The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khorat Geopark, 2020-06-07 23:11:04

Wildlife of Khorat Geopark

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Keywords: Khoratgeopark,Wildlife,Animal,Nature

นก | 151

นกจบั แมลงจกุ ดำ�

Black-naped Monarch

ลักษณะ
มีหางยาว ปากกวา้ งและแบน ปากสีฟ้า โคนปากดา้ นบนมีขนสีดำ� ขาสี

ดำ� ตัวผู้ ขนตวั ด้านบน ปีก หาง และอก มีสฟี ้าเขม้ ขนด้านทอ้ งสีขาว มีแถบ
สดี ำ�พาดทีค่ อดา้ นหนา้ ทา้ ยทอยมหี งอนส้นั สดี ำ� ตัวเมยี หัวสีฟ้าเขม้ ปีกและ
หางสเี ทาหมน่ ไมม่ หี งอนสดี ำ� และไมม่ แี ถบดำ�คาดทค่ี อดา้ นหนา้ ดา้ นทอ้ งสขี าว
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

ปา่ ดบิ ปา่ โปรง่ ป่าชายเลน พบได้ง่ายในแหล่งอาศยั ทมี่ ีไม้ยืนตน้ ขนึ้ ไม่
น้อยจนเกินไป ในช่วงทำ�รังวางไข่และเลี้ยงลูก จะป้องกันอาณาเขตจากสัตว์
นกั ล่าและนกชนดิ เดยี วกนั ดว้ ยการขับไล่อยา่ งกา้ วร้าว เสยี วร้อง “วิด-วดิ -วิด”
5-7 พยางค์ หรือ รอ้ งเสียงแหบ “แอช่ -แอช่ ”

การแพร่กระจาย ▲ตัวเมยี
สามารถพบได้ทวั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ
สถานะกังวลนอ้ ยทสี่ ุด (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนุรกั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง

ชอื่ ไทย : นกจบั แมลงจุกดำ� .
ชือ่ สามญั : Black-naped Monarch .
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Hypothymis azurea
.

152 | นก

นกจับแมลงสนี ำ้ �ตาล

Asian Brown Flycatcher

ลกั ษณะ

ปากยาวตรง ปลายปากแหลมสี
ดำ� โคนปากล่างเหลืองหรือสีเน้ือ ขา
สีดำ� รอบดวงตาเป็นวงสีขาว หัวและ
ลำ�ตัวด้านบนสีนำ้ �ตาล หรือสีเทาแกม
นำ้ �ตาล ทบี่ รเิ วณปกี จะมสี ที เี่ ขม้ กวา่ ปกี
มแี ถบขาวแคบๆ ขอบขนทโ่ี คนปกี สขี าว
คอและด้านท้องขาวแกมเทา อกมีลาย
ขดี เลก็ ๆ สนี ้ำ�ตาลออ่ น หรือไมม่ ีลาย

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

ป่าโปร่ง สวนผลไม้ และสวน
สาธารณะ มักโฉบแมลงแล้วกลับมา
เกาะท่ีเดิมอยู่เสมอ หากมีนกจับแมลง
ตวั อ่นื อยูใ่ กล้ๆ ก็อาจมกี ารตอ่ ส้ขู บั ไล่
กนั เสียงร้อง “ชี ต-ิ ต-ิ ติ”

การแพร่กระจาย ชอ่ื ไทย : นกจบั แมลงสนี ำ้ �ตาล ..
ช่ือสามญั : Asian Brown Flycatcher
ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ท่ั ว ทุ ก ภ า ค ใ น ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Muscicapa dauurica
ประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยท่ีสุด (LC) โดย
บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะ
โดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตวป์ า่ คุม้ ครอง

นก | 153

นกจบั แมลงหวั เทา

Grey-headed

ลกั ษณะ

ปากสั้นแหลมสดี ำ� ขาสีแดง หัวมีหงอนส้นั ต้ังเปน็ สัน หัวและ
อกสเี ทา สตี ดั กบั ลำ�ตวั ดา้ นหลงั ปกี และหาง สเี หลอื งอมเขยี วมะกอก
ดา้ นท้องสเี หลอื งเขม้

แหล่งอาศยั และพฤติกรรม

ป่าดิบ ปา่ โปรง่ อาจพบไดท้ ่ปี ่าชายเลนในช่วงอพยพ เกาะก่ิงไม้
โดยลำ�ตวั ตั้งตรง ชอบเกาะกิง่ ไม้ในระดับสายตาหรือระดับกลางของ
ต้นไม้ มกั บินออกไปโฉบจบั แมลงแล้วกลบั มาเกาะทเ่ี ดิมซำ้ � เสียงรอ้ ง
“วิดตู-วิดตู-วิด” หรือ “วิดชู-วิดชู-วิด” ไพเราะและเป็นท่วงทำ�นอง
สงู ตำ่ �

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ั่วทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การ
อนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red
data และจัดเป็นสัตวป์ า่ ค้มุ ครอง

ชอ่ื ไทย : นกจับแมลงหวั เทา .
ชอ่ื สามญั : Grey-headed
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Culicicapa ceylonensis

154 | นก

นกจาบคาเล็ก

Little Green Bee-eater

ลักษณะ
รปู รางเพรียว หัวโต คอสัน้ ปากแหลมยาวสีดำ� และโคง งอลงเลก็ นอ ย

ขาสดี ำ� ตัวสีเขียวสด หัว ท้ายทอยไปจนถงึ กลางหลังสสี ้มแกมน้ำ�ตาล แถบตา
ดำ� มสี ฟี า้ ใตแ้ ถบตา คอดา้ นหนา้ มแี ถบดำ� หางคอ นขา งยาว ขนหางคกู ลางยาว
แหลมยาวเลยปลายขนหางคูอ ื่นออกไป

ชอื่ ไทย : นกจาบคาเล็ก
ชอ่ื สามญั : Little Green Bee-eater
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Merops orientalis

.
.

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
ออกหากนิ เปน็ ค่ใู นพ้ืนทโี่ ล่งแจ้ง สวนสาธารณะ และพน้ื ท่เี กษตรกรรม

มกั พบเปน คหู รอื เปน กลมุ เลก็ ๆ เกาะอยบู นยอดไมท ไี่ มส งู นกั หรอื ตามกง่ิ ไมแ หง
ๆ เพื่อ มองหาแมลงที่บนิ ผานไปมา เสียงร้องแหลม เล็ก รวั “ตร๊-ิ ตริ๊-ตริ๊”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สตั วป์ า่ คุม้ ครอง

นก | 155

นกจาบคาหัวสสี ม้

Chestnut-headed bee-eater

ลักษณะ
เปน็ นกกระจาบคาขนาดเลก็ ความยาวลำ�ตวั ประมาณ 23 เซนตเิ มตร

รปู รา่ งเพรียวสมส่วน มีปลายหางตัดตรง กระหม่อม ท้ายทอย และบริเวณ
หลงั ชว่ งบนสนี ้ำ�ตาลแดง ลำ�ตวั สีเขียว มีแถบขนาดเล็กสดี ำ�ลากจากโคนปาก
ผา่ นมา่ นตามาถงึ บรเิ วณขา้ งหวั คอสเี หลอื ง ชว่ งกลางคอมแี ตม้ สนี ำ้ �ตาลแดง
ต่อด้วยแถบสีดำ� ตะโพกสฟี ้า และขามสี ีน้ำ�ตาลคอ่ นขา้ งเขม้
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

ช่อื ไทย : นกจาบคาหวั สสี ม้ อาศยั อยบู่ รเิ วณปา่ โปรง่ มกั พบเกาะอยบู่ นกง่ิ ไมส้ งู ๆในทโี่ ลง่ เพอื่ มอง
ช่ือสามัญ : Chestnut-headed bee-eater หาแมลงโดยเฉพาะตามกงิ่ ไม้แหง้ ชอบอยรู่ วมกันเปน็ ฝูง เสยี งรอ้ ง “ชี-ว่ี ชี-ว่ี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Merops leschenaulti ช-ี วี่”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ั่วทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เป็นสัตว์ปา่ คุ้มครอง

..
.

156 | นก

นกจาบดินอกลาย

Spot-throated babbler

ลักษณะ
เปน็ นกขนาดเล็กมีความยาวลำ�ตวั ประมาณ 17 เซนติเมตร ตัวผู้และ

ตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ขนบริเวณหัวและท้ายทอยมีสีนำ้ �ตาลแดง เหนือ
ตามีขนสีขาวปนเหลืองอ่อน ข้ึนเป็นแนวยาวคล้ายค้ิว ขนบริเวณลำ�ตัวด้าน
บน ปกี และหางมสี ีนำ้ �ตาลแกมเหลอื ง บรเิ วณคอกบั อกมสี ีขาว ส่วนท้องมีสี
ขาวปนน้ำ�ตาลอ่อน โดยช่วงอกถึงช่วงท้องมีขนสีนำ้ �ตาลเข้มแซมข้ึนเป็นลาย
ขดี ในแนวยาวชดั เจน
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

ชื่อไทย : นกจาบดินอกลาย
ชอื่ สามัญ : Spot-throated babbler
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Pellorneum albiventre

. ..
.
ชอบอยู่กันเป็นคู่หรือฝูงเล็กๆ หากินด้วยการกระโดดบนพื้นดินในป่า
โปร่ง ชายปา่ ปา่ ไผ่ ปา่ ดบิ แล้ง ป่าดิบชนื้ ปา่ เบญจพรรณ ป่าดิบเขา และป่า
รนุ่ เสียงร้อง “วี-ว-ี้ เวี้ยว” หรอื เปน็ ทว่ งทำ�นองสงู ตำ่ � “ถุยททิ ทิ ิ ทิวิ ทิททิ ิ”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตว์ปา่ คุ้มครอง

นก | 157

นกจาบฝนปกี แดง

Indochinese bush lark

ลกั ษณะ

เป็นนกขนาดเล็ก มีความยาวลำ�ตัวประมาณ 14-15
เซนติเมตร มีปากแหลมหนา คิ้วสเี นือ้ ยาวไปตอ่ แถบขา้ งคอ หนา้
และขนคลมุ หมู สี นี ้ำ�ตาล หวั และลำ�ตวั ดา้ นบนมลี ายสดี ำ�สลบั สนี ้ำ�ตาล
คอและอกสขี าว มลี ายขดี สดี ำ�กระจาย บรเิ วณทอ้ งมสี เี นอื้ ปลายปกี
มขี นสนี ำ้ �ตาลแดงเปน็ ลักษณะเด่นขณะบิน ขาสีชมพู

ช่ือไทย : นกจาบฝนปีกแดง แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
ชื่อสามญั : Indochinese bush lark พบอาศัยอยู่บริเวณทุ่งหญ้า ป่าละเมาะ และพื้นที่
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Mirafra erythrocephala
เกษตรกรรม มักพบสง่ เสยี งรอ้ งแหลมบนกง่ิ ไม้โลง่ ๆ หรอื
สายไฟ และชอบบินสูงขึ้นไปแล้วกางปีกท้ิงตัวลงมาที่พ้ืน
เสียงรอ้ ง “ช้-ี ช่ี-ช-ี่ ชี-้ ชี”่ เมื่อตกใจจะบินหนไี ปไมไ่ กลนกั แล้ว
หมอบน่ิงกบั พืน้ รกๆ

การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคใตข้ องประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand
red data และจัดเปน็ สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

158 | นก ชือ่ ไทย : นกแซงแซวสีเทา
ชื่อสามัญ : Ashy Drongo
นกแซงแซงหางปลา ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Dicrurus leucophaeus leucogenis

Black Drongo .

ลักษณะ
ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน โดยมีปากหนาใหญ่ ปลายแหลม

ไม่ยาวมาก สีดำ� ตาดำ� ขนทั่วทั้งตัวสีดำ�เหลือบนำ้ �เงิน หางแฉกลึกมากกว่า
นกแซงแซวชนิดอน่ื
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

ช่อื ไทย : นกแซงแซงหางปลา
ชือ่ สามญั : Black Drongo
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Dicrurus macrocercus

.

.

พนื้ ทเี่ กษตรกรรม พนื้ ทเี่ ปดิ โลง่ เปน็ ชนดิ เดยี วทพ่ี บไดต้ ามทอ้ งทงุ่ ทแ่ี ทบ
ไม่มีต้นไม้ ในช่วงนอกฤดผู สมพันธ์ุมักรวมฝงู เกาะนอนตามปา่ ละเมาะ และบนิ
อพยพไปดว้ ยกันในเวลากลางวัน บางคร้ังอาจมีนกแซงแซวอพยพชนดิ อ่นื มา
รวมฝงู นอนปะปนดว้ ย มีอุปนิสยั กา้ วรา้ ว มักพบมนั เกาะหากินใกลๆ้ นกชนดิ
อ่นื เชน่ นกเอี้ยงสาริกา เสยี งร้อง แหบ “แซก่ -แซ่ก”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ท่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตวป์ ่าคุ้มครอง

นก | 159

นกแซงแซวสีเทา

Ashy Drongo

ลักษณะ การแพร่กระจาย
รูปรา่ งคลา้ ยแซงแซวหางปลา ปากสีเทาดำ� ขาดำ� ขนทั้งตวั สี สามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาคในประเทศไทย
เทาอ่อน ขนรอบตาและใบหนา้ จะสขี าวเป็นวงกวา้ ง ขนบริเวณปกี และ
หางจะมีสเี ข้มกวา่ ทอ่ี นื่ ปลายปกี เป็นสเี ทาเขม้ หางแฉก สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่อื
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) และเป็นสัตว์ปา่ คุม้ ครอง
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
ชายป่า ปา่ โปรง่ ปกตมิ กั พบหากินใกลๆ้ กบั นกชนิดอื่น แตม่ ัก
เกาะกิ่งไม้ทีส่ ูงกวา่ มีอปุ นิสยั ก้าวร้าว บางครั้งโฉบแยง่ แมลงทนี่ กอ่ืน

จบั ได้ เสียงรอ้ งกอ้ ง “ตก๊ิ -วู-่ วิต ต๊กิ -วู่-วติ ” และแหบ “แอช-แอช”

160 | นก

นกแซงแซวหงอนขน

Hair-crested Drongo

ลกั ษณะ ชอ่ื ไทย : นกแซงแซวหงอนขน
มีปากเรียวยาว ปลายปากโค้งลงเล็กน้อย หัว คอ และอกมีสีนำ้ �เงิน ชือ่ สามญั : Hair-crested Drongo
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicrurus hottentottus
เหลือบคล้ำ� บริเวณหลงั และลำ�ตัวดา้ นลา่ งมีสีดำ� ปีกและหางสีเขยี วเหลอื บเป็น
มัน กระหมอ่ มมีเสน้ ขนยน่ื ยาว ปลายหางตดั มีการแผก่ วา้ งออก ปลายขอบ
หางโคง้ งอขึน้ ดา้ นบน ตาสแี ดง

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม .
พบอาศัยอยู่บริเวณป่าดงดิบและป่าโปร่ง มักพบหากินเป็นฝูง ชอบ

รวมกนั อยตู่ ามตน้ ไมใ้ นชว่ งทมี่ ดี อกบานเพอื่ กนิ น้ำ�หวาน และชอบบนิ ไลจ่ บั แมลง
กลางอากาศ เสยี งร้อง “ชที -ว-ี้ อี”้ เสียงแหลมดัง

การแพรก่ ระจาย
สามารถพบไดท้ ั่วทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ กู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สัตว์ป่าคมุ้ ครอง
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์

นก | 161

นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่

Greater Racket-tailed Drongo

ลกั ษณะ ชื่อไทย : นกแซงแซวหางบว่ งใหญ่
ชอ่ื สามญั : Greater Racket-tailed Drongo
ปากหนาสีดำ� ปลายปากบนยาวเลยปากลา่ งเล็กนอ้ ย และงุม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Dicrurus paradiseus
ลง และกรงเลบ็ สดี ำ� หนา้ ผากมหี งอนตงั้ เปน็ กระจกุ ขนทว่ั ทง้ั ตวั สดี ำ�
เหลอื บนำ้ �เงนิ หางแฉกตน้ื หางคนู่ อกมกี า้ นขนยาว ซง่ึ ขนทปี่ ลายหาง
แผอ่ อกเปน็ แผน่ ใหญแ่ ละบดิ โคง้ เลก็ นอ้ ย นกวยั ออ่ นจะยงั ไมม่ กี า้ นขน
หางท่ยี นื่ ยาวออกมา และขนทห่ี น้าผากจะส้ัน

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

พบอาศยั อยบู่ รเิ วณปา่ ดบิ ปา่ โปรง่ พนื้ ทเี่ กษตรกรรม มกั ออก
หากินเป็นฝูงใหญ่ บางครัง้ หาออกหากนิ ร่วมกบั นกชนดิ อน่ื ๆ เสียง
ร้องมีได้หลายแบบ และมักเลยี นเสยี งร้องของนกชนดิ อ่นื

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ั่วทุกภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลนอ้ ยท่สี ดุ (LC) โดยบัญชแี ดงของสหภาพเพ่อื
การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจดั เปน็ สตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง

..

162 | นก

นกเด้าดินทุง่ เล็ก

Paddyfield Pipit

ลกั ษณะ ชอ่ื ไทย : นกเดา้ ดนิ ท่งุ เล็ก
ปากดา้ นบนสีดำ� ดา้ นลา่ งชมพูอมส้มออ่ น ขาสีชมพู ค้วิ สีนำ้ �ตาลออ่ น ชอ่ื สามัญ : Paddyfield Pipit
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Anthus rufulus
แถบหลังตาสีคล้ำ� ลำ�ตวั ด้านบนสีนำ้ �ตาลอมเหลอื ง มลี ายขดี สเี ขม้ ทห่ี ัว หลงั
และคอ ดา้ นทอ้ งสขี าว เล็บนว้ิ ตนี หลงั ยาว
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

พื้นที่เปดิ โลง่ ทุง่ หญ้าสั้นๆ เสยี ง
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั เป็น
สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง

..

นก | 163

นกตะขาบทุ่ง

Indian roller

ลกั ษณะ ชอบอยตู่ ามลำ�พงั ตวั เดยี ว เหยอื่ ของนกตะขาบทงุ่ ไดแ้ ก่ ตกั๊ แตน จง้ิ หรดี แมลง
เป็นนกขนาดกลาง ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน รูปร่างไม่ หางหนบี ผเี สอ้ื กลางคนื บงุ้ ตอ่ ดว้ ง แมลงปอและแมงมมุ และสตั วม์ กี ระดกู สนั
เพรยี วลม ลำ�ตวั ตง้ั ตรง คอสนั้ หัวโต ปากสีดำ�ด้านยาวปานกลาง สนั ปากบน หลงั ตัวเล็กๆ เมอ่ื พบเหยอื่ จะบนิ พ่งุ ลงไปจับบนพน้ื ดนิ หรือไลจ่ บั กลางอากาศ
โคง้ จะงอยเป็นตะของ้มุ ปกี กวา้ งแตย่ าวและปลายปกี แหลม ปลายหางเป็นรปู ม ทำ�รังบนต้นไม้บริเวณโพรงไม้ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในบางครั้งจะแย่ง
สเ่ี หลยี่ มหรอื เวา้ เลก็ นอ้ ย ปากสดี ำ�ดา้ น มา่ นตาสนี า้ ตาลแกมเขยี ว ตวั ผมู้ คี วิ้ ยาว รัง หรอื โพรงเก่าของนกอืน่ เพ่อื วางไข่ เสยี งรอ้ ง “แซ่ด” แหบและลากเสยี ง
สขี าวลายดำ�ละเอียด ตัวเมียมีคิว้ ส้ันกวา่ ตัวผูเ้ ล็กน้อย ขนหางสีฟ้า ปลายหาง
สนี ้ำ�เงนิ เขม้ ขนปีกมหี ลายสเี หลอ่ื มกัน ขนคลมุ หวั ปกี มสี ฟี า้ อมเทา ขนกลางปกี การแพร่กระจาย
และขนปลายปกี สนี ำ้ �เงนิ ทโี่ คนขนมสี ฟี า้ สด คางและใตค้ อสมี ว่ งแดงเขม้ และมขี ดี สามารถพบไดท้ ั่วทกุ ภาคในประเทศไทย
สีฟา้ เดน่ ชัด อกและท้องตอนบนสนี ำ้ �ตาลแกมม่วง ท้องตอนลา่ งจนถงึ ขนคลุม
ใตโ้ คนหางเปน็ สฟี า้ สดแกมเขยี ว ใตห้ างสฟี า้ สดและมแี ถบสนี ้ำ�เงนิ ตอนปลายหาง สถานภาพ
ขาและนวิ้ เทา้ มีสนี ำ้ �ตาลแกมเหลอื ง เล็บสีดำ� นกวัยอ่อนหวั จะมีสีเขยี ว และหลัง สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
คอจะมีสีนำ้ �ตาลมากกว่านกโตเต็มวัย หลังคอมีสีหม่นกว่า คอสีเนื้อแกมม่วง
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สตั วป์ ่าค้มุ ครอง

ทอ้ งสีฟ้าอมเขยี ว ขนคลุมปกี สีนำ้ �ตาล

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
พบอาศยั ในปา่ ดบิ ชน้ื ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ไผ่ และปา่ ฟนื้ ตวั ทคี่ อ่ นขา้ งทบึ

ช่ือไทย : นกตะขาบทงุ่ .
ชื่อสามญั : Indian roller
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Coracias benghalensis

164 | นก

นกตีทอง

Coppersmith Barbet

ลักษณะ
ปากและหนา้ สดี ำ� รอบปากมเี สน้ ขนแขง็ สดี ำ�รอบๆ หลายเสน้ ขาแดง หนา้

ผากสีแดง หนา้ ดำ� มแี ถบเหลืองคาดบนและล่างของตา คอและอกสเี หลอื ง อก
มีแถบสีแดงคาด ปกี และดา้ นหลงั สเี ขียว ดานท้องสขี าวอมเหลือง มลี ายเขียด
สีเขียวต้งั แตอ่ กถึงก้น นกวัยอ่อน หนา้ ผากจะไม่มสี ีแดง
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

ปา่ โปรง่ พื้นทีเ่ กษตรกรรม สวนสาธารณะ มักเกาะบนตน้ ไม้สงู ทำ�รงั

ชอ่ื ไทย : นกตที อง
ช่อื สามัญ : Coppersmith Barbet
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Megalaima haemacephala

.
.
.

โดยเจาะโพรงไมเ้ หมือนกบั นกโพระดกประเภทอน่ื ๆ โดยมากกินผลไม้ เช่น ลกู
ไทร แตบ่ างครง้ั ก็กนิ แมลงอ่ืน ๆ ดว้ ย เสยี งร้อง “ป๊ก-ปก๊ ”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สตั ว์ปา่ คุ้มครอง

นก | 165

นกตีนเทยี น

Black-winged stilt

ลกั ษณะ
ปากยาวแหลมสีดำ� ขายาวมากสีชมพแู ดง ตวั ผู้ ปกี และหลังดำ�เขม้

บางตัวมีสีดำ�ทหี่ ัว หนา้ และทา้ ยทอย ตัวเมยี ปกี และหลงั ดำ�แกมนำ้ �ตาล หัว
และท้ายทอย อาจมีแถบสเี ทา นกวัยออ่ นกระหมอ่ มและทา้ ยทอยสนี ้ำ�ตาลแกม
เทา ลำ�ตวั ดา้ นบนและปกี สนี ำ้ �ตาลแกมเทามลี ายเกลด็ จากขอบบนสนี ้ำ�ตาลออ่ น
แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม

พืน้ ทช่ี มุ น้ำ� ทุ่งนา นาเกลอื ชายฝ่งั ทะเล นกตีนเทยี นสามารถใช้ปากที่

ชือ่ ไทย : นกตนี เทยี น
ชื่อสามญั : Black-winged stilt
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Himantopus himantopus

เรียวยาวทำ�หน้าท่ีเป็นตัวคีบจับสัตว์นำ้ �ขนาดเล็กกินเป็นอาหาร ขาที่ยาวช่วย
ให้สามารถเดนิ หากนิ ในนำ้ �ได้ มักทำ�รงั อยู่ใกลๆ้ กันเปน็ กลมุ่ เล็กๆ (semi-co-
lonial) ในช่วงฤดรู ้อนจนถึงต้นฤดูฝน รังมลี ักษณะเปน็ แอ่งต้ืนๆบนพนื้ ดนิ
แลว้ ปูด้วยเศษหญา้ เพ่อื วางไข่ เสยี งร้อง “กกิ๊ -ก๊ิก-กกิ๊ ”
การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจดั
เป็นสัตวป์ ่าค้มุ ครอง

.
.

166 | นก

นกแตว้ แลว้ ธรรมดา
Indian roller

ลักษณะ

ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะ
คล้ายกันมาก ต่างกันท่ีขนาด
ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย
ตัวเต็มวัยมีหัวสีดำ� เหนือตามี
ลายพาดขนาดกวา้ งสนี ำ้ �ตาล ลำ�
ตวั ดา้ นบนสเี ขยี ว ขนคลมุ ขนปกี
ด้านบนตะโพกและขนคลุมโคน
หางด้านบนเป็นสีนำ้ �เงินสด ลำ�
ตัวด้านล่างเป็นสีเน้ือถึงน้ำ�ตาล
แดง คอหอยสีขาว ตรงกลาง
ท้องและขนคลุมโคนขนหางด้าน
ล่างสีแดง ขณะบนิ จะเหน็ แถบสี
ขาวใหญบ่ นปกี

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม ชอ่ื ไทย : นกแต้วแล้วธรรมดา
ช่อื สามญั : Indian roller
อาศยั ในปา่ ดงดบิ ปา่ โปรง่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pitta moluccensis
ป่าไผ่ ป่าชายเลน และบริเวณ
สวนผลไม้ อาจพบระหว่าง
อพยพได้ในสวนและป่าโกงกาง
พบอยู่โดดเด่ียว หรอื เปน็ คู่ มัก
พบหากินตามพืน้ ดนิ ท่ีรม่ ครมึ้ ชอบเกาะและสง่ เสยี งรอ้ งบนพมุ่ ไม้
เตี้ยๆ เป็นนกแต้วแร้วชนิดท่ีสามารถพบได้บ่อยที่สุด เสียงร้อง
“แต้ว-แล้ว แต้ว-แลว้ ”

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ . .

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพ่อื
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสัตว์ปา่ คุ้มครอง

นก | 167

นกนางแอน่ บ้าน

Barn Swallow

ลกั ษณะ แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
ปากส้ันแหลม แตก่ วา้ งและคอ่ นข้างแบน สีดำ� ขาสีดำ� ด้าน อาศัยในพืน้ ท่เี ปดิ โล่ง เกาะนอนรวมกันเป็นฝูงใหญ่
บนหัว หลัง ปีก และหาง สีดำ�เหลอื บนำ้ �เงนิ เปน็ มนั หน้าผากและคอ
น้ำ�ตาลแดง มแี ถบดำ�เหลอื บนำ้ �เงนิ คาดอก ทอ้ งและขนใตป้ กี ขาว หาง การแพร่กระจาย
เป็นแฉกลึก ขนหางคู่นอกยาวแหลม และจะยาวมากในฤดผู สมพนั ธ์ุ สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย

ขนหางแต่ละเส้นยกเว้นคู่ในสุดมีจุดสีขาว นกวัยอ่อน ขนลำ�ตัวด้าน สถานภาพ
บนดำ�แกมนำ้ �ตาล แถบคาดอกดำ� หนา้ ผากและคอน้ำ�ตาล สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การ
อนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red
data และจดั เปน็ สตั วป์ ่าคุ้มครอง

ช่อื ไทย : นกนางแอน่ บา้ น .
ช่อื สามัญ : Barn Swallow .
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Hirundo rustica

168 | นก

นกบ้ังรอกใหญ่

Green-billed Malkoha

ลักษณะ
ปากใหญ่หนาสีเขียวหมน่ ขาดำ� หนงั รอบตาแดง หวั คอ อก และท้อง

สเี ทาอ่อน ปีก หลัง และหาง สนี ้ำ�ตาลเหลือบเขยี ว หางยาว ปลายขนหางสขี าว
ขนดา้ นล่างมีลายแถบสีขาว 5 แถบ เป็นลายบัง้
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

ชอ่ื ไทย : นกบงั้ รอกใหญ่
ชื่อสามญั : Green-billed Malkoha
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhopodytes tristis

..

อาศัยในพื้นท่ีปา่ ดบิ ป่าผลัดใบ ชายปา่ พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม เปน็ นกทอ่ี ยู่
กนั เปน็ คู่เกอื บตลอดทง้ั ปี บินในระยะทางสั้นๆ มกั กระโดดไปตามกง่ิ ไม้เพอื่ หา
อาหาร ซึ่งได้แก่ตัวหนอน และแมลงชนิดต่างๆ นอกจากน้ียังพบว่ากินสัตว์
เลอื้ ยคลาน และสตั ว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนมขนาดเลก็ ดว้ ย เสียงรอ้ ง แหบ สน้ั “ต็
อก-ตอ็ ก” หรอื “เอาะ-เอาะ”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ัว่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั เปน็ สตั ว์ป่า
ค้มุ ครอง

นก | 169

นกปรอดคอลาย

Stripe-throated Bulbul

ลกั ษณะ

หัว หลัง ปีก และหาง สีเขยี วอมเหลือง บริเวณหนา้ ผาก
แกม้ คาง และ คอ มลี ายขดี เลก็ ๆ สเี หลอื งสดเป็นจุดเด่น อกสเี ทา
ออ่ นและมลี ายขีดสขี าว ทอ้ งสีเทาอมเหลืองออ่ น ขนคลุมโคนหางสี
เหลอื ง ปากและขาสดี ำ�

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

อาศยั ในป่าดงดิบ และป่าโปรง่ มกั พบอยตู่ ามลำ�พงั หรอื เป็นคู่
ชอบหากนิ อยตู่ ามตน้ ไมใ้ บบรเิ วณพมุ่ ไมท้ ต่ี ำ่ �กวา่ ทพ่ี บนกปรอดชนดิ
อน่ื กนิ แมลง หนอน และ ผลไมส้ ุก ทำ�รังอยู่ตามง่ามไมเ้ ตี้ย ๆเสียง
รอ้ ง “ซวิด ซวดิ ” เสยี งแหลมใส

การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทวั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย ยกเว้นภาคกลาง

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การ
อนรุ กั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red
data และจัดเป็นสตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

ชอ่ื ไทย : นกปรอดคอลาย
ชอ่ื สามญั : Stripe-throated Bulbul
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Pycnonotus finlaysoni

.

170 | นก

นกปรอดทอง

Black-headed bulbul

ลกั ษณะ
หัวสีดำ� ไมม่ หี งอน ลำ�ตัวมสี ีเขยี วอมเหลอื ง ตดั กับปกี ทมี่ ีสดี ำ� บรเิ วณ

ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งมีสเี หลอื งสดใสกว่าลำ�ตวั ดา้ นบน ปลายหางมแี ถบสีดำ� ตาสฟี า้
ออ่ น ปากและขาสีดำ� นอกจากนย้ี งั มแี บบสเี ทา ที่มอี กและท้องสเี ทา
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

อาศยั ในป่าดงดิบ และปา่ โปร่ง มกั พบอย่เู ป็นคู่ หรือเปน็ ฝงู ขนาดเลก็
บินและกระโดดหากินลูกไม้และแมลงตามต้นไม้ท่ีมีใบหนาทึบ เสียงร้อง “ช้ิว-
ชิว้ -ชิ้ว” เสยี งแหลมเล็ก
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ทว่ั ไปในประเทศไทย ยกเว้นภาคกลาง
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตว์ป่าคุ้มครอง

ช่อื ไทย : นกปรอดทอง .
ช่ือสามัญ : Black-headed bulbul
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Pycnonotus atriceps

.

นก | 171

นกปรอดหัวสีเขม่า

Sooty-headed Bulbul

ลักษณะ
ปากแหลม เรียวเลก็ สีดำ� ขาสีดำ� บนหวั มีหงอนสน้ั ตั้งขนึ้ สดี ำ� โดย

สว่ นนจ้ี ะมสี ดี ำ�ครอบตง้ั แตร่ อบดวงตาไลม่ าถงึ แกม้ และจมกู ซงึ่ เปน็ จดุ เดน่ ของ
นกชนดิ น้ี แกม้ และคางมสี เี ทาแกมขาว ตัง้ แตค่ างลงไปถงึ ใต้ท้องมสี ขี าวนวล
ลำ�ตวั ดา้ นบนสนี ำ้ �ตาลแกมเทา ตะโพกขาว ดา้ นบริเวณกน้ มีสสี ้มแดง สีแดง
สด สเี หลอื ง โดยสีดงั กล่าวจะข้ึนอยูก่ ับช่วงเวลาหรือแหล่งทอี่ ยอู่ าศยั ทแี่ ตก
ต่างกัน หางยาวมีสีนำ้ �ตาลเทาเกือบดำ� ส่วนปลายหางมีสีขาวเห็นได้ชัดเจน
ขณะบิน โดยตวั ผกู้ ับตวั เมียมลี ักษณะคลา้ ย ๆ กัน
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

อาศัยตามชายป่า พ้ืนที่เกษตรกรรม พื้นท่ีเปิดโล่ง หากินบนต้นไม้
อาหารทก่ี ิน เชน่ หนอน แมลง ผลไม้สุก และนำ้ �ต้อย มักพบเป็นคหู่ รือเปน็
ฝงู เล็กๆ เสยี งร้อง แหบแห้ง “แอ-่ แอ่ด” “วิ-วิ-ว-่ี ว่ี”
การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทย ยกเวน้ ภาคใต้
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
เป็นสตั ว์ปา่ ค้มุ ครอง

ชือ่ ไทย : นกปรอดหัวสเี ขมา่
ช่อื สามญั : Sooty-headed Bulbul
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Pycnonotus aurigaster

.

..

172 | นก

นกปรอดเหลอื งหวั จุก

Black-crested bulbul

ลกั ษณะ

ความยาวจากปลายปากจรดปลายหาง
ประมาณ 19 เซนติเมตร ขนบนลำ�ตัวสีเหลืองแกม
เขียวผลมะกอก หน้าอกและลำ�ตัวด้านล่างสีเหลือง
สด หวั กับคอสีดำ� บนหวั มีจุกดำ�

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

อาศัยในปา่ ดงดิบ และป่าโปร่ง มกั พบอย่เู ป็น
คู่ หรอื เป็นฝูงขนาดเล็ก กระโดดและบนิ หากนิ ผลไม้
และแมลงตามตน้ ไมท้ ่มี ใี บหนาทบึ โดยตามตน้ ไมท้ ีม่ ี
ผลไมส้ กุ ชอบเกาะสง่ เสยี งรอ้ งตามปลายกงิ่ ไมโ้ ลง่ ๆ
เสยี งรอ้ ง “วกิ -ว้ีด-ท-ี วด้ี ” คล้ายเสียงผิวปาก

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพือ่ การอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตว์ป่าค้มุ ครอง

ช่ือไทย : นกปรอดเหลืองหัวจุก .
ชอ่ื สามญั : Black-crested bulbul
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Pycnonotus flaviventris

นกปากหา่ ง นก | 173

Open-billed Stork ลักษณะ

เป็นนกน้ำ�ขนาดใหญ่ถึงใหญ่มาก ปากยื่นออก
มา ปลายปากแหลมและหนา เมอื่ ปากบนและลา่ งประกบ
กนั จะไมส่ ามารถประกบกนั สนทิ เกดิ ชอ่ งวา่ งตรงกลาง
(ปากหา่ งออกเพอ่ื คาบหอยโขง่ ทท่ี งั้ กลมและลน่ื ไดอ้ ยา่ ง
ดี) ตาขนาดเลก็ คอและขายาว หางสน้ั ตัวผแู้ ละตัวเมยี
คลา้ ยกนั ปากสีนำ้ �ตาลแกมเหลอื ง ขนบนหวั และลำ�ตวั
สีขาวอมเทา แข้งและตีนเป็นสีชมพคู ล้ำ� ขนโคนปกี ขน
ปกี บินและขนหางเปน็ สีดำ�

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

นกปากห่างชอบทำ�รังบนต้นไม้ ชอบอยู่เป็นฝูง
ชอบอาศัยตามทีร่ าบลุ่มทั่วไป พบลงหากนิ ตามนาข้าว
และบรเิ วณรมิ แหลง่ น้ำ� อาหารหลกั ไดแ้ ก่ หอยโขง หอย
ขมและหอยเชอรร์ ี่ ออกไข่ครัง้ ละ 2-4 ฟอง ตวั ผแู้ ละ
ตวั เมยี จะผลัดกันกกไข่

การแพรก่ ระจาย

พบทกุ ภาคในประเทศไทยและพบมากในภาคกลาง
พบบ้างประปรายภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงราย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดน่าน และภาคใต้ เช่น
จังหวดั สงขลา จังหวัดสตูล

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยทสี่ ดุ (LC) โดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั
สถานะโดย Thailand red data และจดั เป็นสัตวป์ ่า
คุ้มครอง

ชือ่ ไทย : นกปากห่าง
ชือ่ สามัญ : Open-billed Stork
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Anastomus oscitans

.

174 | นก ช่อื ไทย : นกเป็ดผีเล็ก
ชอ่ื สามญั : Little Grebe
นกเปด็ ผเี ลก็ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Tachybaptus ruficollis

Little Grebe .
.
ลกั ษณะ
นกเป็ดผีเล็กคล้ายนกเป็ดนำ้ �ขนาด สถานภาพ
สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
เล็กแต่ไม่ใช่เป็ด (ญาติสนิทท่ีสุดของมันคือ
flamingos) หางกุดส้ัน ตาสีเหลือง นก ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
เป็ดผีเล็กมีชุดขนนอกฤดูผสมพันธุ์และใน สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง
ช่วงฤดูผสมพันธ์ุ ปากเป็นสีดำ�แต่โคนปากมี
สเี หลอื งหรอื ขาวแตม้ อยู่ สดี ำ�อมเทาพาดจาด
หนา้ ผากไปจนถงึ กระหมอ่ ม ทา้ ยทอยถงึ หลงั
เป็นสีน้ำ�ตาลเข้ม บริเวณข้างแก้มและลำ�คอ
เปน็ ชุดขนสีครมี ในช่วงนอกฤดูผสมพนั ธ์ุ แต่
จะเปน็ ชดุ ขนสนี ำ้ �ตาลแดงในชว่ งฤดผู สมพนั ธ์ุ
ส่วนในวัยเด็กจะมีลายขาวเป็นแถบบริเวณหัว
แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

การถกู เรยี กวา่ “นกเปด็ ผ”ี นนั้ มาจาก
พฤติกรรมชอบผลุบหายลงไปใต้นำ้ �ราวกับ
ผีหลอก ก่อนจะไปโผล่อีกจุดหน่ึงซ่ึงมักอยู่
ห่างออกไป เชี่ยวชาญในการว่ายนำ้ �จับปลา
มาก ตลอดทั้งชีวิตขึ้นจากนำ้ �เฉพาะตอน
วางไข่และบินเท่าน้ัน เสียงร้องของมัน “กร๊ี
รก-กร๊ีรกกก...” รัวๆ ทำ�รังเป็นถ้วยขนาด
เลก็ ในกอพืชน้ำ�

การแพร่กระจาย
สามารถพบไดท้ ัว่ ทุกภาคในประเทศไทย

นก | 175

นกพญาไฟเลก็

Small Minivet

ลกั ษณะ

เปน็ นกขนาดเล็ก ปากเล็กแหลมสีเทาดำ� ตาดำ�กลม ขาและ
เทา้ สดี ำ� ขนหางดา้ นบนสดี ำ�ดา้ นลา่ งสม้ แดง ตวั ผู้ ขนหวั และขนหลงั
สเี ทา ขนหน้าและขนคอสีเขม้ กว่าลำ�ตัวดา้ นล่าง แถบปกี ตะโพก และ
ขอบหางขนมีสีส้มแดง ตัวเมีย ขนหัวและหลังสีเทาอ่อนกว่าตัวผู้
คอมขี นสขี าว ลำ�ตวั ด้านลา่ งขนสีเหลืองจางๆ แถบปกี ขนเหลืองสม้
ตะโพกและขนหางส้มแดง

แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

อาศยั ตามปา่ โปร่ง ป่าเตง็ รัง สวนผลไม้ มกั พบอยเู่ ป็นคู่ มัก
ออกหากินเปน็ ฝงู เลก็ ๆ ตามเรือนยอดต้นไม้ กินแมลงตวั เลก็ ๆเปน็
อาหาร เสยี งรอ้ ง “สวี-อดี สว-ี สวี”

การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทั่วทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red
data และจดั เป็นสัตวป์ า่ คมุ้ ครอง

ช่ือไทย : นกพญาไฟเลก็
ช่อื สามญั : Small Minivet
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Pericrocotus cinnamomeus

.

176 | นก ชอ่ื ไทย : นกโพระดกธรรมดา
ชื่อสามัญ : Lineated barbet
นกพริ าบปา่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Megalaima lineata

Rock Pigeon .

ลกั ษณะ
ลำ�ตวั อวบ หัวเล็ก รูจมกู อยบู่ นแผน่ เน้อื โคนปาก ตาสีส้มหรือสม้ คลำ้ �

แข้งสีแดงอมชมพู หัวเทาสีเข้ม หลังและอกเข้มกว่า ปีกสีเทาอ่อน แถบปีก
และปลายหางสีดำ� ตัวผทู้ ี่บริเวณคอมีเหลือบสเี ขียวมากกวา่ ตัวเมยี ปจั จบุ นั มี
หลากหลายสีขนเนื่องจากมีการผสมและคัดเลือกสายพันธ์ุมากมาย แตกต่าง
ไปจากพนั ธด์ุ ้ังเดมิ

ช่อื ไทย : นกพิราบปา่
ช่อื สามญั : Rock Pigeon
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Columba livia

.

.

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม
นกพิราบป่าสามารถวางไข่ได้ตลอดท้ังปี สามารถทำ�รังได้ตามระเบียง

อาคาร แหลง่ ทพ่ี บไดแ้ ก่ บา้ นเรอื น แหลง่ ชมุ ชน แหลง่ เกษตรกรรม และหนา้ ผา
เปน็ นกท่คี ุ้นชินมนษุ ย์
การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ วั่ ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั เป็น
สตั วป์ ่าคุ้มครอง

นก | 177

นกโพระดกธรรมดา

Lineated barbet

ลกั ษณะ โปง่ ออกมา บางครัง้ พบรวมกลุม่ กนั เปน็ กล่มุ อยูต่ ามตน้ ไมท้ ่มี ผี ลไม้

หัว อก และท้องสีนำ้ �ตาลแกมเหลือง มีลายขีดสนี ำ้ �ตาลเขม้ สุก เสยี งร้อง “โฮ-ปก้ ” เสียงดงั
ปากสีชมพูอมเหลือง หนังรอบตาสีเหลือง แก้มและคอมีสีขาว หัว
และหลังช่วงบนสีน้ำ�ตาล และมีขีดประสีขาวขนาดใหญ่กระจาย อก การแพร่กระจาย
และทอ้ งสีขาว มขี ีดประสคี ล้ำ�ขนาดใหญ่กระจาย บริเวณหลังปีกและ
หางสีเขยี ว ขาสเี หลือง สามารถพบได้ท่วั ทุกภาคในประเทศไทย

แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม สถานภาพ

สถานะกงั วลน้อยท่ีสดุ (LC) โดยบัญชแี ดงของสหภาพเพอื่
การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand
อาศยั ตามปา่ โปรง่ หรอื อาจพบในพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม มกั พบเกาะ red data และจัดเป็นสัตว์ป่าคมุ้ ครอง
สง่ เสยี งรอ้ งบนตน้ ไมต้ ดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน ขณะสง่ เสยี งรอ้ ง คอจะ

178 | นก

นกยอดหญ้าสดี ำ�
Pied Bushchat

ลกั ษณะ ▲ตัวผู้
เป็นนกขนาดเล็ก หัวและตา

ค่อนข้างโต ปากแบนกว้างและงุ้ม
ตรงปลาย มีขนหนวดชดั เจน ขาสัน้
ตนี เล็กและบอบบาง นกยอดหญ้าสี
ดำ�มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งเพศ ตวั ผู้
ปากและแขง้ สีดำ� ลำ�ตวั และหางสดี ำ�
เช่นกนั ตรงแถบปกี และตะโพกสีขาว
ส่วนตัวเมียปากและแข้งสีดำ� แต่ลำ�
ตัวเป็นสีนำ้ �ตาลเข้มและมีลายขีดสี
เขม้ ท่ีบรเิ วณอกและหลัง และตะโพก
สีน้ำ�ตาลแดง
แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

นกยอดหญ้าสีดำ�ทำ�รังอยู่
ในโพรงหนิ หรอื รูตามตลิ่ง โดยรอง
ด้วยหญ้า เป็นนกที่พบตามพ้ืนท่ี
ชนบทและทงุ่ หญา้ โลง่ หรอื พมุ่ ไม้ จบั
แมลงจากพ้นื เปน็ สว่ นใหญ่
การแพร่กระจาย

ในประเทศไทยพบภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC)
โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ
อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้
ถกู จัดสถานะโดย Thailand red
data และจดั เปน็ สตั วป์ า่ ค้มุ ครอง

ช่ือไทย : นกยอดหญ้าสดี ำ�
ชือ่ สามัญ : Pied Bushchat
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Saxicola caprata

◄ตัวเมีย .
. ..

นก | 179

นกยางกรอกพนั ธุ์จีน

Chinese Pond Heron

ลกั ษณะ ปากดำ� หวั ลำ�คอและอกเปน็ สนี ้ำ�ตาลเหลอื งและมลี ายขดี สนี ้ำ�ตาลเขม้
เปน็ นกน้ำ�ขนาดกลาง ปากยาวและตรง คอและขายาว นิ้วตนี กระจายอยู่ ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งสขี าว แขง้ และตนี สเี หลอื งหรอื แกมเขยี ว ใน
มี 4 น้วิ เล็บนวิ้ กลางมซี ค่ี ลา้ ยหวีเวลาบนิ คอจะงอเปน็ รูปตวั S เมอื่ ชดุ ขนช่วงฤดูผสมพนั ธสุ์ ีปากจะชัดข้ึน หนงั รอบตาสีเหลืองคลำ้ � หวั
มองดา้ นขา้ ง กลมุ่ นกยางกรอกมชี ดุ ขนในชว่ งนอกฤดผู สมพนั ธแุ์ ละ ลำ�คอและอกเปน็ สนี ำ้ �ตาลแดงถงึ นำ้ �ตาลคล้ำ� หลงั และขนคลมุ ไหลเ่ ปน็
ฤดผู สมพนั ธแ์ุ ตกตา่ งราวกบั เปน็ คนละชนิด ซึง่ ชุดขนในชว่ งนอกฤดู สเี ทาดำ� แขง้ และตีนสีแดง
ผสมพันธ์ุของกลุ่มนกยางกรอกคล้ายกันมาก การจำ�แนกชนิดของ
นกกลุ่มน้ีจึงจำ�เป็นท่ีตัวนกต้องอยู่ในชุดขนฤดูผสมพันธ์ุหรือมีร่อง แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
รอยของสขี นชดุ นเี้ ทา่ นน้ั ชดุ ขนนอกฤดผู สมพนั ธป์ุ ากสเี หลอื ง ปลาย
เป็นนกท่ีปรับตัวเก่งและกินอาหารได้หลายประเภท และหลาย
ระบบนเิ วศ ตามชายฝั่ง ริมฝั่ง มนั จะเดินชา้ ๆ เม่ือเจอปลามนั จะใช้
ปากพ่งุ จบั ปลาได้อย่างรวดเร็ว หรือ
ในผวิ นำ้ �ทร่ี ะดบั นำ้ �ลกึ มนั สามารถโฉบ
จับปลาในนำ้ �ได้ราวกับนกนางนวล
แกลบ (Tern) เชน่ กนั หรอื สนามหญา้
และกองขยะก็พบนกหากินไส้เดือน
แมลงและสตั วข์ นาดเลก็ อน่ื ๆ เช่นกนั

เสยี งรอ้ ง “กร่อก-กร่อก”่

การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคใน

ประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC)
โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ
อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูก
จดั สถานะโดย Thailand red data
และจดั เปน็ สตั วป์ า่ คุม้ ครอง

ชื่อไทย : นกยางกรอกพนั ธ์จุ ีน .
ชื่อสามญั : Chinese Pond Heron
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Ardeola bacchus

180 | นก

นกยางควาย

Eastern Cattle Egret

ลักษณะ ตามรถไถ ซึ่งนกยางควายจะมา
เป็นนกยางขนาดเล็ก หวั โต คอหนา หากินสัตว์ขนาดเล็กและแมลงท่ี ชอ่ื ไทย : นกยางควาย
และสั้น ขาคอ่ นข้างสั้น ปากสีเหลอื ง หวั ลำ� ปรากฏออกมาจากการเปิดหน้า ช่อื สามญั : Eastern Cattle Egret
คอ ตวั ทอ้ งและปีกเปน็ สขี าว แข้งและตนี เปน็ ดินจากการไถนา ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Bubulcus coromandus

สเี หลอื งคลำ้ �ๆ แต่เม่ืออยใู่ นช่วงฤดผู สมพนั ธ์ุ
ปากสเี หลืองและแดงตรงโคนปาก หัว ลำ�คอ
และตัว จะเป็นสีเหลอื ง โดยขนสีเหลอื งน้ันจะ การแพร่กระจาย . .
ยาวขน้ึ แข้งและตีนเป็นสแี ดงชำ้ � .
สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย

แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม สถานภาพ

หากินตามทุ่งหญ้า พื้นที่เกษตรกรรม ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย บัญชีแดงของ
และพื้นที่ชุ่มน้ำ� พบในท่ีแห้งมากกว่านกยาง สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ชนดิ อื่นๆ เสียงร้อง “กรก๊ิ ” หรือ “กิ-รา๊ ก” ไดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand red data
นกยางควายมักเดินตามควายเพื่อจิกกิน และจัดเปน็ สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

แมลงทเี่ ปน็ ปรสติ บนตวั ควาย จงึ มกั ถกู ใชเ้ ปน็
ตัวอย่างอธิบายความสัมพันธ์ของสัตว์แบบ
พ่ึงพาอาศัยท่ีเอ้ือประโยชน์ต่อกัน หรือเดิน

นก | 181

นกยางดำ� ชื่อไทย : นกยางดำ�
ช่ือสามญั : Black Bittern
Black Bittern ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Dupetor flavicollis

ลกั ษณะ

เปน็ นกยางขนาดใหญ่ ปากสีเหลอื งคลำ้ � ปลายปากและสันปาก
บนสดี ำ� แขง้ และตีนสีดำ� ตัวผู้หวั คอและลำ�ตวั ดา้ นบนสีดำ� คอมีแถบ
ยาวสีเหลืองแกมน้ำ�ตาล คอด้านล่างและอกสีขาวและมีลายขีดยาวสี
ดำ�หรือแกมนำ้ �ตาลแดงคล้ำ� ลำ�ตัวด้านล่างเทาเข้ม ส่วนตัวเมีย หัว
และลำ�ตัวด้านบนสีน้ำ�ตาล (สว่างมากกว่าตัวผู้) ลายขีดท่ีคอและอก
สนี ้ำ�ตาลแดง

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

พบอาศยั อยตู่ ามทงุ่ นา พน้ื ทนี่ ำ้ �จดื ในทร่ี าบ กนิ อาหารพวกแมลง
ปลาขนาดเล็ก และสตั วส์ ะเทินน้ำ�สะเทนิ บก เป็นตน้

การแพรก่ ระจาย

ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ บ ไ ด้ ตั้ ง แ ต่ บ ริ เ ว ณ ภ า ค ก ล า ง จ น ถึ ง
ประจวบคีรีขันธ์ในฤดูร้อนจนถึงฤดูฝน (มาเพื่อทำ�รัง) และสามารถ
พบได้ในภาคใต้ (จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล) ในช่วงฤดูหนาวและ
สามารถพบได้น้อยครั้งมากบริเวณภาคตะวันออก (จังหวัดชลบุรี
จงั หวดั จนั ทบรุ )ี

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การ
อนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จัดสถานะโดย Thailand red
data และจัดเป็นสัตว์ป่าคมุ้ ครอง

.

182 | นก

นกยางโทนใหญ่

Eastern Great Egret

ลกั ษณะ
เป็นนกยางขนาดใหญ่ ขนาดเมื่อโตเต็มวัยประมาณ 85-102

เซนตเิ มตร หัวเลก็ ปากยาวสีเหลอื ง หนงั หน้าสเี ขียวแกมเหลือง มมุ ปากอยู่
เลยตำ�แหน่งของตา คอและขายาว ชุดขนในช่วงฤดูผสมพันธ์ุน้ันไม่เปลี่ยนสี
ของขน อกและหลังมีขนเจ้าชู้จะยาวออกมา โดยเฉพาะขนบริเวณหลังจะยาว
มากก และหนงั หนา้ เปน็ สฟี า้ หรอื สเี ขียว
แหล่งอาศยั และพฤติกรรม

ในช่วงฤดูกาลผสมพนั ธุ์ ซ่งึ เปน็ ระยะทเี่ รยี กวา่ “high breeding” นก
ยางโทนใหญ่จะแผ่ขนคลมุ โคนหางออก คลา้ ยพดั เหมอื นนกยูงตวั ผู้ ม่านตาก็
จะเปล่ียนจากสเี หลอื งอ่อนเปน็ สีแดงกำ่ � และมักใชซ้ ่หี วีที่เล็บ (อนั เป็นลักษณะ

เด่นของนกกลุ่มน้ี) ในการจัด
แต่งขน โดยนกยางโทนใหญ่
สามารถพบตามพน้ื ทช่ี มุ่ น้ำ�ขนาด
ใหญ่และตามชายฝ่ังทะเล เสียง
รอ้ ง “กร้าก..ก..ก”
การแพรก่ ระจาย

ในประเทศไทยพบมากใน
ภาคกลางเร่ือยลงมาถึงจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ พบบางที่ใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภาคเหนือ

ชื่อไทย : นกยางโทนใหญ่
ชือ่ สามญั : Eastern Great Egret
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Ardea modesta

สถานภาพ
ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย บญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ
(IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็นสัตวป์ ่า
คุ้มครอง

.

นกยางเปีย นก | 183

Little Egret

ลกั ษณะ
เป็นนกยางขนาดกลาง ขนาดเมื่อโตเต็มวัยประมาณ 55-65

เซนตเิ มตร ลักษณะทว่ั ไปคล้ายนกยางจีน ปากยาว คอยาว ปากสดี ำ� ซ่ึงเปน็
ลักษณะแรกๆ ในการจำ�แนกชนิดกลุ่มนกยาง หนังหน้าสีชมพูแกมแดง ขน
ปกคลุมลำ�ตวั สีขาวลว้ น แขง้ สดี ำ� ตัวสเี หลอื ง ในชว่ งฤดูผสมพนั ธุ์ทา้ ยทอยมี
ขนเปยี ยาว 1 คู่ อกและหลังมีขนเจา้ ชู้ยาว
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

หากนิ ตามพ้นื ที่ชมุ่ นำ้ � หนองบงึ ทงุ่ นา มกั อย่รู วมกันเป็นกลุ่ม ทำ�รงั ใน
บรเิ วณเดยี วกนั กบั นกชนดิ อื่น เช่น นกยางชนดิ อ่นื ๆ และนกกาน้ำ� เสียงรอ้ ง
“ครา้ กก” หรอื “อา้ ก”
การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
เป็นสตั วป์ า่ คุ้มครอง

ช่ือไทย : นกยางเปีย
ชอ่ื สามญั : Little Egret
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Egretta garzetta

.
.

184 | นก

นก | 185
นกยงู ไทย
Pavo muticus

186 | นก

นกยางไฟหวั ดำ�

Yellow Bittern

ลักษณะ

เป็นนกยางขนาดเล็ก คอและขาไม่ยาวมาก
ปากยาวสีเหลือง แข้งและตีนสีเหลืองคลำ้ � ลำ�ตัวสี
น้ำ�ตาลอ่อนแกมเหลือง ไหล่และหลังจะมีสีเข้มกว่า
ตรงอกเห็นเป็นแถบสีส้มแกมเหลืองสลับกับสีขาว
พาดจากใต้คางลงมาถึงท้อง หางสั้นมากสีดำ� นก
ยางมีความแตกต่างระหว่างเพศเล็กน้อย ตัวผู้หน้า
ผากถึงท้ายทอยสดี ำ� ตวั เมียหน้าผากถึงทา้ ยทอยสี
น้ำ�ตาลแดง ขณะบินจะเห็นขนคลุมปลายปีกและขน
บนิ ปกี ดำ�

แหล่งอาศยั และพฤติกรรม

กลุ่มนกยางไฟไม่ค่อยออกมาหากินในที่โล่ง
แต่นกยางไฟหัวดำ�ไม่ค่อยหลบซ่อนเท่านกยางไฟ
อน่ื ๆ และยงั เปน็ ชนดิ ทพ่ี บหากนิ กลางแจง้ ตอนกลาง
วันไดบ้ ่อยๆ เสยี งรอ้ ง “ก่าก-กา่ ก-กา่ ก”

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทุกภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพ่อื การอนุรักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เป็นสตั วป์ ่าค้มุ ครอง

. ช่อื ไทย : นกยางไฟหวั ดำ�
ชื่อสามญั : Yellow Bittern
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Ixobrychus sinensis

นกยงู ไทย นก | 187

Green Peafowl ลกั ษณะ
เปน็ นกขนาดใหญ่ ลำ�ตวั จรดปลายหางประมาณ 102-

245 เซนติเมตร ตวั ผู้และตัวเมียมลี ักษณะตา่ งกนั คอื ตวั ผู้
มีขนคลุมลำ�ตัวสีเขียวเหลือบน้ำ�เงิน ลักษณะเป็นลายเกล็ดชัด
มกี ระจุกหงอนขนสเี ขยี วอยกู่ ลางกระหมอ่ ม ขนคลมุ ปสี ีนำ้ �เงิน
ส่วนขนปีกสีดำ�เหลือบเขียว ปลายปีกสีนำ้ �ตาล และขนหางสี
ดำ� จะงอยปากปลายโค้งแหลม ม่านตาสีน้ำ�ตาล มีแผ่นหนัง
สขี าวปนนำ้ �เงนิ จางๆ รอบดวงตา ใตต้ าปรากฏแถบสดี ำ� และ
แผ่นหนงั สเี หลอื งรอบบริเวณหู คอยาว ปีกใหญ่ และขายาว
ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้และสัสันไม่สวยงาม กระจุกหงอน
กลางกระหม่อมสีดำ� ขนคลุมปีกและหลังสีดำ� มีลายสีนำ้ �ตาล
แทรกอยู่ ในช่วงนอกฤดผู สมพนั ธต์ุ ัวผู้กบั ตวั เมยี จะมลี กั ษณะ
ท่คี ล้ายกันมาก
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

อาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสม ชอบอยู่
บรเิ วณพนื้ ทโี่ ลง่ ใกลล้ ำ�ธารหรอื ลำ�หว้ ย กนิ อาหารจำ�พวกเมลด็
พชื แมลง และสัตวเ์ ล็กๆ ตอนกลางคนื จับคอนนอนตามกิง่ ไม้
คอ่ นขา้ งสงู ่
การแพร่กระจาย

ปจั จบุ นั คอ่ นขา้ งหายากและปรมิ าณนอ้ ย สามารถพบได้
ทว่ั ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลน้อยทสี่ ุด (LC) โดยบัญชแี ดงของสหภาพ
เพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ถกู จดั อยใู่ นสถานะใกลส ญู
พันธุ (EN) โดย Thailand red data และจัดเปน็ สัตวป์ า่
คุม้ ครอง

ชอ่ื ไทย : นกยงู ไทย
ช่อื สามัญ : Green Peafowl
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Pavo muticus

.
.

188 | นก ชอื่ ไทย : นกหวั ขวานดา่ งแคระ
ช่อื สามญั : Grey-capped pygmy woodpecker
นกสีชมพสู วน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrocopos canicapillus

Scarlet-backed Flowerpecker

ลักษณะ
เป็นนกขนาดเลก็ ความยาวลำ�ตัวประมาณ 9 เซนตเิ มตร หางส้ัน ลำ�

ตัวอว้ นปอ้ ม คอสนั้ ปากสัน้ หนา ปากและแข้งมีดำ� คอสขี าว ทอ้ งสีขาวข่นุ
ตะโพกสแี ดงอมสม้ ปกี และหางสดี ำ� นกสชี มพสู วนมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งเพศ
ตวั ผ้มู ีแกม้ หน้าด้านขา้ ง และคอดา้ นขา้ งสดี ำ� ในตัวเมียแกม้ หนา้ ด้านข้าง และ

.

ชื่อไทย : นกสชี มพูสวน
ช่ือสามญั : Scarlet-backed Flowerpecker
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Dicaeum cruentatum

คอดา้ นขา้ งสีเทาอมขาว ตวั ผมู้ ีแถบสแี ดงอมส้มพาดจากกระหม่อมลงไปเชอื่ ม
กับสีแดงอมส้มของตะโพก ขณะทีต่ วั เมีย บนหัว กระหมอ่ มและหลงั ตอนตน้
เป็นสีเทาอมดำ�
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

เคลอื่ นไหวอย่างรวดเร็วตลอดเวลา มักพบหากนิ ตามป่าโปรง่ ชายป่า
สวนผลไม้ สวนสาธารณะ เสียงรอ้ ง “ตซิ -ตซิ ิ-ตซิ ิ” แหลมรวั หรอื “ติซ-ตซิ ”์
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ ูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สตั ว์ปา่ คุม้ ครอง

.

นก | 189

นกหวั ขวานด่างแคระ

Grey-capped pygmy woodpecker

ลักษณะ แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม
เปน็ นกหัวขวานขนาดเล็ก ปากแหลมตรง หางมีแกนขนแข็ง มักพบหากินร่วมกับนกเฉี่ยวดง หรือนกไต่ไม้ตามป่า
ใชพ้ ยงุ ตัวในแนวตั้งขณะเกาะ ปาก แข้งและตีนเปน็ สดี ำ�อมเทา หนา้
ผากและกระหมอ่ มสแี ถบเทาและขอบของแถบเปน็ สดี ำ� หลงั ตาทง้ั สอง ผลัดใบ หรือป่าโปร่ง เสียงร้อง แหลม เร็ว “ซิ๊ก-อิ๊ด-ซ๊ิก-
ขา้ งเป็นแถบสีขาวพาดไปจนถึงต้นคอ ตรงแก้มสีขาวขุ่นหรอื ขาวอม อ๊ิก-ซกิ๊ -อ๊ิด”
เทา ใตค้ าง อกและท้องสขี าว ซึ่งอกและทอ้ งปรากฏขีดสีดำ�กระจาย การแพรก่ ระจาย
ภาคใต้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตอนบน และตอนใต้ ซ่ึงไม่
อยู่ ปีกและหางสดี ำ� ซงึ่ มจี ุดสขี าวเรยี งต่อกันเป็นแถบปีก หลังสดี ำ�
และมจี ดุ สขี าวเรยี งตอ่ กนั คลา้ ยกบั บนปกี และหาง แตล่ กั ษณะจดุ คอ่ น พบในภาคกลาง
ขา้ งเรยี งเปน็ แถบชดั เจน ตวั ผมู้ คี วามแตกตา่ งจากตวั เมยี เลก็ นอ้ ยคอื สถานภาพ
บริเวณด้านขา้ งของหัวมแี ถบสแี ดงขนาดเล็ก สถานะกงั วลน้อยทีส่ ุด (LC) โดยบัญชแี ดงของสหภาพเพื่อ

การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand
red data และจดั เป็นสตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง

190 | นก

นกหวั ขวานด่างอกลายจุด

Spot-breasted Pied Woodpecker

ลกั ษณะ
เปน็ นกหวั ขวานขนาดกลาง ปากแหลมตรง หางมแี กนขนแขง็ ใชพ้ ยงุ ตวั

ในแนวตงั้ ขณะเกาะ ปาก แขง้ และตนี เปน็ สดี ำ�อมเทา หนา้ ผากและกระหมอ่ มสดี ำ�
ในตวั เมยี แตใ่ นตวั ผมู้ คี วามแตกตา่ งเลก็ นอ้ ยโดยหนา้ ผากสแี ดงและกระหมอ่ ม
สดี ำ� แก้ม คางและหลงั ตาสีขาว แถบหลังปากแยกเป็น 2 แฉกสดี ำ�ชัดเจน อก
และทอ้ งสขี าว ซง่ึ อกและทอ้ งปรากฏขีดสีดำ�กระจายอยู่ ปีก หลงั และหางสีดำ�
และมีจดุ สขี าวเรยี งตอ่ กนั เป็นแถบขวาง และก้นสีชมพแู กมแดง
แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

หากนิ เดย่ี วๆ มักพบตามปา่ ผลัดใบหรือป่าโปร่ง เสียงรอ้ ง “ทชิก”

ชื่อไทย : นกหัวขวานดา่ งอกลายจดุ
ชอ่ื สามัญ : Spot-breasted Pied Woodpecker
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Dendrocopos analis

และ “ชิก-อ-ชิก-อ-ชกิ ”
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดใ้ นภาคกลาง พบประปรายทภ่ี าคเหนอื และภาคตะวนั ออก
เฉียงเหนอื ของประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red data และจัดเปน็
สตั วป์ ่าคมุ้ ครอง

.
.

นก | 191

นกอ้ายงั่ว

Oriental Darter

ลกั ษณะ

นกน้ำ�ขนาดใหญ่ คลา้ ยนกกาน้ำ� คอยาวมาก ปากยาวแหลม
ปากสีเหลือง แข้งและตนี สีดำ� หวั และคอสนี ้ำ�ตาลเข้ม มเี ส้นขาวลาก
จากตาตามความยาวคอเกอื บถงึ อก ลำ�ตวั ดา้ นลา่ งสนี ำ้ �ตาลดำ� หลงั
และปีกมลี ายสขี าวเนือ่ งจากร้วิ ของขนสีขาว หางยาวมลี ายบัง้ สขี าว
อมเทา ในช่วงฤดูผสมพันธ์ุจะมีสีขนแตกต่างจากช่วงนอกฤดูผสม
พนั ธุเ์ ลก็ น้อยโดย กระหมอ่ ม หลังคอและหลงั ตอนบนสดี ำ� คอดา้ น
หน้าสนี ้ำ�ตาลแดงมากข้นึ

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

หากินโดยใช้ปากแหลมๆ แทงทะลุตัวปลาเวลาจับเหยื่อใต้นำ้ �
ขณะว่ายน้ำ�สามารถมองเห็นเพียงหัว และคอโผล่ขึ้นมาเหนือผิวน้ำ�
(ดคู ล้ายง)ู พบได้ตามหนอง บึง ทะเลสาบ และแหลง่ เก็บน้ำ�อ่ืนๆ

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะ.ใกล้ถูกคุมคาม (NT) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะ.ใกล้สูญพันธ์ุ (EN) โดย
Thailand red data และจดั เป็นสตั ว์ปา่ คมุ้ ครอง

.

ชอ่ื ไทย : นกอ้ายงว่ั
ชื่อสามญั : Oriental Darter
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Anhinga melanogaster

192 | นก

นกอกี า

Large-billed Crow

ลักษณะ
เป็นนกขนาดกลาง ยาวประมาณ 46-59 เซนติเมตร ขนลำ�ตวั ดำ�

สนทิ ปากใหญ่ ยาว หนาเปน็ สนั หนา้ เป็นสนั ตงั้ เป็นมุมฉากกบั ปาก
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

อีกาปรับตัวไดเ้ กง่ สามารถกนิ อาหารได้หลากหลาย ทำ�ให้ขยายไปยัง
พนื้ ที่ใหม่ได้งา่ ย เสยี งรอ้ ง “ก๊า-กา๊ ” แหบและดัง สามารถพบไดแ้ หล่งชุมชน
พืน้ ทเ่ี กษตรกรรม และชายป่า
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ กู จัดสถานะโดย Thailand red data และจัดเป็น
สัตว์ป่าคมุ้ ครอง

ช่อื ไทย : นกอกี า
ช่ือสามญั : Large-billed Crow
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Corvus macrorhynchos

. .
.

นก | 193

นกอโี กง้

Purple Swamphen

ลกั ษณะ
ขาและน้ิวยาว หางสัน้ ปีกสั้นกลม ปากอวบใหญแ่ ละมีกระบงั ตอ่ กับ

โคนสันปากซึง่ เปน็ สีแดงสด แข้งและตนี สีแดงไมม่ พี งั ผืด แตต่ รงเข่าสีดำ�คล้ำ�
เล็กน้อย หน้าและหวั สีเทาแกมขาว คอค่อนขา้ งสีฟา้ อกตอนบน หลงั และปีก
สนี ้ำ�เงินคลำ้ �แกมนำ้ �ตาล ใตห้ างสีขาว
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

มกั กระดกหางขนึ้ ลง เดนิ หากนิ ตามพชื นำ้ � ซ่อนตัวเกง่ สามารถกนิ
อาหารไดห้ ลายประเภท ไดแ้ กส่ ตั วข์ นาดเล็ก เมล็ดพืช และพืชน้ำ� โดยเฉพาะ
ยอดอ่อน มกั พบหากนิ เป็นครอบครวั
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ทุกภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษ์
ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ไดถ้ ูกจดั สถานะโดย Thailand red data และจัด
เปน็ สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง

ชอ่ื ไทย : นกอโี ก้ง
ชือ่ สามญั : Purple Swamphen
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Porphyrio porphyrio

.

194 | นก

นกอีแพรดแถบอกดำ�

Pied Fantail

ลักษณะ ชื่อไทย : นกอแี พรดแถบอกดำ�
ชอ่ื สามัญ : Pied Fantail
เป็นนกขนาดเล็ก ปากส้ัน ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Rhipidura javanica
ตรงโคนแบนและกว้าง ชอ่ งปาก
กวา้ ง เหน็ ขนหนวดชัดเจน ปกี .
ยาวแหลม ปาก แข้งและตีนสีดำ�
หวั หลัง ตะโพกและปกี สดี ำ� คอ
และทอ้ งสขี าวแตถ่ กู กน้ั ดว้ ยแถบ
สีดำ�พาดอยู่ คิ้วมีขีดสีขาวสั้นๆ
หางสีดำ�เช่นกันและตรงปลาย
หางสีขาว

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม

ขณะหากนิ มกั แผห่ างออก
คล้ายพัด เสียงร้อง “ช-แอ่ด
ช-แอ่ด” อาจจะฟังคล้ายนก
กางเขนบ้าน นกอีแพรดแถบ
อกดำ�ชอบเล่นน้ำ�มากๆ เป็นขา
ประจำ�ของแอ่งน้ำ�ขัง

การแพรก่ ระจาย

ในประเทศไทยพบได้ภาค
กลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั
ออกเฉยี งเหนอื ภาคใต้ตามขอบชายฝ่ัง และพบบา้ งที่ภาคเหนือ

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยทีส่ ุด (LC) โดยบัญชแี ดงของสหภาพเพ่ือ
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thailand

red data และจัด
เป็นสตั วป์ ่าคุ้มครอง

.
.

นก | 195

นกอีลำ้ �

Common Moorhen

ลกั ษณะ ขาวเปน็ เส้นๆ กน้ และขนคลุมใต้หางเปน็ สขี าวและสีขีดสีดำ� ตรงกลาง
ขาและนว้ิ ยาว หางส้ัน ปกี สั้นกลม โคนสนั ปากบนจะเปน็ กระ
บัง (กระบังจะใหญ่ข้ึนในช่วงฤดูผสมพันธุ์) ปากสีแดงปลายเหลือง แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
(ในวยั เด็กปากสเี หลือง) ตาสีนำ้ �ตาลเข้ม หัวและลำ�ตัวสีดำ� อกสดี ำ�อม
เทา หลงั สีดำ�อมนำ้ �ตาล (ในวัยเดก็ สนี ำ้ �ตาลอมเทา) ขา้ งลำ�ตัวมขี ีดสี อาศัยตามหนอง บึง ทุ่งนา และพื้นท่ีชุ่มต่างๆ เสียงร้อง
“กกิ๊ ๆ” สัน้ ๆ และรัว ดงั “กร้ือออ…”

การแพร่กระจาย
ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ทุ ก ภ า ค ใ น

ประเทศไทย

สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC)
โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ
อนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูก
จดั สถานะโดย Thailand red data
และจัดเป็นสัตวป์ า่ คุ้มครอง

.

ช่ือไทย : นกอีล้ำ�
ชือ่ สามัญ : Common Moorhen
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Gallinula chloropus

196 | นก

นกอีวาบตกั๊ แตน

Plaintive Cuckoo

ลกั ษณะ

เป็นนกขนาดปานกลาง ประมาณ 22
เซนติเมตร ปากสีดำ� ตาสีส้มแดง หัว คอถงึ อกตอน
บนสีเทา หลังและปีกสีเทาเข้ม หางสีดำ�ขอบหางมี
ลายขาว อกตอนลา่ งถงึ กน้ สนี ำ้ �ตาลแดง ในวยั เดก็
ชุดขนแตกตา่ งจากชุดขนตัวเต็มวยั มาก โดยหัว ลำ�
ตัวและหางสีน้ำ�ตาล และมีขีดสีดำ�กระจายอยู่ ด้าน
คอและทอ้ งเปน็ สขี าวและมขี ดี สดี ำ�กระจายอยเู่ ชน่ กนั

แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม

คอ่ นขา้ งปราดเปรยี ว หากนิ ตามพมุ่ ไม้ เสยี ง
รอ้ ง “ป-๊ี ป-๊ี ป-ี๊ ปี๊ ปี๊ ป-๊ี ป-ี๊ ป”๊ี แหลมๆ พบตามพน้ื ทโี่ ลง่
และพ้นื ท่ีเกษตรกรรม

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ่วั ทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพอื่ การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่
ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand red data และจดั
เปน็ สัตว์ป่าคุ้มครอง

.
.

ชือ่ ไทย : นกอีวาบต๊กั แตน
ชือ่ สามญั : Plaintive Cuckoo
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cacomantis merulinus

นกอเี สอื สนี ำ้ �ตาล นก | 197

Brown Shirke ลักษณะ

เตัวผู้ หัวและลำ�ตัวด้านบนสีน้ำ�ตาล แถบคาด
ตำ� ค้ิวขาว คอและลำ�ตัวด้านล่างขาว สีข้างนำ้ �ตาล
อ่อน ตัวเมยี สีซีดกว่าตวั ผู้ มีลายเกล็ดจางๆ ทอ่ี กและ
สขี ้าง ชนิดยอ่ ย lucionensis หนา้ ผาก กระหมอ่ ม
และทา้ ยทอยสีเทา ชนิดย่อย supericiliosus (พบ
ไม่บ่อย) กระหม่อมสีนำ้ �ตาลสดใส หน้าผากและลำ�ตัว
ดา้ นล่างขาวมาก นกวยั ออ่ น สคี ล้ำ�กวา่ มีลายเกลด็ ท่ี
หวั หลงั และลำ�ตัวด้านล่าง

แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

มกั ออกหากินเดี่ยว เสยี งรอ้ ง แหบดงั “แชก้ -
แช้ก-แช้ก” รัวๆ ติดกัน สามารถพบได้ตามพ้ืนท่ี
เกษตรกรรมและท่โี ล่งตา่ งๆ ่

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ท่ัวทุกภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสดุ (LC) โดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั
สถานะโดย Thailand red data และจัดเป็นสตั ว์ปา่
ค้มุ ครอง

ช่อื ไทย : นกอีเสือสนี ้ำ�ตาล
ช่ือสามัญ : Brown Shirke
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Lanius cristatus

.

198 | นก

นกอมุ้ บาตรหน้าขาวหลังดำ�

White Wagtail

ลกั ษณะ

ปากแหลมเรยี วสีดำ� ขาสดี ำ� ตัวผู้ หน้าขาว ด้านบนหัวหนา้ อก
หลัง ปีก และหาง สดี ำ� ขนคลุมปกี ดา้ นบน ขอบโคนปกี ด้านทอ้ ง
และขอบหาง สขี าว ตัวเมีย คลา้ ยตวั ผู้ แต่สีด้านหลังและปีกจะอ่อน
กว่า เป็นสีเทา

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

มกั พบตามพื้นทโ่ี ล่งต่าง ๆ โดยเฉพาพนื้ ทใ่ี กล้แหลง่ น้ำ� เสยี ง
ร้องขณะบิน “ชริ-วิด” 2 พยางค์

ชอ่ื ไทย : นกอมุ้ บาตรหนา้ ขาวหลังดำ� .. .
ช่ือสามญั : White Wagtail .... . . .
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Motacilla alba leucopsis

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดเ้ หนอื คอคอดกระของประเทศไทย และมรี ายงาน
พลัดหลงหรือพบน้อยที่ภาคใต้

สถานภาพ

สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การ
อนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไม่ได้ถกู จดั สถานะโดย Thailand red
data และจดั เปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง

.
.

นก | 199

นกเอยี้ งสารกิ า

Common Myna

ลักษณะ

เปน็ นกขนาดกลาง ปากยาวและคอ่ นขา้ งโคง้ แขง้ และตนี แขง็
แรง ปาก หนงั รอบตา แขง้ และตีนสเี หลอื ง หัวและคอสดี ำ� ท้องตอน
ต้นและหลังสีนำ้ �ตาล ท้องด้านท้ายสีขาว ปีกสีนำ้ �ตาลและขอบปีกสี
ดำ� ซึ่งปีกบนมแี ถบขาวเป็นวงใหญ่ (ขณะบนิ เหน็ ขนปีกดำ�ใต้ปีกขาว
ชัดเจน) หางสีดำ�ซ่ึงปลายหางสีขาว วยั เด็กหวั และอกสนี ำ้ �ตาล (บาง
ตัวไม่มีขนบนหัวก็ได้ เหน็ แตห่ นังเปลือยสเี หลอื ง)

ชอ่ื ไทย : นกเอีย้ งสารกิ า แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม
ชอ่ื สามญั : Common Myna
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Acridotheres tristis หากินทง้ั พืน้ ดนิ และบนตน้ ไม้ มกั อยรู่ วมเป็นฝูงใหญ่ เดนิ และ
กระโดดไดค้ ลอ่ งแคล่ว เสยี งร้องแหบ กอ้ งกังวาน และรอ้ งเสยี งสูง
ตำ่ �ได้หลายแบบ สามารถพบไดท้ ่วั ไป เชน่ พื้นทีเ่ กษตรกรรม ชาย
ปา่ และพ้นื ทีเ่ ปิดโลง่

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมไ่ ด้ถูกจดั สถานะโดย Thailand
red data และจดั เปน็ สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง

200 | นก

นกเอยี้ งหงอน

White-vented Myna

แหล่งอาศัยและพฤติกรรม ชอ่ื ไทย : นกเอย้ี งหงอน
บินเร็ว ปราดเปรียว ช่อื สามญั : White-vented Myna
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acridotheres grandis
ร่าเริง ชอบอยู่กันเป็นฝูง
ใหญ่ ในช่วงคำ่ �มักชุมนุมกัน
คราวละหลายสิบตัว เสียง
ร้องดังคล้ายนกเอ้ียงสาลิกา สามารถ สถานภาพ
พบไดท้ ัว่ ไป เชน่ พืน้ ทเ่ี กษตรกรรม ชาย
ปา่ และพ้ืนทเี่ ปดิ โลง่ อาหารไดแ้ ก่ ก้งิ กอื สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชี
ไสเ้ ดอื น และสัตว์ขนาดเลก็ เปน็ ต้น แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ลักษณะ (IUCN) ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดย Thailand
red data และจัดเป็นสัตว์ปา่ คมุ้ ครอง
เป็นนกขนาดกลาง ปากยาวและคอ่ น
ขา้ งโค้ง แข้งและตีนแขง็ แรง ปาก แขง้ และตนี
มเี หลอื ง หน้าผากมหี งอนยาวตั้งเด่นชดั หัว การแพร่กระจาย
คอ ท้องตอนต้นและหลงั สีดำ� ก้นสขี าว ปกี สี สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
ดำ�และปกี บนมีแถบขาวเปน็ วงใหญ่ (ขณะบนิ .
เห็นขนปีกดำ�ใต้ปีกขาวชัดเจน) หางสีดำ�ซึ่ง ... . .
ปลายหางสีขาว วัยเด็กจะมีหงอนส้ัน ขนลำ�
ตวั สีดำ�แกมน้ำ�ตาล


Click to View FlipBook Version