สตั วป์ า่ ในอทุ ยานธรณโี คราช
WILDLIFE OF KHORAT GEOPARK
สตั วป์ า่ ในอทุ ยานธรณโี คราช
WILDLIFE OF KHORAT GEOPARK
ผู้จดั ทำ� | กัลยกร พริ าอรอภิชา
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
92 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400
โทร. 0-2278-8500 โทรสาร. 0-2298-5735
เวบ็ ไซต์ : www.mnre.go.th
จงั หวดั นครราชสมี า
ศาลากลางจังหวดั ถนนมหาดไทย ตำ�บลในเมือง
อำ�เภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา 30000
โทร. 0-4424-3798 โทรสาร. 0-4425-5070
เว็บไซต์ : www.nakhonratchasima.go.th
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
340 ถนนสรุ นารายณ์ ตำ�บลในเมอื ง
อำ�เภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวัดนครราชสีมา 30000
โทร. 0-4400-9009 โทรสาร. 0-4424-4739
เว็บไซต์ : www.nrru.ac.th
อุทยานธรณโี คราช มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา
184 หมู่ 7 ถนนมิตรภาพ - หนองปลงิ บา้ นโกรกเดือนห้า ตำ�บลสรุ นารี
อำ�เภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา 30000
โทร. 044-370739-40 โทรสาร. 044-370742
เวบ็ ไซต์ : www.khoratfossil.org
สตั วป์ า่ ในอทุ ยานธรณโี คราช
WILDLIFE OF KHORAT GEOPARK
ทป่ี รกึ ษา
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง จินตสกุล
ผู้อำ�นวยการอทุ ยานธรณีโคราช มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา จงั หวดั นครราชสมี า
................................................................................
ผูจ้ ดั ทำ�
นายกลั ยกร พริ าอรอภิชา
................................................................................
ถ่ายภาพ
นายธนาวธุ วรนุช
นายยุรนันท์ นานไธสง
นายกัลยกร พิราอรอภชิ า
Mr. Santi Xayyasith
................................................................................
ออกแบบปกและรปู เลม่
นายยุรนันท์ นานไธสง
© สงวนลขิ สทิ ธ์ิภาพและขอ้ เขยี นตามพระราชบัญญตั ิลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537
สารบญั
ปลาพวง................................. 17 แยเ้ หนือ.................................. 48 งกู ินทากจุดขาว...................... 77 นกกระจอกใหญ.่ ................. 114
กบออ่ งเล็ก............................. 18 จิ้งจกดินสยาม....................... 49 งูสิงธรรมดา........................... 78 นกกระจาบทอง................... 115
เขยี ดจะนา.............................. 18 ตกุ๊ แกปา่ ดงพญาเยน็ ............... 50 งหู มอก.................................. 79 นกกระจาบธรรมดา.............. 116
คางคกบา้ น............................. 19 จง้ิ จกหนิ สจี าง........................ 51 งูหลาม................................... 82 นกกระจบิ ธรรมดา............... 117
เขยี ดน้ำ�นอง2�������������������������� 20 ตุ๊กแกป่าตะวันออก................. 52 งูลายสาบคอแดง.................... 83 นกกระจิบหญา้ สนี ำ้ �ตาล1������� 118
กบหนอง................................ 21 จ้งิ จกบา้ นหางหนาม................ 53 งกู ้นขบ.................................. 84 นกกระจิบหญา้ สีเรยี บ.......... 119
อึ่งข้างดำ�2������������������������������ 22 จิ้งจกบ้านหางแบน.................. 54 งูสายรงุ้ ธรรมดา..................... 86 นกกระตด๊ิ ขห้ี ม.ู ................... 120
อ่ึงลายเลอะ............................ 22 ตกุ๊ แกบา้ น.............................. 55 งูทบั สมงิ คลา.......................... 87 นกกระต๊ดิ ตะโพกขาว............ 121
อ่ึงหลงั จดุ .............................. 24 จิง้ เหลนหลากลาย................... 56 งหู ัวกะโหลกไทย...................... 88 นกกระตด๊ิ สีอฐิ .ู.................... 122
กบบวั .................................... 26 จง้ิ เหลนบ้าน........................... 57 งสู ิงหางลาย........................... 89 นกกระแตแต้แว๊ด.................. 123
อง่ึ ขาคำ�2�������������������������������� 26 จง้ิ เหลนเรียวโคราช................. 58 งเู ขียวหางไหมท้ อ้ งเหลอื ง........ 92 นกกระเบือ้ งผา.................... 124
อึ่งอา่ งก้นขดี .......................... 28 จง้ิ เหลนเรียวทอ้ งเหลอื ง.......... 60 งเู หา่ พ่นพษิ สยาม.................... 95 นกกระสาแดง...................... 125
อง่ึ อ่างบ้าน............................. 29 จง้ิ เหลนดินลายจุด.................. 61 งูเหา่ ไทย................................. 97 นกกวัก............................... 126
ปาดจว๋ิ ลายแต้ม...................... 31 ตะกวด................................... 62 งูกะปะ.................................... 98 นกกะเตน็ นอ้ ยธรรมดา......... 127
เขียดตะปาดเหนอื .................... 32 เหี้ย........................................ 63 งูปลิง..................................... 99 นกกะเต็นอกขาว.................. 128
เขียดงูเกาะเตา่ ........................ 33 งูเขียวพระอินทร.์ .................... 64 งเู ขยี วหางไหมต้ าโต.............. 101 นกกะปดู ใหญ.่ ..................... 129
กบหงอน................................ 36 งูทางมะพร้าว.......................... 66 งูจงอาง.............................. 102 นกกะรางหวั ขวาน................ 130
อง่ึ แดง................................... 38 งเู ขียวปากจ้งิ จก..................... 67 เตา่ เหลือง............................ 105 นกกะรางหัวหงอก............... 131
องึ่ นำ้ �เตา้ 4������������������������������� 40 งูสายมา่ นพระอินทร์ ............. 68 เต่าหับ................................. 106 นกกางเขนดง...................... 132
ปาดบ้าน................................. 41 งูปลอ้ งฉนวนสรอ้ ยเหลือง....... 69 เตา่ นา.................................. 109 นกกางเขนบา้ น.................... 133
กงิ้ กา่ แกว้ เหนือ....................... 42 งปู ลอ้ งฉนวนลาว.................... 70 ไก่ปา่ ................................... 110 นกกานำ้ �ปากยาว1����������������� 134
กง้ิ ก่าดงคอสีฟา้ ...................... 44 งเู หลือม................................. 73 ไกฟ่ ้าพญาลอ...................... 111 นกกาน้ำ�เล็ก1����������������������� 135
กิ้งก่าคอแดง.......................... 46 งงู อดเลย............................... 74 นกกระจอกตาล................... 112 นกกาแวน............................ 136
กิ้งกา่ บนิ ปีกสม้ ....................... 47 งูปแี่ กว้ ลายแตม้ ...................... 76 นกกระจอกบ้าน................... 113 นกกาเหว่า........................... 137
นกก้ิงโครงคอดำ�1���������������� 138 นกเดา้ ดินทงุ่ เล็ก.................. 162 นกสีชมพสู วน...................... 188 เหย่ียวผ้ึง............................ 212
นกกนิ ปลคี อสนี ้ำ�ตาล1���������� 139 นกตะขาบท่งุ ...................... 163 นกหวั ขวานด่างแคระ .......... 189 เหยี่ยวออสเปร.................... 214
นกกินปลีดำ�มว่ ง1����������������� 140 นกตที อง............................. 164 นกหวั ขวานด่างอกลายจุด.... 190 กระจ้อน.............................. 216
นกกินปลีอกเหลือง.............. 141 นกตีนเทยี น ....................... 165 นกอา้ ยงวั่ .......................... 191 กระรอกบนิ แกม้ สแี ดง........... 217
นกแขกเต้า........................... 142 นกแตว้ แล้วธรรมดา............. 166 นกอกี า................................ 192 กระรอกบนิ จว๋ิ ท้องขาว......... 218
นกแกว้ หวั แพร..................... 143 นกนางแอน่ บา้ น ................. 167 นกอีโกง้ ........................... 193 กระรอกบนิ เล็กแกม้ ขาว........ 219
นกขมิ้นทา้ ยทอยดำ�1������������� 144 นกบง้ั รอกใหญ.่................... 168 นกอแี พรดแถบอกดำ�1����������� 194 กระรอกหลากส.ี................... 220
นกขมิน้ นอ้ ยธรรมดา............ 145 นกปรอดคอลาย ............... 169 นกอีลำ้ � 1����������������������������� 195 กระแตเหนอื ......................... 222
นกเขาชวา........................... 146 นกปรอดทอง...................... 170 นกอวี าบตั๊กแตน.................. 196 กระรอกหลากส.ี................... 223
นกเขาไฟ............................. 147 นกปรอดหวั สเี ขมา่ ............ 171 นกอเี สือสีนำ้ �ตาล1����������������� 197 เก้ง..................................... 224
นกแขวก.............................. 148 นกปรอดเหลืองหัวจุก.......... 172 นกอมุ้ บาตรหน้าขาวหลังดำ�1� 198 ค้างคาวหนา้ ยกั ษส์ ามหลบื .... 226
นกคุม่ อืดอกลาย.................. 149 นกปากห่าง......................... 173 นกเอีย้ งสารกิ า ................... 199 พังพอนธรรมดา.................. 227
นกเค้าแมว........................... 150 นกเป็ดผเี ล็ก........................ 174 นกเอยี้ งหงอน..................... 200 หมาจ้งิ จอก......................... 228
นกจับแมลงจุกดำ�1��������������� 151 นกพญาไฟเล็ก..................... 175 นกแอ่นทุ่งใหญ่ .................. 201 หมูปา่ .................................. 229
นกจับแมลงสีน้ำ�ตาล1����������� 152 นกพริ าบป่า......................... 176 นกแอน่ พง........................... 202 ดชั นีช่อื ไทย......................... 230
นกจบั แมลงหัวเทา................ 153 นกโพระดกธรรมดา ............ 177 นกฮกู ................................ 203 ดชั นีชื่อวิทยาศาสตร.์ ........... 231
นกจาบคาเล็ก...................... 154 นกยอดหญา้ สีดำ�1���������������� 178 เป็ดคับแค............................ 204 บรรณานุกรม...................... 232
นกจาบคาหัวสีสม้ ............... 155 นกยางกรอกพนั ธจุ์ ีน .......... 179 เปด็ แดง ........................... 205
นกจาบดินอกลาย................ 156 นกยางควาย........................ 180 เหยี่ยวขาว........................... 206
นกจาบฝนปีกแดง .............. 157 นกยางดำ� 1������������������������� 181 เหยี่ยวแดง ....................... 207
นกแซงแซงหางปลา.............. 158 นกยางโทนใหญ.่.................. 182 เหยยี่ วนกกระจอกเล็ก.......... 208
นกแซงแซวสเี ทา ................. 159 นกยางเปยี ....................... 183 เหยยี่ วนกเขาชคิ รา .............. 209
นกแซงแซวหงอนขน............ 160 นกยางไฟหวั ดำ�1������������������� 186 เหยย่ี วนกเขาหงอน.............. 210
นกแซงแซวหางบว่ งใหญ่ ..... 161 นกยูงไทย........................... 187 เหย่ยี วปกี แดง .................... 211
คำ�นำ�
หนงั สอื เลม่ นเ้ี ปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ดา้ นชวี วทิ ยา ลกั ษณะทวั่ ไป
และการแพร่กระจาย ของสัตวป์ ่าในอุทยานธรณีโคราช นอกจากจะ
เป็นแหล่งท่มี ลี ักษณะภูมิประเทศท่โี ดดเด่นแลว้ ยงั มสี ตั วป์ ่ามากมาย
ท่ีสำ�คัญและมีคุณค่าย่ิง อาศัยอยู่ในพื้นที่ บางชนิดเป็นสัตว์เฉพาะ
ถิ่น บางชนิดเป็นสัตว์ป่าหายาก และถึงแม้ว่าอุทยานธรณีโคราชจะ
มีพื้นท่ีอยู่นอกพื้นท่ีคุ้มครอง แต่ยังคงมีความหลากหลายของสิ่งมี
ชีวิตอยมู่ ากโดยเฉพาะกลุม่ ของสัตว์ปา่ ซ่งึ พื้นทด่ี งั กลา่ วประกอบไป
ด้วยพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ พ้ืนท่ีสาธารณะประโยชน์
พนื้ ทเี่ กษตรกรรม ทร่ี กรา้ งวา่ งเปลา่ บา้ นเรอื นและสงิ่ ปลกู สรา้ งทว่ั ไป
ตลอดจนทธี่ รณสี งฆแ์ ละบรเิ วณทใ่ี ช้ประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา ท่ี
ยงั คงเปน็ แหลง่ อาศยั สำ�คญั ของสตั วป์ า่ หลายชนดิ บางชนดิ สามารถ
ปรับตัวให้เข้ากับท่ีอยู่อาศัยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้
เป็นอยา่ งดี
คณะผ้จู ดั ทำ�หวังอยา่ งย่งิ ว่าผอู้ า่ น ท้งั ที่เปน็ ครู อาจารย์ นิสิต
นกั ศกึ ษา เยาวชน รวมถงึ ผสู้ นใจทวั่ ไป ไดข้ อ้ มลู เชงิ วชิ าการทส่ี นั้ และ
กะทดั รัด ง่ายต่อการเข้าใจ หรอื แม้กระท่งั ใช้จำ�แนกสตั วป์ ่าทพ่ี บเห็น
ในอทุ ยานธรณโี คราช ด้วยภาพถา่ ยทมี่ ีความสวยงาม ซึ่งแตล่ ะภาพ
ทไ่ี ด้มานนั้ ลว้ นมีความยากยิ่งนัก ประกอบไปดว้ ย ปลา สัตว์สะเทิน
น้ำ�สะเทนิ บก สัตว์เลือ้ ยคลาน นก และสัตวเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยนม ในพืน้ ที่
มากกวา่ 248 ชนดิ และหวังอย่างย่ิงวา่ จะสร้างความสนใจให้แกผ่ ู้
อา่ น โดยเฉพาะเยาวชนในทอ้ งถนิ่ ไดศ้ กึ ษาสตั วป์ า่ ไดด้ ว้ ยตวั เอง ชว่ ย
ให้เกดิ การพัฒนาด้านความร้เู กย่ี วกบั ธรรมชาติและสัตว์ป่า อันจะนำ�
ไปสู่ความรู้ถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ในพื้นท่ี ซึ่งจะ
นำ�ไปสู่การอนรุ ักษ์สบื ไป
กัลยกร พริ าอรอภชิ า
คำ�นิยม
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง จนิ ตสกลุ
ผอู้ ำ�นวยการอุทยานธรณโี คราช มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา
หนงั สอื เลม่ นส้ี ำ�เรจ็ ไปไดด้ ว้ ยดเี นอ่ื งจาก คณะผจู้ ดั ทำ�ไดม้ ใี จรกั และความตงั้ ใจมงุ่ มนั่ ในการทำ�งาน ทจ่ี ะตอ้ งการใหอ้ ทุ ยานธรณโี คราช ไดม้ ขี อ้ มลู
อุทยานทม่ี มี าตรฐานในระดบั นานาชาติ การทำ�งานสว่ นใหญเ่ ปน็ การทำ�งานในช่วงเวลากลางคืน มีความยากลำ�บาก และเสี่ยงต่ออันตราย แต่คณะผจู้ ัด
ทำ�ไดม้ งุ่ หวงั เพอื่ ใหง้ านทไี่ ดม้ คี ณุ ภาพ งานจงึ ออกมามคี ณุ ภาพดยี งิ่ ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนส์ ำ�หรบั นกั วจิ ยั หรอื นกั วชิ าการทจ่ี ะใชใ้ นการอา้ งองิ ในทางวชิ าการ
รวมถึงเยาวชน และผสู้ นใจท่ัวไป ได้เพิ่มเติมความรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกบั สัตวป์ ่าในอทุ ยานธรณีโคราช ส่งผลใหเ้ กิดความรัก ความภาคภมู ใิ จในท้องถ่นิ
มากขน้ึ เกดิ จติ สำ�นกึ อนรุ กั ษ์ ซง่ึ เปน็ สว่ นชว่ ยสนบั สนนุ การดำ�เนนิ การอทุ ยาน ใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐานในระดบั สากล หรอื เปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ประเทือง จินตสกุล
ผู้อำ�นวยการอุทยานธรณีโคราช มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า
อทุ ยานธรณโี คราชถกู ประกาศให้เป็นอทุ ยานธรณีระดับจังหวดั เมอื่ วนั ที่ 29 กนั ยายน พ.ศ. 2558 โดยครอบคลุมพืน้ ที่ 5 อำ�เภอ ไดแ้ ก่ อำ�เภอสีค้ิว
อำ�เภอสูงเนนิ อำ�เภอขามทะเลสอ อำ�เภอเมืองนครราชสมี า และอำ�เภอเฉลมิ พระเกยี รติ ซึ่งมขี นาดพ้ืนท่ีรวมท้ังส้ิน 3,243 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 1
ใน 6 ของพ้ืนทีจ่ ังหวดั นครราชสีมา พื้นท่ีจังหวดั นครราชสมี าถือวา่ เปน็ พ้ืนท่ที มี่ ีความอดุ มสมบรู ณ์ และมคี วามหลากทางชีวภาพมาก โดยเป็นจังหวดั เดียวของ
ประเทศไทยท่มี แี ผนงานอนรุ กั ษแ์ ละรเิ ริ่มขององค์การสหประชาชาติ อยู่แล้วถึง 2 รปู แบบ คือ มรดกโลก (World Heritage) ปา่ ดงพญาเยน็ -เขาใหญ่ และ
มนษุ ย์และชวี มณฑล (Man & Biosphere) พื้นทสี่ งวนชีวมณฑลสะแกราช ปจั จบุ นั จังหวดั นครราชสมี าอยู่ในระหว่างการผลกั ดันอทุ ยานธรณีโคราชใหเ้ ป็น
อุทยานธรณีระดบั ประเทศและระดบั โลกตามลำ�ดับ หากไดร้ ับการจดั ต้ังเปน็ อุทยานธรณโี ลกสำ�เร็จ ประเทศไทยและจังหวัดนครราชสมี า จะเป็น 1 ใน 3 ประเทศ
ของโลก (ตอ่ จากอิตาลีและเกาหลีใต้) ทใี่ นจงั หวัดหนึ่งมโี ปรแกรมการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตขิ องยเู นสโกครบท้ัง 3 โปรแกรม ซึง่ จะไดร้ บั การยกยอ่ งวา่
เป็น “ดนิ แดนแห่ง 3 มงกฎุ ของยูเนสโก” หรอื “The UNESCO Triple Crown”
สภาพภมู ปิ ระเทศมีทงั้ ทเ่ี ป็นภูเขาเนินเขา พนื้ ที่ลูกคลื่น ทร่ี าบและทีร่ าบลมุ่ โดยสามารถแบง่ เป็น 3 บริเวณ คอื 1) บริเวณภูเขาและที่สูงทางตอนใตแ้ ละ
ตะวนั ตกของอทุ ยาน มีความสูงจากระดับน้ำ�ทะเล 250-700 เมตร อยใู่ นบริเวณอำ�เภอสคี ิว้ และอำ�เภอสงู เนนิ เปน็ ต้นกำ�เนดิ ของลำ�น้ำ�สาขาของลำ�ตะคอง
พน้ื ทรี่ ะหวา่ งภเู ขาสว่ นใหญม่ ลี กั ษณะเปน็ พน้ื ทลี่ กู คลนื่ ลอนชนั และลกู คลน่ื ลอนลาด 2) บรเิ วณทส่ี งู ทางตะวนั ตกและทางใตข้ องอทุ ยานมคี วามสงู จากระดบั นา้ ทะเล
200-250 เมตร อยใู่ นเขตอำ�เภอสคี วิ้ สงู เนิน ตอนลา่ งของอำ�เภอเมืองและอำ�เภอเฉลมิ พระเกียรติ ลักษณะพื้นท่ีส่วนใหญ่พนื้ ท่ีเป็นลกู คลื่นลอนลาด พ้ืนท่ี
บางสว่ นเป็นท่รี าบล่มุ ริมฝั่งแม่นำ้ � ได้แก่ ลำ�ตะคอง และแม่น้ำ�มลู และ 3) บริเวณทีร่ าบลุ่มทางตะวนั ออกเฉยี งเหนือของอุทยาน มีความสงู จากระดับนำ้ �ทะเลนอ้ ย
กวา่ 200 เมตร อยใู่ นเขตอำ�เภอเมือง ทางตอนเหนอื อำ�เภอ ขามทะเลสอและอำ�เภอเฉลมิ พระเกียรติ มีลักษณะเปน็ พืน้ ที่ราบ และมีทีร่ าบลุ่มบริเวณริมฝงั่ แม่นำ้ �
14 | ปลา
ปลา | 15
ปลาพวง Leptobarbus hoeveni
ปลาประจำ�จงั หวัดนครราชสมี า
16 | ปลา
ชอ่ื ไทย : ปลาบ้า ปลาสุลต่าน ปลาอ้ายบา้ ปลาโพง ปลาพวง
ช่อื สามัญ : Golden Shark
. ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Leptobarbus hoeveni
ปลา | 17
ปลาพวง
Golden Shark
ลักษณะ
เป็นปลาท่ีสวยงามชนิดหน่ึง มขี นาดใหญ่ มีรปู รา่ งยาว ลำ�ตัว
คอ่ นขา้ งกลม หวั โต นยั นต์ าคอ่ นขา้ งโต ปากกวา้ งมหี นวดขนาดเลก็ 2
คู่ เสน้ ขา้ งตวั อยใู่ นครง่ึ ลา่ งของคอดหาง เกลด็ ทห่ี ลงั และขา้ งตวั สเี ขยี ว
อ่อน ท้องขาว แก้มสเี หลือง ครบี ทอ้ งและครีบกน้ แดง จดั เปน็ เกลด็ มี
ขนาดใหญ่ ลำ�ตวั มสี นี ้ำ�ตาลอมเหลอื ง สว่ นของหลงั สดี ำ�ปนเทา ทอ้ งสี
ขาวจาง ครบี หางสแี ดงสดหรอื ชมพู ครบี อนื่ สแี ดงจาง ๆ มขี นาดความ
ยาวประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร พบใหญ่สุดถึง 80 เซนตเิ มตร
อาหารได้แก่ เมล็ดพชื และสัตว์หนา้ ดินขนาดเลก็ นอกจากนจี้ ะยังกิน
ลูกลำ�โพงหรือลูกกระเบาเข้าไป ทำ�ให้ปลาได้รับสารพิษจากลูกกระเบา
จึงเป็นที่มาของช่ือปลาบ้า แต่ในปัจจุบันมีการเพาะปลาเลี้ยงปลาชนิด
น้ี ซ่งึ นิยมรัปประทานกนั อยา่ งแพร่หลาย นอกจากนีย้ ังนิยมเลี้ยงเปน็
ปลาสวยงามดว้ ย โดยมีชือ่ เรยี กเฉพาะในแวดวงผูเ้ ลยี้ งปลาวา่ “ปลา
แซมบา้ ” ในทางภาคใต้เรยี กปลาชนิดนี้ว่า “ปลาสลุ ต่าน”
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
อยรู่ วมกนั เปน็ ฝงู อาศยั อย่ตู ามแม่น้ำ�สายใหญ่ ๆ อาหารได้แก่
เมลด็ พืช แมลง และสตั วน์ ำ้ �ขนาดเลก็ นอกจากนจ้ี ะกินลกู ลำ�โพง และ
ลูกกระเบาดว้ ย
การแพรก่ ระจาย
อาศัยอยตู่ ามแม่น้ำ�สายใหญ่ ๆ ทัว่ ประเทศ เชน่ แมน่ ้ำ�เจา้ พระยา
แม่นำ้ �ท่าจีน แม่นำ้ �โขง แม่นำ้ �น่าน แม่นำ้ �มลู รวมถงึ ลำ�ธารในปา่ ดงดิบ
มักอยู่รวมเป็นฝูง ปัจจุบันจังหวัดนคราชสีมาตั้งให้เป็นปลาประจำ�
จังหวัด เม่ือปี พ.ศ. 2558
สถานภาพ
ไม่ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ใกลส้ ญู พันธุ์ (VU) โดย Thailand red data
ไมถ่ ูกจดั เปน็ สตั ว์ป่าคุ้มครอง
18 | สัตว์สะเทินน�ำ้ สะเทนิ บก ...
กบออ่ งเลก็
Black-striped Frog
ลกั ษณะ แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
เป็นกบขนาดกลาง รูปร่างเรียว ขาหน้าและขาหลังเรียวยาว พบท่บี ริเวณแหล่งน้ำ�ไหล เชน่ ห้วย คลอง มกั เกาะอยูบ่ นกอ้ น
ผวิ หนงั ดา้ นหลงั หวั เรยี บ และดา้ นทอ้ ง เรยี บ แผน่ หู (Tympanum) กิน หรือหลบในซอกหิน ที่อยู่ในลำ�ห้วย และอาจพบได้ในบริเวณที่
ชดั เจน ไมม่ ีสันเหนือแผ่นหู (Supratympanic fold) ดา้ นข้างตวั โลง่ ใกลก้ ับลำ�หว้ ย
คอ่ นขน้ึ มาทางดา้ นหลงั มสี นั ยาวขนาบทง้ั สองขา้ ง (Dorso-lateral
fold) ตัวผูม้ ีต่อมท่ไี หลท่ ้ังสองข้าง (Humeral gland) ปลายนว้ิ การแพร่กระจาย
ตนี หนา้ และหลงั แผอ่ อกเลก็ นอ้ ย ไมม่ พี งั พดื ยดึ ระหวา่ งนว้ิ ตนี หนา้ แต่ สกลุ Limnonectes สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย
ปรากฏทีน่ ้วิ ตนี หลงั ผิวหนังดา้ นบนหัว และหลงั มสี นี ้ำ�ตาล หรอื สี
นำ้ �ตาลแดง ขา้ งตวั และขา้ งหวั สีดำ� รมิ ฝปี ากขาว หรอื นำ้ �ตาลเขม้ สถานภาพ
แตค่ อ่ นไปทางทา้ ยตวั สจี ะออ่ นลง บางตวั มจี ดุ สเี ขม้ ทด่ี า้ นขา้ งตวั หรอื สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อ
หลงั ดา้ นทอ้ งสขี าวครมี มลี ายพาดขวางสนี ำ้ �ตาลเขม้ ทขี่ าหนา้ และขา
การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
Thailand red data และไม่ถูกจดั เปน็ สัตวป์ า่ คุม้ ครอง
หลงั ตน้ ขาด้านหลังมลี วดลายคลา้ ยร่างแห สีเหลืองสลบั น้ำ�ตาลเข้ม ชอ่ื ไทย : กบออ่ งเล็ก
ชอื่ สามญั : Black-striped Frog
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Sylvirana nigrovittata
เขยี ดจะนา
Common puddle frog
ลกั ษณะ และดำ�นำ้ �หนี ในฤดแู ลง้ จะหลบซอ่ นตวั อยใู่ นโพรง
ตวั เลก็ รปู รา่ งปอ้ ม หวั สน้ั ขาสนั้ ผวิ หนงั ดา้ นหลงั มตี มุ่ ละเอยี ด หรอื ตามรอบแยกของดนิ
กระจายอยู่ ผวิ หนงั ดา้ นขา้ งตวั และทอ้ งมตี มุ่ ขนาดใหญก่ วา่ ดา้ นหลงั
กระจายอยู่ แผน่ หู (Tympanum) ไมช่ ดั เจน มสี นั เหนอื แผน่ หู (Su- การแพรก่ ระจาย
pratympanic fold) ปลายนว้ิ ตนี หนา้ และหลงั เรยี วแหลม มพี งั พดื
ที่บริเวณโคนนวิ้ ตีนหน้า และมีพังพดื เต็มท่ีน้ิวตีนหลงั ผิวหนงั ดา้ น สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อ
หลงั นำ้ �ตาลเขยี ว หรอื สเี ทาอมน้ำ�ตาล บางตวั มแี ถบสเี ขยี วขนาดใหญ่
หรอื แถบสนี ำ้ �ตาลออ่ น พาดยาวตรงกลางตวั จากปลายปากwไปจนถงึ การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
รกู น ดา้ นท้องมีสขี าวครมี Thailand red data และไม่ถกู จัดเปน็ สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม ชื่อไทย : เขียดทราย เขียดจะนา
ช่ือสามญั : Common puddle frog
อาศยั อยตู่ ามแหล่งน้ำ�ขงั ชว่ั คราว ริมหนองนำ้ � หรอื พ้ืนท่ชี ่มุ นำ้ � ชื่อวิทยาศาสตร์ : Occidozyga lima
ตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ นำ้ �นงิ่ อยบู่ รเิ วณนำ้ �ตน้ื ๆ หากถกู รบกวนจะกระโดดลงน้ำ�
สัตวส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทินบก | 19
คางคกบา้ น
Asian Common Toad
ลักษณะ การแพร่กระจาย
มีขนาดใหญ่ รูปร่างกำ�ยำ� ตัวผู้มีขนาด สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย
เล็กกว่าตัวเมีย ผิวหนังบนหัวเรียบ ผิวหนังท่ี
หลงั ดา้ นขา้ งตวั และรยางคข์ า มตี มุ่ ยอดแหลม สถานภาพ
สีดำ�กระจายทั่ว ผิวหนังคอ และด้านท้องมีตุ่ม
กลมกระจาย ซึ่งตุ่มมขี นาดเล็กกว่าตุม่ ทีอ่ ยบู่ น สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชี
หลัง มีสันแข็งสีดำ�บนกระโหลก (Cephalic แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ridge) เรยี งตวั ตอ่ กนั ตงั้ แตเ่ หนอื รจู มกู ถงึ ขมบั (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
แผน่ ห(ู Tympanum) ชดั เจน ดา้ นหลงั ถดั จาก Thailand red data และไมถ่ ูกจัดเปน็ สตั ว์
ปา่ ค้มุ ครอง
แผน่ หูมีตอ่ มพิษ (Parotid gland) ซึง่ มีขนาด
ใหญ่ ผวิ ขรุขระ และรปู รา่ งยาวรี ปลายนิว้ ตนี
หน้าและหลังกลมมน ไม่มีพังพืดยึดระหว่างนิ้ว
ตีนหน้า แต่มีที่นิ้วตีนหลัง ผิวหนังด้านหลัง
น้ำ�ตาลอมเหลือง หรือสีนำ้ �ตาลดำ� ด้านท้องมี
สีออ่ นกวา่ ด้านหลัง ปลายนิว้ ทง้ั หมดเป็นสีดำ�
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
พบตามบริเวณพ้ืนท่ีโล่ง อาจเป็นพื้นท่ี
ความชื้นสูงหรือต่ำ�ก็ได้ รวมทั้งพบใกล้บริเวณ
ทพ่ี กั อาศยั หรอื สงิ่ ปลกู สรา้ งของมนษุ ย์ มกั ผสม
พนั ธุ์วางไขใ่ นแอง่ นำ้ �ขังชวั่ คราวในฤดูฝน .. .
.... . . .
.
ช่ือไทย : คางคกบ้าน
ช่ือสามญั : Asian Common Toad
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Duttaphrynus melanostictus
20 | สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก
เขียดน้ำ�นอง
Marten’s puddle frog
ลักษณะ
ตวั เล็ก รูปร่างป้อม หัวสั้น ขาส้ัน ผวิ หนังดา้ นหลัง
มีตุ่มขนาดเล็กกระจายอยู่ ผิวหนังด้านท้องเรียบขนาด
ใหญ่กวา่ ดา้ นหลงั กระจายอยู่ แผน่ หู (Tympanum) ไม่
ชดั เจน มีสันเหนือแผ่นหู (Supratympanic fold) ที่
เหน็ เปน็ ลกั ษณะคลา้ ยรอยพบั อยเู่ หนอื แผน่ หู ปลายนวิ้
ตนี หน้าและหลงั กลมมน มพี ังพดื ทบ่ี รเิ วณโคนน้วิ ตีน
หนา้ และมีพังพดื เต็มท่ีนิ้วตีนหลงั ผวิ หนังดา้ นหลัง
และรยางคข์ าสเี ทา หรอื สเี ทาอมน้ำ�ตาล แตม่ คี วามผนั แปร
ของสีบนหัวและด้านหลังสูง เพราะบางตัวด้านหลังเป็นสี
เดยี วกนั สม่ำ�เสมอ บางตวั มแี ถบสสี ม้ ขนาดใหญพ่ าดทหี่ ลงั
ตา บางตวั มแี ถบสสี ม้ ขนาดเลก็ พาดยาวจากปลายปากถงึ
เหนอื รูทวาร ดา้ นทอ้ งสีขาวครมี หรอื ขาวอมเหลือง มจี ดุ
สดี ำ�เล็กกระจายอยู่
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม ชอื่ ไทย : เขยี ดน้ำ�นอง
ชอ่ื สามัญ : Marten’s puddle frog
พบอาศัยทั้งแหลงนำ้ �ที่เป็นระบบนำ้ �นิ่งและนำ้ �ไหล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Occidozyga martensii
อยู่ในบริเวณที่นำ้ �ตื้น หรือริมน้ำ� บางครั้งพบอยู่ร่วมกับ
Occidozyga lima และ Fejervarya limnocharis .
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาคของประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพ่ือการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวล
น้อยที่สุด (LC) โดย Thailand red data และไม่ถูก
จัดเปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
สัตว์สะเทินนำ้� สะเทินบก | 21
กบหนอง
Rice Field Frog
ลักษณะ การแพรก่ ระจาย
เป็นกบขนาดกลาง รูปร่างกลม ขาหน้า สามารถพบได้ทว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย
และขาหลังใหญ่ ผิวหนังด้านหลังมีสันขนาด
เล็กไม่ยาวมาก เรียงตัวหลายแถวอย่างไม่เป็น สถานภาพ
ระเบียบ แต่ด้านท้องผิวเรียบ แผ่นหู (Tym-
panum) ชดั เจนและมสี นั เหนอื แผน่ หู (Supra- สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชี
tympanic fold) ปลายน้ิวตีนหน้าและหลัง แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
เปน็ กลมมน ไมม่ พี งั พดื ยดึ ระหวา่ งนวิ้ ตนี หนา้ แต่ (IUCN) สถานะมขี อ้ มลู ไม่เพยี งพอ (DD) โดย
ปรากฏทนี่ ว้ิ ตนี หลงั ผวิ หนงั ดา้ นหลงั มสี นี ำ้ �ตาล Thailand red data และไม่ถกู จัดเป็นสตั ว์
ปา่ คมุ้ ครอง
อ่อน สนี ำ้ �ตาลเขม้ หรอื สนี ้ำ�ตาลอมเขยี ว มีลาย
เปรอะสีเข้มกระจายบนแผ่นหลงั ขอบรมิ ฝีปาก
เป็นลายสีขาวสลับนำ้ �ตาลเข้ม บางตัวมีเส้นสี
นำ้ �ตาล สสี ม้ หรอื สขี าวครมี พาดผา่ นกลางตวั
ยาวตัง้ แตป่ ลายปากถึงเหนือรูทวาร ดา้ นท้องสี
ขาวอมเหลอื ง มลี ายพาดขวางสีน้ำ�ตาลเขม้ ทขี่ า
หนา้ และขาหลงั
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม .
พบอาศยั ตามพน้ื ทช่ี มุ่ นำ้ �ตา่ งๆ เชน่ ลำ�หว้ ย
นาขา้ ว แหลง่ น้ำ�ขงั บงึ บอ่ เปน็ ตน้ มกั หลบซอ่ น
ตวั อยตู่ ามพงหญา้ รมิ ฝงั่ นำ้ � สามารถพบอยรู่ ว่ ม
ในแหล่งอาศัยเดียวกันกับสัตว์สะเทินนำ้ �สะเทิน
บกชนิดอื่น เชน่ Occidozyga martensii,
Occidozyga lima และ Hoplobatrachus
rugulosus
ช่อื ไทย : กบหนอง
ชอ่ื สามัญ : Rice Field Frog
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Fejervarya limnocharis
22 | สัตว์สะเทนิ น้ำ� สะเทนิ บก
อ่งึ ขา้ งดำ�
Dark-sided Chorus Frog
ลกั ษณะ แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ขนาดตัวเล็ก ตัวอ้วนกลม หน้าส้ัน ขา พบอาศัยอยู่ใตเ้ ศษใบไม้ทีร่ ว่ งทบั ถม หรอื
หนา้ และหลงั เรยี ว ผวิ หนังเรียบทง้ั ตัว ไม่มีแผน่ บรเิ วณทมี่ พี ชื ตน้ เลก็ ๆ ปกคลมุ ในฤดผู สมพนั ธ์ุ
หู (Tympanum) และสนั เหนอื แผน่ หู (Supra- พบจบั คู่ในแหล่งน้ำ�ขงั ช่ัวคราว
tympanic fold) ปลายนิ้วตีนหน้าและหลัง การแพร่กระจาย
กลมมน ไมม่ ีพงั พืดยดึ ระหว่างน้วิ ตีนหน้า แตม่ ี
ท่ีระหว่างนวิ้ ตีนหลังบริเวณโคนนวิ้ ผวิ หนงั ด้าน สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
หลงั สีนำ้ �ตาล นำ้ �ตาลออ่ น หรือน้ำ�ตาลแดง บาง สถานภาพ
ตวั มเี สน้ สคี รมี เลก็ พาดจากปลายปากถงึ เหนอื รทู สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
วาร และมรี อบเปรอะกลมๆ สีดำ� มีจดุ สีขาวตรง ของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN)
กลาง 1 รอย ทกี่ ลางหลัง ดา้ นขา้ งตวั ทง้ั หมด สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย Thailand
สีดำ� ด้านทอ้ งสขี าวครีม ขาหน้าและหลังสีเดียว red data และไม่ถกู จัดเปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง
กับดา้ นหลงั และมลี ายพาดขวางสีเขม้ ตวั ผคู้ าง
สีเข้มกว่าในตัวเมีย
ชอื่ ไทย : อง่ึ ข้างดำ�
ช่ือสามัญ : Dark-sided Chorus Frog
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Microhyla heymonsi
อึ่งลายเลอะ
Butler’s Rice Frog
ลกั ษณะ ชือ่ ไทย : องึ่ ลายเลอะ
ชื่อสามญั : Butler’s Rice Frog
ขนาดตัวเล็ก ตัวอ้วนกลม หน้าส้ัน ขาหน้าและหลังเรียว ผิวหนังเรียบท้ังตัว ไม่มีแผ่นหู ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Microhyla butleri
(Tympanum) และสันเหนือแผ่นหู (Supratympanic fold) ตัวผูม้ กั มีแถวตุม่ สีขาวเด่นเรยี ง
จากใตต้ าดา้ นหลงั ไปทม่ี ุมขากรรไกร ปลายน้วิ ตีนหน้าและหลังกลมมน มพี ังพดื ยดึ ระหวา่ งนว้ิ ตีน
หน้าและตีนหลงั ทบ่ี รเิ วณโคนน้ิว ผิวหนังด้านหลังสนี ้ำ�ตาลออ่ น มีอบของลายนำ้ �เต้ามลี ายสขี าว
สตั ว์สะเทนิ น้ำ� สะเทนิ บก | 23
.
.
เหลอื ง หรอื ครีม ขา้ งตวั สีน้ำ�ตาลเทา อาจมลี ายเปรอะสีเข้ม
กระจายอยู่ ดา้ นท้องสีขาวครมี ขาหนา้ และหลงั สนี ้ำ�ตาลออ่ น
มีลายพาดขวางสเี ขม้ ตวั ผคู้ างสเี ขม้ กวา่ ในตัวเมีย
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม สถานภาพ
พบอาศยั อยู่ใต้เศษใบไม้ทีร่ ่วงทับถม บรเิ วณที่มพี ชื ตน้ สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพ
เล็กๆ หรือบนพน้ื ดนิ แขง็ ในฤดูผสมพนั ธ์พุ บจบั คูใ่ นแหลง่ เพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
น้ำ�ขังชั่วคราว (IUCN) สถานะกังวลน้อย
. ทส่ี ดุ (LC) โดย Thailand
..
การแพรก่ ระจาย red data และไม่ถูกจัดเปน็
สามารถพบได้ทัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย สตั วป์ า่ ค้มุ ครอง
24 | สัตวส์ ะเทินน�้ำสะเทินบก
อ่งึ หลงั จดุ
Deli Paddy Frog
ลักษณะ
ขนาดตวั เลก็ หนา้ สนั้ ขาหนา้ และหลงั เรยี ว
ผวิ หนงั เรยี บทง้ั ตวั ไม่มแี ผน่ หู (Tympanum)
และสนั เหนอื แผ่นหู (Supratympanic fold)
ปลายน้ิวตีนหน้าและหลังกลมมน ไม่มีพังพืด
ยึดระหว่างน้ิวตีนหน้า แต่ปรากฏที่น้ิวตีนหลัง
บริเวณโคนนว้ิ ผิวหนังดา้ นหลัง และข้างตวั สี
เทาเหลือบแดง เทาน้ำ�ตาล หรือนำ้ �ตาลแดง มี
ลายเปรอะสีดำ�ขนาดใหญ่กระจายบนแผ่นหลัง
ข้างตัว ข้างหัว และหลังตา ซ่ึงลักษณะนี้มี
ความผันแปรมาก อาจมีลายเปรอะสีดำ�จำ�นวน
มาก หรือน้อย หรือไม่ปรากฏเลย ขาหน้าและ
หลังสนี ้ำ�ตาลอมแดง มรี อยเปรอะสเี ขม้ กระจาย
อยู่ ด้านทอ้ งสีครีม อาจมีจุดเลก็ ๆ สดี ำ�กระจาย
หรอื ไมม่ ี ตวั ผบู้ รเิ วณคางผวิ จะหนา และมีสีเข้ม
กวา่ ในตัวเมยี
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
พบอาศัยอยู่ใต้เศษใบไม้ท่ีร่วงทับถม และ
มีความชื้นสูง หากถูกรบกวนมักจะกระโดดหนี
แต่กระโดดในระยะทีไ่ ม่ไกล
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคของประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
ของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN)
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย Thailand
red data และไม่ถูกจดั เป็นสัตวป์ า่ คุม้ ครอง
สตั ว์สะเทินนำ้� สะเทนิ บก | 25
ชอ่ื ไทย : อ่งึ หลงั จุด
ชอ่ื สามัญ : Deli Paddy Frog
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Micryletta inornata
.
26 | สัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก
กบบวั
Green Paddy Frog
ลกั ษณะ แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
เปน็ กบขนาดกลาง รปู รา่ งเรยี ว ขาหนา้ และ พ บ อ า ศั ย ต า ม แ ห ล่ ง น้ำ� น่ิ ง ที่ มี พื ช ขึ้ น
ขาหลังเรียวยาว ผวิ หนังเรียบ แผ่นหู (Tym- ปกคลุมรมิ ฝ่ัง และมีพชื น้ำ�ลอยปกคลุม เช่น บวั
panum) ชดั เจน ไม่มสี ันเหนือแผน่ หู (Supra- จอก แหน เป็นต้น มคี วามปราดเปรยี ว วอ่ งไว
tympanic fold) ด้านข้างตัวค่อนขึ้นมาทาง สามารถกระโดดไดไ้ กลมาก
ดา้ นหลัง มสี นั ยาวขนาดใหญข่ นาบท้ังสองข้าง การแพรก่ ระจาย
(Dorso-lateral fold) ปลายน้ิวตีนหน้าและ
หลังแผ่ออกเล็กน้อย ไม่มีพังพืดยึดระหว่างนิ้ว สามารถพบได้ท่วั ทุกภาคในประเทศไทย
ตีนหนา้ แต่ปรากฏทน่ี ้วิ ตีนหลงั ผิวหนังด้านบน สถานภาพ
หวั หลงั และข้างตัว สเี ขยี ว สันท่ีขนาบข้างหลัง สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
สขี าวครมี ขอบสนั สดี ำ� หรอื น้ำ�ตาลเขม้ ดา้ นขา้ ง ของสหภาพเพ่อื การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN)
หัวระหว่างรูจมูกกับตา มีแถบสีน้ำ�ตาลเข้มคาด สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย Thailand
ริมฝีปากขาว ขาสีนำ้ �ตาลออ่ น มลี ายพาดขวาง red data และไมถ่ กู จัดเป็นสตั ว์ป่าคมุ้ ครอง
สีนำ้ �ตาลที่ขาหน้า และขาหลงั แตไ่ มช่ ดั เจนู่ ชือ่ ไทย : กบบัว
ชอ่ื สามัญ : Green Paddy Frog
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Hylarana erythraea
อึง่ ขาคำ� ชือ่ ไทย : อง่ึ ขาคำ�
ชื่อสามัญ : Yellow-legged Pigmy Frog
Yellow-legged Pigmy Frog ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Microhyla pulchra
ลกั ษณะ
ตวั มขี นาดเลก็ อว้ นกลม หนา้ สนั้ ขาหนา้ เรยี ว ขาหลงั สนั้ อว้ น ผวิ หนงั เรยี บทง้ั ตวั ไมม่ แี ผน่ หู
และสนั เหนอื แผน่ หู ปลายนว้ิ ตนี หนา้ และหลงั กลมมน ไมม่ พี งั พดื ยดึ ระหวา่ งนว้ิ ตนี หนา้ แตม่ ที โี่ คนนว้ิ
ตีนหลงั ผวิ หนงั ด้านหลงั สเี ทานำ้ �ตาล มีลายขีดรูปสามเหล่ยี มสนี ้ำ�ตาลอ่อน หรอื ครมี สลบั น้ำ�ตาล
เข้ม เรียงซ้อนกันหลายช้ัน ข้างตัวสีเทาอมนำ้ �ตาล อาจมีลายเปรอะสีเข้มกระจายอยู่ ด้านท้องสี
สัตวส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบก | 27
...
ขาวครีม ขาหน้าและหลงั สนี ้ำ�ตาลอ่อน มลี ายพาดขวางสเี ขม้ โคนขา
ด้านบน โคนขาด้านลา่ ง และดา้ นท้องส่วนล่าง สีเหลืองสด ตวั ผู้คาง
สเี ข้มกว่าในตัวเมยี
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม .
.
มกั พบบรเิ วณทโ่ี ลง่ เชน่ บนพน้ื ถนนทเ่ี ปน็ ดนิ แขง็ หรอื ดนิ ลกู รงั
ไมค่ อ่ ยหลบซอ่ นใตเ้ ศษใบไม้ เมอ่ื เขาไปใกลจ้ ะไมค่ อ่ ยกระโดดหนี แตจ่ ะ สถานภาพ (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อ
หมอบตัวหลบ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด
การแพร่กระจาย การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
สามารถพบได้ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย Thailand red data และไม่ถกู จดั เปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
28 | สัตวส์ ะเทนิ น�้ำสะเทนิ บก
องึ่ อา่ งก้นขดี
Medilan-striped bullfrog
ลักษณะ
คล้ายอ่ึงอ่างบ้านมาก แต่มีขนาดตัว
เลก็ กว่า ลำ�ตัวปอม หนา้ สน้ั ขาสั้น ไมม่ แี ผน่ หู
(Tympanum) และสันเหนือแผ่นหู (Supra-
tympanic fold) ผวิ หนังลำ�ตวั มีตุมกระจาย
ไม่มาก ดานหลังสีนำ้ �ตาลเข้ม หรือน้ำ�ตาลเทา
บนหวั มแี ถบสนี ำ้ �ตาลออ่ นพาดขวางจากทางดา น
หนาของตา ดานขา งลำ�ตวั มีแถบสนี ำ้ �ตาลอ่อนข
อบนำ้ �ตาลเข้มขนาดใหญ่พาดจากดานทายตาไป
ที่โคนขาหนีบ มีแถบขีดเส้นตรงสีนำ้ �ตาลอ่อน
จากกลางเอวถงึ เหนอื รูทวาร ดานทองพืน้ สขี าว
ครีม จุดเลก็ ๆ สนี ำ้ �ตาลกระจายทว่ั ทอ้ ง นวิ้ ตนี
หนา้ และตนี หลงั ปลายกลม ไมแ่ ผแ่ บน ไมม่ พี งั พดื
ระหว่างนว้ิ ตนี หน้า แตม่ ีทนี่ ิ้วตีนหลงั ตุ่มฝาตีน
ดา้ นใน (inner metatarsal tubercle) และ
ดา้ นนอก (Outer metatarsal tubercle) มี
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นสันแข็งแผ่แบนเพ่ือ
ใชขุดโพรงดิน
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
พบอาศัยท้ังตามที่โล่ง และโพรงดิน ท้ัง
ในป่า และพน้ื ท่ีชมุ ชน เมอื่ ถกู รบกวนในบางครง้ั
จะไมก่ ระโดดหนี แตจ่ ะใชว้ ธิ เี ดนิ หนอี ยา่ งรวดเรว็
การแพร่กระจาย
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก
ภาคตะวันตก ของประเทศไทย
สถานภาพ
กลมุ่ ทใ่ี กลถ้ กู คกุ คาม (NT) โดยบญั ชแี ดง
ของสหภาพเพื่อการอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN)
กลุ่มท่ีใกล้ถูกคุกคาม (NT) โดย Thailand
red data และไมถ่ กู จดั เป็นสตั วป์ ่าคุม้ ครอง
ช่ือไทย : อง่ึ อา่ งกน้ ขีด สตั ว์สะเทินนำ้� สะเทินบก | 29
ช่อื สามัญ : Medilan-striped bullfrog
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Kaloula mediolineata องึ่ อา่ งบา้ น
. Beautiful Kaloula
ลักษณะ
มขี นาดตัวปานกลาง ลำ�ตัวปอม หนา้ ส้นั ขาสน้ั ไม่มีแผน่ หู
(Tympanum) และสนั เหนอื แผ่นหู (Supratympanic fold)
ผิวหนังลำ�ตัวมีตุมกระจายไม่มาก ดานหลังสีนำ้ �ตาลเข้ม หรือ
น้ำ�ตาลเทา บนหัวมแี ถบสีนำ้ �ตาลอ่อนพาดขวางจากทางดานหนา
ของตา ดานขางลำ�ตัวมีแถบสีนำ้ �ตาลอ่อนขอบน้ำ�ตาลเข้มขนาด
ใหญพ่ าดจากดา นทา ยตาไปที่โคนขาหนบี ดา นทองพนื้ สขี าวครีม
จดุ เลก็ ๆ สนี ้ำ�ตาลกระจายทวั่ ทอ้ ง นว้ิ ตนี หนา้ และตนี หลงั ปลายตดั
ไมแ่ ผแ่ บน ไมม่ พี งั พดื ระหวา่ งนว้ิ ตนี หนา้ แตม่ ที น่ี ว้ิ ตนี หลงั ตมุ่ ฝา
ตนี ดา้ นใน (inner metatarsal tubercle) มกี ารเปลยี่ นแปลง
รปู ร่างเปน็ สนั แขง็ แผแ่ บนเพื่อใชข ดุ โพรงดิน
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
พบตามพ้ืนทีโ่ ลง่ ทช่ี มุ่ ช้ืน ทง้ั ในป่า และเขตชุมชน บางครง้ั
หลบซอ่ นตัวในโพรงไม้ จะพองตัวเมอ่ื ถูกรบกวน
การแพรก่ ระจาย
สามารถพบได้ท่วั ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื
การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลน้อยที่สุด (LC) โดย
Thailand red data และไมถ่ ูกจดั เป็นสตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง
.
ชอ่ื ไทย : อ่งึ อ่างบ้าน
ชอ่ื สามญั : Beautiful Kaloula
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Kaloula pulchra
30 | สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทนิ บก
สตั วส์ ะเทินน้�ำสะเทินบก | 31
ปาดจ๋วิ ลายแตม้
Nongkhor Asian Treefrog
ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
ขนาดตัวเล็ก รูปร่าง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก และ
เรียว ผิวหนังด้านหลังดูเหมือน ภาคตะวนั ตกของประเทศไทย
เรียบ แต่มีตุ่มละเอียดกระจายอยู่ ด้าน
ทอ้ งมีลักษณะขรขุ ระ (tree frog skin) แผ่นหู สถานภาพ
(Tympanum) และสนั เหนอื แผน่ หู (Supratym-
panic fold) ชดั เจน ปลายนิ้วตนี หน้าและหลงั เปน็ สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
แผน่ แผข่ ยายออก ไมม่ พี งั พดื ยดึ ระหวา่ งนว้ิ ตนี หนา้ ของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
แต่ปรากฏที่น้ิวตีนหลัง สีของผิวหนังด้านหลังสี สถานะกังวลนอ้ ยที่สดุ (LC) โดย Thailand red
data และไมถ่ ูกจดั เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
นำ้ �ตาลออ่ น หรอื สนี ำ้ �ตาลแดง ดา้ นทอ้ งมีผวิ หนงั
ทีบ่ าง มองเห็นอวัยวะภายในได้ ขาหน้าและขาหลัง
สอี อ่ นกวา่ ตวั มลี ายพาดขวางสนี ำ้ �ตาลทขี่ าหนา้ และ
ขาหลงั แตไ่ มช่ ดั เจน บางตวั แผน่ หลงั มลี วดลายรปู
X สีนำ้ �ตาลเข้ม .
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
พบอาศัยเกาะตามไมพ้ มุ่ ตา่ งๆ อยู่ใกล้แหล่ง
นำ้ �น่งิ ขนาดใหญ่ หรือแหล่งนำ้ �ขังชวั่ คราว สง่ เสยี ง
รอ้ ง “ต๊กิ ติก๊ ”
ชื่อไทย : ปาดจว๋ิ ลายแต้ม
ช่ือสามัญ : Nongkhor Asian Treefrog
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Chiromantis nongkhorensis
32 | สตั ว์สะเทินนำ�้ สะเทนิ บก
เขียดตะปาดเหนือ
Vocal Sacless Treefrog
ลกั ษณะ ชื่อไทย : เขียดตะปาดเหนอื
ชื่อสามญั : Vocal Sacless Treefrog
ลักษณะทัว่ ไปคลา้ ยปาดบา้ น แตม่ ีขนาดใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polypedates mutus
กว่า รูปร่างเรียว ผิวหนังด้านหลังเรียบ แต่ด้าน
ท้องมลี ักษณะขรขุ ระ (tree frog skin) ผวิ หนงั .
สว่ นหวั เชอื่ มตดิ กบั กะโหลก ตวั ผไู้ มม่ ถี งุ เสยี ง (Vo-
cal sac) แผ่นหชู ัดเจนและมีสันเหนือแผ่นหู ปลาย
น้ิวตีนหน้าและหลังเป็นแผ่นแผ่ขยายออกปลายตัด
ไมม่ พี งั พดื ยดึ ระหวา่ งนวิ้ ตนี หนา้ แตป่ รากฏทน่ี ว้ิ ตนี
หลงั สีของผวิ หนงั ด้านหลงั มีไดห้ ลากหลาย เช่นสี
นำ้ �ตาลออ่ น สนี ้ำ�ตาลเขม้ สนี ้ำ�ตาลแดง และสนี ำ้ �ตาล
อมเขียว ด้านท้องมีสีขาวครีม ใต้สันเหนือแผ่นหู
ปรากฏเสน้ สดี ำ�หรอื นำ้ �ตาลพาดตามแนวของสนั มกั
พบมีลายพาดขวางสนี ำ้ �ตาลทข่ี าหนา้ และขาหลงั ที่
แผน่ หลงั มลี วดลายเสน้ สนี ้ำ�ตาลเขม้ สเ่ี สน้ พาดตาม
แนวยาวของตัว ต้นขาด้านหลงั เป็นลวดลายคล้าย
หนิ ออ่ นสเี หลืองสลบั น้ำ�ตาลเขม้
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
มักเกาะตามกิ่งไม้ หรือใบไม้ ใกล้แหล่งนำ้ �
พบมีพ้ืนที่อาศัยทับซ้อนกันกับ Polypedates
leucomystax
การแพร่กระจาย
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออกของ
ประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
สถานะกังวลน้อยทสี่ ดุ (LC) โดย Thailand red
data และไมถ่ ูกจัดเปน็ สัตว์ป่าคมุ้ ครอง
สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทินบก | 33
เขียดงูเกาะเต่า
Koh Tao caecilian
ลกั ษณะ สถานภาพ
ลำ�ตัวเรียวยาวคล้ายงู แต่ไม่มีเกล็ดหุ้มตัว สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ภายนอก ปลายปากกลมมน เมื่อมองจากด้าน ของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
บน (Dorsal) จะมีลักษณะปลายปากเป็นรูปตัวยู สถานะกังวลนอ้ ยท่ีสุด (LC) โดย Thailand red
(U-shaped) มีปล้องตัวประมาณ 360-366 data และไม่ถูกจัดเป็นสัตวป์ า่ คุม้ ครอง
ปล้อง ระหว่างปล้องมีร่องพาดขวางลำ�ตัวตัวอยู่
เฉพาะสว่ นของดา้ นหลัง ตาขนาดเล็กมาก มีหนวด
อยู่ท่ีริมฝีปากด้านบน ลำ�ตัวสีน้ำ�ตาลอมเทา ด้าน
ท้องสีน้ำ�ตาลอมม่วง มีแถบสีเหลืองท่ีด้านข้างตัว
พาดต้ังแตข่ อบปากจนถงึ ปลายหาง
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
อาศยั อยบู่ รเิ วณทม่ี คี วามชนื้ สงู มกั หลบซอ่ น
ใตก้ องไม้ จอมปลวก หรอื ทมี่ ีใบไมท้ บั ถมหนาแน่น
ตาเล็กแต่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน นอกฤดูฝน
พบตัวได้ยาก มกั ออกมาในทโี่ ล่งหลังมีฝนตกหนัก
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ั่วทุกภาคในประเทศไทย
ชือ่ ไทย : เขียดงูเกาะเต่า .
ชอื่ สามญั : Koh Tao caecilian
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Ichthyophis kohtaoensis
34 | สัตว์สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก
กบหงอน
Limnonectes gyldenstolpei
สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบก | 35
36 | สัตวส์ ะเทินนำ�้ สะเทินบก
กบหงอน
Gyldenstolpe’s Frog
ลกั ษณะ แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
เป็นกบขนาดปานกลาง โดยทั่วไป พบได้ตามแหล่งนำ้ �ไหล ท่ีมีเพิงหิน
ตัวผู้จะมีขนาดตัว และความกว้างของ หรือกอ้ นหิน เป็นทท่ี ี่ใชห้ ลบซอ่ นตวั หรือ
หัวมากกว่าตัวเมีย ตัวผู้ปรากฏเขี้ยวท่ี ในถ้ำ�ทม่ี นี ้ำ�หรอื ความชน้ื สงู ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยาน
ขากรรไกรล่าง (Odontoid process) ธรณีโคราช พบอาศัยอยู่ท่ีในถ้ำ�ทม่ี ีน้ำ�ไหล
จำ�นวน 1 คู่ และมลี กั ษณะของก้อนเนื้อที่ ผ่าน และมคี า้ งคาวอาศยั ร่วมด้วย
เจรญิ ขนึ้ เปน็ แผน่ บนหวั หรอื เรยี กวา่ หงอน
(Caruncle) ไม่ยกสูงมาก รูปร่างคล้าย การแพรก่ ระจาย
ตวั ยู (U-shaped) ทีม่ ีฐานตัวยแู ผก่ วา้ ง
ออก และวางตัวยาวเลยหลังตา มีแผ่นหู ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
(Tympanum) และสันเหนือแผน่ หู (Su- ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคตะวัน
ตก ของประเทศไทย
pratympanic fold) ผวิ หนงั บนหวั และ สถานภาพ
ผิวหนังด้านทอ้ งเรียบ ผิวหนงั ด้านหลังมี สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
ตมุ่ ขนาดใหญก่ ระจายอยู่ ผวิ หนงั ทร่ี ยางค์ บัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ขาหน้า และหลัง มีตุ่มขนาดเล็กละเอียด ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ
กระจายอยู่ ไมป่ รากฏพงั พดื ระหวา่ งนว้ิ ตนี (LC) โดย Thailand red data และไม่
หนา้ แตป่ รากฏระหว่างน้ิวตนี หลัง ปลาย ถกู จัดเปน็ สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง
นว้ิ กลมมน และไมแ่ ผข่ ยายออกเปน็ แผน่ สี
ของตัวทางดา้ นบนมสี นี ้ำ�ตาลอมเทา หรือ
สีนำ้ �ตาลแดง ขาหน้าและขาหลงั มีลายพาด
ขวางสีน้ำ�ตาลเข้ม ผิวหนังด้านท้องสีขาว
อมเหลือง บางตัวปรากฏแถบสีขาวครีม
หรอื สม้ พาดตามแนวกลางตวั ตงั้ แตป่ ลาย
ปากถึงเหนอื รทู วาร .
ช่ือไทย : กบหงอน
ช่อื สามญั : Gyldenstolpe’s Frog
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Limnonectes gyldenstolpei
สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบก | 37
38 | สัตว์สะเทนิ น้�ำสะเทินบก
องึ่ แดง
Striped spadefoot frog
ลกั ษณะ การแพรก่ ระจาย
ขนาดตัวปานกลาง ตัวอ้วนกลม สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคใน
หน้าสั้น ขาหน้าเรียว ขาหลังอ้วนส้ัน ประเทศไทย
ผิวหนงั เรยี บ แตบ่ างตัวอาจมีตุ่มกระจาย
ที่หลัง แต่จำ�นวนตุ่มไม่มาก ไม่มีแผ่นหู สถานภาพ
(Tympanum) และสันเหนือแผ่นหู (Su-
pratympanic fold) ปลายนิ้วตีนหน้า สถานะกังวลน้อยทส่ี ุด (LC)
และหลังกลมมน ไม่มีพงั พดื ยึดระหว่างนวิ้ โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ตีนหน้า แต่มีที่ระหว่างนิ้วตีนหลังบริเวณ ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ
โคนนวิ้ ผวิ หนงั ดา้ นหลงั สีนำ้ �ตาล น้ำ�ตาล (LC) โดย Thailand red data
และไมถ่ กู จัดเปน็ สตั ว์ปา่ ค้มุ ครอง
อ่อน หรอื นำ้ �ตาลแดง มลี วดลายเปรอะสี
น้ำ�ตาลท่ีหลัง และด้านข้างตัว ด้านท้อง
สีขาวครีม ขาหน้าและหลังสีเดียวกับด้าน
หลงั และมีลายพาดขวางสเี ขม้ ต่มุ ฝาตีน
ดา้ นใน (inner metatarsal tubercle)
มีการเปล่ียนแปลงรูปร่างเป็นสันแข็งแผ่
แบนเพื่อใชข ุดโพรงดิน .
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
มักขุดโพรงและซ่อนตัวอยู่ในโพรง
ดิน พบในทโี่ ล่งตามถนนลูกรงั หรอื ตาม
พ้ืนดินที่เป็นดินแข็ง มักออกจจากโพรง
ตอนทม่ี ีฝนตก
ชอ่ื ไทย : อง่ึ แดง
ชอ่ื สามญั : Striped spadefoot frog
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Glyphoglossus guttulatus
สตั ว์สะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก | 39
อ่ึงปากขวด
Blunt-headed Burrowing Frog
ลักษณะ การแพรก่ ระจาย
ลำ�ตวั ปอ ม ตา เล็ก ขาสน้ั แตใหญ ปลายปากตัดตรง (หนา้ ทู่) ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคกลาง และ ภาคตะวันออก
ไม่มีแผ่นหู (Tympanum) และสันเหนือแผน่ หู (Supratympanic เฉียงเหนอื ของประเทศไทย
fold) ผิวหนังตัวทงั้ ดา้ นบน และด้านล่างเรียบ แตผ่ ิวหนังท่ีคอโดย
เฉพาะตัวผู้จะย่น ปลายน้ิวตีนหน้าและหลังกลม น้ิวตีนหนามีไม่มี สถานภาพ
พังพืดระหว่างนิ้ว น้ิวตีนหลังมีพังพืดระหว่างนิ้ว ตุ่มที่ฝาตีนหลัง
ดา้ นใน (Inner metatarsal tubercle) มี ขนาดใหญ่ ซ่งึ มกี าร กลุ่มที่ใกล้ถูกคุกคาม (NT) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
เปลยี่ นแปลงรปู รา่ งเปน็ สนั แขง็ แผแ่ บนเพอ่ื ใชใ้ นการขดุ โพรงดนิ ดา น การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) กลุ่มท่ีใกล้ถูกคุกคาม (NT) โดย
Thailand red data และไมถ่ ูกจดั เป็นสัตวป์ า่ คุ้มครอง
หลงั สเี ทาหรอื สนี ำ้ �ตาลดำ� อาจมจี ดุ สนี ้ำ�ตาลออ่ นเลก็ กระจาย ดา นทอ ง
สีขาว หรือสคี รมี และมี
แตม สเี ขม กระจายอยบู า ง ขาหนา้ และหลงั สเี ดยี วกนั กบั ดา้ นหลงั
ตัวผคู้ างสีเขม้ กวา่ ในตัวเมีย
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม ชือ่ ไทย : อึง่ ปากขวด
ชื่อสามัญ : Blunt-headed Burrowing Frog
อาศัยอยูในโพรงดินเปนสวนใหญ ในฤดูแลงจะอาศัยอยูใน ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Glyphoglossus molossus
โพรงดินเกือบตลอดเวลา แตระหวางฤดูฝนจะข้ึนมาหากินบนพื้น
ดนิ บางในชว งเวลากลางคนื เมื่อถูกรบกวนจะพองตวั ทำ�ใหมีขนาด
ใหญมากขน้ึ ผสมพันธุและวางไขใ นชว่ งท่ีมีฝนตกหนกั มาก วางไขใ น
แอง นำ้ �ขงั ชว่ั คราว
.
40 | สัตว์สะเทนิ นำ้� สะเทินบก
อ่งึ น้ำ�เตา้
Ornamented Pygmy Frog
ลกั ษณะ สถานภาพ
ขนาดตัวเลก็ ตัวอว้ นกลม หน้าสนั้ ขา สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบัญชี
หน้าและหลังเรียว ผิวหนังเรียบท้ังตัว ไม่มี แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
แผ่นหู (Tympanum) และสันเหนือแผ่นหู (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
(Supratympanic fold) ปลายนวิ้ ตนี หนา้ Thailand red data และไมถ่ กู จัดเปน็ สตั ว์
และหลังกลมมน มีพังพืดยึดระหว่างน้ิวตีน ป่าค้มุ ครอง
หนา้ และตนี หลงั ทบี่ รเิ วณโคนนวิ้ ผวิ หนงั ดา้ น
หลังสีน้ำ�ตาลอ่อน มีลายรูปนำ้ �เต้าสีน้ำ�ตาล
เทากลางหลัง ข้างตัวสนี ้ำ�ตาลเทา อาจมีลาย
เปรอะสเี ขม้ กระจายอยู่ ดา้ นทอ้ งสขี าวครมี ขา
หน้าและหลังสีน้ำ�ตาลอ่อน มีลายพาดขวางสี
เขม้ ตัวผ้คู างสเี ขม้ กวา่ ในตัวเมยี
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
พบอาศัยอยู่ใต้เศษใบไม้ที่ร่วงทับถม
หรอื บางครัง้ พบหลบอยตู่ ามขอนไม้ผุ ในฤดู
ผสมพันธพุ์ บจบั คใู่ นแหล่งน้ำ�ขงั ช่ัวคราว
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย
...
.
ช่ือไทย : อึง่ นำ้ �เตา้
ชอื่ สามญั : Ornamented Pygmy Frog
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Microhyla fissipes
สตั ว์สะเทินนำ�้ สะเทนิ บก | 41
ปาดบา้ น
Common Tree Frog
ลกั ษณะ
รูปร่างเรียว ผิวหนังด้านหลังเรียบ แต่ด้านท้องมีลักษณะ
ขรุขระ (tree frog skin) ผวิ หนังส่วนหวั เช่อื มตดิ กบั กะโหลก แผน่
หูชัดเจนและมีสันเหนือแผ่นหู ปลายน้ิวตีนหน้าและหลังเป็นแผ่นแผ่
ขยายออก ไม่มพี งั พดื ยึดระหวา่ งนว้ิ ตนี หนา้ แตป่ รากฏทน่ี ้ิวตีนหลัง
สีของผิวหนังด้านหลังมีได้หลากหลาย เช่นสีนำ้ �ตาลอ่อน สีนำ้ �ตาล
เข้ม สีน้ำ�ตาลแดง และสีนำ้ �ตาลอมเขียว ด้านท้องมีสีขาวครีม ใต้
สันเหนือแผ่นหูปรากฏเส้นสีดำ�หรือน้ำ�ตาลพาดตามแนวของสัน มัก
พบมีลายพาดขวางสีนำ้ �ตาลที่ขาหน้า และขาหลัง ในบางตัวปรากฏ
ลวดลายรปู X ทบ่ี รเิ วณหลังตาไปถงึ ดา้ นหลังส่วนตน้ ต้นขาด้าน
หลังพ้นื สเี ข้มและมีจุดกลมสีขาวกระจายอยู่
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
อาศยั อย่ใู นพน้ื ที่ได้หลายแบบ ท้ังพ้ืนทที่ ่ีไกลหรือใกลแ้ หล่งนำ้ �
เชน่ ในปา่ พน้ื ทเี่ กษตรกรรม หรอื สง่ิ ปลกู สรา้ งของมนษุ ย์ จบั คผู่ สม
พนั ธใ์ุ นฤดูฝน วางไขใ่ นโฟมท่สี ร้างข้ึนในฤดูผสมพนั ธุ์ ซง่ึ โฟมมักจะ
ตดิ กับหนิ ก่งิ ไม้ หรอื ใบไม้ ท่อี ยูเ่ หนอื แหล่งนำ้ �เล็กนอ้ ย
การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อ
การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลน้อยทส่ี ุด (LC) โดย
Thailand red data
และไม่ถูกจัดเป็นสัตว์ป่า
. . . คุม้ ครอง
.... . . .
ชอื่ ไทย : ปาดบ้าน
ช่ือสามญั : Common Tree Frog
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Polypedates leucomystax
42 | สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน ▼สถานภาพ
กง้ิ กา่ แก้วเหนอื ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ
อนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ุด (LC) โดย
Forest Garden Lizard Thailand red data แตไ่ มถ่ กู จดั เป็นสตั วป์ า่ ค้มุ ครอง
►การแพรก่ ระจาย
พบเกาะอยู่บนตน้ ไม้ กง่ิ ไม้ และพมุ่ ไมเ้ ต้ยี โดยเฉพาะ
ในวัยเด็กหรือวัยรุ่นท่ีมักเกาะตามพุ่มไม้มากเพื่อสะดวกต่อ
การหาอาหาร
.
ชอ่ื ไทย : ก้งิ ก่าแกว้ เหนอื
ช่อื สามญั : Forest Garden Lizard
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Calotes emma alticristatus
สัตวเ์ ล้อื ยคลาน | 43
►ลกั ษณะ
ป็นกิ้งก่าขนาดกลางเมื่อ ที่สดุ ลำ�ตัวสีเขียวอมเทา กง้ิ ก่าแก้วเหนือ
เทียบกับชนิดอื่นๆ ภายในสกุล มีความแปรผันของสีมาก สามารถพบได้
เดียวกัน หัวค่อนข้างส้ัน ความ ตั้งแต่สีครีม สีน้ำ�ตาล และสีเขียวอมดำ�
ยาวลำ�ตวั (ไม่รวมหาง) ประมาณ สีพื้นของแก้ม เปลือกตา และหลังตาสี
9-10 เซนติเมตร โดยหางยาว เขยี วอมฟ้า มีขีดสดี ำ�เปน็ แฉกจากตา ซ่ึง
กว่าลำ�ตวั เล็กน้อยประมาณ 11- แฉกหลังตาเป็นสีน้ำ�ตาลและใหญ่กว่าแฉ
าร 12 เซนติเมตร ลำ�ตัวและหาง กอน่ื ๆ ดา้ นหลงั มคี ลน่ื สดี ำ�พาดอยตู่ ลอด
ย กลม รูม่านตาเป็นรูปวงกลม มี ลำ�ตวั และมแี ถบสขี าวครมี ตลอดตามยาว
แผน่ ปิดรหู ู เกลด็ ท่ีปกคลมุ บนหวั ขา้ งๆ หนามท่อี ยูต่ ามแนวสนั หลงั
มีขนาดเล็กกว่าเกล็ดท่ีปกคลุมลำ�
ตัว แตล่ ะเกล็ดมสี ัน มหี นามหลัง
ตาปรากฏอยู่ และมีหนามเล็กๆ
2 คู่อยู่ด้านบนของแผ่นปิดรูหู
ทง้ั สองขา้ ง หนามขนาดใหญเ่ รมิ่
จากตอนท้ายของหัวเรียงลงมา
ถึงท้ายทอยและถัดจากน้ันหนาม
จะลดขนาดเล็กลงเรอื่ ยๆ จนหาย
ไปบริเวณลำ�ตวั ด้านทา้ ย นิ้วเรยี ว
ยาว โดยนว้ิ ตีนหลังน้วิ ท่ี 4 ยาว
▲แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
พบเกาะอยู่บนต้นไม้ ก่งิ ไม้ และพ่มุ ไมเ้ ตยี้ โดยเฉพาะ
ในวัยเด็กหรือวัยรุ่นที่มักเกาะตามพุ่มไม้มากเพื่อสะดวกต่อ
การหาอาหาร
44 | สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน
กิ้งก่าดงคอสฟี า้
Blue crested lizard
สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน | 45
ลกั ษณะ
เปน็ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานขนาดใหญ่
เม่ือเทียบกับชนิดอ่ืนๆ ภายในวงศ์ บนหวั มขี นาดเลก็ กวา่ เกลด็ ทปี่ กคลมุ ลำ�ตวั ยกเวน้
เดียวกัน ความยาวลำ�ตัว(ไม่รวม เกล็ดบริเวณหัวไหล่ (ในรอยป้ืนสีดำ�) มีร่องเป็น
หาง) ประมาณ 13 เซนตเิ มตร โดย รอยพับสีคล้ำ� จะเป็นเกล็ดขนาดเล็กมาก ก้ิงก่า
หางยาวกว่าลำ�ตัว หวั คอ่ นข้างใหญ่ หวั สฟี า้ มหี นามขนาดใหญเ่ รมิ่ จากตอนทา้ ยของหวั
ลำ�ตัวและหางกลม รูม่านตาเป็นรูป เรียงลงมาถึงท้ายทอยและถัดจากน้ันหนามจะลด
วงกลม มแี ผน่ ปดิ รหู ู เกลด็ ทปี่ กคลมุ ขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จนหายไปบริเวณลำ�ตัวด้าน
ท้าย มีหนามเล็กๆ 2 คู่อยู่ด้านบนของแผ่นปิด
รูหทู ้งั สองขา้ ง นวิ้ เรยี วยาว โดยน้วิ ตีนหลังนิ้วที่
4 ยาวที่สุด เพศผู้มแี ถบสขี าวเร่มิ จากปลายปาก
พาดผ่านแผ่นปิดรูหูลงไปถึงลำ�ตัวตอนต้น และ
มีป้ืนวงกลมสีแดงหรือน้ำ�ตาลแดงอยู่ด้านข้างลำ�
ตวั ประมาณ 3-5 รอย สขี องหัว คางและสำ�ตวั
ในชว่ งฤดผู สมพนั ธจ์ุ ะเปน็ สฟี า้ ในตวั เมยี จะสงั เกต
ยากเลก็ น้อยเนือ่ งจากลำ�ตวั เปน็ สนี ้ำ�ตาล
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
ตัวเต็มวัยมักเกาะหากินตามต้นไม้ขนาด
ใหญ่ ซ่ึงพบบนต้นไม้บ่อยกว่ากิ้งก่าชนิดอื่น
ภายในสกลุ เดยี วกนั สว่ นวัยเด็กมกั อาศยั อยตู่ าม
โคนต้นไม้เล็กๆ หรือตามพุ่มไม้ กินแมลงขนาด ▲กง้ิ กา่ ดงคอสีฟ้า ด้านหลังเพศเมยี
ใหญต่ ามตน้ ไม้ เพศเมยี จะวางไขป่ ระมาณ 7 ฟอง
หลังจากฤดูฝนที่มีปริมาณฝนมาก ซ่ึงวัยเด็กจะ
ฟักหลงั จากนนั้ ประมาณ 2 เดือน สถานภาพ
การแพร่กระจาย ไ ม่ ไ ด้ ถู ก จั ด ส ถ า น ะ โ ด ย บั ญ ชี แ ด ง ข อ ง
สหภาพเพื่อการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN)
ในประเทศไทยพบได้ภาคเหนือ ภาคกลาง สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย Thai-
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
land red data และถูกจัดเป็นสัตวป์ า่ คุ้มครอง
ชือ่ ไทย : กิ้งก่าดงคอสีฟา้ กง้ิ ก่าหัวสฟี ้า
ช่ือสามญั : Blue crested lizard
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Calotes mystaceus
.... . . . .
46 | สัตว์เล้อื ยคลาน
แหลง่ อาศยั และ
พฤตกิ รรม
ส่วนใหญ่พบในพื้นท่ี
โล่ง ตามเสาคอนกรีต ตอ
ของหัวเรียงลงมาถึงท้ายทอยและ ไม้ หรือบนต้นไม้ พ้ืนที่
ก้ิงก่าคอแดง ถัดจากนั้นหนามจะลดขนาดเล็กลง เกษตรกรรม เช่น สวน ไร่
เรื่อยๆ จนหายไปบริเวณลำ�ตัวด้าน และพุม่ หญ้าต่างๆ
Eastern Garden Lizard ทา้ ย มหี นามเล็กๆ 2 คูอ่ ยดู่ า้ นบน
ของแผน่ ปดิ รหู ทู ั้งสองขา้ ง นิว้ เรยี ว การแพร่กระจาย
ยาว โดยนว้ิ ตนี หลงั นวิ้ ท่ี 4 ยาวทสี่ ดุ สามารถพบได้ท่ัวทุก
ลำ�ตัวสเี ทาแกมเหลือง มีขดี สดี ำ�เป็น ภาคในประเทศไทย
แฉกจากใต้คาง และบางคร้ังพบว่า
ลักษณะ พ่งุ ออกมาจากตา ในวัยเดก็ พบขีดสี สถานภาพ
ขาวครมี ตลอดตามยาวขา้ งๆ หนาม
เปน็ กง้ิ กา่ ขนาดกลางเมอื่ เทยี บกบั ชนดิ อนื่ ๆ ในสกลุ เดยี วกนั หวั ท่ีอยูต่ ามแนวสันหลงั แขน ขา หลงั ไ ม่ ไ ด้ ถู ก จั ด ส ถ า น ะ
คอ่ นขา้ งสน้ั เกลด็ ปกคลมุ ลำ�ตวั อยมู่ ที ศิ ทางไปดา้ นหลงั และพงุ่ ขนึ้ ดา้ น และหางปรากฏรอยเป้ือนสีดำ�ไม่เป็น โดยบัญชีแดงของสหภาพ
บน ความยาวลำ�ตวั (ไม่รวมหาง) ประมาณ 9-10 เซนตเิ มตร โดย ระเบียบกระจายอยู่บนสีพ้ืน ในช่วง เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
หางยาวกว่าลำ�ตัวเล็กน้อยประมาณ 11 เซนติเมตร ลำ�ตัวและหาง ฤดูผสมพันธ์ุเพศผู้หัวและลำ�ตัวตอน (IUCN) สถานะกังวลน้อย
กลม รมู า่ นตาเปน็ รปู วงกลม มแี ผน่ ปดิ รหู ู เกลด็ ทป่ี กคลมุ บนหวั มขี นาด ต้นจะมีสีแดง ใต้ขากรรไกรทั้งสอง ที่สดุ (LC) โดย Thailand
เลก็ กวา่ เกลด็ ทปี่ กคลมุ ลำ�ตวั แตล่ ะเกลด็ มสี นั เกลด็ บรเิ วณหวั ไหลไ่ มม่ ี ข้างจะเป็นสดี ำ�เขม้ red data และถกู จดั เปน็ สตั ว์
เกล็ดเล็กๆ หัวไหล่ไม่มีรอยพับ มีหนามขนาดใหญ่เริ่มจากตอนท้าย ปา่ คมุ้ ครอง
ช่ือไทย : กิง้ ก่าคอแดง กง้ิ กา่ หัวแดง กง้ิ กา่ สวน
ชือ่ สามญั : Eastern Garden Lizard
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Calotes versicolor
.
.
กิง้ ก่าบินปีกสม้ สัตว์เลื้อยคลาน | 47
Orange-winged Flying Lizard
ลกั ษณะ
เป็นกิ้งก่าท่ีมีลักษณะพิเศษและโดดเด่นจาก
กง้ิ กา่ กลมุ่ อื่นๆ โดยการปรากฏแผ่นหนงั ท่ียื่นยาว
ออกมาจากข้างลำ�ตัว โดยภายในมีกระดูกซี่โครง
คทู่ ่ี 5,6 หรอื 7 ค้ำ�จุนอยแู่ ละย่นื ยาวออกมาตาม
แผ่นหนังน้ัน ใต้คางมีแผ่นเหนียงยื่นยาวออกมา
เป็นก้ิงก่าบินขนาดเล็กเมื่อเทียบกับชนิดอื่นๆ ใน
สกุลเดียวกัน ความยาวจากปลายปากถึงรูทวาร
8-9 เซนติเมตร ความยาวหางยาวกว่าลำ�ตัวเล็ก
นอ้ ย (ประมาณ 11 เซนติเมตร) สพี ้นื เป็นสีน้ำ�ตาล
อมเทา และถูกแต้มด้วยลายเยอะสีดำ� ใต้หนังข้าง
ลำ�ตัวเป็นสีเหลือง สีน้ำ�ตาลไปจนถึงน้ำ�ตาลอมส้ม
และมีจุดสีดำ�กระจายอยู่ เหนียงสีเหลือง และตรง
ปลายเหนย่ี งออกสีเหลอื งออ่ นหรือสขี าว ก้ิงก่าบิน
ปีกสม้ มีชนิดย่อยถงึ ๓ ชนดิ โดยชนดิ ย่อย D. m.
maculatus และชนดิ ยอ่ ย D. m. diergens มี
จดุ สฟี า้ อยใู่ ตค้ างทง้ั สองขา้ ง สว่ นชนดิ ยอ่ ย D. m.
haasei ฐานของเหนยี งเปน็ สีเหลืองอมขาว
.
ชอ่ื ไทย : ก้งิ กา่ บินปกี ส้ม
ชอื่ สามัญ : Orange-winged Flying Lizard
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Draco maculatus
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม ภาคเหนือ และภาคตะวันออก ชนิดย่อย D. m.
diergens พบเฉพาะเชยี งใหมเ่ ทา่ นน้ั สว่ นชนดิ ยอ่ ย
ออกหากินเวลากลางวันและเพิ่มอุณหภูมิ D. m. haasei สามารถพบได้ท่ัวทุกภาค
รา่ งกายด้วยการตากแดด
สถานภาพ
อยตู่ ามลำ�ตน้ ของตน้ ไม้ และมกั ซอ่ นตวั อยใู่ น
พุม่ ไม้และเกาะนง่ิ ๆ ตอนเชา้ มืดและพลบค่ำ� สถานะกงั วลน้อยท่ีสดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
ของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
การแพรก่ ระจาย สถานะกังวลน้อยท่สี ดุ (LC) โดย Thailand red
data และถกู จดั เป็นสตั วป์ ่าคมุ้ ครอง
ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาค โดย
ชนิดย่อย D. m. maculatus พบการกระจาย
48 | สตั ว์เลอ้ื ยคลาน ลักษณะ
แยเ้ หนือ มขี นาดใหญเ่ มอื่ เทยี บกบั แยช้ นดิ อนื่ ๆ
ในสกุลเดียวกัน ลำ�ตวั แบน ผงิ หนงั ยน่ หาง
Northern Butterfly Lizard กลมใหญ่ตลอดหางเกล็ดปลายปาก เกล็ด
ริมฝีปากและเกล็ดริมฝีปากย่อยขนาดใหญ่
ชอ่ื ไทย : แย้เหนือ กวา่ เกลด็ ทป่ี กคลมุ บนหวั และลำ�ตวั ขนาดเลก็
ชื่อสามัญ : Northern Butterfly Lizard โดยเกล็ดบนหัวขนาดเลก็ ทสี่ ุด หวั สูง ปลาย
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Leiolepis reevesii ปากมน ขาหนา้ ขาหลงั และกรงเลบ็ แขง็ แรง
สีพื้นของหัว ลำ�ตัว และหางสีน้ำ�ตาลอมเทา
โดยหลังมีลวดลายคล้ายตาข่ายสีดำ� ส่วน
หางมีจุดสขี าวกระจายอยู่ สีพื้นของขาเปน็ สี
น้ำ�ตาลอมเทาเช่นกันและมีสีเหลือบนำ้ �เงินอยู่
ด้วยและมีจุดสีขาวกระอยู่ ใต้คางสีขาวอม
เทา ใต้ท้องสเี หลือง สีข้างลำ�ตวั เปน็ สสี ้มและ
มีแถบแนวตั้งประมาณ 3 แถบโดยเริ่มจาก
รกั แรอ้ อกมาถึงลำ�ตัวตอนตน้
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
ออกหากนิ เวลากลางวนั บนพน้ื ดนิ ขดุ รู
ขุดโพรงดินอยู่ อาหารไดแ้ ก่ ต๊กั แตน ผเี ส้ือ
และแมลงอนื่ ๆ
สถานภาพ
ไม่ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพ
เพอ่ื การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) และสถานะใกล้
ถกู คกุ คาม (NT) โดย Thailand red data แต่
ไม่ได้ถูกจัดเปน็ สตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง
การแพรก่ ระจาย
ในประเทศไทยพบการแพร่กระจายใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
. .
.
สัตว์เลอ้ื ยคลาน | 49
จ้งิ จกดนิ สยาม
Spotted Ground Gecko
ลักษณะ
เป็นสตั วเ์ ล้อื ยคลานขนาดเล็ก ความยาวลำ�ตวั (ไมร่ วมหาง)
ประมาณ ๕ เซนตเิ มตร โดยความยาวหางใกลเ้ คยี งกบั ความยาวลำ�
ตวั สว่ นหวั กวา้ งกวา่ ลำ�ตวั เพยี งเลก็ นอ้ ย รมู า่ นตาเปน็ รปู วงรอี ยใู่ น
แนวตง้ั ผวิ หนงั ลำ�ตวั ดา้ นหลงั ขนาดเลก็ ปกคลมุ อยู่ และดา้ นทอ้ งมี
เกล็ดวงกลมวางซอ้ นเหล่ือมกนั
นว้ิ ตนี เรยี วและแผแ่ บนเลก็ นอ้ ยตรงปลายนว้ิ ใตน้ ว้ิ ตนี สว่ นตน้
มีแผ่นหนาแคบๆทีเ่ รยี กวา่ “subdigital lemellae” (แผน่ หนาที่
ปราศจากพนื้ ผวิ ชว่ ยยดึ เกาะ) สว่ นใตน้ ว้ิ สว่ นปลายเปน็ แผน่ แบนรปู
ใบไม้ 1 คู่ที่ปลายน้ิวแต่ละนว้ิ (แผน่ ท่มี พี ืน้ ผิวช่วยยดึ เกาะ) เพศผู้
ปรากฏรูเปิดเหนอื ทวารรว่ ม 6-9 รู
บนหัว ลำ�ตัว ขาหน้า หลัง และหางมีสีครีมหรือสีน้ำ�ตาล
กระจายด้วยจุด หรือรอยปื้นสีดำ�ไม่เป็นระเบียบ ปรากฏจุดสว่าง
หรอื สีเหลอื งเรยี งตามแนวยาวจากท้ายทอย ขนาบขา้ งแนวกระดูก
สนั หลังเรือ่ ยลงไปถงึ ปลายหาง
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม สถานภาพ
เปน็ สัตว์ออกหากนิ เวลากลางคืน พบตามพืน้ ท่ปี ่าทั่วไป มัก ไ ม่ ไ ด้ ถู ก จั ด อ ยู่ ใ น บั ญ ชี แ ด ง ข อ ง
อาศยั บนกอ้ นหนิ ลำ�ตน้ ของตน้ ไม้ จงิ้ จกดนิ สยามกนิ แมลง แมงมมุ สหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
และสตั วข์ าปลอ้ งอนื่ ๆ รวมทง้ั จง้ิ จกดนิ สยามเองกเ็ ปน็ อาหารใหก้ บั และสัตว์ป่าคุ้มครอง แต่มีสถานะกังวลน้อย
งแู ละนกทีอ่ อกหากนิ ตอนกลางคนื ท่สี ดุ (LC) โดย Thailand red data
ช่ือไทย : จิง้ จกดนิ สยาม จิง้ จกดนิ ไทย การแพร่กระจาย
ชื่อสามญั : Spotted Ground Gecko
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Dixonius siamensis ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ท่ั ว ทุ ก ภ า ค ใ น
ประเทศไทย
..
50 | สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน
ตุ๊กแกป่าดงพญาเยน็
Angled Forest Gecko
ลกั ษณะ จากหลังตาทั้งสองข้างมาเชื่อมกันตรงกลาง
เป็นตุ๊กแกป่าขนาดกลาง รูปร่างค่อน ท้ายทอยซ่ึงมีมุมตรงขมับทั้งสองข้าง สีพื้น
ข้างกำ�ยำ�และแข็งแรง ส่วนหัวและลำ�ตัว บนหัวสีน้ำ�ตาลดำ� (ปรากฏลายบางคร้ังใน
ด้านหลังถูกปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็ก วัยเดก็ ) ปรากฏปืน้ ใหญ่ 3 คูเ่ รยี งอยบู่ นลำ�
และถูกแทรกด้วยตุ่มใหญ่บนหัว ตวั รยางคป์ รากฏรอยปน้ื ขนาดเลก็ รปู รา่ งไม่
ลำ�ตัวและหาง รูปแบบของ เปน็ ระเบยี บจางๆ ปนอยู่ หางปรากฏแถบพาด
ตุ่มใหญ่ที่แทรกอยู่บน ขวางประมาณ 14 แถบ
หลงั เปน็ แบบกรวย
ชอ่ื ไทย : ตกุ๊ แกป่าดงพญาเยน็
ชือ่ สามญั : Angled Forest Gecko
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cyrtodactylus angularis
.
ด้านท้องถูกปกคลุมด้วยเกล็ดรูปร่างกลม
วางซ้อนเหลื่อมกัน ขาหน้าและขาหลังเรียว แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
นวิ้ ตีนเรียว ยาว ใต้นวิ้ มีเกล็ด (subdigital ชอบอาศัยตามลำ�ต้นของต้นไม้อยู่สูง
lamellae) เรียงอยทู่ กุ น้วิ สีพ้นื ดา้ นหลงั หวั จากพ้ืนประมาณ 1-2 เมตร หรืออาศยั ตาม
รยางค์และหางสีนำ้ �ตาล ปรากฏแถบสนี ้ำ�ตาล ขอนไม้ และพื้นดนิ ในบางคร้ัง