนาทางดา นสตปิ ญญา มุงเนนการทํางานอดิเรก การฝม ือ การรูจักใชเวลา
ใหเ ปน ประโยชน
5. พัฒนาทางดา นสังคม มงุ เนน การปฏิบัตติ นใหอยใู นสังคมไดอยางมีความสุข
6. พัฒนาทางดานการสรางสัมพันธภาพทางสงั คม มุงเนน การทํางานเปนระบบหมู
ในบทบาทของผนู าํ และผตู าม
7. พัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอชุมชน มุงเนนความสําคัญของความ
รบั ผิดชอบของตนเองที่มตี อผูอ ืน่ ดวยการบาํ เพ็ญประโยชน
8. พฒั นาทางดา นความรับผดิ ชอบตอสิ่งแวดลอม มุงเนนความสนใจในส่ิงแวดลอม
และอนรุ ักษธรรมชาติ
การพฒั นาชมุ ชน สงั คม ในดา นตา ง ๆ เชน
1. การเปน พลเมอื งดี และการใชส ทิ ธิเลือกต้งั (ลกู เสือ กกต.)
2. การดูแลรักษาและอนุรกั ษส ่งิ แวดลอม
(ลูกเสืออนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม)
3. การสรางความตระหนักถงึ โทษและพษิ ภยั ของยาเสพติด (ลูกเสอื ยาเสพตดิ )
4. การปอ งกันและชว ยเหลือเม่ือประสบเหตุ (ลูกเสอื บรรเทาสาธารณภยั )
5. การชวยอํานวยความสะดวกดานการจราจร (ลูกเสือจราจร)
6. การรวมเฝา ระวัง ปองกัน ขอมูลขา วสารที่เปน ภัยออนไลน (ลูกเสอื ไซเบอร)
7. การเสริมสรา งทัศนคติ คานิยม ความซื่อสัตยสจุ รติ (ลกู เสอื ชอสะอาด)
8. การอนรุ ักษขนบธรรมเนียมประเพณไี ทยใหค วามรูสืบไป (ลกู เสอื วัฒนธรรม)
9. การปอ งกนั การทารุณกรรมตอ สัตว (ลกู เสือสวัสดภิ าพสัตว)
91
10. การชว ยดูแล ปองกันอนรุ ักษป าไม (ลูกเสือปา ไม)
11. การสรา งความมรี ะเบยี บวนิ ัยตอตนเอง รูจกั สามคั คีในหมคู ณะและสวนรวม
(ลูกเสือรฐั สภา)
12. การปองกนั ไมใหเ กดิ ความรุนแรง ลดความเหลอ่ื มลาํ้ (ลกู เสือสันติภาพ)
13. การสรา งโอกาสทางเลือกใหก บั ชีวติ (ลูกเสอื สาํ หรับผูดอ ยโอกาส)
ลูกเสือ กศน. สามารถเขา รวมกิจกรรมดังกลาว หรือคิดรปู แบบกิจกรรม/โครงการ
ขนึ้ มาเพ่อื การพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 ลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา
(ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเร่ืองท่ี 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
เรอ่ื งท่ี 3 บทบาทหนา ท่ีของลกู เสอื กศน. ทม่ี ีตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสงั คม
ลกู เสือ กศน. มบี ทบาทหนา ทีใ่ นการพัฒนาตนเอง ซ่งึ เนน การพัฒนาความสามารถ
ศกั ยภาพ และสมรรถนะท่ีทันตอสภาพความจําเปน ตามความกาวหนา และการเปล่ียนแปลง
ของสังคมเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ดังนั้น การพัฒนาตนเอง จะตองมีความรู ความเขาใจ
ถงึ ความสําคัญของการพัฒนาในดานตาง ๆ รูวิธีการวางแผนพัฒนาตนเอง ในบทบาทของผูนํา
และผูต าม
ผูเรยี น กศน. ทส่ี มคั รเขาเปน ลกู เสือ กศน. เร่ิมตนดวยการแสวงหาความรูท่ัวไป
ท่ีเกีย่ วกบั ทกั ษะการดํารงชีวติ โดยใชกระบวนการคิดเปน ความรูทั่วไปท่ีเกี่ยวกับทักษะลูกเสือ
กิจกรรมกลางแจง การคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหา และเขาพิธีประจํากองลูกเสือ
วิสามัญ โดยผูกํากับกองลูกเสือวิสามัญจะเปนผูประกอบพิธีประจํากองใหแกลูกเสือ กศน.
ใหล ูกเสือ กศน. แตงเคร่อื งแบบลกู เสอื วสิ ามญั มาพรอ มกันที่ คหู าลูกเสอื วสิ ามญั (Rover Den)
หรือสถานทีน่ ัดหมายอ่ืนทีเ่ หมาะสม เพ่อื ทบทวนหลกั การการเปนพลเมอื งดีในทัศนะของลูกเสือ
พิจารณาคติพจน คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือท้ัง 10 ขอ ท่ีจะนําสูการปฏิบัติตนเปนคนดี
สํารวจตวั เอง และเขาพธิ ปี ระจาํ กองตามลําดบั
การปฏิบตั ติ นตามคติพจนของลูกเสือ กศน. คือ “บริการ” ซึ่งเปนเสมือนหัวใจ
ของลูกเสือ กศน. ที่จะตองยึดม่ันในการเสียสละดวยการบริการ แตการบริการน้ีมิไดหมายถึง
เปนผูร บั ใชห รือคนงานการบรกิ ารในความหมายของการลูกเสือนี้ เรามุงท่ีจะอบรมบมนิสัยและ
จิตใจใหไดรูจักเสียสละ ไดรูจักวิธีหาความรูและประสบการณที่เปนประโยชนในอนาคต และ
ในท่ีสุดกจ็ ะทาํ ใหสามารถประกอบอาชีพโดยปกตสิ ขุ ในสังคม
การบริการ หมายถึง การประกอบคุณประโยชนใหแกมนุษยชาติ ดวยการถือวา
เปนเกียรติประวัติสูงสุดแหงชีวิตของเรา ในการที่รูจักเสียสละความสุขสวนตัวเพ่ือบําเพ็ญ
ประโยชนแกผ ูอืน่ เพื่อจดุ มงุ หมายใหสังคมสามารถดํารงอยูไดโดยปกติ เปนการสอนใหลูกเสือ
92
วิสามัญตั้งตนอยูในศีลธรรมไมเอาเปรียบผูที่ยากจนหรือดอยกวา นอกจากนั้นการบริการแก
ผูอ่ืนเปรียบเสมือนเปนการชําระหนี้ท่ีไดเกิดมาแลว อาศัยอยูในโลกนี้ก็ดวยความมุงหวังจะให
ทุกคนเขา ใจในการใชชีวิตอยรู ว มกนั ในสังคม มองเห็นความจําเปนของสังคมวาไมมีใครสามารถ
ดํารงชีวติ อยไู ดโ ดยลําพัง ทุกคนจาํ เปนตองพ่งึ พาอาศัยกันไมวาดานอาหารการกิน ดานเคร่ืองนุงหม
ที่อยอู าศยั ยารักษาโรค หรอื อ่นื ๆ
ลูกเสือ กศน. พึงนําคําปฏิญาณ กฎและคติพจนของลูกเสือ มาเปนแนวทางการ
พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คม ดังน้ี
1. พัฒนาทางกาย พัฒนาทางดานรางกาย มุงเนนการเขารวมกิจกรรมลูกเสือ
เพ่ือใหมสี ขุ ภาพแขง็ แรง
2. พัฒนาทางสติปญญาพัฒนาทางดานสติปญญา มุงเนนการทํางานอดิเรก
การฝม อื การรูจกั ใชเวลาใหเ ปน ประโยชน
3. พัฒนาทางจิตใจศีลธรรม พัฒนาทางดานความคิดเร่ืองศาสนา ซึ่งมีวิธีการ
แตกตางกนั ไปตามศาสนาที่ตนนับถอื มงุ เนนยึดม่ันในหลักการของศาสนา เพ่ือใหบรรลุผลแหง
ความจงรกั ภักดีตอ ศาสนา
4. พฒั นาในเรื่องสรางคานิยมและเจตคติพัฒนาทางดานความรูสึกดานคานิยม
มุงเนน การเอาใจใส ระมัดระวงั ในการเผชิญปญหา สถานการณป จ จุบนั เปน พิเศษ
5. พัฒนาทางสัมพันธภาพระหวางบุคคล มุงเนนการปฏิบัติตนใหอยูในสังคม
ไดอยา งมีความสุข
6. พัฒนาสัมพันธภาพทางสังคม สรางสัมพันธภาพทางสังคม มุงเนนการทํางาน
เปน ระบบหมูในบทบาทของผนู ํา และผตู ามทด่ี ี
7. พฒั นาสัมพนั ธภาพตอชุมชน มีความรับผิดชอบตอชุมชน มุงเนนความสําคัญ
ของความรับผิดชอบของตนเองทม่ี ตี อ ผูอืน่ ดว ยการบาํ เพ็ญประโยชน
8. พัฒนาทางดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม มุงเนนความสนใจใน
ส่ิงแวดลอมและอนุรกั ษธรรมชาติ
กิจกรรมทา ยเรื่องท่ี 3 บทบาทหนาที่ของลกู เสือ กศน. ท่ีมตี อ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม
(ใหผูเรียนไปทํากจิ กรรมทายเรือ่ งที่ 3 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชุดวชิ า)
93
เรือ่ งที่ 4 บทบาทหนาทข่ี องลกู เสอื กศน. ทีม่ ตี อ สถาบนั หลกั ของชาติ
ลูกเสือ กศน. พึงตระหนักการนําคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือมาใช
ในชวี ิตประจําวนั เพ่ือความเปนพลเมืองดี มีศีลธรรม มีระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีตอชาติ
ศาสนา พระมหากษัตรยิ และรักษาไวซง่ึ เอกลกั ษณของความเปนไทย ขนบธรรมเนียมอันดีของ
ประเพณีทองถ่ิน เพ่ือใหเกิดความรัก ความสามัคคีปรองดอง หลักการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยข้ันพื้นฐาน การแลกเปล่ียนความรู ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยไมเก่ียวของ
กับลัทธิทางการเมอื งใด ๆ และพฒั นาเสริมสรางทักษะการดําเนินชีวิตตามแบบวิถีชีวิต ระบอบ
การปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เปน ประมุข เปน วิถีทางใหเกิดความสงบสุข
ในการดาํ รงอยขู องชาติ ตามเจตนารมณข องลกู เสือชาวบานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9
ทรงเปน องคพ ระประมขุ และทรงรับกจิ การลูกเสือชาวบานไวในพระบรมราชานุเคราะห สมาชิก
ทเี่ กี่ยวขอ งทกุ คนจะตอ งชวยกนั ดํารงพระเกยี รติของพระองคไว
กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 4 บทบาทหนาทีข่ องลกู เสือ กศน. ทมี่ ีตอ สถาบันหลักของชาติ
(ใหผ เู รียนไปทํากิจกรรมทา ยเร่อื งที่ 4 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
94
หนวยการเรยี นรทู ี่ 7
ลูกเสอื กศน. กบั จติ อาสา และการบริการ
สาระสาํ คญั
จากคาํ ปฏญิ าณของลูกเสือท่ีวา “ขาจะชวยเหลือผูอ่ืนทุกเมื่อ” และลูกเสือ กศน.
ท่ีเปนลูกเสือวสิ ามญั ซึง่ ถอื คตพิ จนว า “บริการ” จึงเปน ผทู ี่มีจติ อาสา คอื ผูที่ไมน่ิงดูดาย เปนผูเอาใจใส
และเปนผูมีจิตสํานึก มีความพรอมที่จะเสียสละเพื่อสวนรวม โดยการประพฤติ ปฏิบัติตน
มีความรับผดิ ชอบ มีวินัยในตนเอง รูจักควบคุมอารมณและพฤติกรรม ยอมรับฟงความคิดเห็น
ของผอู ื่น เคารพสิทธขิ องผูอนื่ ตลอดจนเตม็ ใจทชี่ ว ยเหลอื และบรกิ ารผูอน่ื โดยไมหวงั ผลตอบแทน
ตัวชี้วัด
1. อธบิ ายความหมาย และความสําคัญของจิตอาสา และการบริการ
2. อธบิ ายหลักการของจิตอาสาและการบริการ
3. ยกตัวอยา งกจิ กรรมจติ อาสาและการบรกิ ารของลกู เสือ กศน.
4. นาํ เสนอผลการปฏบิ ัติตนในฐานะลูกเสอื กศน. เพื่อเปนจติ อาสา
และการบริการ
ขอบขายเนือ้ หา
เร่อื งท่ี 1 จติ อาสา และการบริการ
1.1 ความหมายของจติ อาสา
1.2 ความสําคญั ของจติ อาสา
1.3 ความหมายของการบริการ
1.4 ความสาํ คัญของการบริการ
เรื่องท่ี 2 หลักการของจิตอาสา และการบริการ
2.1 หลกั การของจิตอาสา
2.2 ประเภทของจิตอาสา
2.3 หลักการของการบรกิ าร
2.4 ประเภทของการบรกิ าร
เรื่องท่ี 3 กิจกรรมจิตอาสา และการใหบริการของลูกเสือ กศน.
เรือ่ งท่ี 4 การปฏบิ ตั ิตนในฐานะลกู เสอื กศน. เพอ่ื เปน จติ อาสา และการบริการ
เวลาท่ีใชในการศึกษา 12 ช่ัวโมง
95
ส่ือการเรียนรู
1. ชุดวิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค32035
2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา
3. สื่อเสรมิ การเรียนรอู ื่น ๆ
96
เรอื่ งที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร
1.1 ความหมายและความสําคญั ของจิตอาสา
จิตอาสา หมายถึง จิตสํานึกเพื่อสวนรวมของคนที่รูจักความเสียสละ เอาใจใส
เปนธรุ ะใหความรว มมือรว มใจในการทําประโยชนเพ่ือสวนรวม เพ่ือชวยกันพัฒนาคุณภาพชีวิต
และปรารถนาเขาไปชวยลดปญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ดวยการสละเวลา การลงแรง และ
สรา งสรรคใหเกิดประโยชนสขุ แกส งั คม และประเทศชาติ
ความสําคัญของจิตอาสา เปนการตระหนักรู การแสดงออก ทําประโยชน
เพื่อสังคม ตลอดจนชว ยกนั ดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ ม สาธารณะสมบัติใหเกิดประโยชนอยางคุมคา
ใหค วามชว ยเหลือผูตกทกุ ขไ ดยาก หรือผทู ร่ี อ งขอความชว ยเหลอื โดยใชคณุ ธรรมเปน หลัก
1.2 ความหมายและความสําคัญของการบรกิ าร
บริการ หมายถึง การใหความชวยเหลือหรือการบําเพ็ญประโยชนตอตนเอง
ตอผูอ นื่ และตอ ชุมชน ลกู เสือวสิ ามญั จะตอ งมคี วามเลื่อมใสศรทั ธาในคําวา “บริการ” และลงมือ
ปฏิบตั เิ ร่อื งนีอ้ ยา งจริงจัง ดวยความจริงใจและโดยมีทักษะหรือความสามารถในการใหบริการ
น้ันดว ยความชํานาญ วอ งไว คือไวใจได หรือเชอ่ื ถอื ได
ความสําคญั ของการบรกิ าร เปน หวั ใจสําคญั ของลูกเสือ กศน. ซึ่งตองพัฒนาจิตใจ
ใหอยูในศลี ธรรม ไมเอารดั เอาเปรียบผูท่ียากจนหรือดอยกวา ใหรูจักการเสียสละความสุขสวนตัว
เพื่อบําเพ็ญประโยชนแกผูอื่น เพ่ือจุดมุงหมายใหสังคมสามารถดํารงอยูไดโดยปกติ ถือวาเปน
เกยี รตปิ ระวัติสงู สดุ ของชีวติ
ลูกเสือวิสามัญมีคติพจนวา “บริการ” (Service) คือ การกําหนดแนวทางสําหรับ
ยึดเหน่ียวในการเปนลูกเสือวิสามัญวาจะทําหนาที่ในการบริการชวยเหลือผูอ่ืน บําเพ็ญ
ประโยชนแกผูอื่นและสังคมที่เราอาศัยอยู หมายถึง การสรางนิสัยใหลูกเสือวิสามัญไมเปนคน
เห็นแกตัวพรอมท่ีจะเสียสละประโยชนสวนตัวใหบริการแกบุคคลอื่นหรือสังคมที่เราอาศัยอยู
ท้ังนี้ เม่ือลูกเสือวิสามัญเจริญเติบโตเปนผูใหญ จะสามารถประกอบอาชีพอยางสุขสบาย ในสังคม
เพราะเขารูจกั เสียสละไมเอารัดเอาเปรียบคนอืน่
คตพิ จน “บริการ” เปนเสมอื น “หัวใจ” ของการเปนลูกเสือวิสามัญวาจะตองยึดมั่น
การเสยี สละดว ยการบรกิ าร แตการบริการน้ีมิไดหมายถึงเปนผูรับใชหรือคนงานอยางที่บางคน
เขาใจ การบริการในความหมายของการลูกเสือวิสามัญนั้นมุงท่ีจะอบรมบมนิสัยและจิตใจให
ลูกเสือวสิ ามญั ไดรจู ักเสียสละ ไดรจู ักวธิ หี าความรู และประสบการณอ ันจะเปนประโยชนตอไป
ในอนาคตและในท่ีสุดจะทําใหเขาสามารถประกอบอาชีพโดยปกติสุขในสังคม ทั้งน้ี มีหลักใน
การดําเนนิ การตามคตพิ จนบ ริการ
กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร
(ใหผ เู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
97
เรอื่ งท่ี 2 หลักการของจติ อาสา และการบรกิ าร
2.1 หลักการของจิตอาสา
หลักการของจิตอาสา มีท่ีมาจากการพัฒนาตนเองใหมีจิตสํานึกที่ดี มีนํ้าใจ
การท่คี นมาอยรู วมกันเปน สังคมยอมตองการพ่ึงพากนั โดย
1) การกระทําของตนเอง ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง เพื่อปองกันไมให
เกดิ ผลกระทบและความเสียหายตอสวนรวม เชน การมีวินัยในตนเองการควบคุมอารมณและ
พฤตกิ รรมการเชือ่ ฟง คาํ ส่งั เปนตน
2) บทบาทของตนทมี่ ีตอ สังคมในการรักษาประโยชนข องสวนรวม เพ่อื แกปญ หา
สรางสรรคสังคม ซึ่งถือวาเปนความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม เชน การเคารพสิทธิผูอ่ืน
การรับฟง ความคิดเห็นของผอู ื่น การชวยเหลอื ผูอ่ืน เปนตน
2.2 หลักการของการบรกิ าร
หลกั การของการบรกิ าร มีดงั น้ี
1) ใหบรกิ ารดวยความสมคั รใจ เต็มใจทีจ่ ะใหบริการ
2) ใหบรกิ ารอยางมีประสิทธภิ าพ คือ มีทกั ษะในการบรกิ าร เชน การปฐมพยาบาล
เทคนคิ ในการชว ยชีวิต เปน ตน
3) ใหบริการแกผูที่ตองการรับบริการ เชน คนท่ีกําลังจะจมน้ําผูที่ถูกทอดท้ิง
คนชรา คนปวยและผูไ มส ามารถชว ยตนเองได เปน ตน
4) ใหบริการดวยความองอาจ ตั้งใจทํางานใหเสร็จดวยความมั่นใจ ดวยความ
รับผิดชอบโดยใชความรูท่ีมีอยูใหเกิดประโยชนอยางแทจริง อุทิศใหแกงานอยางจริงจัง
ในขณะนั้นรูจักแบงเวลา แบงลักษณะงาน มีความมุมานะในการทํางาน ใหเปนผลสําเร็จตาม
เปา หมายท่กี าํ หนดไว
กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 หลกั การของจติ อาสา และการบรกิ าร
(ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเรือ่ งที่ 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
98
เรื่องท่ี 3 กิจกรรมจิตอาสา และการใหบริการของลกู เสอื กศน.
จากอดีตจนถงึ ปจจบุ นั ประชาชนคนไทยมีการทํางานจิตอาสาอยางหลากหลาย
รูปแบบ โดยไมหวังผลตอบแทน เนนแรงบันดาลใจใหคนทุกเพศทุกวัยคิดที่จะทําความดี
เพอ่ื สงั คม ดงั นนั้ ลกู เสือ กศน. ก็สามารถที่จะคิดกิจกรรมจิตอาสาและการใหบริการไดเชนกัน
ดงั ตัวอยา งตอ ไปนี้
1) จิตอาสารักสะอาด เชน ทาํ ความสะอาดวัด/สถานศึกษา โดยการกวาดใบไมแหง
แยกขยะ ฯลฯ
2) จติ อาสารกั ษโลก เชน ชวยเหลือสุนัขจรจัด เร่ยี ไรเงนิ ชว ยสัตวเรรอน ปลูกปา
สรา งฝาย ฯลฯ
3) จติ อาสากอสรา ง เชน ซอม/สราง/ทาสี หองเรียน สรางศูนยการเรียนรูภายใน
ชุมชน ฯลฯ
4) จิตอาสาเปนพเี่ ลีย้ ง เชน เลย้ี งอาหารผปู ว ย เลานทิ านใหเดก็ กําพรา อานหนังสอื
ใหคนตาบอด ฯลฯ
5) จิตอาสาบริการ เชน ลูกเสอื จราจร อาสาพาคนขามถนน อาสาบริการนํ้าดื่ม
และอาหาร ฯลฯ
ลกู เสอื กบั การ “บริการ”
คําวา “บริการ” หมายถึง การชวยเหลือหรือการบําเพ็ญประโยชนตอตนเอง
ตอ ผอู น่ื และตอ ชมุ ชน ลูกเสือวิสามัญจะตอ งมีความเลื่อมใสศรัทธาในคําวา “บริการ” และลงมือ
ปฏิบัติเรื่องนีอ้ ยา งจริงจัง ดวยความจริงใจและโดยมีทักษะหรือความสามารถในการใหบริการ
นน้ั ดวยความชํ่าชอง วองไว คอื ไวใ จไดหรือเช่ือได
ความเห็นของ บี.พ.ี เกย่ี วกบั “บรกิ าร”
บี.พี เหน็ วา การศกึ ษาทีเ่ ดก็ ไดรับจากทางบาน ทางโรงเรียน ทางวัด และอื่น ๆ
ยงั มชี อ งโหวอ ยู 4 ประการ ซง่ึ การลกู เสือมุงหมายที่จะอุดชองโหวเ หลาน้ันโดยเนนการฝกอบรม
ลูกเสอื ในเรอื่ งตอไปน้ี คือ
(1) ลกั ษณะนิสยั และสติปญ ญา
(2) สุขภาพและแขง็ แรง
(3) การฝมือและทกั ษะ
(4) หนา ท่พี ลเมืองและการบาํ เพญ็ ประโยชนตอผูอื่น
การลูกเสือมุง หมายที่จะฝกอบรมลูกเสือทั้งในทางรางกาย สติปญญา ศีลธรรม
จิตใจ และสังคม เพื่อใหเปนพลเมืองดี รูจักหนาท่ีรับผิดชอบและบําเพ็ญตนใหเปนประโยชน
แกช ุมชน ตลอดจนประเทศชาติ
99
ตามคติของลูกเสือ พลเมืองดี คือ บุคคลที่มีเกียรติเช่ือถือได มีระเบียบวินัย
สามารถบังคับใจตนเอง สามารถพ่ึงตนเอง ท้ังเต็มใจและสามารถท่ีจะชวยเหลือชุมชนและ
บําเพญ็ ประโยชนตอ ผูอืน่
ความมุง หมายโดยเฉพาะของกิจการลูกเสือวสิ ามัญ
(1) เพื่อใหลูกเสือไดเขารวมในขบวนการลูกเสือวิสามัญ ซึ่งมีผูใหญเปนผูชี้แจง
แนะนําและทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษา จะโดยใหลูกเสือวิสามัญในกองปกครองกันเอง ประกอบ
กิจกรรมตา ง ๆ และเรียนรูโดยการกระทํา
(2) เพือ่ ใหลกู เสือวสิ ามัญไดม โี อกาสฝกปฏบิ ัตกิ ารตามท่ีตนถนัด
(3) เพ่ือใหลูกเสือวิสามัญไดฝกหัดรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่นเปนขั้น ๆ
และเพ่มิ การฝก ใหกวา งขวางยง่ิ ขน้ึ โดยอาศัยระบบหมู
(4) เพ่ือใหล กู เสือวิสามัญมีโอกาสแสดงสมรรถภาพของตนเองดวยความพึงพอใจ
และความภาคภมู ใิ จ โดยการใชระบบเคร่อื งหมายพเิ ศษ
(5) เพื่อใหลูกเสือวิสามัญรูจักอดทน นิยมชีวิตกลางแจงและการบริการอยางมี
ชวี ติ จติ ใจ โดยเฉพาะการบรกิ ารชมุ ชน
(6) เพ่อื สงเสริมการแสวงหาอาชพี ทีเ่ หมาะสม
การบริการหรือการบําเพ็ญประโยชนของลูกเสือวิสามัญในเรื่องการบริการนี้
มีจุดมุงหมาย เพื่อใหลูกเสือวิสามัญทุกคนไดเขาใจความหมาย รูวิธีการในการใหบริการ
รหู ลักในการจดั กจิ กรรมดานบรกิ าร และมคี วามเขาใจสามารถปฏิบัติดวยตนเองได การลูกเสือ
วสิ ามญั ตองการผูเสียสละ ผูม ีจิตใจเปนลูกเสอื อยา งแทจริง (Scouting spirit) ไมเปนคนเห็นแกตัว
ไมทําอะไรโดยหวังผลสวนตนเปนที่ต้ังอยูตลอดเวลา ในเวลาเดียวกันการเสียสละประโยชน
และความสุขสวนตัว เพื่อบริการตามความหมายของการลูกเสือวิสามัญน้ีก็ตองใหคํานึงถึง
สภาวะแวดลอมและสถานภาพของตนเองอยูเสมอ ๆ เพ่ือจะไดตระหนักถึงขีดความสามารถ
ของตนเอง จะไดไมก อ ใหเ กิดความเดือดรอ นแกต นเองและครอบครัว
ประเภทหรอื ขน้ั ตอนในการบริการ
(1) บรกิ ารแกต นเองกอน เปนการเตรียมตัวเองใหพรอมเสียกอนเพราะถาหาก
เรายังไมพรอม เราก็ไมอ าจจะไปใหบ รกิ ารแกผ อู นื่ ได หรอื ไดก ไ็ มดเี ทา ทคี่ วร การบริการแกตนเอง
กอนน้นั เปนการฝก ในเร่ืองการใหบริการไปดวย เพราะคําวาการบริการแกตนเองน้ัน หมายถึง
ตัวเรา ครอบครวั ของเรา ผบู งั คบั บัญชาของเรา ผูใตบังคับบัญชาของเรา เพ่ือนรวมงาน ญาติสนิท
มิตรสหาย กลาวโดยสรุปไดวา กอนที่เราจะออกไปใหบริการแกผูอื่นนั้นจําเปนตองสราง
ความพรอมใหแกตัวเองเสียกอน เพราะตราบใดท่ีเรายังตองขอความอุปการะ ตองอยูภายใต
การโอบอุมค้ําชูของผูอ่ืน ตองขอใหผูอ่ืนชวยเหลือเราแลว แสดงวา เรายังไมพรอม ฉะนั้น
ลูกเสอื วิสามัญตอ งเตรยี มตัวใหพ รอ มในทกุ ๆ ดา น ไมว า การเงิน สุขภาพ เวลาวา ง สตปิ ญ ญา ฯลฯ
100
(2) บริการแกหมูคณะและขบวนการลูกเสอื เมอื่ เราฝกบริการตนเองแลว ตอไป
กข็ ยายการใหบ ริการแกหมคู ณะของเรากอน เปนการหาประสบการณหรือความชํานาญ ดวยการ
บริการเปน รายบุคคล บริการแกก องลูกเสือของเราในการงานตา ง ๆ อนั เปน สวนรวมและรวมไปถึง
การใหบริการแกกองลูกเสืออื่น ซึ่งถือเปนขบวนการของเรา ลูกเสือวิสามัญทุกคนควรไดรับ
การสงเสริมใหชวยเหลือการดําเนินกิจการของกองลูกเสือวิสามัญ หรือกองลูกเสือสํารองใน
ทุกวิถีทาง ท้ังนี้ เพ่ือจะไดมีประสบการณภาคปฏิบัติในการฝกอบรมลูกเสือซึ่งจะชวยใหเขา
เหมาะสมที่จะเปน ผกู าํ กบั ลูกเสือและเปนหัวหนาครอบครัวในอนาคต ลูกเสือวิสามัญควรไดรับ
ม อ บ ห ม า ย ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ง า น ที่ มี กํ า ห น ด แ น น อ น ใ น ก า ร ช ว ย เ ห ลื อ ผู กํ า กั บ ลู ก เ สื อ
ประเทศชาตติ อ งการอาสาสมัครเปนจํานวนมาก เพ่ือชวยเหลือในเรื่องการศึกษา มีเร่ืองอ่ืน ๆ
อกี มากมายนอกเหนือไปจากการอาน การเขียน และการคิดเลข ซึ่งเปนส่ิงจําเปนที่เด็กสมัยนี้
จะตองเรยี นรเู พื่อจะไดประสบความสําเร็จในชีวิต การที่เวลาเรียนระยะสั้น และครูก็มีจํานวน
จาํ กดั ยอมทําใหเ ดก็ ไมมโี อกาสไดเ รียนรูสิ่งตา ง ๆ เหลา นี้ ดงั น้นั ความชวยเหลือของชายหนุมรุนพี่
ที่เปน อาสาสมัครจงึ เปน สง่ิ ท่ีประเทศชาติตอ งการอยางยิง่
ลกู เสือสามัญผูซ่ึงใหความชวยเหลือในการฝกอบรมหรือในการดําเนินงานของ
กองลกู เสือสามัญ หรือกองลูกเสือสํารอง และโดยเฉพาะในการอยูคายพักแรม นบั ไดวาเปนผูให
บริการที่มีคุณคาอยางย่ิง ในเวลาเดียวกันงานนี้ยอมนําความพอใจมาใหลูกเสือวิสามัญเอง
เพราะการฝกอบรมเด็กน้ันจะไดเห็นเขาสนุกสนาน มีลักษณะนิสัยที่ดีขึ้น ยอมทําใหลูกเสือ
วสิ ามัญ รสู กึ วาไดท ําอะไรบางอยางที่คมุ คาการฝก อบรมแกร นุ นอ งน้ัน ลูกเสอื วสิ ามญั จะตองทาํ ตน
ใหเ ปน ตวั อยางที่ดี เพื่อใหร ุน นองทาํ ตามดวยการปฏิบตั ิตนใหเปน สนุกสนาน ราเริง เปนมิตรกับ
คนทกุ คน ซือ่ สตั ยสุจรติ มีกรยิ าสภุ าพ และใชวาจาสุภาพไปหยาบโลน
(3) บริการแกช มุ ชน เพ่อื ฝก บริการแกตนเอง แกขบวนการลูกเสือแลวก็สมควร
ท่จี ะไปบริการแกชุมชนตามสติปญญา ประสบการณ และความสามารถ แนวคิดในการบริการ
แกช ุมชน คือ การชาํ ระหนแ้ี กชุมชนดวยการรวมมือกันเสียสละ รว มกนั เพื่อดาํ เนนิ การจัด
กิจกรรมอันเปนสาธารณะประโยชน เชน การพัฒนาอาคารสถานที่ บานเมืองในชุมชนนั้น
การสรางสาธารณสถาน การจดั งานร่ืนเรงิ งานสังคมเพื่อประโยชนของสังคมน้ัน ๆ ซึ่งจะทําให
ลกู เสือวสิ ามญั ไดประสบการณ จากชีวติ จริงหลังจากท่เี ขาพนวยั จากการเปนลูกเสือวิสามัญ ตอไป
เขาจะสามารถปรับตัวเขากับสังคมที่เขาอาศัยอยูได โดยไมไดเอารัดเอาเปรียบหรือเห็นแกตัวได
การบริการแกชุมชนนั้นควรเร่ิมต้ังแตชุมชนที่กองลูกเสือตั้งอยูบริการในเรื่องตาง ๆ เชน
ทําความสะอาด การชว ยเหลอื ผูประสบอบุ ตั เิ หตุ การควบคุมการจราจร การดับเพลงิ เปนตน
ท่สี าํ คัญอีกประการหน่ึง คือ การพัฒนาชุมชน
หลกั ของการใหบ รกิ าร
(1) เปนกิจกรรมท่ีจําเปนเห็นความจําเปนท่ีตองใหบริการ คือ ตองดูวาจะเปน
แคไหน สาํ หรบั เรอื่ งน้นั ท่จี ะตอ งไดรบั การบรหิ าร
101
(2) ใหบ รกิ ารดวยความสมัครใจ เต็มใจท่จี ะใหบรกิ าร
(3) ใหบริการอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ คือ มีทักษะในการบริการ เชน การปฐมพยาบาล
เทคนิคในการชว ยชวี ิต ฯลฯ
(4) ใหบริการแกผูท่ีตองการรับบริการ เชน คนท่ีกําลังจมนํ้าจะไดคนชวย
การพัฒนาชมุ ชนใหบ ริการแกผ ูที่ถกู ทอดท้ิง เชน คนชรา คนปว ย และผูไมส ามารถชวยตนเองได
(5) บริการดวยความองอาจ ต้ังใจทํางานใหเสร็จดวยความมั่นใจ ดวยความ
รับผิดชอบโดยใชความรูที่มีอยูใหเกิดประโยชนอยางแทจริง อุทิศเวลาใหแกงานอยางจริงจัง
ในขณะน้ันรูจักแบงเวลา แบงลักษณะงาน มีความมุมานะในการทํางานใหเปนผลสําเร็จ
ตามเปา หมายทกี่ าํ หนดไวใ หจ งไดย อ มจะไดรับความสําเร็จเรียบรอยในการทํางาน จะทําใหเรา
รูส ึกภูมใิ จ
งานบรกิ าร ทีล่ ูกเสือวิสามัญแตละคนหรือกองลกู เสอื วสิ ามัญจะทําไดนั้น มีหลายประการ
เชน
1) โครงการใชผ ักตบชวาทําปยุ หมกั โครงการน้เี ปน โครงการที่ยงิ นกสองตัว
ในเวลาเดียวกัน คือ เปนการจํากัดผักตบชวา และเปนการทําปุยหมัก เพื่อใชประโยชนในการ
ปลูกพืชผักตาง ๆ ใหไดผลดียิ่งข้ึน โครงการนี้เสียคาใชจายสอดคลองกับนโยบายของรัฐ และ
อยใู นวิสัยทีก่ องลกู เสือวสิ ามญั จะทาํ ไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ
2) โครงการใหบริการแกชุมชน เชน โครงการใหความปลอดภัยใน
การจราจร หางานใหคนพิการทํา จัดทําสนามเด็กเลนสําหรับเด็กยากจน พิการ โครงการบริการ
แกผปู ระสบอุบัติเหตุดว ยการพยายามศกึ ษาหาความรูในเรือ่ งการปฐมพยาบาล เพ่อื จะได
ชว ยเหลอื ผปู ระสบอุบัติเหตอุ ยา งมีสมรรถภาพ การดับเพลิงดวยการเขารับการอบรมวิชาบรรเทา
สาธารณภยั ฯลฯ
3) โครงการพฒั นาชุมชน โดยทําการสํารวจความตองการของทองถ่ินแลว
วางแผนและลงมอื ปฏิบตั ติ ามโครงการน้ัน
4) โครงการใหบริการแกกิจกรรมลูกเสือ เชน ปฏิบัติตามหนาท่ีที่ไดรับ
มอบหมายทําหนาท่กี รรมการของกอง ทําหนา ทีพ่ ี่เลีย้ งชวยดแู ลคหู าลกู เสือวิสามัญ และชวยเหลือ
ในการฝก อบรมลูกเสือประเภทอืน่ ๆ ในวชิ าทีต่ นถนัด เชน การผูกเง่อื นเชือก การปฐมพยาบาล
แผนท่ี เขม็ ทศิ ระเบยี บแถว เปนตน
การปฏิบตั ิตนตามคตพิ จนของลูกเสอื วิสามัญ
คติพจน “บริการ” น้ันเปนเสมือน “หัวใจ” ของการลูกเสือวิสามัญวา จะตอง
ยดึ มน่ั เสยี สละดวยการบริการ แตก ารบริการนมี้ ไิ ดหมายถงึ เปน ผรู ับใชหรือคนงานอยางที่บางทาน
เขาใจ บริการในความหมายของการลกู เสือวิสามัญน้ี เรามุง ท่ีจะอบรมนิสัย และจิตใจใหไดรูจัก
เสยี สละ ไดรจู ักวิธหี าความรู และประสบการณอันจะเปนประโยชนต อ ไปในอนาคต และในที่สุด
ก็จะทําใหสามารถประกอบอาชีพโดยปกติสุขในสังคม การบริการ หมายถึง ใหประกอบ
102
คุณประโยชนแ กมนุษยชาติ ดวยการถอื วาเปนเกียรติประวัติสูงสุดแหงชีวิตของเราในการท่ีรูจัก
เสียสละความสุขสว นตวั เพ่ือบําเพ็ญประโยชนแกผอู ่นื ท้ังน้ี เพ่ือจุดหมายใหสังคมสามารถดํารง
อยูไดโ ดยปกติ เปนการสอนใหลกู เสอื วิสามญั ตงั้ ตนอยูในศีลธรรมไมเอารัดเอาเปรียบผูท่ียากจน
หรือดอยกวา นอกจากนั้น การบริการแกผูอื่นเปรียบเสมือนเปนการชําระหน้ีท่ีไดเกิดมาแลว
อาศยั อยใู นโลกน้กี ด็ วยความมุงหวงั จะใหท กุ คนเขาใจการใชชวี ิตอยรู ว มกันในสังคม มองเห็นความ
จาํ เปน ของสังคมวา ไมมีใครสามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยลําพัง ทุกคนจําเปนตองพึ่งพาอาศัยกัน
ไมวา ดา นอาหารการกนิ ดา นเครื่องนงุ หม ท่อี ยูอ าศัย ยารักษาโรค หรืออ่ืน ๆ ก็ตาม เราตางคน
ตางมีความถนัดในการงานอาชีพของแตละคน แลวจึงนําผลงานของตนไปแลกเปล่ียนกัน ท้ังน้ี
เพ่อื ความอยรู อดของทา นและของสงั คม ฉะนน้ั ทา นจึงเปรียบเทยี บการบริการหรอื การเสียสละ
นนั้ เสมอื นเปนการชําระหน้ีท่เี ราไดเกดิ มาและอาศัยอยใู นสังคมนั้นเสมอื นเปนการชําระหนี้ที่เรา
ไดเกิดมาและอาศัยอยูใ นสงั คมน้ัน ๆ เพราะเราตองพึง่ ผอู นื่ อยตู ลอดเวลานับแตแ รกเกดิ
กิจกรรมทา ยเร่ืองที่ 3 กจิ กรรมจติ อาสา และการใหบ ริการของลกู เสอื กศน.
(ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมทา ยเรื่องท่ี 3 ทส่ี มดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรูป ระกอบชุดวิชา)
เรื่องที่ 4 การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลูกเสอื กศน. เพื่อเปนจติ อาสาและการใหบ รกิ าร
การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อเปนจิตอาสาและการใหบริการ ตองมี
ความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง และความรับผิดชอบตอสังคม ดังน้ี
ความรับผิดชอบตอ ตนเอง เปนผูมจี ิตสํานกึ ในความรับผดิ ชอบตอตนเอง ซึง่ นบั วา
เปน พื้นฐานของความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง มดี ังนี้
1. ตง้ั ใจศึกษาเลาเรยี นหาความรู
2. รูจกั การออกกาํ ลงั กาย เพอ่ื ใหมสี ุขภาพรางกายทีแ่ ขง็ แรง
3. มคี วามประหยัดรูจักความพอดี
4. ประพฤตติ ัวใหเหมาะสม ละเวน การกระทาํ ทก่ี อใหเ กดิ ความเส่ือมเสีย
5. ทาํ งานทร่ี ับมอบหมายใหส าํ เรจ็
6. มคี วามรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได
ความรับผิดชอบตอสังคม เปนการชวยเหลือสังคม ไมทําใหผูอื่น หรือสังคม
เดือดรอนไดร ับความเสยี หาย ไดแ ก
1. มคี วามรบั ผิดชอบตอ ครอบครัว เชน เช่ือฟงพอแม ชวยเหลืองานบาน ไมทําให
พอ แมเ สยี ใจ
2. มีความรับผิดชอบตอสถานศึกษา ครูอาจารย เชน ต้ังใจเลาเรียน เช่ือฟง
คําสั่งสอนของครูอาจารย ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของสถานศึกษา ชวยรักษาทรัพยสมบัติ
สถานศึกษา
103
3. มีความรับผดิ ชอบตอ บุคคลอ่นื เชน ใหความชว ยเหลือ ใหคําแนะนํา ไมเอาเปรียบ
ผอู ่นื เคารพสทิ ธิซึ่งกันและกัน
4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เชน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม
ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย รักษาสมบตั ิของสว นรวม ใหค วามรว มมือตอสังคมในฐานะพลเมืองดี
การปฏิบตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอ่ื การใหบ รกิ าร ตองตระหนกั ในสง่ิ ตอไปนี้
1. บริการแกต นเองกอน เปนการเตรียมตนเองใหพรอมท่ีจะใหบริการตนเองกอน
ท้งั ในดา นการเงนิ สุขภาพ เวลาวาง สติปญญา ฯลฯ หากยังไมมีความพรอม ก็ไมอาจใหบริการ
แกผ อู ่นื ได หรือไดก็ไมดีเทาที่ควร เพราะตราบใดท่ีเรายังตองขอความชวยเหลือจากผูอื่น หรือ
ตองอยูภายใตการโอบอุมคํ้าชูของผูอ่ืน ตองขอใหผูอื่นชวยเหลือเรา แสดงวาเรายังไมพรอม
ฉะน้ัน ลูกเสือ กศน. ตองเตรียมตวั ใหพรอ มเพอ่ื การใหบรกิ าร
2. บริการแกห มคู ณะ เม่อื ฝก บรกิ ารตนเองแลว ตองขยายการใหบ รกิ ารแกห มูคณะ
ในการหาประสบการณ หรือความชํานาญ ดวยการบริการเปนรายบุคคล บริการแกครอบครัว
บริการแกบุคคลใกลชิด อันเปนสวนรวม ลูกเสือ กศน. ทุกคนควรมีประสบการณภาคปฏิบัติ
ในการเปนอาสาสมัครชวยเหลือหมูคณะดวยการปฏิบัติตนใหเปนคนสนุกสนาน ราเริง เปนมิตร
กบั คนทกุ คน ซอ่ื สตั ยสุจรติ มกี ริยาสุภาพ และใชว าจาสภุ าพไมห ยาบโลน
3. บริการแกช ุมชน เมอื่ ฝก บริการแกต นเอง และบริการแกหมูคณะแลว สมควร
ท่ีจะไปบรกิ ารแกชมุ ชนตามสตปิ ญญา ประสบการณ และความสามารถแนวคิดในการใหบริการ
แกช ุมชน คือ การชําระหนีแ้ กชุมชนดวยการรวมมอื เสยี สละรว มกนั เพอื่ ดาํ เนินการจัดกิจกรรม
อันเปนสาธารณะประโยชน เชน การพัฒนาอาคาร สถานที่ บานเมืองในชุมชนนั้น การสราง
สาธารณสถาน เชน ทําความสะอาด การชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ การควบคุมการจราจร
การดบั เพลงิ การจัดงานร่ืนเริง งานสงั คม เพื่อประโยชนของสังคมน้ัน ๆ ซึ่งจะทําใหลูกเสือ กศน.
ไดป ระสบการณจากชวี ติ จรงิ สามารถปรับตัวเขากับสังคมทีอ่ าศยั อยูได สามารถประกอบอาชีพ
ไดโ ดยปกติสุข เพราะไดรับการฝกใหรจู ักเสียสละ เพื่อบริการแกชุมชนหรือสังคม โดยไมไดเอารัด
เอาเปรียบหรอื เหน็ แกไ ด
กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 4 การปฏบิ ตั ติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพอื่ เปน จติ อาสาและการใหบ รกิ าร
(ใหผ เู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 4 ทสี่ มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
104
หนว ยการเรยี นรทู ่ี 8
การเขียนโครงการเพอื่ พัฒนาชมุ ชนและสงั คม
สาระสาํ คญั
ลกู เสอื กศน. ไดร ับการพัฒนาตนเองใหเ ปน ผูมจี ติ อาสา มีความเสียสละ บําเพ็ญ
ประโยชน เพื่อชุมชนและสงั คมโดยไมหวงั ผลตอบแทน มีความพรอมในการให “บริการ” แกผูอื่น
ดว ยความเต็มใจ
งานบรกิ ารทลี่ กู เสือ กศน. สามารถนํามาเขียนในลักษณะของโครงการเพ่ือพัฒนา
ชุมชนและสังคม เชน โครงการบริการชุมชน โครงการจิตอาสา โครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม
โครงการพัฒนาแหลงเรียนรู โครงการพัฒนาอาชีพในชุมชน โครงการชวยเหลือเด็ก ผูสูงอายุ
คนพกิ ารในชุมชน เปน ตน
การเขียนโครงการเพอื่ พัฒนาชุมชนและสังคม ควรเริ่มตนดวยการสํารวจสภาพ
ชุมชน และนํามาคิดวิเคราะห แยกแยะอยางรอบคอบ มีเรื่องใดบางที่ลูกเสือ กศน. สามารถ
ใหบริการ หรือมีสวนรวมในการปรับปรุง หรือพัฒนาใหดีขึ้นตามขั้นตอน เปนเหตุเปนผล
มีความนาเช่ือถือ ควรมีการกําหนดองคประกอบของการเขียนโครงการท่ีชัดเจน ตั้งแต
ช่ือโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ระยะเวลา
การดําเนินงานต้ังแตเร่ิมตนจนสิ้นสุดโครงการ งบประมาณ สถานที่ดําเนินการ ผูรับผิดชอบ
โครงการ ผลหรอื ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ และการประเมินผล
ลูกเสือ กศน. ท่ีเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมเสร็จเรียบรอยแลว
ตองไปดําเนนิ งานทกุ ขนั้ ตอนท่ไี ดกําหนดไวในโครงการ และสรุปรายงานผลการดําเนินงานตาม
โครงการ เพ่อื นําผลการดาํ เนินงานตามโครงการไปนําเสนอในกิจกรรมเขาคายพกั แรม
ตัวช้วี ัด
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญของโครงการ
2. จาํ แนกลักษณะของโครงการ
3. ระบอุ งคประกอบของโครงการ
4. อธิบายขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ
5. บอกขนั้ ตอนการดาํ เนินงานตามโครงการ
6. อภปิ รายผลการปฏบิ ตั งิ านตามโครงการและการเสนอผลการดําเนนิ งาน
ตอทีป่ ระชมุ
105
ขอบขา ยเนือ้ หา
เร่ืองท่ี 1 โครงการเพ่ือพฒั นาชุมชนและสังคม
1.1 ความหมายของโครงการ
1.2 ความสําคญั ของโครงการ
เรื่องท่ี 2 ลักษณะของโครงการ
เรอื่ งท่ี 3 องคป ระกอบของโครงการ
เรอื่ งท่ี 4 ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการ
เรื่องที่ 5 การดําเนนิ การตามโครงการ
เร่ืองที่ 6 การสรุปผลการดําเนินงานตามโครงการเพื่อเสนอตอทีป่ ระชมุ
เวลาทใ่ี ชใ นการศึกษา 12 ชว่ั โมง
ส่ือการเรียนรู
1. ชดุ วชิ าลูกเสอื กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวชิ า
3. สื่อเสริมการเรยี นรูอ่ืน ๆ
106
เร่ืองท่ี 1 โครงการเพอ่ื พฒั นาชุมชนและสงั คม
1.1 ความหมายของโครงการ
โครงการ หมายถึง กระบวนการทํางานที่ประกอบไปดวยหลาย ๆ กิจกรรม
ซึ่งมีการทําโครงการเปนตามขั้นตอน ความจําเปน มีการกําหนดวัตถุประสงค มีเปาหมาย
ระยะเวลา สถานที่ วิธดี ําเนนิ การ งบประมาณ ผลทค่ี าดวาจะไดรับ รวมท้ังการประเมินผลการ
ดําเนนิ งานตามโครงการ
1.2 ความสําคญั ของโครงการ มีดงั นี้
1. ชว ยใหก ารดาํ เนนิ งานสอดคลองกบั นโยบายหรือความตองการของผูรับผิดชอบ
หรอื หนวยงานที่เกย่ี วของ
2. ชวยใหก ารดําเนนิ งานนัน้ มีทิศทางทีช่ ัดเจน และมีประสทิ ธภิ าพ
3. ชวยช้ีใหเหน็ ถึงสภาพปญ หาของชุมชนทจ่ี ําเปน ตองใหบ ริการ
4. ชว ยใหก ารปฏิบตั ิงาน สามารถดาํ เนนิ งานไดตามแผนงาน
5. ชวยใหแผนงานมีความชัดเจนโดยคณะกรรมการหรือบุคคลท่ีเกี่ยวของ
มคี วามเขา ใจและรับรสู ภาพปญ หารวมกนั
6. ชว ยใหแผนงานมีทรัพยากรใชเพียงพอเหมาะสําหรบั การปฏิบัติงานจรงิ เพราะ
โครงการมรี ายละเอยี ดเพียงพอ
7. ชวยลดความขัดแยงและขจัดความซ้ําซอนในหนาท่ีที่รับผิดชอบของกลุม
บุคคล หนว ยงาน เพราะโครงการจะมีผรู บั ผิดชอบเปนการเฉพาะ
8. เสริมสรางความเขาใจอันดีและรับผิดชอบรวมกันตามความรูความสามารถ
ของแตละบคุ คล
9. สรางความม่ันคงใหกับแผนงานและผูรับผิดชอบมีความม่ันใจในการทํางาน
มากขน้ึ
10. ชว ยใหง านดาํ เนินการไปสเู ปา หมายไดเร็วข้นึ
กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 โครงการเพอ่ื พัฒนาชุมชนและสงั คม
(ใหผเู รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่อื งที่ 1 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
107
เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ
โครงการเปน สว นประกอบท่สี าํ คญั ของแผนพัฒนาทุกระดับ ลักษณะของโครงการ
ตอ งมีจุดมงุ หมาย มีเปา หมายการปฏิบตั ิงานทมี่ ีระยะเวลาดาํ เนินการชัดเจน ระบุความตองการ
งบประมาณ หรอื ผูมีสว นเกีย่ วขอ งมกี ารคาดการณผลท่ีจะเกดิ ขึ้นเมือ่ การดําเนินงานโครงการเสร็จ
ประเภทของโครงการ มดี ังน้ี
1. โครงการที่มรี ะยะเวลาเปนตัวกาํ หนด ไดแก
1.1 โครงการระยะส้ัน หมายถงึ โครงการทม่ี รี ะยะเวลาการดาํ เนนิ งาน หรอื
กาํ หนดเวลาดําเนินการ ไมเกิน 2 ป
1.2 โครงการระยะปานกลาง หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาการดาํ เนินงาน
หรอื กาํ หนดเวลาดาํ เนินการตง้ั แต 2 - 5 ป
1.3 โครงการระยะยาว หมายถึง โครงการที่มีระยะเวลาการดําเนินงาน
หรอื กาํ หนดเวลาดาํ เนนิ การตง้ั แต 5 ป ขึน้ ไป
2. โครงการทมี่ ีลกั ษณะงานเปน ตวั กําหนด ไดแก
2.1 โครงการเดิม หรือโครงการตอเน่ือง คือโครงการท่ีมีลักษณะตอเนื่อง
จากปทีผ่ า นมาอาจเปนโครงการทีไ่ มสามารถดําเนนิ การใหแลวเสรจ็ ไดใ นปเดยี ว หรือโครงการที่
ตอ งมกี ารดําเนนิ งานตอเน่ือง หรือตอยอดขยายผลไปสูกลุมเปาหมายอื่นๆ ไดเชนปที่ผานมาไดมี
การจัดอบรม “ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาชวยเหลือผูเก่ียวของกับยาเสพติดสําหรับนักศึกษา
มัธยมศึกษาตอนตน” ในปการศึกษา 2560 ซึ่งในป 2561 ก็อาจมีการดําเนินงานโครงการ
ในลกั ษณะเดียวกันแตเนนการขยายผลจํานวนกลุมเปาหมายใหเพ่ิมมากขึ้น เม่ือเทียบกับผลการ
ดําเนนิ งานในปก อ นหนา โดยใชวิธีการดําเนินงานโครงการตามรูปแบบเดมิ
2.2 โครงการใหม คือ โครงการทีจ่ ดั ทําขึ้นใหม
กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะของโครงการ
(ใหผเู รียนไปทาํ กิจกรรมทายเร่ืองที่ 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
108
เรอื่ งที่ 3 องคประกอบของโครงการ
การเขียนโครงการที่เปนไปตามลําดับขั้นตอน เปนเหตุเปนผล และนาเช่ือถือ
ควรมีการกําหนดองคป ระกอบของการเขียนโครงการ ไวดงั นี้
1. ช่อื โครงการ : ช่อื โครงการอะไร
2. หลกั การและเหตุผล : เหตุผลทาํ ไมตองทําโครงการ
3. วัตถุประสงค : ทาํ โครงการน้ีทาํ ไปเพือ่ อะไร
4. เปา หมาย : ปรมิ าณเทาใด ทํากับใคร จาํ นวนเทา ใด
6. วิทยากร (ถา ม)ี : ระบวุ า ใครเปนผใู หความรู
(ใชเ ฉพาะโครงการอบรม)
5. วิธดี ําเนินการ : โครงการน้ีทาํ อยางไร ดําเนินการอยา งไร
6. ระยะเวลาดําเนนิ การ : จะทําเมือ่ ใดและนานแคไหน
7. สถานทีด่ ําเนนิ การ : จะทําที่ไหน
8. งบประมาณและทรัพยากรอ่นื ๆ : ระบุวาใชท รพั ยากรอะไร มีคาอะไรบาง
9 ผรู ับผดิ ชอบโครงการ : ใครเปนคนทาํ โครงการ
10. หนว ยงานทเ่ี ก่ยี วของ : ระบวุ า ประสานกับหนว ยงานใดบา ง
11. การประเมินผล : จะใชวิธีการใดทีท่ ําใหร ูวา โครงการ
ประสบความสําเรจ็
12. ผลที่คาดวา จะไดรับ : จะเกิดอะไรขน้ึ เมอื่ ส้นิ สดุ โครงการ
13. ผปู ระสานงานโครงการ : ระบุวาใครเปน ผปู ระสานงานโครงการ
กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 องคป ระกอบของโครงการ
(ใหผ เู รียนไปทํากิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 ทส่ี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
109
เรือ่ งท่ี 4 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ
ขั้นตอนการเขยี นโครงการ มีดงั นี้
1. สํารวจชุมชนและสังคม เปนการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ สภาพปญหาตาง ๆ
ทม่ี อี ยใู นชมุ ชน เพือ่ นําขอมลู เหลานัน้ มาวิเคราะหแ ละกําหนดแนวทางการพัฒนา การแกปญหา
โดยการศึกษา สภาพปญหา และสาเหตุของปญหา เพ่ือหาวิธีการ คิดคน วิธีการพัฒนา และ
สาเหตุของปญหา โดยใชวิธีการสํารวจขอมูลท่ีหลากหลาย เชน การสังเกต การศึกษาภูมิหลัง
ของชุมชน การสมั ภาษณ การสอบถาม การทาํ เวทีประชาคม ฯลฯ เปนตน
2. ตรวจสอบขอมูล หลังจากที่มีการสํารวจขอมูลชุมชนและนําขอมูลมา
สรุปเรียบรอยแลว เพ่ือความถูกตอง ชัดเจนของขอมูลดังกลาว ควรจัดใหมีเวทีเพ่ือการ
ตรวจสอบขอมูล โดยกลมุ เปา หมายที่ใหขอ มูลทีส่ าํ รวจมาไดม ีความถกู ตองสมบรู ณย ิง่ ข้ึน
3. นําขอมูล ท่ีไดหลังจากตรวจสอบเรียบรอยแลว มาวิเคราะห พรอมจัดลําดับ
ความสําคัญเพ่ือจําแนกความสามารถในการจัดทาํ โครงการ
4. การกาํ หนดแนวทางการดาํ เนินงานเพอ่ื พฒั นาและแกปญ หาชุมชนและสังคม
เม่อื ผรู บั ผดิ ชอบโครงการไดส าํ รวจชมุ ชนและสังคม ดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหาของชุมชน
และสังคม และผลสรุปการวิเคราะหของสภาพปญหาชุมชนและสังคมแลว ก็ตองมากําหนด
แนวทางการดําเนินงานเพ่ือแกไขปญหาชุมชนและสังคมวาชุมชนและสังคมน้ัน ๆ มีสภาพปญหา
เปนอยางไร มีความตองการอยางไร แลวจึงกําหนดแนวทางแกไขตามสภาพปญหานั้น หรือ
เขยี นแนวทางเพอ่ื สนองความตอ งการของชุมชนและสงั คมนั้น ๆ ท้ังนี้ ควรเขียนในลักษณะของ
โครงการ เพ่ือดําเนินการ
ในการกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพ่ือแกไขปญหาชุมชนและสังคมควรขอ
ความรวมมือจากบุคคล หนวยงานที่มีสวนเก่ียวของกับเรื่องที่จะดําเนินการแกไขปญหา หรือ
พัฒนา ไดเขา มารว มในการกาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ งาน หรือรวมกันเขยี นโครงการดวย
5. การเขียนและเสนอขออนุมัติโครงการการเขียนโครงการ ผูเขียนโครงการ
ตองนําขอมูลจากการศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม และขอมูลท่ีไดจากการกําหนด
แนวทางการดําเนินงานมาใชเปนขอมูลประกอบในการเขียนโครงการ ซึ่งการเขียนโครงการ
ควรเขยี นใหเปนไปตามรูปแบบขององคป ระกอบการเขยี นโครงการ (ดงั ตัวอยาง)
110
ตัวอยา งโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษส ิง่ แวดลอม (กจิ กรรมปลกู ตน ไมใ นทีส่ าธารณะ)
2. หลกั การและเหตผุ ล
ดวยสภาพในปจ จบุ ันมจี ํานวนประชากรเพม่ิ มากขน้ึ ทําใหท รพั ยากรตา ง ๆ ที่มีอยถู ูกใชไป
อยางส้ินเปลืองจนนาวิตก สภาพตนไมถูกทําลายลง บานเมืองขยายตัวออกไปอยางรวดเร็ว
ทาํ ใหป ระชาชนที่อาศัยอยใู นชุมชนในเมืองขาดรมเงาจากตนไมสําหรับพักผอนหยอนใจ ดังน้ัน
จึงควรสงเสริมใหมีการปลูกตนไม เพ่ือใหเกิดสภาพแวดลอมที่รมร่ืนรมเย็น เพื่อชวยรักษา
สภาพแวดลอมทางธรรมชาตทิ างออม รวมทงั้ ยังเปน การฝกใหลูกเสือเกิดความรักและหวงแหน
ในตนไม จึงเห็นสมควรใหมี โครงการ/โครงงานนี้ข้นึ
3. วตั ถปุ ระสงค
3.1 เพ่ือใหม ีตน ไมเปน รมเงาสําหรับพักผอนหยอ นใจ
3.2 เพ่ือใหลกู เสือตระหนกั ถึงความสําคัญของตน ไมว ามปี ระโยชนตอมนุษยแ ละสัตว
3.3 ใหล ูกเสอื ไดม ีโอกาสบําเพญ็ ประโยชนตอชุมชนและสงั คม
3.4 ฝก ใหล ูกเสือมที กั ษะในการปลุกตน ไมยง่ิ ขน้ึ
4. เปาหมาย
4.1 เชิงปรมิ าณ
ลกู เสอื ปลกู ตนไมอยา งนอยคนละ 1 ตน
4.2 เชิงคณุ ภาพ
ลกู เสอื มีสว นรว มในการปลกู ตน ไม
5. วิธีดําเนินงาน
5.1 ประชมุ วางแผนการปลูกตนไมร ว มกบั สมาชิกกองลกู เสอื กศน.
5.2 ตดิ ตอ ของพันธกุ ลา ไมจากศนู ยเ พาะชํากลาไม
5.3 จดั สภาพแวดลอ มบรเิ วณท่ีจะปลกู ตนไม ติดปายโฆษณาใหบุคคลท่ัวไปทราบและ
ขอความรว มมือในการบาํ รงุ รกั ษาตนไม
5.4 ใหลกู เสือจัดเตรยี มเคร่อื งมอื และอาหารไปใหพรอม
5.5 ลงมือปฏิบัตกิ าร
5.6 สรปุ และประเมนิ ผล
6. สถานที่
สวนสาธารณะ วัด หรือโรงเรียน
7. ระยะเวลา
ระหวา งเดอื นพฤษภาคม ถงึ เดอื นมถิ นุ ายน
111
8. งบประมาณ
ใชเงนิ บริจาค จาํ นวน 3,000 บาท
9. ผูรับผดิ ชอบโครงการ
ผูเสนอโครงการรวมกับสมาชิกกองลูกเสือ กศน.
10. หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของ
ศนู ยเ พาะชาํ กลา ไม
11. การตดิ ตาม ประเมินผล
สังเกตพฤตกิ รรมของลกู เสือ กศน.
12. ผลที่คาดวาจะไดร บั
จะมตี นไมเพิ่มข้ึนจาํ นวนหน่งึ บริเวณดังกลา วจะมีรม เงาของตนไมสาํ หรับพกั ผอนหยอนใจ
13. ผปู ระสานงานโครงการ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ลงชอื่ ...........................................ผูเ สนอโครงการ
(.............................................)
หวั หนา นายหมูล กู เสอื กศน. อาํ เภอ/เขต.......................
ลงช่อื ..............................................ทป่ี รึกษาโครงการ
(...........................................)
ครู กศน. ตาํ บล
ผูกาํ กับกองลูกเสอื
ลงชื่อ................................................ ผเู ห็นชอบโครงการ
(…………………………….…………)
ครู..............................................
ผกู าํ กับกลมุ ลูกเสือ
ลงชือ่ ................................................ผูอนุมัตโิ ครงการ
(.......................................)
ผูอ าํ นวยการศนู ย กศน. อาํ เภอ/เขต............................
ผอู าํ นวยการลูกเสือ กศน. อาํ เภอ/เขต..........................
กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 4 ขั้นตอนการเขยี นโครงการ
(ใหผ เู รยี นไปทํากจิ กรรมทา ยเร่ืองที่ 4 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
112
เร่ืองที่ 5 การดําเนนิ งานตามโครงการ
การดําเนินงานตามโครงการ เปนการดําเนินงานหลังจากท่ีโครงการไดรับ
ความเห็นชอบ หรืออนุมัติใหดําเนินงานตามโครงการที่เขียนเสนอไว โดยดําเนินงานใหเปนไป
ตามแนวทางการดําเนินงาน หรือวิธีดําเนินการ หรือกิจกรรมที่เขียนไวในโครงการ ซ่ึงควร
ดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงาน ขั้นตอนที่เขียนไว เปนไปตามระยะเวลาที่กําหนด โดยคํานึงถึง
ผลที่ควรเกิดขึ้นตามวัตถุประสงคของโครงการที่กําหนดไว ท้ังน้ีการดําเนินงานโครงการควรมี
ขนั้ ตอน ดังน้ี
1. ดาํ เนนิ การทบทวน หรือทาํ ความเขา ใจรายละเอยี ดท่ีเขียนไวใ นโครงการทไ่ี ดรบั
การอนุมัติใหดําเนินการ โดยการมีสวนรวมของผูรับผิดชอบโครงการ หรือผูมีสวนเก่ียวของ
เพ่ือการสรางความเขา ใจกอนการดําเนินงาน
2. ใหผูรับผดิ ชอบโครงการ ดําเนนิ งานตามวิธีดาํ เนินการ หรือ กจิ กรรมทีป่ รากฏ
อยูในโครงการท่ีไดร บั อนุมตั โิ ดยคาํ นงึ ถึงผลท่ีคาดวาจะไดรับ ซึ่งควรสอดคลองกับวัตถุประสงค
ของโครงการ
3. เม่ือดาํ เนินงานตามโครงการเสร็จสิ้นแลว ควรจัดใหมีการประเมินผลการ
ดําเนนิ งานโครงการตามรปู แบบ หรือแนวทางท่กี ําหนดไวใ นโครงการ
4. เม่ือประเมินผลการดําเนินงานเสร็จเรียบรอยแลว ใหผูรับผิดชอบโครงการ
จัดทาํ รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการเสนอตอ ผูท ี่เกีย่ วของ หรอื ผูอนมุ ัติโครงการตอ ไป
กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 5 การดาํ เนนิ งานตามโครงการ
(ใหผเู รยี นไปทํากิจกรรมทายเรอื่ งที่ 5 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
เร่ืองที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการเพอ่ื เสนอตอทป่ี ระชมุ
หลังจากที่ผูเรียนไดปฏิบัติตามโครงการเรียบรอยแลวจะตองสรุปผลการ
ดําเนินงานวาเปนอยางไรดังนั้น การสรุปรายงานผลการดําเนินงานควรประกอบดวยเน้ือหาที่
สําคญั ดงั ตอ ไปน้ี
1. ผลการดําเนนิ งานท่สี อดคลอ งกับวัตถุประสงค หรือผลทีเ่ กดิ ข้ึนตาม “ผลที่คาดวา
จะไดรบั ” ที่เขยี นไวในโครงการ
2. ปญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนระหวางการดําเนินงานตามโครงการ โดยใหระบุ
ปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนพรอมแนวทางแกไขเพื่อปองกันไมใหปญหาหรืออุปสรรคเหลานั้น
เกดิ ขน้ึ อกี
3. ขอเสนอแนะ เปนการเขียนขอเสนอแนะแนวทางเพื่อจะทําใหการปฏิบัติงาน
โครงการในครั้งตอไปประสบผลสําเร็จไดงายข้ึน
113
ท้ังนี้ การสรุปรายงานผลการดําเนินงานโครงการ เพ่ือนําเสนอผลตอที่ประชุม
สามารถจดั ทําไดต ามองคป ระกอบ ดังน้ี
1. สว นนาํ เปน สวนแรกของรายงาน ซง่ึ ควรประกอบดวย
1.1 ปก ควรมีท้งั ปกนอก และปกใน ซงึ่ มีเน้ือหาซํ้ากัน
1.2 คํานํา หลกั การเขยี นคาํ นําทีด่ ีจะตอ งทําใหผูอา นเกดิ ความสนใจ ตองการ
ที่จะอา นเนอ้ื หาสว นตา ง ๆ ที่ปรากฏอยูในรายงาน
1.3 สารบัญ หมายถึง การระบุหัวขอสําคัญในเลมรายงาน โดยตองเขียน
เรยี งลาํ ดับตามเนอ้ื หาของรายงาน พรอ มระบเุ ลขหนา
2. สวนเนือ้ หา ประกอบดว ยสว นตา งๆดังนี้
2.1 หลกั การและเหตผุ ลของโครงการ หรอื ความเปนมาและความสําคัญของ
โครงการ
2.2 วัตถุประสงค
2.3 เปาหมายของโครงการ
2.4 วิธีดําเนินการ หรือกิจกรรมท่ีไดดําเนินงานตามโครงการเปนการเขียนถึง
ขน้ั ตอนการดําเนนิ งานโครงการแตล ะขั้นตอนตามทไี่ ดปฏิบัติจรงิ วามกี ารดาํ เนินการอยา งไร
2.5 ผลทเ่ี กิดข้ึนจากการดาํ เนนิ งานโครงการเปนการเขียนผลการดําเนินงาน
ที่เกดิ ขน้ึ จรงิ ซึง่ เปน ผลมาจากการดําเนินงานโครงการ
2.6 ขอเสนอแนะจากการดําเนินงานโครงการ (เปนการเสนอความคิดเห็นท่ี
เปนประโยชนต อผอู า น หรือตอการดาํ เนินงานโครงการในครง้ั ถัดไป)
2.7 ภาคผนวก (ถาม)ี เชน รูปภาพจากการดําเนนิ งานโครงการ แบบสอบถาม
หรือเอกสารที่เกิดข้ึนจากการดําเนินงานโครงการ เปนตน
ทั้งนี้ เมื่อจัดทํารูปเลมรายงานผลการดําเนินงานโครงการ เสร็จส้ินแลว ใหนํา
รูปเลมรายงานสง/เสนอตอผูทอ่ี นุมตั ิโครงการ หรือผูท่ีเกี่ยวของเพ่ือรับทราบผลการดําเนินงาน
โครงการ ตอ ไป
นอกจากน้ี การเสนอผลการดําเนินงานโครงการ บางหนวยงาน หรือบางโครงการ
ผูอนุมตั โิ ครงการ อาจมีความประสงคใหผูรับผิดชอบโครงการนําเสนอโครงการในลักษณะของ
การพูดสื่อสาร ใหผูที่เกี่ยวของไดรับทราบ ผูรับผิดชอบโครงการหรือผูนําเสนอ จึงควรมี
การเตรยี มความพรอมและปฏิบตั ิ ดังน้ี
1. ผูนาํ เสนอควรมกี ารสาํ รวจตนเองเพือ่ เตรยี มความพรอมใหกับตนเอง ท้ังในเร่ือง
ของบุคลิกภาพ การแตงกายทีเ่ หมาะสม และการทาํ ความเขา ใจกบั เนื้อหาที่จะนําเสนอเปนอยางดี
หากมีผูนําเสนอมากกวา 1 คน ควรมีการเตรียมการโดยการแบงเนื้อหารับผิดชอบในการนําเสนอ
เพื่อใหก ารนาํ เสนอเกิดความตอเนอ่ื ง ราบร่ืน
114
2. กลาวทักทาย/สวัสดีผูฟง โดยเริ่มกลาวทักทายผูอาวุโสท่ีสุดแลวเรียงลําดับ
รองลงมาจากนั้นแนะนาํ ตนเอง แนะนาํ สมาชกิ ในกลมุ และแนะนําชอื่ โครงการ
3. พดู ดวยเสียงทด่ี งั อยางเหมาะสม ไมเ รว็ และไมชา เกินไป
4. หลีกเลี่ยงการอาน แตควรจดเฉพาะหัวขอสําคัญๆเพ่ือใชเตือนความจํา
ในขณะทพ่ี ดู รายงาน โดยผนู ําเสนอควรจดั ความคิดอยางเปนระบบ และนาํ เสนออยา งตรงไปตรงมา
ดว ยภาษาทีช่ ดั เจนและเขา ใจงา ยเปนธรรมชาติ
5. ผนู ําเสนอควรรักษาเวลาของการนําเสนอ โดยไมพูดวกไปวนมาหรือพูดออก
นอกเร่อื งจนเกินเวลา
6. รจู ักการใชทา ทางประกอบการพูดพอสมควร
7. ควรมีสอ่ื ประกอบการนําเสนอ เพ่ือใหการนาํ เสนอมีความนาสนใจ นาเช่ือถือ
และเพ่อื ความสมบูรณในการนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ และควรเปดโอกาสใหผูฟงได
ซักถามเพ่มิ เตมิ เพอื่ ความเขา ใจในกรณที ี่ผูฟ งมขี อสงสยั
กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการเพอ่ื เสนอที่ประชุม
(ใหผ ูเ รยี นไปทาํ กิจกรรมทายเร่ืองท่ี 6 ท่สี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
115
หนวยการเรยี นรูที่ 9
ทักษะลูกเสือ
สาระสําคญั
ทักษะลูกเสือ เปนทักษะพื้นฐานที่ลูกเสือ กศน. ควรรู มีความเขาใจและ
สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน และพัฒนาใหเปนทักษะในการเอาชีวิตรอด หรือชวยชีวิต
ผูอ่ืนได ซ่ึงเปนการเตรียมความพรอมสําหรับการทําหนาที่ “บริการ” หรือบําเพ็ญประโยชน
ตอ ผอู ่นื รวมทง้ั เปน การฝกฝนตนเองใหเ ปนมีวนิ ัยและความเปนระเบียบเรยี บรอ ย
ลูกเสือ กศน. ควรมีทักษะพ้ืนฐานเรื่องแผนที่ – เข็มทิศ และเง่ือนเชือก ท้ังนี้
เพราะวิชาแผนท่ีชวยใหเขาใจขอมูลพ้ืนฐานของพิกัด ทิศทาง ตําแหนงที่ตั้ง ตลอดจนลักษณะ
ภูมิประเทศเบ้ืองตนของสถานท่ีแตละแหง ชวยใหสามารถวางแผนการเดินทางไดอยาง
เหมาะสม และหากมีการใชเข็มทิศ ซ่ึงเปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรใหขอมูลดานทิศทาง
ประกอบแผนทีด่ วย ยอ มทาํ ใหก ารเดินทางมีประสทิ ธิภาพ
สําหรับเง่ือนเชือก เปนเร่ืองสําคัญท่ีลูกเสือทั่วโลกจะตองเรียนรู เขาใจ และ
นําไปใชในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะอยางย่ิงตองนําไปใชในการรวมกิจกรรมเขาคายพักแรม
การสรา งฐานผจญภัย การสรางฐานบุกเบิกหรือการผูกมัด รวมทั้ง การใชงานเง่ือนในการชวย
ผเู จ็บปว ยได ใหเกิดความปลอดภยั ในการทาํ กิจกรรมการเรยี นรูสาํ หรบั การอยูคา ยพกั แรม
ตวั ช้ีวดั
1. อธิบายความหมายและความสําคัญของแผนที่ – เข็มทิศ
2. อธบิ ายสว นประกอบของเข็มทศิ
3. อธิบายวิธีการใช Google Map และ Google Earth
4. อธิบายความหมายความสาํ คัญของเงื่อนเชอื กและการผกู แนน
5. ผกู เงอ่ื นเชอื กไดและบอกชื่อเงอ่ื นอยางนอ ย 7 เง่ือน
6. สาธิตวธิ กี ารผกู แนน อยา งนอ ย 2 วธิ ี
ขอบขายเนื้อหา
เรอื่ งท่ี 1 แผนท่ี – เขม็ ทศิ
1.1 ความหมายและความสาํ คัญของแผนท่ี
1.2 ความหมายและความสําคญั ของเข็มทศิ
เร่ืองท่ี 2 วธิ ีการใชแ ผนท่ี – เข็มทศิ
2.1 วธิ ีการใชแผนที่
2.2 วิธกี ารใชเข็มทิศ
116
เรือ่ งที่ 3 การใช Google Map และ Google Earth
เรื่องท่ี 4 เงื่อนเชอื กและการผูกแนน
4.1 ความหมายของเงื่อนเชือกและการผูกแนน
4.2 ความสําคญั ของเงอ่ื นเชือกและการผูกแนน
4.3 การผกู เงือ่ นเชือกและการผกู แนน
เวลาที่ใชในการศกึ ษา 6 ชั่วโมง
สอื่ การเรียนรู
1. ชดุ วิชาลูกเสือ กศน. รหสั รายวิชา สค32035
2. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา
3. สื่อเสริมการเรียนรูอนื่ ๆ
117
เรือ่ งที่ 1 แผนท่ี – เข็มทศิ
1.1 ความหมาย และความสําคญั ของแผนท่ี
แผนท่ี คือ สิ่งที่แสดงรายละเอียดของภูมิประเทศบนพื้นผิวโลกทั้งท่ีมีอยูตาม
ธรรมชาตแิ ละที่มนษุ ยสรา งข้ึน โดยจําลองไวบนวัตถุพ้ืนราบดวยมาตราสวนใดมาตราสวนหนึ่ง
ซงึ่ รายละเอยี ดเหลานอ้ี าจแสดงดว ยเสน สี และสัญลักษณต า ง ๆ เชน
สีทใ่ี ชใ นแผนท่ที างภูมิศาสตร ไดแก
สีนา้ํ เงนิ แก แสดงถงึ ทะเล มหาสมุทรที่ลกึ มาก
สฟี า ออ น แสดงถึง เขตนํ้าต้ืน หรือไหลทวีป
สเี ขยี ว แสดงถึง ท่ีราบระดับตํ่า
สีเหลอื ง แสดงถึง ที่ราบระดับสูง
สแี สด แสดงถึง ภูเขาทสี่ ูงปานกลาง
สแี ดง แสดงถงึ ภูเขาที่สงู มาก
สนี ํา้ ตาล แสดงถึง ยอดเขาท่สี ูงมาก ๆ
สีขาว แสดงถึง ยอดเขาท่ีสูงจนมหี มิ ะปกคลมุ
สีทใ่ี ชในแผนทที่ ั่วไป ไดแ ก
สดี าํ ใชแ ทนรายละเอียดทีเ่ กิดจากแรงงานมนษุ ย ยกเวนถนน
สีแดง ใชแทนรายละเอียดท่เี ปน ถนน
สีน้ําเงิน ใชแทนรายละเอียดทเี่ ปนน้าํ หรือทางน้ํา เชน ทะเล แมน ํา้
สีเขยี ว ใชแ ทนรายละเอียดท่เี ปน ปาไม และบรเิ วณทท่ี าํ การเพาะปลกู
สนี ้าํ ตาล ใชแ ทนลกั ษณะทรวดทรงความสูง
ความสาํ คญั ของแผนท่ี
1. ใชเ ปนเครอื่ งมอื ประกอบกจิ กรรมการเดินทางไกลของลูกเสือ โดยแผนท่ีจะให
ขอ มูลเบอ้ื งตนของพิกดั ทศิ ทางและตําแหนง ของสถานท่ีในการเดินทางในเบื้องตนที่ชัดเจนข้ึน
2. แผนทจ่ี ะชว ยใหเขาใจถงึ ขอมูลพื้นฐานของสภาพลักษณะภูมิประเทศเบ้ืองตน
ของสถานทใ่ี นแตล ะแหง ชว ยใหส ามารถวางแผนในการเดินทางไดอ ยา งเหมาะสม
3. ความเขาใจในชนิดของแผนท่ีจะชวยใหรูจักเลือกใชประโยชนจากแผนที่
ในแตล ะชนิดไดอยางถูกตอ งเหมาะสม
118
ชนิดของแผนท่ี
แผนทีโ่ ดยทว่ั ไป แบงออกเปน 3 ชนดิ
1) แผนที่แบนราบ แสดงพื้นผิวโลก ความสูงต่ํา ใชแสดงตําแหนง ระยะทาง
และเสนทาง
2) แผนที่ภมู ิประเทศ แสดงพ้นื ผวิ โลกในทางราบ ไมแสดงความสูงตํ่า ละเอียด
กวา และใชป ระโยชนไ ดม ากกวา แผนท่ีแบนราบ
3) แผนท่ีภาพถาย ทําขึ้นจากภาพถายทางอากาศ มีความละเอียดและความ
ถูกตองมากกวาแผนท่ีชนิดอ่ืนมาก สามารถมองเห็นส่ิงตาง ๆ ตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย
สรา งข้ึนอยา งชดั เจน
นอกจากน้ยี งั แบงชนดิ ของแผนท่ีตามลกั ษณะการใชง าน ตวั อยาง เชน
- แผนทีท่ ว่ั ไป เชน แผนท่ีโลก แผนทีป่ ระเทศตา ง ๆ
- แผนทท่ี รวดทรง หรอื แผนทีน่ นู แสดงความสงู ตา่ํ ของภูมปิ ระเทศ
- แผนทท่ี หาร เปน แผนที่ยทุ ธศาสตร ยุทธวธิ ี
- แผนทเี่ ดนิ อากาศ ใชส ําหรบั การบนิ เพ่อื บอกตาํ แหนง และทศิ ทางของเครือ่ งบนิ
- แผนทเ่ี ดินเรอื ใชในการเดนิ เรอื แสดงสันดอน ความลกึ แนวปะการัง
- แผนท่ีประวตั ศิ าสตร แสดงอาณาเขตยคุ และสมัยตา ง ๆ
- แผนที่การขนสง แสดงการคมนาคมทางบก ทางเรอื ทางอากาศ
ฯลฯ
สัญลักษณในแผนท่ี
สัญลักษณ (SYMBOL) เปนเคร่ืองหมายท่ีใชแทนรายละเอียดตาง ๆ ที่ปรากฏ
อยูบ นพืน้ ผวิ โลก ฉะนั้น เม่อื อา นแผนท่ีจึงควรตรวจดูเครื่องหมายแผนที่กอนเสมอ ท้ังน้ีเพ่ือจะ
ปอ งกนั มใิ หต คี วามหมายสัญลักษณต าง ๆ ผดิ พลาดได ในแผนที่ชุด L 7017 (เปนลําดับชุดของ
แผนทม่ี าตราสวน 1 : 50,000 ขนาดระวาง 15 x 15 ลิปดา) จะแสดงสญั ลกั ษณ ดงั น้ี
สญั ลกั ษณเปนจดุ (POINT SYMBOL)
สัญลกั ษณรูปทรงเรขาคณิต เชน วดั โรงเรียน ศาลาที่พัก ที่ต้ังจังหวัด ฯลฯ
ท่ีตงั้ จงั หวัด อําเภอ
วัดมีโบสถ
ไมม โี บสถ
สาํ นกั ; ศาลาที่พกั
119
เจดียพ ระปรางคห รอื สถูป
โบสถค รสิ ตศาสนา
ศาลเจา หรอื ศาลเทพารกั ษ; โบสถมุสลมิ
โรงเรยี น
บอนํ้า
ทศิ เหนอื
ทศิ ตะวนั ออก
ทิศใต
ทศิ ตะวันตก
แผนท่ีสังเขปของลูกเสือ
“แผนทีส่ ังเขป” คือ แผนท่ีหรือรูปภาพแผนที่ หรือเสนทางในการเดินทางแสดง
รายละเอียดตาง ๆ ตามความตองการ แผนท่ีสังเขปน้ีจะใหความละเอียดถูกตองพอประมาณ
เทา นัน้
แผนที่สังเขปของลูกเสือ จะแสดงลักษณะภูมิประเทศที่เดนชัดที่อยูบริเวณ
ใกลเคยี งกบั เสนทาง ส่ิงจาํ เปนในการทาํ แผนทส่ี งั เขป คอื ตองใชเข็มทิศเปน และรูระยะกาวของตน
โดยท่ัวไปคนปกติจะมีความยาว 1 กาวเทากับ 75 เซนติเมตร เดินไดนาทีละ 116 กาว เดินได
ช่ัวโมงละ 4 กโิ ลเมตรโดยประมาณ
120
1.2 ความหมาย และความสําคัญของเขม็ ทศิ
ความหมายของเขม็ ทศิ
เขม็ ทิศ คอื เครอ่ื งมอื สาํ หรับใชห าทศิ ทางหรือบอกทิศทางในแผนท่ี
ความสาํ คญั ของเขม็ ทศิ
เข็มทิศ มีความสําคัญในการบอกทิศที่สําคัญทั้ง 4 ทิศ คือ ทิศเหนือ ทิศใต
ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรืออาจจะบอกรายละเอียดเปน 8 ทิศ 16 ทิศ หรือ 32 ทิศ
ก็ได ในกรณีการเดินทางไกลของลูกเสือ เข็มทิศเปนอุปกรณที่สําคัญในการบอกทิศทางไปสู
จดุ หมายปลายทาง หากกรณีหลงปาหรือหลงทาง ลูกเสอื สามารถแจง พกิ ดั ใหผูช วยเหลอื ได
กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 1 แผนที่ – เข็มทิศ
(ใหผเู รียนไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 1 ทส่ี มุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรูประกอบชุดวิชา)
เรื่องที่ 2 วิธกี ารใชแผนที่ – เข็มทศิ
2.1 วิธกี ารใชแผนที่
วางแผนท่ีในแนวราบบนพนื้ ทไี่ ดระดบั ทศิ เหนอื ของแผนทีช่ ี้ไปทางทศิ เหนือ
จดั ใหแนวตาง ๆ ในแผนท่ีขนานกบั แนวทีเ่ ปน จรงิ ในภมู ิประเทศทุกแนว
2.2 วธิ กี ารใชเขม็ ทิศ
เข็มทิศมีหลายชนิด เชน เข็มทิศตลับธรรมดา เข็มทิศขอมือ เข็มทิศแบบ
เลนซาติก (Lensatic) และเขม็ ทิศแบบซิลวา (Silva)
เข็มทิศท่ีใชในทางการลูกเสือ คือ เข็มทิศแบบซิลวาของสวีเดน เปนเข็มทิศ
และไมโ ปรแทรกเตอรรวมอยูดวยกัน ทั่วโลกนิยมใชมาก ใชประกอบแผนที่และหาทิศทางไดดี
เหมาะสมกบั ลูกเสือ เพราะใชง ายและสะดวก
สว นประกอบของเขม็ ทศิ แบบซิลวา
1. แผนฐานทําดวยวสั ดโุ ปรงใส
2. ทีข่ อบฐานมีมาตราสวนเปน นิ้ว
หรอื เซนติเมตร
3. มีลูกศรช้ีทิศทางทีจ่ ะไป
4. เลนสขยาย
5. ตลับเข็มทิศเปน วงกลมหมนุ ไปมาได
บนกรอบหนาปด ของตลบั เขม็ ทศิ แบงมมุ ออกเปน 360 องศา
6. ภายในตลบั เข็มทิศตรงกลางมเี ขม็ แมเ หล็กสีแดง ซง่ึ จะชี้ไปทางทิศเหนอื เสมอ
7. ตาํ แหนง สําหรบั ตัง้ มมุ และอานคา ของมมุ อยูตรงปลายลูกศรชี้ทศิ ทาง
121
การใชเ ข็มทิศซิลวา
1. กรณที ราบคา หรอื บอกมุมอะซิมุทมาใหและตองการรูวาจะตองเดินไปทางทิศใด
สมมติวา บอกมมุ อะซมิ ุทมาให 60 องศา ใหปฏบิ ัตดิ งั นี้
(1) วางเข็มทิศบนฝามือหรือสมุดปกแข็ง
ในแนวระดับ หันลูกศรช้ีทิศทางออกนอกตัว โดยใหเข็ม
แมเหล็กแกวง ไปมาไดอสิ ระ
(2) หมุนกรอบหนาปดของตลับเข็มทิศ
ใหเลข 60 อยูตรงตําแหนงสําหรับตั้งมุม (ปลายลูกศรชี้
ทศิ ทาง)
(3) หมุนตัวจนกวาเข็มแมเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศตรงกับอักษร N
บนกรอบหนา ปด ดังรูป
(4) ดูลูกศรช้ีทิศทางวาชี้ไปทางทิศใดก็เดินไปตามทิศทางน้ัน ซึ่งเปนมุม 60 องศา
ในการเดินไปตามทศิ ทางทล่ี ูกศรชไี้ ปนั้นใหม องหาจุดเดนในภูมิประเทศที่อยูตรงทิศทางที่ลูกศร
ชี้ไป เชน ตนไม กอนหิน โบสถ เสารวั้ ฯลฯ เปนหลกั แลว เดินตรงไปยังสิ่งน้ัน
การจับเขม็ ทิศ 122
ลูกศรกา งปลา
ปลายเข็มชตี้ วั N
(N หมายถึง ทิศเหนอื )
เขม็ แมเหลก็
หมนุ แกวง ตวั ไปรอบ ๆ ภายในตลบั วงกลมเมื่อเข็ม
แมเหล็กหมุนไปทับลกู ศรกางปลาจึงจะสามารถอา นคา
มุมได
ขน้ั ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนท่ี 2
ใชป ลายน้วิ มือจบั เลนสกลมหมนุ ให
เล็งลูกศรช้ที างไปทเ่ี ปาหมายทีส่ ามารถ
มองเห็นไดงาย เข็มแมเ หล็กทบั เขม็ กางปลา คา มุมอา น
ไดเ ทา กบั 220 องศา
การกําหนดเปา หมายและหามมุ 123
การอา นรายละเอียดของเขม็ ทศิ ซลิ วา
ตาํ แหนง ที่ 1 เข็มลูกศรช้ที าง
ตาํ แหนงท่ี 2 เลนสข ยาย
ตาํ แหนงท่ี 3 หนาปดวงกลม
แบง มมุ ออกเปน 360o
ขอควรระวังในการใชเ ข็มทศิ ซิลวา
ควรจบั ถือดวยความระมัดระวงั ไมควรอานเข็มทิศใกลก บั ส่ิงทเี่ ปน แมเหล็กหรอื
วงจรไฟฟา ควรคํานึงถึงระยะความปลอดภัยโดยประมาณ ดงั นี้
สายไฟแรงสูง 50 หลา
สายโทรศัพท โทรเลข 10 หลา
รถยนต 20 หลา
วัสดุทีเ่ ปนแรเหลก็ 5 หลา
การใชแผนทีแ่ ละเขม็ ทศิ เดนิ ทางไกล
1. ยกเขม็ ทิศใหไดร ะดับ
2. ปรับมมุ อะซมิ ทุ ใหเ ทา กบั มมุ ทกี่ ําหนดในแผนที่
3. เลง็ ตามแนวลูกศรชท้ี ิศทาง เปนเสนทางที่จะเดินไป
4. เดินไปเทากับระยะทางทกี่ ําหนดในแผนที่
124
การใชเขม็ ทิศในทก่ี ลางแจง
การหาทิศ
วางเขม็ ทิศในแนวระนาบ ปลายเข็มทศิ ขา งหน่ึงจะชไ้ี ปทางทิศเหนอื คอย ๆ หมุน
หนา ปดของเขม็ ทิศ ใหต าํ แหนงตัวเลขหรอื อกั ษรท่ีบอกทิศเหนอื บนหนา ปดตรงกับปลายเหนือของ
เข็มทศิ เมื่อปรับเข็มตรงกับทิศเหนือแลวจะสามารถอานทิศตาง ๆ ไดอยางถูกตองจากหนาปด
เขม็ ทิศ
ลูกเสือสามารถนําเข็มทิศไปใชในกิจกรรมตาง ๆ ได เชน การเดินทางไกล
การสํารวจปา การผจญภัย การสาํ รวจและการเยอื นสถานท่ี เปนตน
เมื่อเร่ิมออกเดินทางลูกเสือควรหาทิศท่ีจะมุงหนาไปใหทราบกอนวาเปนทิศใด
เม่อื เกิดหลงทิศหรือหลงทางจะสามารถหาทศิ ทางตา ง ๆ จากเข็มทศิ ได
ตัวอยาง กรณบี อกมมุ อะซิมุทมาใหแ ละตอ งการรูว า จะตอ งเดินทางไปทศิ ทางใด
สมมตวิ า มุมอะซิมุท 60 องศา
1. วางเข็มทิศในแนวระดบั ใหเ ข็มแมเ หลก็ หมนุ ไปมาไดอ สิ ระ
2. หมนุ กรอบหนาปดของตลับเขม็ ทิศใหเ ลข 60 อยตู รงขดี ตําแหนงตั้งมมุ
3. หันตัวเข็มทิศท้ังฐานไปจนกวาเข็มแมเหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับ
อกั ษร N บนกรอบหนา ปด ทบั สนทิ กับเครอ่ื งหมายหัวลกู ศรทพ่ี มิ พไ ว
4. เมอ่ื ลกู ศรชที้ ศิ ทางช้ไี ปทิศใด ใหเดินไปตามทิศทางนั้น โดยเล็งหาจุดเดนท่ีอยู
ในแนวลกู ศรช้ีทศิ ทางเปนหลกั แลว เดินตรงไปยังสงิ่ นั้น
กรณที ่จี ะหาคา ของมุมอะซิมทุ จากตาํ บลทีเ่ รายืนอยู ไปยงั ตาํ บลท่ีเราจะเดินทางไป
1. วางเขม็ ทศิ ในแนวระดับใหเ ขม็ แมเหลก็ หมุนไปมาไดอสิ ระ
2. หันลูกศรชท้ี ิศทางไปยงั จดุ หรือตําแหนง ทเ่ี ราจะเดินทางไป
3. หมุนกรอบหนาปดเข็มทิศไปจนกวาอักษร N บนกรอบหนาปดอยูตรงปลาย
เข็มแมเ หลก็ สแี ดงในตลับเขม็ ทิศ
4. ตัวเลขบนกรอบหนาปดจะอยูตรงขีดตําแหนงสําหรับต้ังมุมและอานคามุม
คอื คาของมมุ ที่เราตอ งการทราบ
125
การวดั ทศิ ทางบนแผนทีโ่ ดยการใชเข็มทศิ
1. อนั ดบั แรกตองวางแผนทใ่ี หถ ูกทิศ
2. ใชดินสอลากเสนตรงจากจุดท่ีเราอยูบนแผนท่ี (จุด A) ไปยังจุดท่ีจะตอง
เดนิ ทางไป (คอื จุด B)
3. วางขอบฐานดานยาวของเข็มทิศขนานพอดีกับเสนตรงท่ีใชดินสอลากไว (แนว
เสน A - B) โดยใหล ูกศรชที้ ศิ ทางชไ้ี ปทางจุด B ดวย
4. หมนุ ตวั เรือนเขม็ ทศิ บนเข็มทิศไปจนกวา ปลายเข็มแมเหล็กสีแดงตรงกับตัวอักษร
N บนกรอบตัวเรอื นเข็มทิศ
5. ตวั เลขท่อี ยตู รงขีดตาํ แหนงต้ังมุมและอา นคา มมุ คือมุมท่เี ราจะตอ งเดนิ ทางไป
(ในภาพคอื มมุ 60 องศา)
ขอควรระวงั ในการใชเ ข็มทศิ
1. จับถอื ดวยความระมัดระวงั เพราะหนาปด และเข็มบอบบาง ออนไหวงา ย
2. อยา ใหต ก แรงกระเทือนทาํ ใหเสยี ได
3. ไมค วรอานเข็มทศิ ใกลส ง่ิ ที่เปนแมเหล็กหรอื วงจรไฟฟา
4. อยา ใหเปยกน้ําจนข้ึนสนิม
5. อยา ใหใ กลความรอ นเขม็ ทิศจะบิดงอ
กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 2 วธิ ีการใชแ ผนที่ - เขม็ ทิศ
(ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทายเร่ืองที่ 2 ท่สี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา)
126
เร่อื งที่ 3 การใช Google Map และ Google Earth
3.1 การใช Google map เปนบริการเก่ียวกับแผนที่ผานเว็บบราวเซอรของบริษัท
Google ซึ่งสามารถเปดผา นเคร่อื งคอมพิวเตอรห รือสมารท โฟน ท่เี ช่ือมตอกับระบบอินเทอรเน็ต
Google Map เปนแผนที่ที่ผูใชสามารถซูมเขา - ออกเพ่ือดูรายละเอียดได สามารถคนหาชื่อ
สถานท่ี ถนน ตาํ บล อําเภอ จงั หวดั ได ชว ยอํานวยความสะดวกในการเดินทาง สามารถมองได
หลายมมุ มอง เชน
1) มุมมอง Map ดูในลักษณะแผนท่ีทวั่ ไป
2) มุมมอง Satellite ดูในลักษณะแผนที่ดาวเทยี ม ดูท่ีตัง้ ของสถานท่ีตาง ๆ
จากภาพถายทางอากาศ
3) มมุ มอง Hybrid ดใู นลักษณะผสมระหวา งมมุ มอง Maps และ Satellite
4) มุมมอง Terrain ดูในลกั ษณะภูมิประเทศ
5) มุมมอง Earth ดูแบบลกู โลก
วิธคี นหาเปาหมายท่ีกาํ หนดจาก Google Map
ข้ันตอนการใชงาน
1. สามารถเขา ใชง านไดจากหนา แรกของ Google.com โดยคลกิ ทแ่ี ผนที่ ดังรปู
127
2. เมื่อเขาสูแผนท่ี Google map แลวสามารถคนหาพ้ืนท่ีท่ีตองการจากช่ือสามัญ
หรอื ชือ่ ที่รูจ กั กนั โดยทว่ั ไปไดท่เี คร่ืองมือคน หาของ Google map
3. หรือสามารถคน หาไดโ ดยการขยาย ยอ และเล่อื นแผนทไ่ี ปยังพ้นื ท่ีที่ตอ งการ
128
4. และเมอ่ื เจอจุดท่ตี อ งการทราบพกิ ัดแลว ใหค ลิกขวายังจุดนน้ั และเลือกใชคําสัง่
“นีค่ อื อะไร”
5. พกิ ดั ของจดุ น้ันจะปรากฏออกมาดังภาพ
3.2 การใช Google Earth
Google Earth เปน โปรแกรมทีใ่ ชบรกิ ารภาพถายดาวเทียมทม่ี ีความละเอียดสูง
แลวนํามาสรา งเปน แผนท่ี 3 มิติจากทุกสถานท่ีท่ัวโลก เพ่ือใหบริการแกสาธารณชน โดยสามารถ
แสดงสถานที่ตาง ๆ ไมเวนแมกระทั่งสถานท่ที เ่ี ปนความลับทางยุทธศาสตร บอกถึงเมืองสําคัญ
ทตี่ ้งั สาํ คัญ สามารถขยายภาพจากโลกท้ังใบไปสูป ระเทศ และลงไปถึงวัตถุเล็ก เชน ถนน ตรอก
ซอย รถยนต บานคน และเปนการทาํ งานแบบออนไลน โดยเฉพาะในเขตเมืองใหญของประเทศ
ตาง ๆ Google Earth กส็ ามารถแสดงภาพถายดาวเทียมท่ีมีความละเอียดคอนขางสูง เหมือนเรา
ไดเขาไปยืนอยู ณ ทีน่ น้ั ๆ เลย
129
การทํางานของ Google Earth เริ่มตน ทนี่ ําภาพถา ยทางอากาศและภาพจาก
ดาวเทยี มมาผสมผสานกบั เทคโนโลยี streaming แลวเช่ือมโยงขอมูลจากฐานขอมูลของ Google
เพอ่ื นําเราไปยงั จดุ ตา ง ๆ ที่ตองการบนแผนทโ่ี ลกดจิ ทิ ลั แผนทีน่ ีเ้ กิดจากการสะสมภาพหลาย ๆ
ภาพจากหลาย ๆ แหลงขอ มลู และจากดาวเทยี มหลายดวง แลว นาํ มาปะติดปะตอกันเสมือนกับวา
เปน ผนื เดยี วกนั หลังจากปะติดปะตอเสร็จแลว Google ไดนําขอมูลอ่ืน ๆ มาซอนทับอีกช้ันหนึ่ง
ซงึ่ แตล ะชนั้ ก็จะแสดงรายละเอียดตา ง ๆ เชน ทีต่ ้ังโรงพยาบาล สถานีตํารวจ สนามบิน รวมท้ัง
สถานทส่ี าํ คัญอื่น ๆ ท้งั นี้ เคร่อื งมอื ท่นี าํ มาใชสรางขอมูล การแสดงผลขอ มูลทั้งแบบจดุ แบบลายเสน
หรือแบบรูปหลายเหลี่ยม สรางขึ้นมาจากเคร่ืองมือ ชื่อวา Keyhole Markup Language (KML)
และหลงั จากซอ นทับขอมูล จดั ขอมลู เสรจ็ แลว Google จะจดั เก็บขอ มูลท่ีไดในรูปแบบของไฟล
KML Zip (KMZ) ซ่ึงจะบีบอัดขอมูลไฟลใหเล็กลง เพ่ือใหบริการแกผูใชสถาปตยกรรมแบบ
Client/Sever ทง่ี า ยตอการดาวนโหลดไปใชง าน
ประโยชนของโปรแกรม Google Earth เปนโปรแกรมที่สามารถดูแผนท่ี
ไดทุกมุมโลก ประหนึ่งวาเราเปนผูควบคุมและขับเคล่ือนดาวเทียมเอง ประโยชนโดยตรงท่ีไดรับ
คอื ไดค วามรทู างภูมศิ าสตร ขอ มูลเรือ่ งการทอ งเท่ียว การเดินทาง การจราจร ดา นทีพ่ กั เปน ตน
การคน หาเปา หมายที่กาํ หนดจากโปรแกรม Google Map หรอื Google Earth
ทําไดโดยการพิมพชื่อสถานที่สําคัญลงไปในชองคนหา สถานที่สําคัญอาจระบุช่ือสถานที่
หมูบา น ตาํ บล อําเภอ จังหวัด เชน
การคน หาตาํ แหนงวัดศรชี ุม ในอุทยานประวตั ศิ าสตรส ุโขทยั โดยใช Google Earth
1) เปดโปรแกรม Google Earth จากสมารท โฟน จะปรากฏหนาจอดังภาพ
130
2) แตะท่ีเครอื่ งหมายคน หา (รูปแวน ขยาย) พิมพค ําวา “วัดศรชี ุม” หนา จอจะเปนดังภาพ
3) กดเลือกวัดศรีชุม อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย จะปรากฏดังภาพ ซ่ึงผูใชสามารถ
ขยายดภู าพทางอากาศไดโดยละเอียด
131
การใชม ุมมอง 3D และมุมมอง Street View บน Google Earth
ถาสังเกตตรงมุมดานลางซายลางของ
จอสมารท โฟน จะมเี มนสู าํ คญั ดงั ภาพ
ปุมมุมมอง 3D เปนเมนูท่ีใชดูภาพทาง
อากาศในลกั ษณะ 3 มิติ เสมือนมองจากดานบน
ทํามุมเฉยี งลงมาขา งลา ง
ปุมมุมมอง Street View เปนเมนูที่ใชดูภาพถาย
สถานท่ีจรงิ ของทีแ่ หง น้ัน (เปนภาพที่โปรแกรมบันทึกไวอาจ
ไมใชภ าพปจ จบุ ัน) เมอื่ แตะจะปรากฏเสนสนี ํ้าเงิน (หากไมมี
เสน สีนาํ้ เงินปรากฏขึ้นแสดงวา ไมมีภาพถายของสถานที่นั้น)
เม่ือแตะตรงตําแหนงใดของแผนท่ี โปรแกรมจะ
นําผูใชเขาไปยังสถานท่ีแหงน้ัน เสมือนวากําลังเดินอยู
บรเิ วณนั้นจริง ๆ
ภาพจากมุมมอง Street View เสมอื นผูใ ชเ ขา ไปเดิน
ในวดั ศรีชุม อุทยานประวัติศาสตรส ุโขทยั จริง ๆ
ผูเรียนจะใชงานไดแคลวคลองขึ้น ดวยการลองคนหาสถานท่ีที่คุนเคย โดยทําตาม
ขั้นตอนขา งตน และฝกใชม ุมมอง 2D มุมมอง 3D มุมมอง Street View
กจิ กรรมทา ยเรอื่ งท่ี 3 การใช Google Map และ Google Earth
(ใหผ เู รียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรื่องที่ 3 ทีส่ มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
132
เรือ่ งที่ 4 เงือ่ นเชอื กและการผกู แนน
4.1 ความหมายของเงอ่ื นเชอื กและการผกู แนน
เงื่อนเชือก หมายถึง การนําเชือกมาผูกกันเปนเง่ือน เปนปม สําหรับตอเชือก
เขา ดว ยกัน หรือทาํ เปน บว ง สาํ หรับคลองหรือสวมกับเสา หรือใชผูกกับวัตถุ สําหรับผูกใหแนน
ใชรงั้ ใหต งึ ไมหลดุ งาย แตสามารถแกป มไดง าย
4.2 ความสําคญั ของเง่ือนเชือกและการผกู แนน
กิจกรรมลูกเสือ เปนกิจกรรมหน่ึงที่ตองการใหลูกเสือรูจักใชวัสดุท่ีมีอยู
ตามธรรมชาติ เพอ่ื การดาํ รงความเปนอยอู ยางอสิ ระและพึง่ พาตนเองใหมากที่สดุ
4.3 การผูกเงื่อนเชือกและการผูกแนน เปนศาสตรและศิลปอยางหนึ่งที่ลูกเสือ
จําเปนตองเรียนรูเม่ือเขารวมกิจกรรมในการอยูคายพักแรม การสรางฐานกิจกรรมผจญภัย
การตัง้ คายพกั แรม รวมทั้งการใชงานเงื่อนในการชวยผเู จ็บปว ยได
การเรียนรูเ รอ่ื งเง่อื นเชือกและการผกู แนน จะตอ งจดจํา ปฏบิ ตั ไิ ดห าก ผดิ พลาดไป
หลุดหรือขาดก็จะเปนอันตรายตอชีวิต และสิ่งของเสียหาย ขอแนะนําใหทุกคนท่ีตองการ
นําไปใชตอ งหม่นั ฝกฝน ศกึ ษาหาความรู ผกู เชือกใหเปน นําไปใชงานใหไดถึงคราวจําเปนจะไดใชให
เกิดประโยชน วธิ ีการผกู เงือ่ นเชอื กแบงออกเปนลักษณะการใชง านได 3 หมวด 10 เงอื่ น ดังน้ี
1. หมวดตอเชอื ก สําหรับการตอเชอื กเพือ่ ตอ งการใหค วามยาวของเชือกเพ่ิมข้ึน
แตเนื่องจากเชือกในการกูภัยน้ันมีลักษณะและขนาดที่แตกตางกัน จึงจําเปนตองมีวิธีการผูก
เงอ่ื นทีแ่ ตกตางกนั จาํ นวน 3 เงื่อน ดังนี้
1.1 เง่ือนพิรอด (Reef Knot หรอื Square Knot)
1.2 เงอ่ื นขดั สมาธิ (Sheet Bend)
1.3 เง่อื นประมง (Fisherman’s Knot)
2. หมวดผูกแนนฉุดลาก ร้ัง สําหรับการผูกวัสดุที่ตองการจะเคล่ือนยายหรือ
ยึดตรึงอยูกับท่ี แตเน่ืองจากวัสดุที่ตองการจะผูกน้ันมีลักษณะรูปทรงและขนาดท่ีแตกตางกัน
จึงจาํ เปนตองมีวธิ กี ารผูกเง่อื นที่แตกตางกัน จํานวน 3 เงื่อน ดงั น้ี
2.1 เงอ่ื นผูกรน (Sheep Shank)
2.2 เงอ่ื นตะกรุดเบด็ (Clove Hitch)
2.3 เงอ่ื นผกู ซงุ (Timber Hitch)
3. หมวดชวยชีวิต สําหรับการชวยเหลือผูประสบภัยในกรณีตาง ๆ ขึ้นอยูกับ
สถานทแ่ี ละสถานการณ จึงตองมีวธิ ีการผูกเงอ่ื นใหเหมาะสมกบั งานจํานวน 4 เงื่อน ดังน้ี
3.1 เงอ่ื นเกาอ้ี (Fireman’s Chair Knot)
3.2 เงือ่ นบวงสายธนู (Bowline Bend)
3.3 เงื่อนขโมย (Knot Steal)
3.4 เงอ่ื นบนั ไดปม (Ladder knot)
133
การผูกเง่อื นเชือก
การผกู เงอื่ นท่สี ําคญั และควรเรยี นรู มีดงั นี้
1) เง่ือนพิรอด (Reef Knot หรือ Square Knot) เปนเงื่อนสัญลักษณในเครื่องหมาย
ลกู เสอื โลก แสดงถึงความเปน พ่นี อ งกันของขบวนการลูกเสือท่ัวโลก และแทนความสามัคคีของ
ลูกเสือ มีขั้นตอนการผกู ดงั นี้
ขั้นท่ี 1 ปลายเชอื กดา นซายทบั ดา นขวา
ขน้ั ที่ 2 ออมปลายเชอื กดา นซายลงใตเสน เชือกดา นขวาใหป ลายเชอื กต้ังขึน้ แลว
รวบปลายเชอื กเขา หากนั โดยใหดา นขวาทบั ดา นซาย
ขน้ั ที่ 3 ยอมปลายเชอื กขวามอื ลอดใตเ สน ซายมอื จดั เงอ่ื นใหเรยี บรอย
ประโยชน
(1) ใชตอ เชอื ก 2 เสน มีขนาดเทา กนั เหนยี วเทากนั
(2) ใชผ กู ปลายเชอื กเสน เดยี วกนั เพอ่ื ผูกมัดหอสิ่งของและวัตถตุ า ง ๆ
(3) ใชผ ูกเชอื กรองเทา (ผูกเงอ่ื นพริ อดกระตกุ ปลาย 2 ขาง)
(4) ใชผูกโบ ผูกชายผาพันแผล (Bandage) ผูกชายผาทําสลิงคลองคอ ใชผูก
ปลายเชือกกากบาทญ่ปี นุ
(5) ใชตอผาเพ่ือใหไดความยาวตามตองการ ควรเปนผาเหนียว ในกรณีท่ีไมมี
เชอื ก เชน ตอผาปูท่ีนอน เพื่อใชชวยคนในยามฉุกเฉินเม่ือเวลาเกิดเพลิงไหม ใชชวยคนท่ีติดอยู
บนทส่ี ูง โดยใชผา พันคอลูกเสือตอ กัน
134
2) เงอื่ นขดั สมาธิ (Sheet Bend)
ขน้ั ที่ 1 งอเชือกเสน ใหญใ หเ ปนบวง สอดปลายเสน เล็กเขา ในบว งโดยสอดจาก
ขางลาง
ขั้นท่ี 2 มวนเสน เลก็ ลงออมดา นหลงั เสนใหญทั้งคู
ขนั้ ท่ี 3 จบั ปลายเสนเลก็ ขึน้ ไปลอดเสน ตัวเองเปนการขดั ไว จัดเงอ่ื นใหแนน และ
เรยี บรอ ย
ประโยชน
(1) ใชต อ เชือกทีม่ ขี นาดเดียวกนั หรือขนาดตางกนั (เสน เล็กพนั ขัดเสน ใหญ)
(2) ใชตอเชือกออนกับเชือกแข็ง (เอาเสนออนพันขัดเสนแข็ง) ตอเชือกที่มี
ลกั ษณะคอนขา งแขง็ เชน เถาวัลย
(3) ใชตอ ดา ย ตอ เสน ดายเสนไหมทอผา (Weaver’s Knot)
(4) ใชผ ูกกับขอ หรอื บว ง (Becket Hitches)
(5) ใช Bending the Sheet หรือ Controlling Rope ท่ีปราศจากมุมของใบเรือ
สาํ หรับเรือเล็ก ๆ
135
3) เงือ่ นกระหวัดไม
ขัน้ ที่ 1 ออ มปลายเชอื กไปคลอ งหลกั หรือราวหรอื บวง ใหปลายเชอื กอยขู างบน
เสน เชอื ก
ขัน้ ท่ี 2 สอดปลายเชอื กลอดใตเ ชือกเขา ไป
ขั้นที่ 3 ออ มปลายเชือกขา มเสนท่เี ปน บว งและเสนท่ีเปน ตวั เชือก
ขัน้ ที่ 4 สอดปลายเชอื กลอดใตต วั เชอื ก เลยขามไปเสนบว งจดั เงอ่ื นใหเ รยี บรอ ย
136
ประโยชน
(1) ใชล ามสตั วเ ล้ยี งไวก ับหลัก
(2) ใชผูกเรือแพ
(3) เปน เง่อื นผกู งายแกง า ย
4) เงื่อนบวงสายธนู
ขัน้ ที่ 1 ขดเชอื กใหเปนบวงคลายเลข 6 ถอื ไวดว ยมือซา ย
ข้นั ที่ 2 มอื ขวาจับปลายเชือกสอดเขาไปในบวง (สอดจากดานลา ง)
ข้นั ท่ี 3 จบั ปลายเชอื กออ มหลังตัวเลข 6 แลวสอดปลายลงในบวงหัวเลข 6 จัดเงื่อน
ใหแนนและเรียบรอ ย
137
ประโยชน
(1) ทาํ บวงคลอ งกับวตั ถหุ รอื เสาหลัก เชน ผกู เรือแพไวก ับหลกั ทาํ ใหเรอื แพ
ข้นึ ลงตามนา้ํ ได
(2) ใชทาํ บวงผกู สัตว เชน วัว ควาย ไวก ับหลกั หรือตนไม ทาํ ใหส ตั วเ ดนิ หมุนได
รอบ ๆ หลักหรือตนไม เชือกไมพ ัน หรือรัดคอสัตว
(3) ใชแทนเงื่อนเกาอี้สําหรับใหคนน่ัง หรือคลองคนหยอนลงไปในท่ีตํ่าหรือ
ดึงข้นึ ไปสทู ่ีสงู
(4) ใชคลองคันธนู
(5) ใชทําบว งตอเชอื ก หรอื ใชทาํ บวงบาท
5) เงอื่ นตะกรดุ เบ็ด
ขน้ั ที่ 1 พันเชือกใหเปนบว งสลับกนั
ขนั้ ที่ 2 เลือ่ นบว งใหเ ขา ไปซอน (รูป ก) จนทับกันเปน บวงเดยี วกนั (รปู ข)