The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khorat Geopark, 2020-06-07 23:11:04

Wildlife of Khorat Geopark

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Keywords: Khoratgeopark,Wildlife,Animal,Nature

นก | 201

นกแอน่ ท่งุ ใหญ่ ชื่อไทย : นกแอน่ ทุ่งใหญ่
ชอ่ื สามญั : Oriental pratincole
Oriental pratincole ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Glareola maldivarum

ลักษณะ

มจี ดุ เดน่ ทโ่ี คนปากสแี ดงสดใส ปลายปากดำ� และมเี สน้ สดี ำ�ลาก
จากใตต้ าทง้ั สองขา้ งลงมาบรรจบกนั ทคี่ อ มคี วามยาวจากปลายปาก
จรดปลายหางราว 23-24 เซนตเิ มตร ตวั ผแู้ ละตวั เมยี คลา้ ยคลงึ กนั
แตต่ วั ผจู้ ะตวั โตกวา่ เลก็ นอ้ ย สสี นั โดยรวมของนกชนดิ นเ้ี ปน็ สนี ำ้ �ตาล
ออ่ น ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งสอี อ่ นกวา่ ลำ�ตวั ดา้ นบน ขาสน้ั ปกี ยาวปลายแหลม
และหางเปน็ แฉกเหมอื นหางปลา ในชว่ งผสมพนั ธแ์ุ ตม้ สแี ดงทโี่ คนปาก
จะชัดเจนข้นึ หวั ตาและแถบข้างคอสดี ำ�ยาวต่อกนไปถึงอก

แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม

อาศัยอยู่ในทุ่งนา ทุ่งหญ้าส้ันๆ รอบหนองบึงหรือใกล้แหล่ง
นำ้ � โดยมกั พบเป็นฝงู ออกหากินในเวลาโพล้เพล้ เวลากลางวันนกจะ
ยืนพักผ่อนอยูต่ ามพืน้ ดนิ แต่อาจหาตวั ไดย้ ากเพราะนกมสี กี ลมกลนื
กับพ้ืนดินทยี่ นื อยู่ อาหาร ไดแ้ ก่ ตกั๊ แตน ผีเส้อื กลางคืน แมลงเม่า
แมลงปอ เปน็ ต้น เสยี งร้อง “ชิค-ชิค”

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ั่วทุกภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red
data และจดั เปน็ สตั ว์ปา่ คุม้ ครอง

.

202 | นก ชอื่ ไทย : นกฮูก
ชอื่ สามญั : Collared scops owl
นกแอ่นพง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Otus lettia

Ashy Woodswallow

ลักษณะ
เป็นนกขนาดกลาง คล้ายนกนางแอ่น ปีกรูปสามเหลี่ยมกว้าง ปาก

หนา ชอ่ งปากกวา้ ง ขาและตนี แขง็ แรง ปีกยาวและปลายแหลม หางสั้นปลาย
ตัด ปากสเี ทาแกมฟา้ หวั และลำ�ตวั ด้านบนสีเทา หนา้ สีดำ�หรือเทาเขม้ อกและ
ลำ�ตวั ดา้ นล่างนำ้ �ตาลแกมเหลอื ง กน้ สขี าว ใต้ปีกสีขาวแกมนำ้ �ตาลออ่ น ขณะ

.
...

ชื่อไทย : นกแอ่นพง
ช่อื สามัญ : Ashy Woodswallow
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Artamus fuscus

บนิ ปีกเปน็ รปู สามเหลย่ี ม วยั เดก็ ขนลำ�ตัวสเี ทาแกมน้ำ�ตาล มีลายเกล็ดบนหลัง
และปกี ปากสีน้ำ�ตาล
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

ชอบบนิ สลับรอ่ นไป มา เสียงรอ้ ง “แอ่บ-แอ่บ”สามารถพบได้ทัว่ ไป เชน่
พนื้ ท่เี กษตรกรรม ชายปา่ และพ้นื ทเี่ ปิดโล่ง
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตว์ปา่ คุม้ ครอง

. ..

.

นก | 203

นกฮกู

Collared scops owl

ลักษณะ ชุมชน เวลากลางวันมักเกาะพักบนต้นไม้ร่มครึ้ม เวลากลางคืนจะ

นกฮกู เปน็ นกเคา้ แมวขนาดเลก็ มปี อยขนตง้ั ชนั ขนึ้ บนหวั สอง ออกมาเกาะดกั จบั เหยอื่ ทผ่ี า่ นมาตามพนื้ ดนิ เสยี งรอ้ ง “ปวู้ ” เปน็ ระยะ
ข้างหรอื ทีเ่ รยี กวา่ หู ขนหยู าวเด่นและจะตั้งชันขึน้ เวลาตื่นตกใจหรอื ขู่
ศัตรู ส่วนบนเป็นสเี ทาหรอื น้ำ�ตาล มจี ุดสนี ำ้ �ตาลอมเหลอื งจาง สว่ น การแพร่กระจาย
ล่างสนี ้ำ�ตาลอมเหลอื ง มีลายขีดสีเข้ม วงหน้าสีออกขาวหรือสีเน้อื มี
สรอ้ ยคอสเี นอ้ื หรอื น้ำ�ตาลอมเหลอื ง ตากลมโตสสี ม้ หรอื สนี ำ้ �ตาล ปาก สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย
ส้ัน สันปากโค้งลง ทัง้ ตวั ผู้และตัวเมยี มลี ักษณะคลา้ ยกนั
สถานภาพ
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
อาศัยอยู่ตามปา่ ดงดบิ ปา่ โปร่ง ป่าละเมาะ หรือบริเวณพ้ืนท่ี สถานะกังวลนอ้ ยทสี่ ุด (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสัตวป์ ่าคุม้ ครอง

204 | นก

เป็ดคับแค

Cotton Pygmy Goose

ลกั ษณะ ด้านท้ายของหัว ขนปีกเป็นสีน้ำ�ตาลและมีเหลือบเขียวบริเวณขนคลุมปีกแถว
เปน็ นกเปด็ นำ้ �ขนาดเลก็ ชนดิ หนึ่ง ตวั เต็มวยั มีความยาวจากปลายปาก บนและลา่ ง (ตวั เมยี แทบไมป่ รากฏเหลอื บเขยี ว) ขนหางสขี าวและปลายหางสดี ำ�
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
ถึงปลายหาง 30-37เซนติเมตร ปากสั้นแบน ขาสน้ั มพี งั ผิดยดึ นิว้ ตีนทง้ั
3 นว้ิ เปด็ คับแคมคี วามแตกตา่ งระหว่างเพศ ปากและแข้งสีดำ� ขนบนหัวและ มักหากินรวมฝูงกันกับนกเป็ดนำ้ �ชนิดอ่ืนๆ ตามหนอง บึงที่มีพืชน้ำ�
ข้างลำ�ตวั สีขาว (ตวั เมียสคี ่อนไปเทานำ้ �ตาลหรือสีเข้มกวา่ ) บนหัวตัวผ้มู ีแถบสี นอกฤดผู สมพันธ์อุ าจจะพบรวมฝงู นับเป็นร้อยถึงพนั ตวั ในฤดูผสมพนั ธ์อุ าจ
ดำ� (ตัวเมียสีนำ้ �ตาล) พาดจากโคนปากผ่านระหวา่ งตามาถงึ กระหม่อม ตัวผู้ จะอาศยั อยตู่ วั เดยี วหรอื เปน็ คู่ เสยี งรอ้ ง “ควา้ ก–ควา้ ก–ควา้ ก-แอก๊ ” หาอาหาร
มีวงรอบคอสีดำ� ในขณะท่ีตัวเมียไม่มี แต่ตัวเมียมีขีดสีดำ�ลากจากหลังตาไป ตามผวิ นำ้ �หรือจกิ หากินตามพื้นดิน แต่ก็ดำ�นำ้ �ไดแ้ ละดำ�นำ้ �เก่ง
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตวป์ ่าคุ้มครอง

.

ชอ่ื ไทย : เปด็ คบั แค
ชอื่ สามัญ : Cotton Pygmy Goose
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Nettapus coromandelianus

นก | 205

เปด็ แดง

Lesser Whistling–Duck

ลกั ษณะ

เป็นนกเปด็ น้ำ�ค่อนข้างใหญ่ ลำ�ตวั ยาวประมาณ 40-43
เซนติเมตร เป็ดแดงไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ ปากยาว คอ
และขายาว หนา้ ผาก กลางกระหม่อมและหลงั สนี ำ้ �ตาลคลำ้ � ปลาย
ปากและตนี สเี ทาปนฟ้า แกม้ และลำ�คอสีหม่นจนขาว ท้องสีแดงอม
น้ำ�ตาล ขนปลายปกี เทาดำ� ขนคลมุ ไหลด่ า้ นบนและหางสนี ำ้ �ตาลคลำ้ �
หลังตอนบนและโคนปีกมีลายขีดสีครีมน้ำ�ตาลแกมเหลืองตามแนว
สีขา้ งตอนบน มลี ายเกล็ดสีแดงแกมน้ำ�ตาล ทอ้ งสีแดงเข้มกวา่ คอ

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

เสียงรอ้ งแหลมสูง “ว๊ดี -ว๊ดี ” หรือเสียงคล้ายเวลาคนผิวปาก
มกั อยรู่ วมกนั เปน็ ฝงู ใหญต่ ามบอ่ หนอง คลอง บงึ อา่ งเกบ็ นำ้ � หรอื
ทะเลสาบ หากนิ ตอนกลางคืน ตอนกลางวันจะวา่ ยน้ำ�หรอื พกั ผ่อน
นอนหลบั ตามตน้ ไม้ชายน้ำ� มักอยเู่ ป็นคใู่ นฤดผู สมพนั ธุ์

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลนอ้ ยท่ีสุด (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพื่อ
การอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสัตวป์ ่าค้มุ ครอง

ชอื่ ไทย : เป็ดแดง
ชือ่ สามญั : Lesser Whistling–Duck
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrocygna javanica

.
.

206 | นก

เหยย่ี วขาว

Black-shouldered Kite

ลักษณะ แ ห ล่ ง อ า ศั ย แ ล ะ
มีลำ�ตัวยาวประมาณ 35-38 พฤตกิ รรม
เซนตเิ มตร ความกวา้ งในขณะกางปกี 80- มักออกหากิน ชือ่ ไทย : เหยยี่ วขาว
95 เซนตเิ มตร หวั และลำ�ตัวดา้ นลา่ งมีสีขาว เดี่ยว และเกาะตาม ช่ือสามัญ : Black-shouldered Kite
ตาแดง แถบตาดำ� ปากบนงุม้ ส้ันๆ สดี ำ� โคน ต้นไม้สูง มักกระพือ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Elanus caeruleus

เหลอื ง ลำ�ตัวดา้ นบนขนสีเทาอ่อน หวั ไหลม่ ี ปี ก อ ยู่ กั บ ที่ ก ล า ง สถานภาพ
แถบขนสีดำ� แข้งและตีนสีเหลือง ขณะกาง อากาศเพ่ือมองหาเหยื่อ กินสัตว์ขนาดเล็ก สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชี
ปกี บนิ ปกี ยาวปลายแหลมเปน็ ตวั วี หวั ไหลด่ ำ� เชน่ หนู สตั ว์เลอื้ ยคลาน หรือแมก้ ระทงั่ นก แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ขนปลายปกี ดา้ นลา่ งสดี ำ� ปลายขนกลางปีก อน่ื เปน็ อาหาร เสยี งรอ้ ง “กร-ี อะ” หรอื “พ-ิ ย”ู (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand
ดำ� นกวยั ออ่ น ขนลำ�ตวั ขลบิ สนี ำ้ �ตาลทปี่ ลาย red data และจัดเป็นสัตว์ปา่ คุ้มครอง
ขน หวั มลี ายขีดสีคลำ้ �ๆ ลำ�ตวั ดา้ นบนมีลาย การแพรก่ ระจาย
เกล็ดจากขอบปลายขนสนี ้ำ�ตาลอ่อน
สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

.

.
.

นก | 207

เหยย่ี วแดง

Brahminy Kite

ลกั ษณะ เป็นกลุ่มเล็กๆ เมื่อพบอาหารจะบิน
มีความยาวลำ�ตวั ประมาณ 44-52 เป็นวงกลม พร้อมกับบินดิ่งควง
เซนติเมตร ตัวเมียมกั ใหญ่กวา่ ตวั ผู้ ปากงุม้ ลงมา โฉบอาหารน้ันข้ึนไปกินบน ชือ่ ไทย : เหยยี่ วแดง
กรงเล็บแขง็ แรง หนงั คลมุ จมูก แข้งและตนี ต้นไม้สูงซึ่งอยู่ใกล้ๆ อาหารได้แก่ ชอ่ื สามญั : Brahminy Kite
สีเหลือง หัวและอกสดี ำ�และมีขีดสดี ำ�กระจาย กบ เขียด งู นก แมลง หนู ลูก ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Haliastur indus

อยู่ หลงั ปกี และขนดา้ นทา้ ยของทอ้ งสสี ม้ อม เป็ด ลูกไก่ สัตว์เล้ือยคลานขนาด สถานภาพ
นำ้ �ตาล ขนคลมุ ใตป้ กี สำ�น้ำ�ตาลเขม้ ขนปกี บน เลก็ เปน็ ต้น เสียงร้อง “กกิ๊ ” หรอื “เกรออ”
สถานะกังวลน้อยที่สดุ (LC) โดยบญั ชี
สจี างกวา่ มแี ถบใหญส่ นี ้ำ�ตาลแกมเหลอื งจาก หรอื “แอ๋” ยาวๆ แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
โคนขนปลายปกี ปลายปกี สีดำ�
การแพรก่ ระจาย (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม red data และจัดเปน็ สัตว์ป่าคมุ้ ครอง
สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

มักบินอยู่ตัวเดียวหรือ เป็นคู่ หรือ

..

208 | นก

เหย่ียวนกกระจอกเล็ก

Besra

ลักษณะ ตัวผู้ตาแดง หัวและลำ�ตัวด้านบนนำ้ �ตาล แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
อาศัยตาม ป่าดิบ ป่าโปร่ง ชอ่ื ไทย : เหยี่ยวนกกระจอกเลก็
แกมเทาเขม้ มากวา่ ชนดิ อ่ืน ๆ เส้นกลางคอดำ� คอ เป็นต้น ชอ่ื สามัญ : Besra
และอกตอนบนมีลายขีดหนาสีนำ้ �ตาลเข้ม อกตอน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Accipiter virgatus
ลา่ งและทอ้ งมลี ายขวางคอ่ นขา้ งหนาสสี ม้ แกมนำ้ �ตาล การแพรก่ ระจาย
ขณะบนิ ปกี คอ่ นขา้ งสน้ั และกวา้ ง ใตห้ างมแี ถบขวาง สามารถพบตงั้ แตบ่ รเิ วณเหนอื
สีสม้ 3 แถบชดั เจน ตวั เมียตาเหลอื ง ลำ�ตัวด้านบน
สีนำ้ �ตาลแกมดำ� หวั แลว้ ท้ายทอยสีเข้มมากหรอื เป็น คอคอดของประเทศไทย บางตัว
อพยพระยะสน้ั ที่ภาคใต้

สดี ำ� แตกต่างจากหลัง นกวยั อ่อน จำ�แนกไดย้ าก สถานภาพ .
จากเหย่ียวนกเขาชิคราและเหย่ียวนกเขาพันธ์ุญี่ปุ่น สถานะกังวลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
แตห่ ัว และท้ายทอยเข้มแตกต่างจากหลงั เสน้ ใตค้ อ .
ชัดเจนกว่า ลายขดี ทีอ่ ก ขณะบนิ ปลายปีกค่อนข้าง ของสหภาพเพ่ือการอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ .
ทู่ มีหางท่ีค่อนข้างยาวคล้ายของนกเขาส่วนใหญ่ ไดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
ขนาดตัวค่อนข้างเล็ก ดูเผิน ๆ ขณะบินผ่านอาจ เปน็ สัตวป์ า่ คุม้ ครอง

เขา้ ใจว่าเป็นนกเขา

นก | 209

เหยยี่ วนกเขาชิครา

Shikra

ลกั ษณะ ชื่อไทย : เหยย่ี วนกเขาชิครา
ชื่อสามญั : Shikra
มีขนาดความยาวลำ�ตัวประมาณ 30-36 เซนติเมตร ตัวผู้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Accipiter badius
ตาแดง ขนหวั และลำ�ตวั ด้านบนสเี ทาแกมฟา้ ขนท้องมีสีขาว คอขาว
มีเส้นกลางคอสีเข้ม อกและท้องมีขนลายขวางสีส้มแกมนำ้ �ตาลแดง
หางเทามีลายขวางไม่ชัดเจน ขณะกางปีกบินมองเห็นขนปีกด้านใน
ค่อนข้างกวา้ ง ขนคลุมใตป้ ีกมลี ายสสี ้มแกมน้ำ�ตาล ขนปกี บินขาวมี
ลายยาว สคี ลำ้ � ปลายปกี ดำ� แขง้ และตีนสีเหลือง ตวั เมยี มีขนาดใหญ่
กวา่ ตาเหลอื ง ขนลำ�ตวั ดา้ นบนสนี ้ำ�ตาลมากกวา่ ตวั ผู้ ลายขวางทอี่ ก
หนาแกมน้ำ�ตาล นกวัยอ่อน ขนหวั และลำ�ตัวสีนำ้ �ตาลเขม้ มลี ายจาก
ขอบขนสขี าวเสน้ กลางคอชดั เจน อกมลี ายขดี รปู หยดนำ้ �ยาวสนี ำ้ �ตาล
เข้ม สีขา้ งขนลายขวาง หางสนี ำ้ �ตาลมแี ถบสเี ข้ม 5 แถบ

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

ชอบอาศัยในป่าบนต้นไม้สูง และมักกระพือปีกเร็ว และร่อน
กลางอากาศหาอาหาร ได้แก่ หนู ไก่ กบ งู กระรอก แมลง เป็นต้น

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ กุ ภาค เปน็ นกอพยพในภาคใตข้ องประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red
data และจัดเป็นสตั ว์ปา่ คุ้มครอง

.

210 | นก

เหยีย่ วนกเขาหงอน

Crested Goshawk

ลกั ษณะ
มขี นาดความยาวลำ�ตวั ประมาณ 40-46 เซนตเิ มตร ตวั ผู้ ตามสี เี หลอื ง ชอื่ ไทย : เหยย่ี วนกเขาหงอน
หรอื สม้ ทา้ ยทอยมหี งอน หวั สเี ทาแตกตา่ งจากลำ�ตวั ดา้ นบนมสี นี ้ำ�ตาลแกมเทา ชอ่ื สามัญ : Crested Goshawk
คอขาว เสน้ กลางคอดำ� มีแถบหนวดจางๆ สีดำ� อกมลี ายใหญ่รูปหยดน้ำ�เรียง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Accipiter trivirgatus
กนั เปน็ ขดี หนาสนี ้ำ�ตาลแดง ตอ่ กบั ลายขวางทอี่ กดา้ นลา่ งและทอ้ ง หางดา้ นบน
มแี ถบกว้าง 3 แถบ ขณะบนิ หางด้านล่างมีแถบกวา้ ง 3 แถบ ขอบหางคูน่ อก
มี 4 แถบ ปกี กวา้ งปลายคอ่ นขา้ งมน ขนปกี ดา้ นหลงั กวา้ ง ตวั เมยี ขนาดใหญ่ การแพรก่ ระจาย
กว่าตัวผู้ ตาสเี หลอื ง หัวเทา ลายท่อี กและทอ้ งสนี ้ำ�ตาล วยั ออ่ น คลา้ ยนกเตม็ สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคในประเทศไทย

วยั แตต่ าเหลอื งซดี ขา้ งหวั และลำ�ตวั ดา้ นบนนำ้ �ตาลกวา่ ขนคลมุ หมู ลี ายขดี จางๆ สถานภาพ
กระหม่อม ท้ายทอย และลำ�ตัวด้านบนมีลายจากขอบขนสีนำ้ �ตาลอ่อน ด้าน สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ลา่ งขาวแถบนำ้ �ตาลอ่อน มลี ายขดี ยาวสีน้ำ�ตาลเขม้ จากคอถงึ ท้อง ลายขวาง ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั เปน็
มีเฉพาะสีข้างและท้องด้านล่าง สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม .
พบท่วั ไปอาศัยตามป่าเบญพรรณ ป่าเตง็ รัง และปา่ ดิบ บางครัง้ อาจ

พบตามสวนผลไม้และสวนสาธารณะ หากนิ กลางวันเดีย่ วๆ หรอื เปน็ คู่ อาหาร
ได้แก่ กระรอก กิ้งกา่ นก เป็นต้น บนิ รอ่ นกลางอากาศเมื่อพบเหยอ่ื จะบินลง
มาโฉบและจะนำ�เหย่ือกลบั ไปฉีกกนิ บนตน้ ไม้ หรือนำ�กลบั รัง

เหยยี่ วปกี แดง นก | 211

Rufous-winged Buzzard

ลักษณะ มกั พบเกาะสายไฟ หรอื เสาไฟฟา้ ตน้ ตาล หรอื ไมย้ นื ตน้ กลางทงุ่ นา หรอื
มคี วามยาวลำ�ตวั ประมาณ 38-43 เซนตเิ มตร ตัวผู้ คล้ายเหย่ียว ไร่ มักกิน ก้ิงกา่ หนูและแมลงเปน็ อาหาร
การแพรก่ ระจาย
หน้าเทา ตาเหลอื ง หนงั คลุมจมูกเหลืองสม้ สด หัวและลำ�ตัวเทา ลำ�ตัวด้านบน
น้ำ�ตาลแดงสดใส แข้งยาวสีเหลืองส้ม ขณะบินขนปีกบินและหางนำ้ �ตาลแดง สามารถพบได้ตง้ั แต่คอคอดกระของประเทศไทยขึ้นไป
ชดั เจน ขนคลมุ ใตป้ กี ขาว นกวยั ออ่ น ควิ้ ขาวแคบๆ หวั และลำ�ตวั ดา้ นลา่ งนำ้ �ตาล สถานภาพ
ลำ�ตวั ด้านบนแกมน้ำ�ตาลแดง แถบกลางปีกน้ำ�ตาลแดง
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะใกลถ้ กู คกุ คาม (NT) Thailand red data และ
จดั เปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง

ชือ่ ไทย : เหย่ียวปกี แดง .
ชอ่ื สามญั : Rufous-winged Buzzard .
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Butastur liventer

212 | นก

เหยย่ี วผง้ึ

Oriental Honey-buzzard

ลกั ษณะ ท่ขี นปกี บนิ ด้านใน 2 แถบ ตวั เมียสีอ่อน ตา
แตกต่างจากเหย่ียวขนาดใหญ่อื่นๆ เหลอื ง แถบขาวใต้หางแคบกวา่ เหน็ เปน็ แถบ
ท่ีปากเรียวเล็ก หัวเล็ก คอค่อนข้างยาว ดำ� 4 แถบ แถบปลายหางและแถบขอบปีก
ทา้ ยทอยมีหงอนสั้น หางยาวปลายมน สแี ละ ด้านหลังแคบกว่าตัวผู้ นกเต็มวัยสีเข้ม ขน
ลวดลายเปลย่ี นแปลงได้หลายแบบ หรือมกี าร ลำ�ตัวและขนคลุมใต้ปีกนำ้ �ตาลเข้ม คออาจมี
เลยี นแบบขนและลวดลายคลา้ ยเหยยี่ วชนดิ อนื่ สอี ่อน นกวยั ออ่ น หวั และลำ�ตัวดา้ นลา่ งมักมี
ชนิดย่อยอพยพ orientails หงอนส้ันมาก สจี างออกขาว ลายใตป้ กี จางกวา่ และลายใต้
ชนิดย่อยประจำ�ถน่ิ ruficolis บางตวั หงอน หางมี 3-4 แถบ
ทท่ี า้ ยทอยคอ่ นขา้ งยาว ตวั ผสู้ อี อ่ น ตานำ้ �ตาล
แดง หางดา้ นลา่ งเหน็ แถบขาวกวา้ งมาก ปลาย แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
ดำ�กว้างกว่าตัวเมีย ส่วนใหญ่หัวและหน้าเทา
ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งขาวแกมน้ำ�ตาล-น้ำ�ตาลแดง คอ มักพบตามป่าโปรง่ ปา่ ดิบ เสยี งร้อง
ขาวมีเส้นดำ�รอบ อาจมเี สน้ กลางคอ ขนคลมุ “หววิ หวิว หวิว” นกประจำ�ถิน่ พบไมบ่ ่อย นก
ใตป้ กี นำ้ �ตาลเหลอื ง-น้ำ�ตาลแดง มลี ายตามยาว อพยพพบบอ่ ยมาก

การแพร่กระจาย
สามารถพบได้ทุกภาคในประเทศไทย
สเี ขม้ ขนปกี บนิ ขาวหรอื เทา ปลายปกี และขอบ
ปกี ดา้ นหลงั ดำ�กวา้ งกวา่ ตวั เมยี มลี ายตามยาว

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อย
ท่ีสุด (LC) โดยบัญชี
แ ด ง ข อ ง ส ห ภ า พ เ พื่ อ
การอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัด
สถานะโดย Thailand
red data และจัดเป็น
สตั ว์ปา่ คุ้มครอง

ช่อื ไทย : เหยี่ยวผง้ึ .
ชอื่ สามญั : Oriental Honey-buzzard
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Pernis ptilorhyncus .
.

นก | 213

214 | นก

เหยี่ยวออสเปร

Osprey

ลกั ษณะ
ตัวผู้ ท้ายทอยมีหงอนสนั้ หวั และลำ�ตวั ด้านลา่ งขาวตดั กบั แถบตา ลำ�

ตวั ด้านบนสีนำ้ �ตาลเขม้ แถบคาดอกสีน้ำ�ตาล ขณะบนิ ปกี เรียวและยาวมาก ขน
คลมุ ใตป้ กี ขาว หวั ปีกมีแถบดำ�ใหญ่ ปลายปดี ำ� หางมีลายบ้งั ถส่ี ีเขม้ ตัวเมีย
แถบคาดอกกวา้ งกวา่ นกวยั ออ่ น แถบคาดอกไมช่ ดั เจน ลำ�ตวั ดา้ นบนสนี ้ำ�ตาล
มลี ายจากขอบขนสจี าง
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

พบตามปา่ โปรง่ หนองบงึ และแหลง่ น้ำ�ขนาดใหญ่ มกั ตปี กี อยนู่ งิ่ กลาง
อากาศ เพื่อมองหาเหย่ือพวกปลาและเล็งตำ�แหน่งปลาก่อนจะใช้กรงเล็บอัน
ทรงพลังพงุ่ ลงไปจบั ปลาเปน็ อาหาร และมกี ารลา่ สัตวข์ นาดเล็กอ่นื ๆ ไมว่ า่
จะเปน็ กบ กง้ิ กา่ นก และหนู อยู่บ้างเลก็ น้อย
การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทวั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตว์ป่าคุ้มครอง

ชื่อไทย : เหยีย่ วออสเปร
ชื่อสามญั : Osprey
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandion haliaetus

.

นก | 215

216 | สตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนม

กระจอ้ น

Indochinese Ground Squirrel

ชอื่ ไทย : กระจอ้ น
ช่อื สามญั : Indochinese Ground Squirrel
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Menetes berdmorei mouhotei

ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
มรี ปู รา่ งคลา้ ยกบั กระรอก ขนดา้ นหลงั พบได้เกือบท่ัวประเทศ ยกเว้นภาค
มสี นี ้ำ�ตาล มแี ถบสดี ำ�ท่หี ลัง และด้านขา้ งลำ� ตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนบนสดุ
ตัวมีแถบสีดำ�สลับสีเทาจาง ขนท้องสีเทา
หางมีสีนำ้ �ตาลสลับเทาเป็นปล้อง ๆ ความ สถานภาพ
ยาวลำ�ตวั 18.4 เซนติเมตร หางยาง 14
เซนติเมตร สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชี
แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จัดสถานะ โดย Thailand
red data และจัดเปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
ออกหากินในช่วงเวลากลางวันตาม
ลำ�พัง พบบ่อยในป่าเตง็ รงั อาศัยตามโพรง
ไม้ท่รี าบกับพน้ื ดนิ มกั ว่ิงหากนิ ตามพนื้ ทโ่ี ล่ง
เช่น ใต้ต้นไม้ใหญ่ กนิ อาหาร เช่น ใบอ่อน
ของงตน้ ไม้ ลูกไมท้ ่รี ่วงตามพ้ืนดนิ หรอื แม้
กระทง่ั แมลง .

กระรอกบนิสัตวเ์ลีย้ งลูกดว้ ยนม | 217
แกม้ สแี ดง

Red-cheeked Flying
Squirrel

ลกั ษณะ

มีความยาวลำ�ตวั ประมาณ 14 เซนตเิ มตร
สว่ นหางยาวประมาณ 13 เซนตเิ มตร ลำ�ตวั ดา้ น
บนสีนำ้ �ตาลแกมส้ม กระหม่อมและหน้าผากมีสี
สดกวา่ ลำ�ตวั ดา้ นบน แผน่ หนงั สำ�หรบั การรอ่ นและ
สว่ นขามสี นี ้ำ�ตาลเขม้ ขอบของแผน่ หนงั สขี าวครมี
สว่ นคอและลำ�ตัวด้านลา่ ง สคี รมี แกมเหลือง โคน
หางสีนำ้ �ตาลสม้ หางสนี ้ำ�ตาลและแผแ่ บน

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

อาศัยอยู่บนต้นไม้ และออกหากินในช่วง
เวลากลางคืน ช่วงกลางวันจะพักอยู่ในโพรงท่ี
ต้นไม้ ไมส่ งู มากนัก มกั ไตต่ ามตน้ ไมแ้ ละร่อนตวั
ไปยงั จดุ ทมี่ อี าหารหรอื ตอ้ งการไป อาหารเชน่ ผล
ขนนุ ผลไมต้ า่ งๆ ยอดไมอ้ อ่ น เมลด็ พืช เปน็ ต้น

การแพร่กระจาย

แนวป่าตะวันตกตั้งแต่ภาคเหนือจนถึงภาค
ใต้ และภาคตะวันออกเฉยี งใต้ของประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลน้อยทีส่ ุด (LC) โดยบญั ชีแดง
ของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ไดถ้ ูกจัดสถานะ โดย Thailand red data และ
จดั เป็นสตั วป์ า่ คมุ้ ครอง

ชอ่ื ไทย : กระรอกบนิ แกม้ สีแดง .
ช่ือสามัญ : Red-cheeked Flying Squirrel
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Hylopetes spadiceus

218 | สตั วเ์ ลีย้ งลกู ด้วยนม

กระรอกบนิ จวิ๋ ท้องขาว

White-bellied Flyiing Squirrel

ลกั ษณะ ชื่อไทย : กระรอกบินจิ๋วทอ้ งขาว
ชือ่ สามญั : White-bellied Flyiing Squirrel
เป็นกระรอกบินขนาดเล็ก ลำ�ตัวด้าน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Petinomys setosus
บนมีสีน้ำ�ตาลเข้ม โดยปลายขนมีสีขาวทำ�ให้
เหน็ ว่ามสี เี ทาแซม ขอบหนังที่ใช้รอ่ นมสี ีดำ� หู
สเี ทา ลำ�ตัวดา้ นล่างสีขาว ขนตงั้ แตโ่ คนหาง
มีสีดำ� แต่ปลายหางสีขาว มีขนาดหัวและลำ�
ตวั 10-13 เซนตเิ มตร หางขนาด 9-11
เซนติเมตร

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

อาศัยอยู่บนต้นไม้ คล้ายกับกระรอก
บอนแกม้ แดง บางครง้ั อยรู่ ว่ มกนั และออก
หากินในช่วงเวลากลางคืน ช่วงกลางวันจะ
พักอยู่ในโพรงท่ีต้นไม้ ไม่สูงมากนัก มักไต่
ตามตน้ ไมแ้ ละรอ่ นตวั ไปยงั จดุ ทม่ี อี าหารหรอื
ต้องการไป อาหารเชน่ ผลขนุน ผลไมต้ ่างๆ
ยอดไม้ออ่ น เมลด็ พืช เปน็ ตน้

การแพร่กระจาย

ภาคเหนือ ภาคใต้ ปา่ สะแกราชและเขต
อุทยานธรณีโคราช

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่สี ุด (LC) โดยบญั ชี
แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะ โดย Thailand
red data และไมถ่ กู จัดเปน็ สตั ว์ป่าค้มุ ครอง

.

สัตว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนม | 219

กระรอกบนิ เล็กแก้มขาว

Phayre’s Flying Squirrel

ลกั ษณะ สถานภาพ
มีขนาดของส่วนหัวและลำ�ตัว 17-19.5 สถานะกังวลน้อยทีส่ ดุ (LC) โดยบัญชแี ดง
เซนติเมตร ส่วนหางยาว 13.5-17 เซนติเมตร ของสหภาพเพ่อื การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ลำ�ตัวด้านบนและหางมีสีเทาแก้มน้ำ�ตาล แผ่นหนัง ไดถ้ กู จดั สถานะ โดย Thailand red data และ
สำ�หรบั ใช้ร่อนมีสีนำ้ �ตาล ลำ�ตัวดา้ นลา่ งสขี าวมแี ต้ม เปน็ สตั ว์ป่าคุ้มครอง
สเี หลือง หสู ีเทา ขนบรเิ วณแก้มมีสีขาว

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
ช่วงกลางวันจะพักอยู่ในโพรงท่ีต้นไม้ ออก

หากนิ ในชว่ งเวลากลางคนื อาหารไดแ้ ก่ ผลขนนุ ผล
ไมต้ า่ ง ๆ ยอดไมอ้ อ่ น เมลด็ พชื เปน็ ตน้

การแพร่กระจาย ชอ่ื ไทย : กระรอกบินเล็กแกม้ ขาว .
แนวป่าตะวนั ตกเหนอื คอคอดกระ ภาคเหนือ ชอื่ สามัญ : Phayre’s Flying Squirrel
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Hylopetes phayrei
และบางส่วนของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

220 | สัตว์เลย้ี งลูกด้วยนม

กระรอกหลากสี

Callosciurus finlaysonii bocourti

พบมากบริเวณวัดปา่ ภผู าสงู ใขเขตอุทยานธรณีโคราช

สตั วเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนม | 221

222 | สตั ว์เล้ียงลกู ดว้ ยนม

กระแตเหนอื

Northern Treeshrew

ลักษณะ
ลำ�ตัวและส่วนหัวมีความยาว 16-20
เซนติเมตร สว่ นหางยาว 15-20 เซนติเมตร ชื่อไทย : กระแตเหนอื
หางเป็นพู่เรียวยาว หางยาวเท่ากับส่วนหัวรวม ช่ือสามญั : Northern Treeshrew
กบั ลำ�ตวั ไหลม่ ีแถบสีขาวซดี มีขนสีน้ำ�ตาลอ่อน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tupaia belangeri

มหี วั นม 3 คู่ มลี กั ษณะทค่ี ลา้ ยกระแตใตแ้ ตส่ ว่ น สถานภาพ
หัวและลำ�ตวั มขี นาดเล็กกว่า สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ุด (LC) โดยบญั ชี

แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะ โดย Thailand red
ส่วนใหญ่อาศัยบนพ้ืนดิน หรือใต้พุ่มไม้ data และไม่ถกู จดั เปน็ สัตวป์ า่ คุ้มครอง
เป็นสัตว์หวงถ่ิน ใช้ต่อมกลิ่นทำ�เครื่องหมาย
บอกอาณาเขต

การแพรก่ ระจาย .

ในประเทศไทยสามารถพบไดเ้ หนอื คอคอด
กระข้ึนไป

สตั วเ์ ลี้ยงลกู ด้วยนม | 223

กระรอกหลากสี

Variable Squirrel

ลกั ษณะ
เป็นกระรอกขนาดกลางซ่ึงมีสีขนที่มีสันหลาก

หลายมาก มีตั้งแต่สีขาว สเี ทา สีดำ�ไปจนถงึ สีแดง บาง
ตัวอาจมหี ลายสีในตวั เดยี วกนั C. f. bocourti รูป
แบบสขี นลำ�ตัว3 แบบ คือ รูปแบบที่ 1 มขี นสคี รีม
ตลอดทงั้ ตวั รปู แบบท่ี 2 ขนท่หี ลงั สีเทา ขนทอ้ งมีสี
ครีมขนหางดา้ นบนมสี เี ทาด้านล่างมสี คี รมี และรูปแบบ
ที่ 3 มขี นหลงั สเี ทา ขนทอ้ งมีสีครมี ขนหางมสี คี รีม
โดยกระรอกหลากสชี นิดพนั ธ์ยุ อ่ ยท้ัง 3 แบบนี้อาศยั
อยู่ร่วมในพ้ืนทเ่ี ดียวกัน

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
เป็นกระรอกที่ปรับตัวได้ดี ปรับตัวได้ดีและพบ

อาศัยอยู่ในเมือง มักออกหากินในช่วงเวลากลางวัน
พบตามตน้ ไม้ทีผ่ ลสุก
การแพร่กระจาย

Callosciurus finlaysonii bocourti
แพร่กระจายทางภาคเหนือด้านตะวันออก และรอยต่อ
ระหว่างภาคกลางกับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ุด (LC) โดยบญั ชีแดงของ
สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั
สถานะ โดย Thailand red data และจัดเป็นสัตว์
ป่าคุ้มครองสน้ิ สุด

. . . ชื่อไทย : กระรอกหลากสี
.... . . . ชื่อสามญั : Variable Squirrell
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Callosciurus finlaysonii bocourti

224 | สัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยนม

เกง้

Common Barking Deer

ลกั ษณะ การแพร่กระจาย
มขี นาดความยาวลำ�ตวั และสว่ นหวั 90-105 เซนตเิ มตร สว่ น สามารถพบไดท้ ่ัวทุกภาคของประเทศไทย
หางยาว 17-19 เซนติเมตร ลำ�ตัวสีน้ำ�ตาลถึงนำ้ �ตาลแดง หรือ
นำ้ �ตาลแกมเหลือง ขนต้ังแต่หลังหูไปจนถึงสันคอมีสีดำ�เป็นแนวยาว สถานภาพ
เรือ่ ยลงไปจนถงึ จมูก หางดา้ นบนมีสีน้ำ�ตาล ด้านลา่ งมีสีขาว มเี ขา
ขนาดเลก็ ตั้งอยู่บนกา้ นเขายาว สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจัดสถานะ โดย โดย Thailand
red data และจดั เป็นสตั วป์ ่าคมุ้ ครอง

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม
มกั ออกหากินใบไม้ หรอื หญา้ ออ่ น ในช่วงเวลากลางวันตาม
ลำ�พงั

สตั วเ์ ล้ยี งลูกด้วยนม | 225

ช่ือไทย : เก้ง อีเก้ง
ช่อื สามญั : Common Barking Deer
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Muntiacus muntjak

.

226 | สัตว์เล้ยี งลูกด้วยนม

ค้างคาวหน้ายักษ์สามหลบื

Intermediate Roundleaf Bat

ลกั ษณะ
มีขนาดความยาวของลำ�ตัวและส่วนหัว 6-8

เซนติเมตร ส่วนหางยาว 3-4.5 เซนตเิ มตร ปลายแขน
ยาว 5.2-6.5 เซนตเิ มตร ความยาวแขง้ 2.45-2.78
เซนตเิ มตร มสี ีที่ปกคลมุ ลำ�ตวั 2 แบบ คือ สนี ำ้ �ตาลเขม้
และสนี ำ้ �ตาลแดง กระหมอ่ มและหวั สว่ นทา้ ยสนี ำ้ �ตาลเข้ม
ช่วงไหล่และท้ายทอยจะมีสีจางกว่าบริเวณอ่ืนๆ ส่วน
ท้องมสี ีเทาอ่อน หู แผน่ จูมก และปีกมสี ีนำ้ �ตาลเข้ม สว่ น
คอมีขนบาง ส่วนใบหูใหญ่เป็นรูปสามเหลี่ยม ไม่มีติ่งหู
(tragus) แผ่นจมูกสว่ นหน้า (anterior noseleaf) มี
รูปร่างคล้ายกับรูปเกือกม้า ด้านข้างของแผ่นจมูกส่วน
หน้ามีรอยหยกั 3 หยัก
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

อาศยั อยู่ในถ้ำ� ศาลา หรือเจดีย์รา้ ง โดยเป็นค้าง
คางกินแมลง ซ่ึงใช้ประสาทรับเสียงในการหาตัวแมลง
ค้างคาวหน้ายักษ์เป็นกลุ่มที่บินค่อนข้างต่ำ�กว่าค้างคาว
ชนิดอื่น ออกหากนิ ในช่วงเยน็ กอ่ นพระอาทติ ย์ตก มถี ุง
frontal sac ถงุ เลก็ ๆ อยู่บนหนา้ ผาก ถุงน้จี ะกระจาย
สารทีม่ ีกลนิ่ รุนแรงมาก อาจเพือ่ การส่อื สาร หรือดงึ ดดู
เพศตรงข้าม
การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพ่อื การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจดั
สถานะโดย Thailand red data และถูกจัดเป็นสตั ว์
ปา่ คุ้มครอง

. ชอ่ื ไทย : ค้างคาวหนา้ ยกั ษ์สามหลบื

ชื่อสามัญ : Intermediate Roundleaf Bat
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Hipposideros larvatus

สตั วเ์ ลยี้ งลูกดว้ ยนม | 227

พงั พอนธรรมดา
Common Mongoose
ลกั ษณะ แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
มี ข น า ด ค ว า ม ย า ว ข อ ง ลำ� ตั ว แ ล ะ ส่ ว น อาศัยอยู่ในถ้ำ� ศาลา หรือเจดยี ร์ ้าง โดย
หัว 6-8 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 3-4.5 เป็นค้างคางกินแมลง ซ่ึงใช้ประสาทรับเสียงใน
เซนตเิ มตร ปลายแขนยาว 5.2-6.5 เซนตเิ มตร การหาตวั แมลง คา้ งคาวหน้ายกั ษ์เปน็ กลุม่ ทบี่ นิ
ความยาวแขง้ 2.45-2.78 เซนตเิ มตร มีสีที่ ค่อนข้างตำ่ �กว่าค้างคาวชนิดอื่น ออกหากินใน
ปกคลุมลำ�ตวั 2 แบบ คอื สนี ำ้ �ตาลเขม้ และสี ช่วงเยน็ ก่อนพระอาทิตยต์ ก มถี งุ frontal sac
นำ้ �ตาลแดง กระหม่อมและหัวส่วนท้ายสีน้ำ�ตาล ถงุ เลก็ ๆ อยบู่ นหนา้ ผาก ถงุ นจ้ี ะกระจายสารทมี่ ี
เข้ม ช่วงไหล่และท้ายทอยจะมีสีจางกว่าบริเวณ กล่ินรนุ แรงมาก อาจเพ่ือการสื่อสาร หรือดงึ ดดู
อ่นื ๆ สว่ นทอ้ งมสี ีเทาอ่อน หู แผ่นจมู ก และปกี เพศตรงขา้ ม
มีสีนำ้ �ตาลเข้ม ส่วนคอมีขนบาง ส่วนใบหูใหญ่
เป็นรูปสามเหลี่ยม ไมม่ ีตง่ิ หู (tragus) แผ่นจมกู การแพรก่ ระจาย
สว่ นหนา้ (anterior noseleaf) มรี ปู รา่ งคลา้ ย
สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย

กบั รปู เกือกมา้ ดา้ นข้างของแผ่นจมกู ส่วนหนา้ มี สถานภาพ
รอยหยัก 3 หยกั สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
ของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data
และถกู จัดเป็นสัตว์ปา่ คมุ้ ครอง

ช่อื ไทย : พังพอนธรรมดา พงั พอนเล็ก ...
ชื่อสามญั : Common Mongoose
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Herpestes javanicus

228 | สตั วเ์ ล้ยี งลกู ดว้ ยนม

หมาจิ้งจอก

Asiatic Jackal

ลกั ษณะ

มขี นาดความยาวลำ�ตวั และสว่ นหวั 60-75
เซนตเิ มตร สว่ นหางยาว 20-25 เซนตเิ มตร โดย
มนี ำ้ �หนกั ประมาณ 8-9 กโิ ลกรมั มหี างสน้ั ปลาย
หางสีดำ� และในตัวเมียมีเตา้ นม 10 คู่ มลี กั ษณะ
ทีค่ ลา้ ยกับหมาใน แตม่ ขี นาดทเี่ ล็กกว่า ทง้ั ยังมสี ี
ลำ�ตวั ท่แี ตกตา่ งกัน โดยหมาจิ้งจอกจะมสี นี ำ้ �ตาล
อมเทา ส่วนหมาในจะมีสีแดงทั้งตวั ส่วนหนา้ ยน่ื
ยาวของหมาจิง้ จอกไม่มสี ีคล้ำ�เหมอื นกันหมาใน

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

มักออกหากินในช่วงเวลากลางคืน อาหาร
ได้แก่ สัตวข์ นาดเลก็ นก หนู แย้ กระต่ายปา่ ไป
จนถงึ ซากสตั ว์ สามารถผสมพนั ธไุ์ ดท้ งั้ ปี ตกลกู
ครั้งละ 4-5 ตัว โดยหมาจิ้งจอกมีอายุยืน
มากกวา่ 12 ปี

การแพร่กระจาย ช่ือไทย : หมาจ้งิ จอก หมาจอก .
ชื่อสามญั : Asiatic Jackal
สามารถพบไดท้ ั่วทกุ ภาคของประเทศไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Canis aureus

สถานภาพ

สถานะกังวลนอ้ ยท่สี ดุ (LC) โดยบัญชแี ดง
ของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) มี
แนวโน้มจะสญู พันธุ์ (VU) โดย Thailand red
data และจดั เป็นสตั วป์ ่าคุ้มครอง

สัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยนม | 229

หมปู า่

Eurasian Wild Pig

ลักษณะ การแพร่กระจาย
มีลกั ษณะท่ีคลา้ ยกบั หมูบ้าน หวั และลำ�ตัว สามารถพบได้ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย
ยาว 1.2-1.5 เมตร รปู ร่างปราดเปรยี ว หัว
ใหญ่ คอส้ัน ขนสีน้ำ�ตาลหรือสีออกดำ�หยาบ สถานภาพ
ปกคลมุ ลำ�ตัว และมีแผงขนแขง็ สดี ำ�ข้ึนตามแนว
สันหลังชีย้ าวไปทางดา้ นหลงั สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดง
ของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN)
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data
และไม่ถูกจัดเปน็ สตั วป์ ่าค้มุ ครอง
มกั หากนิ เปน็ ฝงู โดยกนิ ทง้ั พชื และสตั วเ์ ปน็
อาหาร แตอ่ าหารหลกั คอื หวั และรากพชื โดยขดุ
คยุ้ หากินตามพน้ื ป่า ใช้กงิ่ ไม้และใบไม้วางทับกัน
เปน็ เนินเตี้ย ๆ ทำ�รัง ใชส้ ำ�หรบั นอนและเลย้ี งลูก

ชือ่ ไทย : หมปู ่า .
ชือ่ สามญั : Eurasian Wild Pig
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Sus scrofa

230 | ดัชนีชื่อไทย

ดชั นีชอ่ื ไทย

กบบวั 26 งสู ิงอ้อย 78 นกกางเขนดง 132 นกหัวขวานด่างอกลายจดุ 190
กบหงอน 36 งหู มอก 79 นกกางเขนบา้ น 133 นกอ้ายง่วั 191
กบหนอง 21 งหู ลาม 82 นกกาน้ำ� ปากยาว 134 นกอีกา 192
กบอ่องเลก็ 18 งูหัวกะโหลกไทย 88 นกกาน�้ำเล็ก 135 นกอีโกง้ 193
กระจ้อน 216 งูเหลือม 72 นกกาแวน 136 นกอแี พรดแถบอกดำ� 194
กระแตเหนอื 222 งูเหา่ ดอกจัน 96 นกกาเหวา่ 137 นกอลี ำ�้ 195
กระรอกบินแกม้ สแี ดง 217 งูเห่าตาลาน 78 นกกิ้งโครงคอดำ� 138 นกอีวาบตั๊กแตน 196
กระรอกบนิ จิว๋ ทอ้ งขาว 218 งเู หา่ ไทย 96 นกกนิ ปลีคอสนี ำ้� ตาล 139 นกอีเสอื สนี �้ำตาล 197
กระรอกบนิ เล็กแกม้ ขาว 219 งเู ห่านา 96 นกกนิ ปลีดำ�มว่ ง 140 นกอ้มุ บาตรหนา้ ขาวหลังดำ� 198
กระรอกหลากสี 223 งเู ห่าพน่ พษิ สยาม 95 นกกินปลีอกเหลือง 141 นกเอย้ี งสารกิ า 199
กบ๊ั แก 55 งเู ห่าสนี วล 96 นกแกว้ หวั แพร 143 นกเอยี้ งหงอน 200
กง้ิ ก่าแกว้ เหนอื 42 งูเหา่ สพุ รรณ 96 นกขม้ินทา้ ยทอยดำ� 144 นกแอ่นท่งุ ใหญ 201
กงิ้ กา่ คอแดง 46 งเู ห่าหมอ้ 96 นกขมิ้นน้อยธรรมดา 145 นกแอน่ พง 202
กิ้งก่าดงคอสฟี ้า 45 จะกวด 62 นกเขาชวา 146 นกฮูก 202
กิ้งก่าบินปกี ส้ม 47 จงั กวด 62 นกเขาไฟ 147 บองหลา 102
กิ้งก่าสวน 46 จง้ิ จกดินไทย 49 นกแขกเตา้ 142 ปลาบา้ 16
กิ้งก่าหวั แดง 46 จง้ิ จกดินสยาม 49 นกแขวก 148 ปลาพวง 16
กิ้งก่าหัวสีฟ้า 45 จง้ิ จกบา้ นหางแบน 54 นกคุ่มอืดอกลาย 149 ปลาโพง 16
เก้ง 225 จง้ิ จกบ้านหางหนาม 53 นกเค้าแมว 150 ปลาสุลต่าน 16
ไก่ปา่ 110 จิ้งจกบา้ นหางอว้ น 51 นกเคา้ โมง 150 ปลาอ้ายบ้า 16
ไกฟ่ า้ พญาลอ 110 จิ้งจกหินสีจาง 51 นกจบั แมลงจกุ ดำ� 151 ปาดจิว๋ ลายแต้ม 31
เขียดงเู กาะเตา่ 33 จิ้งเหลนดนิ จุดดำ� 61 นกจบั แมลงสีน�ำ้ ตาล 152 ปาดบ้าน 41
เขยี ดจะนา 18 จิ้งเหลนดินลายจดุ 61 นกจบั แมลงหัวเทา 153 เป็ดคบั แค 204
เขยี ดตะปาดเหนอื 32 จง้ิ เหลนบ้าน 57 นกจาบคาเล็ก 154 เป็ดแดง 205
เขียดทราย 18 จง้ิ เหลนเรียวโคราช 58 นกจาบคาหัวสีสม้ 155 พงั พอนธรรมดา 227
เขียดน้�ำนอง 20 จง้ิ เหลนเรยี วท้องเหลอื ง 60 นกจาบดินอกลาย 156 พงั พอนเลก็ 227
คางคกบ้าน 19 จง้ิ เหลนหลากลาย 56 นกจาบฝนปีกแดง 157 แย้เหนือ 48
คา้ งคาวหนา้ ยักษส์ ามหลืบ 226 ต๊กโต 55 นกแซงแซงหางปลา 158 แลน 62
งกู น้ ขบ 84 ตะกวด 62 นกแซงแซวสีเทา 158 สิงหัวขาบ 102
งกู ะปะ 98 ตกุ๊ แก 55 นกแซงแซวหงอนขน 160 หมาจอก 228
งกู ินทากจุดขาว 77 ตุ๊กแกบ้าน 55 นกแซงแซวหางบ่วงใหญ 161 หมาจ้ิงจอก 228
งกู ินทากจุดดำ� 77 ต๊กุ แกป่าดงพญาเย็น 50 นกเด้าดนิ ทุ่งเลก็ 162 หมูปา่ 229
งขู วา้ งฆ้อน 98 ตุ๊กแกป่าตะวันออก 52 นกตะขาบทงุ่ 163 เหย่ยี วขาว 206
งเู ขยี วปากจ้ิงจก 67 เตา่ นา 109 นกตีทอง 164 เหยีย่ วแดง 207
งเู ขยี วพระอนิ ทร 64 เตา่ เพก็ 105 นกตนี เทยี น 165 เหยย่ี วนกกระจอกเลก็ 208
งเู ขียวหวั จ้ิงจกปา่ 67 เตา่ หบั 106 นกแต้วแล้วธรรมดา 166 เหยย่ี วนกเขาชคิ รา 209
งเู ขียวหางไหม้ตาโต 101 เต่าเหลือง 105 นกนางแอน่ บ้าน 167 เหยย่ี วนกเขาหงอน 210
งเู ขียวหางไหมท้ อ้ งเหลอื ง 93 นกกระจอกตาล 112 นกบั้งรอกใหญ่ 168 เหยี่ยวปกี แดง 211
งงู อดเลย 74 นกกระจอกบ้าน 113 นกปรอดคอลาย 169 เหยยี่ วผงึ้ 212
งูจงอาง 102 นกกระจอกใหญ 114 นกปรอดทอง 170 เหยีย่ วออสเปร 214
งทู บั ทางขาว 87 นกกระจาบทอง 115 นกปรอดหวั สเี ขม่า 171 เห่าดง 102
งทู บั สมิงคลา 87 นกกระจาบธรรมดา่ 116 นกปรอดเหลอื งหวั จกุ 172 เหี้ย 63
งทู างมะพร้าว 66 นกกระจบิ ธรรมดา 117 นกปากหา่ ง 173 เห้ยี ลายดอก 63
งูทางมะพร้าวลายขดี 66 นกกระจบิ หญ้าสนี ้�ำตาล 118 นกเปด็ ผเี ลก็ 174 อเี ก้ง 225
งูทำ�ทาน 87 นกกระจิบหญ้าสเี รยี บ 119 นกพญาไฟเล็ก 175 องึ่ ขาคำ� 26
งูปล้องเงนิ 87 นกกระต๊ิดขห้ี ม 120 นกพริ าบป่า 176 อึง่ ข้างดำ� 22
งูปลอ้ งฉนวนลาว 70 นกกระต๊ิดตะโพกขาว 121 นกโพระดกธรรมดา 176 อึ่งแดง 38
งูปล้องฉนวนสร้อยเหลือง 69 นกกระต๊ิดสีอฐิ 122 นกยอดหญา้ สีดำ� 178 อึง่ น�ำ้ เต้า 40
งูปลงิ 99 นกกระแตแตแ้ ว๊ด 123 นกยางกรอกพันธ์จุ นี 179 อึง่ ปากขวด 39
งูปะบุก 98 นกกระเบอื้ งผา 124 นกยางควาย 180 อง่ึ ลายเลอะ 22
งูปแี่ กว้ ลายแตม้ 76 นกกระสาแดง 125 นกยางดำ� 181 อง่ึ หลงั จดุ 25
งูลายสาบคอแดง 83 นกกวัก 126 นกยางโทนใหญ่ 182 อง่ึ อ่างก้นขีด 29
งูสายมา่ นธรรมดา 68, 70 นกกะเตน็ น้อยธรรมดา 127 นกยางเปีย 183 อ่ึงอา่ งบ้าน 29
งูสายมา่ นพระอนิ ทร 68, 70 นกกะเตน็ อกขาว 129 นกยางไฟหวั ดำ� 186
งูสงิ คาน 89 นกกะปูดใหญ่ 129 นกยงู ไทย 187
งูสงิ ธรรมดา 78 นกกะรางหวั ขวาน 131 นกสีชมพูสวน 188
งูสิงหางลาย 89 นกกะรางหวั หงอก 131 นกหวั ขวานด่างแคระ 188

ดัชนีชือ่ วทิ ยาศาสตร์ | 231

ดัชนีช่อื วทิ ยาศาสตร์

A Dendrelaphis pictus 68, 70 Hypsiscopus plumbea 99 Naja siamensis 95 S
Dendrocopos analis 190 Nettapus coromandelianus
Accipiter badius 209 Dendrocopos canicapillus I Saxicola caprata 178
Accipiter trivirgatus 210 204 Scincella melanosticta 61
Accipiter virgatus 208 188 Ichthyophis kohtaoensis 33 Nycticorax nycticorax 148 Streptopelia tranquebarica
Acridotheres grandis 200 Dendrocygna javanica 205 Indotestudo elongata 105
Acridotheres tristis 199 Dicaeum cruentatum 188 Ixobrychus sinensis 186 O 147
Aegithina tiphia 145 Dicrurus hottentottus 160 Sus scrofa 229
Ahaetulla prasina 67 Dicrurus leucophaeus J Occidozyga lima 18 Sylvirana nigrovittata 18
Alcedo atthis 127 Occidozyga martensii 20
Amaurornis phoenicurus leucogenis 158 K Oligodon deuvei 74 T
Dicrurus macrocercus 158 Oligodon fasciolatus 76
126 Dicrurus paradiseus 161 Kaloula mediolineata 29 Ophiophagus hannah 102 Tachybaptus ruficollis 174
Anastomus oscitans 173 Dixonius siamensis 49 Kaloula pulchra 29 Oriolus chinensis 144 Trimeresurus albolabris 93
Anhinga melanogaster 191 Draco maculatus 47 Orthotomus sutorius 117 Trimeresurus macrops 101
Anthreptes malacensis 139 Dupetor flavicollis 181 L Otus lettia 202 Tupaia belangeri 222
Anthus rufulus 162 Duttaphrynus melanostictus Turnix suscitator 149
Ardea modesta 182 Lanius cristatus 197 P
Ardea purpurea 125 19 Leiolepis reevesii 48 U
Ardeola bacchus 179 Leptobarbus hoeveni 16 Pandion haliaetus 214
Artamus fuscus 202 E Limnonectes gyldenstolpei Pareas margaritophorus 77 Upupa epops 131
Passer domesticus 114
B Egretta garzetta 183 36 Passer flaveolus 112 V
Elanus caeruleus 206 Lonchura atricapilla 122 Passer montanus 113
Bubulcus coromandus 180 Eudynamys scolopaceus 137 Lonchura punctulata 120 Pavo muticus 187 Vanellus indicus 123
Bungarus candidus 87 Eutropis macularia 56 Lonchura striata 121 Pellorneum albiventre 156 Varanus bengalensis 62
Butastur liventer 211 Eutropis multifasciatus 57 Lophura diardi 110 Pericrocotus cinnamomeus
Lycodon capucinus 69 W
C F Lycodon Laoensis 70 175
Lygosoma bowringii 60 Pernis ptilorhyncus 212 X
Cacomantis merulinus 196 Fejervarya limnocharis 21 Lygosoma koratense 58 Petinomys setosus 218
Callosciurus finlaysonii Phalacrocorax fuscicollis Y
G M
bocourti 223 134, 136 Z
Calloselasma rhodostoma 98 Gallinula chloropus 195 Malayemys macrocephala Pitta moluccensis 166
Calotes emma alticristatus Gallus gallus 110 109 Ploceus hypoxanthus 115
Garrulax leucolophus 131 Ploceus philippinus 116
42 Gehyra multilata 51 Malayopython reticulatus 72 Polypedates leucomystax 41
Calotes mystaceus 45 Gekko gecko 55 Megalaima haemacephala Polypedates mutus 32
Calotes versicolor 46 Geopelia striata 146 Porphyrio porphyrio 193
Canis aureus 228 Glareola maldivarum 201 164 Prinia inornata 119
Centropus sinensis 129 Glaucidium cuculoides 150 Megalaima lineata 176 Prinia polychroa 118
Chiromantis nongkhorensis Glyphoglossus guttulatus 38 Menetes berdmorei Psammodynastes
Glyphoglossus molossus 39
31 Gracupica nigricollis 138 mouhotei 216 pulverulentus 79
Chrysopelea ornata 64 Merops leschenaulti 155, Psittacula alexandri 142
Cinnyris asiatica 140 H Psittacula roseata 143
Cinnyris jugularis 141 165 Ptyas korros 78
Columba livia 176 Halcyon smyrnensis 129 Merops orientalis 154 Ptyas mucosa 89
Copsychus malabaricus 132 Haliastur indus 207 Microcarbo niger 135 Pycnonotus atriceps 170
Copsychus saularis 133 Hemidactylus frenatus 53 Microhyla butleri 22 Pycnonotus aurigaster 171
Coracias benghalensis 163 Hemidactylus platyurus 54 Microhyla fissipes 40 Pycnonotus finlaysoni 169
Corvus macrorhynchos 192 Herpestes javanicus 227 Microhyla heymonsi 22 Pycnonotus flaviventris 172
Crypsirina temia 136 Himantopus himantopus Microhyla pulchra 26 Python bivittatus 82
Culicicapa ceylonensis 153 Micryletta inornata 25
Cuora amboinensis 106 165 Mirafra erythrocephala 157 Q
Cylindrophis ruffus 84 Hipposideros larvatus 226 Monticola solitarius 124
Cyrtodactylus angularis 50 Hirundo rustica 167 Motacilla alba leucopsis 198 R
Cyrtodactylus intermedius Homalopsis mereljcoxi 88 Muntiacus muntjak 225
Hylarana erythraea 26 Muscicapa dauurica 152 Rhabdophis subminiatus 83
52, 55 Hylopetes phayrei 219 Rhipidura javanica 194
Hylopetes spadiceus 217 N Rhopodytes tristis 168
D Hypothymis azurea 151
Naja kaouthia 96

บรรณานุกรม

จารจุ ินต์ นภีตะภฏั , กานต์ เลขะกลุ และ วชั ระสงวนสมบัต.ิ 2555. คมู่ ือศึกษา ธรรมชาติหมอ บญุ สง่ เลขะกุล “นกในเมอื งไทย”. ดา่ น
สุทธาการพมิ พ์ จำ�กดั , กรงุ เทพฯ.

ธัญญา จ่ันอาจ. 2546. คู่มอื สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบกในเมืองไทย. ด่านสุทธาการพมิ พ์, กรุงเทพฯ.
นเิ วช นาดี และ ลักขณา ไทยกมล. 2545. สตั ว์เลีย้ งลูกดว้ ยนม ในป่าสะแกราช. สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่ง

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
Biodiversity-based economy office (Public organization). 2016. Amphibians of Thailand. Biodiversi-

ty-based economy office (Public organization), Bangkok.
Chan-ard, T., Parr, J.W.K. and Nabhitabhata, J. 2015. A field guide to the reptiles of Thailand. Oxford

university press, USA.
Das, I. 2012. A naturalist’s Guide to the Snakes of Thailand and Southeast Asia. John Beaufoy Pub-

lishing, UK.
Lai, F. and Olesen, B. 2016. A visual celebration of Borneo’s wildlife. Tuttle Publishing, North Claren-

don, Vermont, U.S.A.
Li. Y.D., Chuah, L.K. and Khee, L.T. 2017. A naturalist’s Guide to the birds of Singpore. John Beaufoy

Publishing, UK.
Li, Y.D. and Wen, L.B. 2016. The 100 Best Bird Watching Sites in Southeast Asia. John Beaufoy Pub-

lishing, UK.
Mattison, C. 2009. 300 Frogs: A Visual Reference to Frogs and Toads from Around the World. Firefly

Books, U.S.A.
Myers, S. 2016. Wildlife of Southeast Asia. Princeton university press, UK.
Phillipps, Q. and Phillipps, K. 2015. Phillipps’ Field Guide to the Mammals of Borneo and Their Ecolo-

gy: Sabah, Sarawak, Brunei, and Kalimantan. John Beaufoy Publishing, UK.
Nabhitabhata, J. and Chan-ard, T. 2005. Thailand red data: Mammals, Reptiles and Amphibians. Office

of natural resources and environmental policy and planning, Bangkok, Thailand.
Robson, C. 2008. A Field Guide to the Birds of South-East Asia. New Holland, UK.
Sanguansombat W., 2005. Thailand Red Data : Birds. Office of Natural Resources and Environmental

Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 158 p.
Shepherd, C.R. and Shepherd, L. A. 2012. A naturalist’s Guide to the mammals of Thailand and

Southeast Asia. John Beaufoy Publishing, UK.

Strange, M. 2014. A Photographic Guide to the Birds of Southeast Asia: Including the Philippines and
Borneo. Tuttle Publishing, North Clarendon, Vermont, U.S.A.

Vidthayanon C., 2005. Thailand Red Data : Fishes. Office of Natural Resources and Environmental
Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 108 p.


Click to View FlipBook Version