The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Khorat Geopark, 2020-06-07 23:11:04

Wildlife of Khorat Geopark

This book is a collection of amazing wildlife photos and stories in Khorat Geopark

Keywords: Khoratgeopark,Wildlife,Animal,Nature

สตั ว์เลอ้ื ยคลาน | 51

สถานภาพ จง้ิ จกหนิ สจี าง
Common Four clawed
ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ Gecko
อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) แต่เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง และ ลกั ษณะ
มีสถานะใกล้ถูกคุมคาม (NT) และสถานะสัตว์ประจำ�ถ่ิน
(Endemic) โดย Thailand red data ความยาวจากปลายปากถึงรูทวารและความยาวหางมีค่าใกล้เคียงกัน
ประมาณ 5-6 เซนตเิ มตร ผวิ หนงั บอบบาง ฉกี ขาดง่าย ผวิ หนังลำ�ตัวดา้ นหลัง
การแพรก่ ระจาย ขนาดเลก็ ปกคลุมอยู่ และด้านท้องมีเกล็ดวงกลมวางซ้อนเหล่ือมกัน ขาหน้าและ
หลัง ป้อม นวิ้ แผ่แบนคลา้ ยตีนตกุ๊ แกบ้าน แต่กลางแผ่นขาดตอนออกจากกันเป็น
แพรก่ ระจายทจ่ี งั หวดั รอ้ ยเอด็ จงั หวดั สระแกว้ 2 คอลมั น์ เลบ็ ไม่ปรากฏในนิ้วตนี นิ้วแรก หางไมก่ ลมและไม่แบนมาก ซง่ึ ตรงโคน
จังหวัดสระบรุ ี และจังหวัดนครราชสีมา (สถานวี ิจยั
สะแกราช และอุทยานธรณโี คราช อำ�เภอสคี ิว้ ) หางพองออกเลก็ นอ้ ย สหี วั ลำ�ตวั
รยางค์ และหางคือสีครมี หรอื สี
ครีมอมเหลือง มีจุดสีนำ้ �ตาลเข้ม
และจุดสขี าวกระจายอย่ทู วั่

แหล่งอาศยั และ
พฤตกิ รรม
ชอบอาศัยตามลำ�ต้นของ
ตน้ ไมอ้ ยสู่ งู จากพน้ื ประมาณ 1-2
เมตร หรืออาศยั ตามขอนไม้ และ
พ้นื ดนิ ในบางคร้ัง
สถานภาพ
การแพร่กระจาย ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ
การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) และสตั วป์ า่ คมุ้ ครอง
สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาคใน แตม่ สี ถานะกงั วลน้อยที่สดุ (LC) โดย Thailand
ประเทศไทย red data

ช่ือไทย : จ้ิงจกหินสีจาง จงิ้ จกบ้านหางอว้ น
ช่ือสามัญ : Common Four clawed Gecko
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Gehyra multilata

.

.. .

52 | สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน

ตุ๊กแกป่าตะวันออก

Cardamom Forest Gecko

ลักษณะ สีพ้ืนด้านหลังหัว รยางค์และหางสีนำ้ �ตาล
เป็นตุ๊กแกป่าขนาดกลาง รูปร่างค่อน ปรากฏแถบสีนำ้ �ตาลจากหลังตาทั้งสองข้าง
ข้างเพรียว ส่วนหัวและลำ�ตัวด้านหลังถูก มาเช่ือมกันตรงกลางท้ายทอย ปรากฏแถบ
ปกคลมุ ดว้ ยเกลด็ ขนาดเลก็ และถกู แทรกดว้ ย ขวาง ๔ แถบยบู่ นลำ�ตวั หางปรากฏแถบพาด
ตมุ่ ใหญบ่ นลำ�ตวั และหาง และบนหวั มเี ลก็ นอ้ ย ขวางประมาณ 7-11 แถบ
รูปแบบของตุ่มใหญ่ท่ีแทรกอยู่บนหลังเป็น
แบบกลม ด้านท้องถูกปกคลุมด้วยเกล็ดรูป แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
ร่างกลมวางซ้อนเหลื่อมกัน รยางค์หน้าและ
รยางค์หลังผอม เรียว นิ้วตีนเรียวยาว ใต้ หลบซ่อนอยู่ในโพรงไม้เวลากลางวัน
นิ้วมีเกล็ด (subdigital lamellae) เรยี ง เกาะตามตน้ ไม้ กิ่งไม้ ออกหากนิ ในช่วงเวลา
อยทู่ กุ นว้ิ ในตวั เตม็ วยั เพศผสู้ ว่ นใหญป่ รากฏ กลางคนื โดยเดนิ กนิ แมลงบนพน้ื แตส่ ว่ นใหญ่
รูเปิดเหนือทวารรว่ ม (precloacal pores) พบเกาะบนตน้ ไมเ่ ตย้ี ๆ ในลกั ษณะหอ้ ยหวั ลง
ประมาณ 5-9 รู ในตัวเตม็ วยั เพศเมยี บาง ในงานคร้ังนี้พบว่าออกมาเกาะตามผนังถำ้ �
ดว้ ย เมอื่ อยบู่ นพนื้ จะชอบวงิ่ สลบั กบั กระโดด

ครั้งปรากฏรูเปิดขนาดเล็ก 0-9 รูเช่นกัน การแพรก่ ระจาย

สถานภาพ แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ท่ี จั ง ห วั ด ฉ ะ เ ชิ ง เ ท ร า
ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ จังหวัดจันทบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัด
การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) แต่เป็นสัตว์ป่า สระแก้ว จังหวัดตราด จังหวัดระยอง และ ลักษณะ
คุ้มครอง และมีสถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย จังหวัดนครราชสีมา (อุทยานแห่งชาติเขา
Thailand red data เป็นตุ๊กแกป่าขนาดกลาง รูปร่างค่อนข้าง
ใหญ่ สถานีวิจัยสะแกราช เพรียว สว่ นหัวและลำ�ตวั ด้านหลังถูกปกคลมุ ดว้ ย
อุทยานแห่งชาติทับลาน เกล็ดขนาดเล็ก และถูกแทรกด้วยตุ่มใหญ่บนลำ�
ชอ่ื ไทย : ตุ๊กแกปา่ ตะวันออก และอุทยานธรณโี คราช) ตัวและหาง และบนหัวมีเล็กน้อย รูปแบบของตุ่ม
ช่ือสามญั : Cardamom Forest Gecko ใหญ่ทีแ่ ทรกอยบู่ นหลงั เป็นแบบกลม ด้านทอ้ งถกู
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Cyrtodactylus intermedius ปกคลุมด้วยเกล็ดรูปร่างกลมวางซ้อนเหลื่อมกัน
รยางค์หน้าและรยางคห์ ลังผอม เรียว นว้ิ ตนี เรียว
.. ยาว ใต้นว้ิ มเี กลด็ (subdigital lamellae) เรียง
. อยทู่ กุ นว้ิ ในตวั เตม็ วยั เพศผสู้ ว่ นใหญป่ รากฏรเู ปดิ
เหนอื ทวารร่วม (precloacal pores) ประมาณ
5-9 รู ในตัวเตม็ วยั เพศเมียบางครง้ั ปรากฏรเู ปิด
ขนาดเล็ก 0-9 รูเชน่ กนั

สัตว์เลื้อยคลาน | 53

แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม จงิ้ จกบา้ นหางหนาม

ออกหากินเวลากลางคืน กนิ แมลงขนาดเลก็ Spiny-tailed House Gecko
เปน็ อาหาร ตามผนังอาคาร บา้ นเรอื น บรเิ วณใกล้
ดวงไฟเพื่อกนิ แมลงที่บนิ มาเล่นแสงไฟ ◄สถานภาพ

การแพรก่ ระจาย สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพอ่ื การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) และ
ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ ่วั ทุกภาค สถานะกังวลนอ้ ยทีส่ ดุ (LC) โดย Thailand red
data แตไ่ ม่ไดถ้ ูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
ช่อื ไทย : จิง้ จกบา้ นหางหนาม
ชอื่ สามัญ : Spiny-tailed House Gecko . ..
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hemidactylus frenatus .... . . .

54 | สตั ว์เลื้อยคลาน

จิ้งจกบา้ นหางแบน

Common Frilled Gecko

ลักษณะ ▲สถานภาพ

เปน็ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานขนาดเลก็ ความ ไมไ่ ดถ้ กู จดั อยใู่ นบญั ชแี ดงของสหภาพ
ยาวจากปลายปากถึงรูทวารประมาณ 6 เพ่อื การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สตั ว์ป่า
เซนติเมตรส่วนหางจะยาวกว่าเล็กน้อย คุม้ ครอง และ Thailand red data
คอคอดไม่ชัดเจน ลำ�ตัวค่อนข้างแบน
ปลายปากแหลมเลก็ นอ้ ย ขาค่อนข้างอว้ น . ..
ท้วม ผิวหนังลำ�ตัวด้านหลังขนาดเล็ก .... . . .
ปกคลุมอยู่และแทรกด้วยตุ่มขนาดใหญ่รูปกลมอยู่ ด้านท้องมีเกล็ดวงกลมวางซ้อนเหลื่อม
กนั ผิวหนังด้านขา้ งลำ�ตัวและทอ้ งขายนื่ ขยายออกมาเปน็ ชายครุย นิ้วแผแ่ บนและกลางแผ่น
ขาดตอนออกจากกันเปน็ 2 คอลมั น์ และมเี ลบ็ ทุกนวิ้ เหมอื นกนั กับจิ้งจกหางหนาม จ้ิงจก
หางแบนตรงโคนหางพองออกชดั เจนมาก ปลายเรยี วแหลม ไมป่ รากฏหนามอยโู่ ดยรอบหาง
ยกเว้นใตห้ าง สขี องหัว ลำ�ตัว ขา หางสีนำ้ �ตาลปนดำ� มีแถบสีดำ�ลากจากปลายปาก ผา่ นตา
และมาดา้ นขา้ งลำ�ตวั ทงั้ สองขา้ ง มปี น้ื สขี าวหรอื ลวดลายคลา้ ยผเี สอ้ื อยบู่ นลำ�ตวั ประมาณ 4
อัน และบนหางด้วย หนาม ส่วน

แหล่งอาศัยและพฤตกิ รรม สถานภาพ
ออกหากินเวลากลางคืน กินแมลง ไมไ่ ดถ้ กู จดั อยใู่ นบญั ชแี ดงของสหภาพ
ขนาดเล็กเป็นอาหาร ตามผนังอาคาร บ้าน เพอื่ การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) สตั ว์ปา่
เรอื น บริเวณใกลด้ วงไฟ คมุ้ ครอง และ Thailand red data

การแพรก่ ระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

ช่อื ไทย : จง้ิ จกบ้านหางแบน
ชอ่ื สามญั : Common Frilled Gecko
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Hemidactylus platyurus

. . .
.... . . .

สตั ว์เล้ือยคลาน | 55

ตุ๊กแกบ้าน

Common House Gecko

ลักษณะ

เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่เม่ือเทียบกับชนิดอ่ืนๆ ภายใน
วงศ์เดียวกัน ความยาวลำ�ตัว(ไม่รวมหาง) ประมาณ 18-19
เซนตเิ มตร โดยความยาวหางใกลเ้ คยี งกบั ความยาวลำ�ตวั หวั คอ่ นขา้ ง
ใหญ่ ลำ�ตวั และหางกลม รมู า่ นตาเปน็ รปู วงรอี ยใู่ นแนวตงั้ ผวิ หนงั ลำ�
ตัวด้านหลังมีเกล็ดขนาดเล็กปกคลุมและมีตุ่มขนาดใหญ่กระจายอยู่
ผิวหนังลำ�ตัวด้านท้องเป็นวงกลมและขนาดใหญ่กว่าด้านหลัง น้ิว
ตนี แผแ่ บน ใตน้ ว้ิ ตนี มีแผ่นหนงั ท่ีเรยี กว่า “lamellae” เรยี งตอ่ กัน
(แผ่นหนังแต่ละแผ่นมีเส้นขนจำ�นวนมากช่วยในการยึดเกาะ) ท่ีเรียง
ตามแนวขวางกับนว้ิ น้ิวละ 1 คอลัมน์ ปลายนิ้วที่ 2-5 มีเล็บเป็น
รูปตะขอ เพศผปู้ รากฏรูเปิดเหนือทวารรว่ ม 10-24 รู หางด้านบน
มเี กลด็ ขนาดเลก็ ปกคลมุ และแทรกดว้ ยตมุ่ รปู กรวยคลา้ ยหนาม สว่ น
ใตห้ างเปน็ เกลด็ ขนาดใหญเ่ รยี งเป็นแถวเดียว สลี ำ�ตวั ขาหน้า หลงั มสี ีเทาถึงสเี ทาเข้มแลว้ แต่สภาพแวดล้อมท่ีอาศยั อยู่ ปรากฏจดุ สีสม้ แดง
และจดุ สีขาวกระจายอยบู่ นสพี ืน้ ทั้งบนหวั ลำ�ตัว ขาและหาง บางคร้งั จดุ สขี าวทีก่ ระจายอยู่บนลำ�ตัวน้นั จะเรียงต่อกันเป็นขีดตามขวางลำ�ตวั
ทำ�ใหม้ องเหน็ เปน็ เสน้ สขี าวไดเ้ ชน่ กัน

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

อาศยั ไดห้ ลากหลายส่งิ แวดลอ้ ม ทัง้ ใน
ปา่ แหง้ จนถงึ ปา่ ชน้ื หรอื ตามบา้ นเรอื น อาหาร
เป็นกลุ่มแมลงขนาดใหญ่ข้ึนไป หรือแม้แต่
ลูกหนูตัวเล็กๆ เสียงร้องของเพศผู้และเพศ
เมียส่งเสียงร้องได้เท่าเทียมกัน ซ่ึงเสียงมี
ความซับซ้อนมากประกอบด้วยเสียงข้ึนต้น
พยางคเ์ ดยี วทรี่ อ้ งถตี่ ดิ กนั หลายครงั้ แลว้ ตาม
ด้วยเสยี งรอ้ ง 2 พยางค์

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

ชื่อไทย : ตกุ๊ แกบ้าน ต๊กุ แก ตก๊ โต กั๊บแก
ชื่อสามัญ : Common House Gecko
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Gekko gecko

56 | สัตว์เลอ้ื ยคลาน

จิง้ เหลนหลากลาย

Bronze Mabuya

ลักษณะ

เป็นจ้ิงเหลนขนาดเล็กเมื่อเทียบกับชนิดอื่นในสกุล ความ
ยาวจากปลายปากถงึ รูทวารประมาณ 5-6 เซนติเมตร ความยาว
หางยาวกวา่ เลก็ น้อยคอื ประมาณ 9 เซนติเมตร ขาคอ่ นขา้ งป้อม
ขาหลังยาวกว่าขาหน้า ส่วนหัวเล็กและแคบกว่าลำ�ตัว ปลายปาก
แหลม ตาค่อนข้างใหญ่ รูเปิดหูเปน็ รูปวงกลม ไม่มเี กลด็ หลงั จมกู
(postnasal) เปลือกตาด้านใตม้ ีเกล็ดขนาดเล็ก เกลด็ ปกคลมุ ลำ�
ตัวด้าน ไม่มันวาววางซ้อนเหล่ือมกันตลอดท้ังตัว บนเกล็ดด้าน
หลงั แตล่ ะเกลด็ มสี นั 5-8 สนั ทำ�ใหเ้ วลาสมั ผสั รสู้ กึ ดา้ นๆ และเกลด็
หลดุ ออกคอ่ นข้างง่าย น้วิ ตีนเรยี วเล็ก ใต้น้ิวมีเกล็ดใหญ่เรยี งอยู่
ทุกน้ิว จิ้งเหลนหลากลายมีความแปรผันของสีสูงมาก ตัวอย่าง
จากการศึกษาคร้ังนี้พบว่าสีพื้นด้านหลังและหางเป็นสีนำ้ �ตาลแซม
ดว้ ยสดี ำ�ตามขอบด้านท้ายของเกล็ดท่ีปกคลมุ อยู่ ดา้ นท้องสีขาว
อมครมี สีของบรเิ วณหลังตาและสีข้างตอนบนในช่วงแรกๆ ของ
ลำ�ตวั เป็นสีน้ำ�ตาลเขม้ กวา่ ด้านหลงั ส่วนดา้ นท้ายลำ�ตวั สีจะค่อยๆ
กลมกลนื กบั สพี น้ื จากดา้ นหลงั แถบสขี าวเรม่ิ จากเกลด็ รมิ ฝปี ากบน
ผ่านใต้ตาและสีขาวกระจายกว้างข้ึนบริเวณรักแร้และสีข้างลำ�ตัว
ตอนตน้ ใตค้ างสีส้มสดในช่วงฤดผู สมพันธุ์ สีพ้ืนของสว่ นขาเขม้
กวา่ ดา้ นหลงั เลก็ นอ้ ย ปลายขอบเกลด็ มดี ำ�สว่ นตน้ ของเกลด็ สขี าว

แหล่งอาศยั และพฤติกรรม .

เป็นสัตว์หากินเวลากลางคืน สามารถพบได้บ่อยตามพ้ืนท่ี
ใกลท้ างนำ้ � สามารถพบได้ทง้ั ป่าแบบผสมและปา่ แห้งแลง้ รวมท้ัง
พนื้ ท่กี ารเกษตรตา่ งๆ

การแพรก่ ระจาย

ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคยกเว้นภาคใต้

สถานภาพ ชื่อไทย : จ้ิงเหลนหลากลาย
ชื่อสามญั : Bronze Mabuya
ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Eutropis macularia
(IUCN) ไมไ่ ดถ้ กู จดั เปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง และไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดย Thai-
land red data

สัตวเ์ ล้อื ยคลาน | 57

จิ้งเหลนบา้ น

Common Sun Skink

ลกั ษณะ

เปน็ สตั วเ์ ลอื้ ยคลานทม่ี ลี ำ�ตวั เรยี ว อวบอว้ น แขง็ แรง ความยาวจากปลายปากถงึ รทู วารประมาณ 13
เซนตเิ มตร และหางยาวกวา่ ความยาวจากปลายปากถงึ รทู วารคอื ประมาณ 18 เซนตเิ มตร ขาคอ่ นขา้ งปอ้ ม
ขาหลงั ยาวกว่าขาหนา้ ปลายปากแหลม ตาเลก็ รูเปิดหูรูปวงรหี รอื วงกลม มเี กล็ดหลงั จมกู (postnasal)
เกลด็ ปกคลมุ ตวั มันวาว วางซ้อนเหล่อื มกันตลอดทง้ั ตัว แตล่ ะเกล็ดมสี ันเล็กน้อย 3-5 สนั เกลด็ ใต้ทอ้ ง
นับตามขวางประมาณ 30-35 แถว นิ้วตีนเรยี วเลก็ ใต้นว้ิ มีเกล็ดใหญเ่ รยี งอยูท่ ุกนว้ิ สพี น้ื ดา้ นหลงั เป็นสี
น้ำ�ตาลอมครีม สพี ื้นดา้ นทอ้ งสคี รมี อมขาว ขอบข้างตัวเยอื้ งไปดา้ นหลัง (dorsolateral side) เหน็ เสน้
สดี ำ�แคบ ๆ ขอบดา้ นบนชดั เจน ขอบด้านล่างฟงุ้ ๆ ไม่ชัด ถดั ลงมาข้างล่างเป็นสดี ำ�แซมกับสีพ้ืนของสีข้าง
ทม่ี ีสีนำ้ �ตาลอมส้ม ถดั ลงมาอกี มจี ดุ สีขาวกระจายอยู่ ขามีสคี ลำ้ �กว่าลำ�ตวั เล็กนอ้ ย หางมีสีคลา้ ยกับลำ�ตวั

ชือ่ ไทย : จ้ิงเหลนบ้าน
ชอ่ื สามญั : Common Sun Skink
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Eutropis multifasciatus

.

.

แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม การแพรก่ ระจาย

อาศัยตามพ้ืนดินทัว่ ไป พ้นื ดินที่มใี บไมแ้ ห้งทับถม หรอื พบ ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ใ น
ไดต้ ามพ้ืนคอนกรตี ตามทีต่ ง้ั ถิน่ ฐานของมนษุ ย์ จิ้งเหลนบ้านเป็น ประเทศไทย
สัตวห์ ากินทงั้ เวลากลางวันกลางคืน และตอนพลบคำ่ �ดว้ ยเชน่ กนั

สถานภาพ

ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) และไม่ไดถ้ ูกจัดเปน็ สตั ว์ป่าคุ้มครอง มสี ถานะ
กังวลนอ้ ยท่สี ุด (LC) โดย Thailand red data

58 | สตั วเ์ ล้ือยคลาน

จิง้ เหลนเรียวโคราช
Khorat Slender Skink

ลักษณะ นิ้วตนี เรียวเล็ก ใต้นิ้วมีเกล็ดใหญเ่ รยี งอยู่ทุก ที่จังหวัดนครราชสีมา ในตำ�บลลาดบัวขาว
เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีลำ�ตัวเรียวยาว นว้ิ ลำ�ตัวสนี ำ้ �ตาลอมสม้ และขอบเกล็ดดา้ น อำ�เภอสีค้ิว ซึ่งเป็นเขตพื้นที่อุทยานธรณี
ความยาวจากปลายปากถึงรูทวารสามารถ ท้ายมีสีดำ�ทำ�ให้ตลอดลำ�ตัวเห็นเป็นจุดสีดำ� โคราช และยังไม่มีรายงานการพบอย่าง
ยาวไดถ้ ึง 20 เซนตเิ มตร และหางยาวใกล้ กระจายอยู่ สีของสีด้านข้างลำ�ตัวค่อนข้าง จริงจงั ในพน้ื ทอี่ ื่น
เคียงปลายปากถึงรูทวาร ปากหลิม หัวเล็ก สว่างกว่าสีของลำ�ตวั ดา้ นหลงั โดยปรากฏสี
คอไมค่ อด ขาสน้ั เกลด็ เรยี บและมนั วาว เกลด็ พ้นื เป็นสีสม้ อกเหลือง สถานภาพ
บนหัวขนาดใหญ่ โดยเฉพาะเกล็ดด้านหน้า
ของสว่ นหัว (frontal) 1 เกลด็ แคบและยาว แหล่งอาศัยและพฤติกรรม สถานะกังวลนอ้ ยที่สดุ (LC) โดยบัญชี
สว่ นเกลด็ ขมอ่ ม (parietal) 1 คกู่ วา้ งและสนั้ แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ไม่ปรากฏเกลด็ หลังคอ (nuchal) เปลือกตา มักเคลื่อนที่ด้วยการเลื้อยมากกว่าเดิน (IUCN) และสถานะใกล้ถูกคุกคาม (NT)
ลา่ งเป็นเกล็ดไมใ่ ช่หนงั เกลด็ เหนือจมกู เช่อื ม หรือคลาน พบอาศัยในที่ร่มช้ืนใต้กองใบไม้ และสถานะสตั วป์ ระจำ�ถิน่ (Endemic) โดย
รวมกบั เกลด็ จมกู รเู ปดิ รหู ขู นาดเลก็ ระยะหา่ ง ออกหากนิ ในเวลากลางวัน Thailand red data แต่ไม่ได้ถูกจัดเป็น
สตั วป์ ่าคมุ้ ครอง
การแพร่กระจาย
จ้ิงเหลนเรียวโคราชถูกค้นพบคร้ังแรก
จากตาถงึ รเู ปดิ รหู ยู าวกวา่ ระยะจากปากถงึ ตา

ชอื่ ไทย : จง้ิ เหลนเรยี วโคราช
ช่อื สามญั : Khorat Slender Skink

. ช่ือวิทยาศาสตร์ : Lygosoma koratense

“จงิ้ เหลนเรียวโคราช สัตว์เล้อื ยคลาน | 59

ถกู ค้นพบคร้ังแรกท่ี
จังหวดั นครราชสีมา
ในตำ�บลลาดบวั ขาว

”อำ�เภอสคี ิ้ว

60 | สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน

จิ้งเหลนเรียวทอ้ งเหลอื ง
Bowring's Slender Skink
ลักษณะ แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
เป็นจ้ิงเหลนขนาดเล็กเมื่อเทียบกับชนิดอ่ืนๆ ในสกุล เป็นสัตวอ์ อกหากินเวลากลางวนั พบหากนิ ตามพ้ืนดินหรือ
เดียวกัน ความยาวจากปลายปากถึงรูทวารสามารถยาวได้ถึง ใต้ใบไมท้ ี่ทบั ถมกนั สามารถพบได้ในสภาพปา่ ทัว่ ไปในระดบั ความ
4-5 เซนติเมตร และหางยาวกว่าปลายปากถึงรูทวารเล็กน้อย สงู ที่ต่ำ�กว่าระดับน้ำ�ทะเล 1,500 เมตร รวมทั้งบรเิ วณสวนและ
เป็นจ้งิ เหลนที่มีลำ�ตัวยาว หัวเล็ก ปลายปากแหลม เกล็ดเรยี บ มนั แหลง่ น้ำ�ด้วย
วาว ไม่มีเกล็ดหลงั จมูก (postnasal) หัวคอ่ นขา้ งแบนราบ น้วิ
ตนี เรยี วเลก็ ใตน้ ว้ิ มเี กลด็ ใหญเ่ รยี งอยทู่ กุ นว้ิ ดา้ นหลงั ของหวั ลำ� การแพรก่ ระจาย
ตวั ขาและหางสีน้ำ�ตาล แถบสีดำ�ลากจากหลงั ตาพาดยาวตามข้าง สามารถพบไดท้ วั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย

ลำ�ตวั ไปถงึ ดา้ นขา้ งของหางตอนตน้ ใตแ้ ถบสดี ำ�ดงั กลา่ วปรากฏสี สถานภาพ
นำ้ �ตาลแดงตง้ั แตบ่ รเิ วณช่องเปิดรูหู ไปถึงขา้ งลำ�ตวั และข้างหาง
ซึ่งถัดลงมาจากสีนำ้ �ตาลแดงน้ันจะปรากฏจุดสีขาวและดำ�กระจาย ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
อยูอ่ ยา่ งไม่เป็นระเบียบ นอกเหนือจากน้นั ในชว่ งฤดูผสมพันธุ์พบ ธรรมชาติ (IUCN) และสถานะกงั วลนอ้ ยท่ีสดุ (LC) โดย Thailand red
วา่ เพศผมู้ สี เี หลอื งบรเิ วณทอ้ งอกี ดว้ ย สใี ตค้ าง และทอ้ งทว่ั ไปเปน็ data แต่ไม่ไดถ้ ูกจดั เปน็ สตั วป์ า่ คุ้มครอง

มีสีขาวอมเทา ขาไม่มีลวดลาย

ชือ่ ไทย : จงิ้ เหลนเรยี วทอ้ งเหลือง
ช่ือสามัญ : Bowring’s Slender Skink
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Lygosoma bowringii

.

สัตวเ์ ลื้อยคลาน | 61

จิง้ เหลนดนิ ลายจดุ

Black Ground Skink
ลกั ษณะ
ช่ือไทย : จิ้งเหลนดินลายจดุ จิง้ เหลนดินจดุ ดำ�
เปน็ จงิ้ เหลนขนาดปานกลางเมอ่ื เทยี บกบั ชนดิ อน่ื ในสกลุ ความ ช่ือสามัญ : Black Ground Skink
ยาวจากปลายปากถึงรูทวารประมาณ 5 เซนติเมตร ความยาว ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Scincella melanosticta
หางยาวกวา่ เลก็ น้อยคือประมาณ 8-9 เซนติเมตร ขาคอ่ นข้างป้อม
ขาหลังยาวกวา่ ขาหน้า ปลายปากแหลม ตาคอ่ นข้างมีขนาดใหญ่ หวั
ค่อนขา้ งแขง็ แรงและกวา้ งพอๆ กบั ความกวา้ งลำ�ตัว รูเปดิ หูรปู วงรี
หรอื วงกลม ไมม่ เี กลด็ เหนอื จมกู (supranasal) ไมม่ เี กลด็ หลงั จมกู
(postnasal) เกลด็ ปกคลมุ ลำ�ตัวมนั วาว วางซ้อนเหลื่อมกนั ตลอด
ทั้งตวั เกลด็ ใต้ท้องนับตามขวางประมาณ 32-38 แถว ขอบของ
เปลือกตาบนและล่างสีเหลืองอมทอง น้ิวตีนเรียวเล็ก ใต้นิ้วมีเกล็ด
ใหญ่เรียงอยู่ทุกนิ้ว สีพ้ืนด้านหลังเป็นสีนำ้ �ตาล สีพื้นของหางแล้ว
คอ่ ยๆ ไลส่ จี นสอี อกสสี ม้ ดา้ นทอ้ งมสี ขี าวอมเทา บนหวั และรมิ ฝปี าก
ปรากฏจุดสีดำ�ปะปนอยู่ด้วย สีพ้ืนด้านท้องของส่วนหัวมีสีครีมอม
ขาว แถบสดี ำ�พาดจากหลังตาตลอดแนวดา้ นข้างลำ�ตัวไปจนถงึ ดา้ น
ขา้ งของหาง สขี า้ งมสี เี ทาและมจี ดุ สขี าวมกุ กระจายอยู่ ในบางตวั อาจ
พบเพยี งแคส่ ีพื้นเท่านั้น

แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม สถานภาพ

ออกหากนิ เวลากลางวนั อาศยั ตามพนื้ ดนิ ทมี่ เี ศษใบไมท้ บั ถม ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ในปา่ ทว่ั ไป (IUCN) และไม่ไดถ้ กู จัดเป็นสัตวป์ ่าคุ้มครอง มีสถานะกังวลน้อยท่ีสดุ (LC)
โดย Thailand red data
การแพรก่ ระจาย
..
ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ เ กื อ บ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ข อ ง
ประเทศไทย ยกเวน้ ภาคกลาง ส่วนกลางของภาคตะวนั ออกเฉยี ง
เหนือ และใต้สดุ ของประเทศไทย

.

62 | สัตวเ์ ลื้อยคลาน

ตะกวด
Bengal Monitor

ลกั ษณะ

เป็นสตั ว์ในกล่มุ เล้ือยคลานที่มีขนาดใหญ่ ลำ�ตัวอ้วนป้อม และแบนเล็กน้อย หางกลม
มขี าทแ่ี ขง็ แรง กรงเลบ็ แหลมคม อยใู่ นกลมุ่ เดยี วกนั กบั เหย้ี ขนาดลำ�ตวั จากปลายปากถงึ รทู
วารประมาณ 220 เซนตเิ มตรหรอื อาจจะมากกวา่ หางยาวมากกวา่ ความยาวลำ�ตวั ประมาณ
340 เซนตเิ มตร หวั คอ่ นขา้ งแคบกวา่ ความกวา้ งลำ�ตวั ปากยนื่ ยาวแตป่ ลายปากมนและตอน
ปลายปากไม่แบน รูจมูกเป็นแนวยาวอยู่ตรงกลางระหว่างระยะจากปลายปากและตา เกล็ด
บนหวั มขี นาดใกล้เคยี งกันเกอื บท้งั หมด เกล็ดบรเิ วณคอมขี นาดเล็ก เกล็ดใต้ทอ้ งเรยี บ สี
พื้นทัง้ ตัวมีสีดำ�อมเทาและมจี ดุ สีขาวกระจายอยทู่ ่ัว ในวยั เด็กสีพื้นของหัวและบรเิ วณท้องจะ
เปน็ สีน้ำ�ตาลอมครีม ท้ายทอยมรี อยขดี ไม่เปน็ ระเบียบ ลามไปจนถงึ คางและหลงั ตา และจุด
สขี าวในวยั เด็กจะมีขนาดใหญก่ ว่าในตวั เต็มวยั

แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม การแพรก่ ระจาย

ตะกวดมักอาศัยบนต้นไม้เนื่องจาก ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพ
มีนสิ ยั ทปี่ นี ตน้ ไมเ้ กง่ และมกั นอนผ่งึ แดด เพือ่ การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) และสถานะกงั วล
ตามลานหินหรือก่ิงไม้ หากินตามพ้ืนดิน น้อยท่สี ุด (LC) โดย Thailand red data แตไ่ ม่
ชอบอยตู่ ามปา่ โปรง่ มากกวา่ ปา่ ทบึ ไมค่ อ่ ย ได้ถกู จัดเปน็ สัตวป์ ่าค้มุ ครอง
ชอบว่ายน้ำ�หรืออาศัยอยู่ใกล้แหล่งนำ้ �และ
นิสยั ไมด่ ุรา้ ยเท่าเห้ยี

สถานภาพ แ ห ล่ ง อ า ศั ย แ ล ะ
พฤติกรรม
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ เป็นสัตว์ที่คุ้นเคยดี
(IUCN) สถานะใกลถ้ กู คกุ คาม (NT) โดย Thai- กับมนษุ ย์ อาศัยใกล้แหล่ง
land red data และถกู จดั เปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครอง นำ้ � วัยเด็กพบอาศัยบน
ต้นไม้ด้วย สามารถว่าย
ช่ือไทย : ตะกวด จะกวด จงั กวด แลน . น้ำ�ได้ และดำ�นำ้ �ไดน้ าน เปน็
ชื่อสามญั : Bengal Monitor นักล่าที่ค่อนข้างน่ากลัว
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Varanus bengalensis ซง่ึ เหยื่อของมันได้แก่ เต่า
งู ก้ิงก่า ตลอดจนกุ้ง ปู
และปลา นอกจากนน้ั ยงั กนิ
ซากสตั ว์เป็นอาหาร

สตั ว์เลอ้ื ยคลาน | 63

เห้ยี

Common
Water Monitor

ลกั ษณะ

เ ป็ น สั ต ว์ เ ล้ื อ ย ค ล า น ข น า ด ใ ห ญ่
มาก ความยาวจากปลายปากถึงรูทวาร
ประมาณ 98 เซนติเมตร หางยาวกว่า
ลำ�ตัว ยาวประมาณ 114 เซนติเมตร
ปลายปากแบน ล้นิ ยาว คอยาว ปลายลิน้
มสี องแฉกคลา้ ยงู รูจมกู อยใู่ กล้กบั ปลาย
ปาก ชอ่ งเปดิ รหู วู งกลมขนาดใหญ่ เกลด็
ปกคลมุ บนหวั และลำ�ตวั เปน็ เกลด็ ขนาดเลก็
และแทรกด้วยต่มุ ใหญ่ หวั ลำ�ตวั แขน ขา
และหางสดี ำ�ถงึ สดี ำ�อมเทา ใตค้ าง และตรง
กลางลำ�ตวั ถกู คละดว้ ยสคี รมี รมิ ฝปี ากมี
แถบสีดำ�คาดอยู่ คอมีสีดำ� และสีครมี พาด
ตามยาวลำ�คอ ลวดลายบนลำ�ตัวเปน็ ลาย
ดอกสีครีมตรงกลางดอกสีดำ� เรียงเป็น
แนวขวางประมาณ 6 แถว

ชื่อไทย : เหย้ี เห้ยี ลายดอก ..
ชอ่ื สามญั : Common Water Monitor
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Varanus salvator

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะ
กงั วลน้อยทสี่ ดุ (LC) โดย Thailand red data และถูกจดั เป็นสตั วป์ ่าคุ้มครอง

64 | สัตวเ์ ล้อื ยคลาน

งูเขียวพระอนิ ทร์

Ornated Tree Snake

ลักษณะ

เป็นงูขนาดกลาง ความยาวลำ�ตัวยาวถึง 106.8 เซนติเมตร ลำ�ตัวเรียวยาว ปลาย
หางเรยี วแหลม เกลด็ เด่นๆ บนหัวไดแ้ ก่ เกล็ดระหว่างจมูก (internasals) ส้นั มากกว่าเกล็ด
หนา้ เกลด็ หน้าผาก (prefrontals) เกลด็ แกม้ (loreal) ยาว เกลด็ หนา้ ตา (preocular) 1
เกล็ดขนาดใหญ่ เกล็ดหลังตา (postoculars) 2 เกล็ด เกล็ดปกคลุมบนตวั เรียบหรอื มสี นั
เลก็ น้อย สว่ นหัว ลำ�ตวั และหางสีเขียว และมีดำ�คละอยู่ตลอดท้งั ลำ�ตวั ลายบนหัวมสี ่วนของสี
ดำ�มากกวา่ สเี ขียว และมสี ีเขียวแถบแคบๆ พาดตามขวางกับหัว เรม่ิ จากลากผา่ นจมกู ลากผา่ น
ส่วนแกม้ ลากผ่านกอ่ นหนา้ ของส่วนตา ลากผา่ นหลังตา และลากผา่ นทา้ ยทอย ใตท้ อ้ งสีเขียว
อมเหลอื ง และมีจดุ สดี ำ�เล็กๆ กระจายอยู่

แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม การแพรก่ ระจาย

ออกหากินเวลากลางวัน อาหาร ในประเทศไทยสามรถพบไดท้ ่ัวประเทศ
ได้แก่ สัตว์เล้ือยคลานจำ�พวกจิ้งเหลน
กิ้งก่า แม้กระทั่งตุ๊กแก ซึ่งมักพบเป็นคู่
ปรับกับตุ๊กแกบ้านอยู่บ่อยคร้ัง อาศัยอยู่
ทีส่ ูงบนต้นไม้

สถานภาพ ▲แหล่งอาศัยและ
พฤตกิ รรม
ไม่ได้ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) เป็นสัตว์ที่คุ้นเคยดี
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย Thailand กับมนษุ ย์ อาศัยใกลแ้ หลง่
red data และไม่ได้ถูกจัดสถานะเป็นสัตว์ป่า นำ้ � วัยเด็กพบอาศัยบน
คุม้ ครอง ต้นไม้ด้วย สามารถว่าย
น้ำ�ได้ และดำ�น้ำ�ไดน้ าน เปน็
ช่ือไทย : งเู ขียวพระอนิ ทร์ . นักล่าที่ค่อนข้างน่ากลัว
ช่อื สามญั : Ornated Tree Snake ซง่ึ เหย่ือของมันได้แก่ เต่า
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Chrysopelea ornata งู กิ้งก่า ตลอดจนกุ้ง ปู
และปลา นอกจากนนั้ ยงั กนิ
ซากสตั ว์เปน็ อาหาร

สตั ว์เล้อื ยคลาน | 65

เห้ยี

Common
Water Monitor

◄ลักษณะ

เ ป็ น สั ต ว์ เ ลื้ อ ย ค ล า น ข น า ด ใ ห ญ่
มาก ความยาวจากปลายปากถึงรูทวาร
ประมาณ 98 เซนติเมตร หางยาวกว่า
ลำ�ตัว ยาวประมาณ 114 เซนติเมตร
ปลายปากแบน ล้ินยาว คอยาว ปลายลน้ิ
มีสองแฉกคลา้ ยงู รูจมกู อย่ใู กลก้ บั ปลาย
ปาก ชอ่ งเปดิ รูหวู งกลมขนาดใหญ่ เกล็ด
ปกคลมุ บนหวั และลำ�ตวั เปน็ เกลด็ ขนาดเลก็
และแทรกด้วยตุ่มใหญ่ หัว ลำ�ตัว แขน ขา
และหางสดี ำ�ถงึ สดี ำ�อมเทา ใตค้ าง และตรง
กลางลำ�ตวั ถกู คละดว้ ยสคี รมี รมิ ฝปี ากมี
แถบสีดำ�คาดอยู่ คอมสี ีดำ� และสคี รมี พาด
ตามยาวลำ�คอ ลวดลายบนลำ�ตวั เปน็ ลาย
ดอกสีครีมตรงกลางดอกสีดำ� เรียงเป็น
แนวขวางประมาณ 6 แถว

ชื่อไทย : เหีย้ เห้ยี ลายดอก
ชอ่ื สามญั : Common Water Monitor
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Varanus salvator (Laurenti, 1768)

◄สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะ
กังวลนอ้ ยท่ีสดุ (LC) โดย Thailand red data และถูกจดั เป็นสตั ว์ป่าคุ้มครอง

66 | สตั ว์เล้อื ยคลาน

งูทางมะพรา้ ว ▼การแพรก่ ระจาย

Radiated Ratsnakes ในประเทศไทยสามารถพบได้ในภาค
เหนอื ภาคตะวนั ตก ภาคตะวันออกเฉียง
ลักษณะ เหนือบางพ้ืนท่ีได้แก่ จังหวัดหนองคาย
จงั หวดั อดุ รธานี จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ จงั หวดั
เป็นงูทม่ี ีขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ ความยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 144 เซนตเิ มตร หัวยาวรูปไข่ มุกดาหาร จังหวัดอำ�นาจเจริญ จังหวัด
ตาคอ่ นขา้ งโต เกลด็ ขมบั (parietal) 1 คขู่ นาดใหญ่ท่สี ดุ เกล็ดรมิ ฝีปากบนส่วนใหญจ่ ะมี อุบลราชธานี จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด
3 เกลด็ ทีอ่ ยใู่ ต้ตา บรเิ วณคอสามารถพอง ขยายออกได้ เกล็ดด้านหลังเรียบไม่มีสนั นบั สุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด
ตรงกลางลำ�ตัวมี 19 แถว ลำ�ตวั มนี ำ้ �ตาลอมส้ม ไปจนถึงนำ้ �ตาลอมครมี บริเวณตรงกลาง นครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ ภาคตะวัน
ลำ�ตวั สจี ะอนื่ กวา่ ตอนหนา้ และตอนทา้ ยของตวั สขี ดี สดี ำ�แคบๆ คาดเปน็ เสน้ ตรงอยทู่ า้ ยทอย ออก ไดแ้ ก่ จังหวัดจนั ทบุรี จงั หวดั ตราด
และเสน้ สดี ำ�แคบๆ คาดจากหลงั ตาทงั้ สองขา้ งไปดา้ นทา้ ยทอย และอกี เสน้ จากตาทงั้ สองขา้ ง จงั หวดั สระแกว้ และภาคใตต้ ามจงั หวดั ฝงั่
พาดเปน็ เสน้ ตรงลงมาถงึ เกลด็ ริมฝีปากลา่ ง ลำ�ตวั มแี ถบสดี ำ�ขนาดใหญ่ 2 แถบ เร่มิ จากลำ� ทิศตะวันตก
ตัวตอนตน้ ไลไ่ ปจนถงึ หาง ซ่ึงขนาดของแถบจะคอ่ ยๆ แคบลง

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม สถานภาพ

ส่วนใหญ่มักกินอาหารได้หลาก สถานะกังวลนอ้ ยท่ีสดุ (LC) โดยบัญชี
หลาย ได้แก่ สัตว์สะเทินนำ้ �สะเทนิ บก สัตว์ แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
เล้ือยคลานกลุ่มจ้ิงเหลน ก้ิงก่า นก ไป (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
จนถงึ สตั วเ์ ลีย้ งลกู ดว้ ยนมจำ�พวกหนู ใน Thailand red data และถกู จดั สถานะเปน็
บางครง้ั พบตามยงุ้ ขา้ ว บา้ นเรอื น ปกตไิ ม่ สัตวป์ า่ คมุ้ ครอง
ดุ หากตกใจและเขา้ ใกลจ้ ะแวง้ กดั ขณะขจู่ ะ
พองหนงั คออา้ ปากดนู า่ กลวั เปน็ งไู มม่ พี ษิ

การแพรก่ ระจาย

ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ท่ั ว ทุ ก ภ า ค ใ น
ประเทศไทย

ช่อื ไทย : งทู างมะพรา้ ว งทู างมะพรา้ วลายขีด
ชอ่ื สามญั : Radiated Ratsnakes
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Coelognathus radiatus .

งูเขียวปากจิ้งจก สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน | 67

Oriental Whip Snake

ลักษณะ ▲แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม

เป็นงขู นาดเลก็ ลำ�ตัวยาว เรียว ความยาวลำ�ตวั ยาวถึง 120 เซนติเมตร สว่ นหัว อาศัยอยู่บนต้นไม้ และสามารถพบอยู่
ยาว ปลายปากแหลมพงุ่ ไปดา้ นหนา้ แตต่ รงปลายปากไมม่ แี ผน่ หรอื ตง่ิ ยาวทปี่ ลายจมกู เหมอื น สงู ถึง 4-5 เมตร ตามป่าทบึ และพบได้ใน
ในงเู ขียวปากแหนบ (A. nasuta) เกล็ดเหนอื ตา (supraocular) เกลด็ เดยี ว เกล็ดใตท้ ้อง ป่าหลากหลายแบบไปจนถึงป่าที่สูงกว่าระดับ
มีมากกว่า 195 เกลด็ เกลด็ ใตห้ างมากกวา่ 151 เกล็ด บนหัวไมม่ ีลวดลายใดๆ สีของ นำ้ �ทะเล 2,100 เมตร ออกหากินในช่วง
ลำ�ตวั คอ่ นข้างมีความแปรผันของสี ส่วนมากมสี เี ขียว แตส่ ีอน่ื ก็พบบา้ ง เช่น สนี ำ้ �ตาล สสี ้ม เวลากลางวนั อาหารไดแ้ ก่ นก และสตั วเ์ ลือ้ ย
ส่วนตัวอย่างทีพ่ บเปน็ สเี ทา สว่ นคอ และลำ�ตัวตอนต้นมสี ดี ำ�กระดำ�กระดา่ งบนอยู่ ใต้ท้องสี คลานจำ�พวกจง้ิ จก จิ้งเหลน เป็นต้น
สว่างกวา่ ด้านหลัง

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN)สถานะกังวลน้อยท่ีสดุ (LC) โดย Thailand red data และไม่ถูกจัดเป็นสตั วป์ ่า
คุ้มครอง

ชือ่ ไทย : งูเขียวปากจงิ้ จก งูเขยี วหัวจง้ิ จกป่า ..
ชอ่ื สามัญ : Oriental Whip Snake
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Ahaetulla prasina

68 | สัตว์เล้อื ยคลาน

งสู ายม่านพระอินทร์ การแพร่กระจาย

Common Bronze-back ในประเทศไทยสามารถพบได้อย่างกว้าง
ขวาง ดังท่ีมีรายงานมาแล้ว ได้แก่ จังหวัด
ลักษณะ กรงุ เทพฯ จงั หวดั กาญจนบรุ ี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด
เปน็ งูขนาดกลาง เรียวยาว ความยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 125 เซนตเิ มตร ส่วนหัวยาว นครราชสีมา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัด
ตาขนาดใหญ่ รูม่านตาเปน็ วงกลม รูจมกู กลม เกล็ดริมฝปี ากบนตอนตน้ เล็กกวา่ ตอนทา้ ย พังงา จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
เกลด็ ดา้ นหลงั บริเวณกลางลำ�ตวั มี 15 แถว เกล็ดใต้ทอ้ งมีขนาดใหญ่ ขอบดา้ นนอกของ จังหวัดแพร่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดร้อยเอ็ด
เกล็ดมีสันและมีรอยหยัก เกลด็ ใต้หางเป็นแถวคูแ ละขอบด้านนอกมีสนั กับมีรอยหยกั เหมอื น จังหวัดระนอง จังหวัดราชบุรี จังหวัดลพบุรี
เกล็ดท้อง ส่วนหัวต้ังแต่ส่วนริมฝีปากบน บริเวณปลายปากไปจนถึงท้ายทอยมีสีน้ำ�ตาล จงั หวดั เลย จงั หวดั สตลู จงั หวดั สระแกว้ จงั หวดั
แถบสีดำ�เขม้ จากหลงั ตายาวพาดยาวไปตามข้างๆ ลำ�ตัว ด้านทอ้ ง และดา้ นข้างเยื้องไปด้าน สระบุรี และจงั หวัดอทุ ัยธานี
หลงั (ventrolateral side) เป็นสคี รีมขอบตัดกับสีของแถบสดี ำ�ชัดเจน สามารถพบสฟี า้
ออ่ นๆ บรเิ วณคอขณะพองตัว ▲แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม การแพรก่ ระจาย เวลากลางวนั พบหลบซอ่ นอยตู่ ามกอง
ไม้ ขอนไม้ ใกลโ้ ขดหนิ หรอื พนื้ คอนกรตี ใกล้
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ท่ีสูง อยู่ตาม สามารถพบไดท้ ่ัวทุกภาคในประเทศไทย ใบไม้ชน้ื และออกหากินในชว่ งเวลากลางคนื
ต้นไม้ รวดเร็วและปราดเปรียว สามารถ
ขยายตัวเมื่อมีอาการตกใจหรือต่ืนเต้น
ออกหากินในช่วงเวลากลางวันโดยกินกบ
หรือสัตวเ์ ลอ้ื ยคลานอืน่ ๆ ขนาดเล็ก

สถานภาพ

สสถานะกังวลน้อยทส่ี ดุ (LC) โดยบัญชี
แดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
Thailand red data และถูกจัดสถานะเป็น
สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

ชอ่ื ไทย : งูสายมา่ นพระอินทร์ .
ชอ่ื สามัญ : Common Bronze-back
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Dendrelaphis pictus

สัตว์เลอ้ื ยคลาน | 69

งูปล้องฉนวนสร้อยเหลือง
Common Wolf Snake
ลกั ษณะ

เป็นกลุ่มงูขนาดเล็ก ไม่มีพิษ ลำ�ตัวเรียวยาว ตาเล็ก หัวรูปไข่กว้างกว่าความกว้าง
ลำ�ตัวเล็กน้อย หวั ค่อนขา้ งแบน รจู มกู อยใู่ กลก้ บั ปลายปาก เกล็ดจมกู มีขนาดใกลเ้ คียงกบั
เกลด็ รมิ ฝปี ากบน เกลด็ ปกคลมุ ดา้ นหลงั เปน็ เกลด็ เรยี บ ไมม่ สี นั เปน็ รปู วงกลมซอ้ นเหลอื กนั
ตลอดท้ังลำ�ตัวดา้ นหลัง ด้านหลังของหางปกคลุมเกล็ดเปน็ รปู หกเหลีย่ ม เกล็ดใต้ทอ้ งเปน็
เกล็ดขนาดใหญเ่ รยี งแถวเดยี ว สพี ื้นของลำ�ตวั สนี ำ้ �ตาลอมแดง หรือสีดำ�ในวยั เดก็ หรอื ตวั
เต็มวยั ในบางพืน้ ท่ี บนหัวไมม่ ีลวดลาย แถบสีเหลอื งหรอื สีขาวพาดอยู่ริมฝปี ากด้านลา่ งท้ัง
สอง ไปถงึ คาง และโค้งไปทา้ ยทอย (เห็นเป็นสรอ้ ยสีเหลอื งหรอื สขี าว) ลำ�ตัวดา้ นหลังปราก
กฎลายเกล็ดสีเหลืองหรือสีขาวเรียงไม่เป็นระเบียบตลอดลำ�ตัวและหาง ด้านท้องเป็นสีครีม
หรอื สขี าวไมม่ ลี วดลาย

สถานภาพ ช่อื ไทย : งปู ลอ้ งฉนวนสร้อยเหลอื ง
ช่ือสามญั : Common Wolf Snake
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Lycodon capucinus
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยที่สดุ (LC) โดย Thailand red data และ
ไม่ถกู จดั เป็นสตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

..
.

70 | สตั ว์เลือ้ ยคลาน

งปู ลอ้ งฉนวนลาว

Yellow-barred Wolf Snake

ลกั ษณะ
มขี นาดเลก็ ความยาวลำ�ตวั และสว่ นหางประมาณ 51.3 เซนตเิ มตร หวั

มสี ดี ำ� ทา้ ยทอยมแี ถบกวา้ งสเี หลอื งพาดขวาง ดา้ นหลงั ของลำ�ตวั มแี ถบสเี หลอื ง
พาดขวางสลบั กับแถบสดี ำ� แถบสีดำ�ยาวกวา่ แถบทเี่ หลอื ง ดา้ นท้องและใต้คาง
มีสขี าวอมเหลอื ง ใต้หางมสี ีขาวอมเทา สว่ นหวั กว้างกวา่ ลำ�คอเลก็ น้อย ตาเล็ก
ลำ�ตวั กลม หางยาว ปลายของสว่ นหางเรยี ว มเี กลด็ แผน่ กวา้ งบนสว่ นหวั เกลด็
เรยี บทห่ี ลงั ทางดา้ นบน และหาง ส่วนท้องมีเกล็ดขยายกวา้ ง เกล็ดใตห้ างเปน็
แถวคู่ ทอ้ งมเี กล็ดจำ�นวน 163-167 เกล็ด เกล็ดใต้หาง 60-76 เกล็ด
แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

อาศัยตามพนื้ ลา่ งของป่า มักหลบซ่อนตัวตามขอนไม้ หรือใตก้ องใบไม้
ที่มีความชุ่มช้ืน ออกหากินในช่วงเวลากลางคืน มีนิสัยค่อนข้างดุ มักฉกกัด
เม่อื ถกู รบกวน
การแพรก่ ระจาย

สามารถพบได้ทวั่ ทกุ ภาคในประเทศไทย
สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยทส่ี ุด (LC) โดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลนอ้ ยทสี่ ดุ (LC) โดย Thailand red data
และไม่ถูกจดั เปน็ สตั ว์ปา่ คุม้ ครอง

ช่อื ไทย : งปู ล้องฉนวนลาว
ชอ่ื สามัญ : Yellow-barred Wolf Snake
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Lycodon Laoensis

.

สตั วเ์ ลื้อยคลาน | 71

72 | สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน

ชื่อไทย : งเู หลือม
ชอื่ สามัญ : Reticulated Python
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Malayopython reticulatus

.

►การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาคในประเทศไทย

สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน | 73

งูเหลอื ม

Reticulated Python

ลกั ษณะ

เปน็ งขู นาดใหญท่ สี่ ดุ ความยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 900 เซนตเิ มตร หวั ยาวและกวา้ งปากกวา้ ง ตามขี นาดเลก็ เกลด็ ปลายปากบน (rostral)
และเกลด็ รมิ ฝปี ากบนเกลด็ ท่ี 1-4 มรี เู ปดิ อยู่ ซ่ึงรเู ปิดดงั กลา่ วเป็นแอ่งรบั คลืน่ ความร้อนอินฟราเรด เกลด็ ริมฝปี ากบนเกล็ด
ทอ่ี ยู่ใตต้ าคอื เปน็ ท่ใี หญท่ ่ีสดุ เกล็ดใต้ท้องมปี ระมาณ 300-332 เกล็ด เกลด็ ใตห้ างมี 75-102 เกลด็ ลำ�
ตวั สีเหลอื งอำ�พัน หรอื สีครมี บนหวั มีขดี สีดำ�จากตรงกลางปากพาดไปถงึ คอ ขดี สีดำ�แคบๆ ลาก
จากหลังตาไปด้านหลังท้ังสองข้าง ลำ�ตัวมีแถบสีดำ�ซิกแซกและเชื่อมต่อกันตลอดทั้งตัว
และมแี ถบสีเหลืองทองโอบลอ้ มรอบแถบสดี ำ�ท่ซี ิกแซกอย่อู กี ที

แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

เป็นสัตว์หากินเวลากลางคืน มัก
อาศัยตามพื้นดินหรือสามารถปีนป่ายไปท่ี
สูงไดเ้ ชน่ กัน แหลง่ ท่ีอยอู่ าศยั ไดแ้ ก่ แม่นำ้ �
ลุ่มนำ้ � ป่าก่ึงดิบชื้น และป่าดิบช้ืน กิน
อาหารได้หลากหลาย ได้แก่ สตั วเ์ ลยี้ งลูก
ด้วยนม และนก้

สถานภาพ

ไมไ่ ดถ้ กู สถานะโดยบญั ชแี ดงของสหภาพ
เพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วล
นอ้ ยที่สุด (LC) โดย Thailand red data
และถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่สามารถเพาะ
เล้ยี งได้

74 | สัตว์เล้ือยคลาน

งูงอดเลย

Deuve's Kukri Snake
ลกั ษณะ
หวั ใจสดี ำ�โดยแขนหวั ใจอยทู่ เี่ กลด็ หนา้ ผากพอดี และมแี ถบโคง้ อยเู่ หนอื
เป็นงูที่มีลำ�ตัว ขมับทั้งสองข้าง และแถบพาดตามขวางผ่านตาท้ังสองข้าง ลำ�ตัว
ค่อนข้างสั้น ขนาด ปรากฏลายเสน้ สดี ำ�บนหลงั ท้ังหมด 4 เสน้ โดย 2 เส้นอยูข่ นาบขา้ ง
เล็ก ความยาวลำ� แนวกระดกู สนั หลงั เรมิ่ จากสว่ นหวั ลงไปถงึ หาง อกี 2 เสน้ มแี คบกวา่
ตั ว ป ร ะ ม า ณ 2 4 อยขู่ ้างตัวเยื้องไปดา้ นหลัง (dorsolateral side) ด้านท้องสคี รีม
เซนติเมตร มองไม่ หรอื ขาวอย่บู รเิ วณขอบด้านข้างท้อง (ventrolateral side) โดย
เห็นคอชัดเจน และ มีรอยปะสีดำ�ขนาดใหญ่วางเรียงเป็นตะเข็บอยู่ท้ังสองข้าง
เข้ียวด้านในปากเป็นรูปมีดกรูข่าซึ่งเป็นลักษณะเด่นของงูสกุลนี้ หัว ลำ�ตวั ดา้ นทอ้ ง โดยตรงกลางทอ้ งหรอื ภายใน
เล็ก ปากไมย่ นื่ ยาว และปลายปากมน เกล็ดปลายปากบนขนาดใหญ่ ตะเขบ็ นัน้ เป็นชมพูออกสแี ดง
รมู า่ นตากลม เกลด็ ใตท้ อ้ งเปน็ เกลด็ ใหญ่ เกลด็ รมิ ฝปี ากบนสว่ นใหญ่
มี 7 เกล็ด เกลด็ รมิ ฝปี ากลา่ ง 8 เกล็ด เกลด็ ดา้ นหลงั นับตามขวาง
บริเวณกลางตวั มี 17 แถว เกล็ดใต้ท้องมี 146 เกล็ด สี
ของลำ�ตัวนำ้ �ตาลอมเทา หัวมรี ปู

ชอ่ื ไทย : งูงอดเลย
ชอ่ื สามญั : Deuve’s Kukri Snake
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oligodon deuvei

.

สัตวเ์ ล้อื ยคลาน | 75

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม

เป็นงูอาศัยตามพื้นดิน สามารถพบได้ตามพื้นท่ีการเกษตรท่ี
ใกลก้ ับผืนป่า

การแพร่กระจาย

งูชนิดน้ีได้ถูกรายงานในประเทศไทยเป็นคร้ังแรกโดยตัวอย่าง
จากจังหวัดเลย จึงมชี ่ือสามญั ไทยว่า “งูงอดเลย” ตามแหล่งท่ีพบ
ต่อมาได้มีการเผยแพร่ภาพถ่ายงูชนิดน้ีจากจังหวัดใกล้เคียงด้วย
ไดแ้ ก่ จงั หวดั หนองคาย และจงั หวดั บงึ กาฬซงึ่ ขอ้ มลู ยงั ไมถ่ กู ตพี มิ พ์
และในงานคร้ังน้ีพบงูงอดเลยในพ้ืนท่ีอุทยานธรณีโคราช จังหวัด
นครราชสมี า

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการ
อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ไมถ่ กู จดั สถานะโดย Thailand red data
และไมถ่ กู จัดเป็นสตั ว์ป่าคุม้ ครอง

76 | สตั ว์เล้ือยคลาน

งูป่ีแกว้ ลายแต้ม
Fasciolated Kukri Snake

ลักษณะ การแพร่กระจาย

เป็นงทู ม่ี ลี ำ�ตัวค่อนขา้ งสน้ั ขนาดใหญ่เมอ่ื เทียบกับชนิดอน่ื ภายในสกลุ เดียวกนั ความ ในประเทศไทยสามารถพบได้เกือบ
ยาวลำ�ตวั ประมาณ 80 เซนตเิ มตร มองไมเ่ หน็ คอชดั เจน และเขย้ี วดา้ นในปากเปน็ รปู มดี กรขู า่ ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ท่ี
ซึ่งเป็นลักษณะเดน่ ของงูสกุลน้ี หวั เล็ก ปากไมย่ น่ื ยาว และปลายปากมน เกลด็ ปลายปากบน อยู่ติดกับชายแดนประเทศพม่า ภาค
ขนาดใหญ่ รมู า่ นตากลม เกลด็ ทา้ ยทอยขนาดเลก็ กวา่ เกลด็ ลำ�ตวั เกลด็ ใตท้ อ้ งเปน็ เกลด็ ใหญ่ ตะวนั ออกเฉียงเหนือท่มี ีรายงานไว้ ไดแ้ ก่
เกลด็ ดา้ นหลงั นบั ตามขวางบรเิ วณกลางตวั มปี ระมาณ 21-23 แถว เกลด็ ใตท้ อ้ งมปี ระมาณ จังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัด
160-190 เกลด็ สขี องลำ�ตวั สามารถพบไดห้ ลากลายตง้ั แต่สีแทน น้ำ�ตาล จนถงึ น้ำ�ตาล ขอนแก่น จังหวัดกาฬสินธ์ุ จังหวัด
อมเทา หวั มรี ปู ลกู ศรมดี ำ�โดยปลายศรอยูท่ เี่ กล็ดหน้าผากพอดี และมีแถบโคง้ อยู่เหนือขมับ มุกดาหาร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด
ทัง้ สองข้าง และแถบพาดตามขวางผ่านตาท้งั สองข้าง ลำ�ตัวปรากฏลายบง้ั สีดำ�หรือน้ำ�ตาล อำ�นาจเจรญิ จงั หวดั อบุ ลราชธานี จงั หวดั
ดำ�ตามขวางตลอดลำ�ตัวสลบั กบั ขดี ตามขวางสดี ำ�หรือน้ำ�ตาลดำ� โดยแบบรปู จะเป็น 1 บ้ัง บุรรี ัมย์ จงั หวดั สุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
และ 3-4 ขดี และถัดมาเปน็ บัง้ อีก เปน็ รูปแบบนตี้ ลอดลำ�ตวั หรือบางครงั้ ลวดลายไมเ่ ปน็ ภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดระยอง
ระเบยี บชัดเจน ด้านขา้ งลำ�ตัวเยื้องไปดา้ นทอ้ ง (ventrolateral side) สนี ำ้ �ตาลครีม ดา้ น จังหวัดจันทบุรี
ทอ้ งสีครีมหรอื ขาวครมี โดยมีรอยปะสีดำ�วางเรียงเป็นตะเข็บอยทู่ ้ังสองขา้ งลำ�ตวั ดา้ นทอ้ ง
สถานภาพ
แหล่งอาศัยและพฤติกรรม การแพร่กระจาย
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
เปน็ งไู มม่ พี ษิ ออกหากินเวลากลาง ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทางภาค บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
คืนตามพื้นดิน สามารถพบได้ตามป่าเต็ง ตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนบน ภาคเหนือ และ ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลนอ้ ยที่สุด
รัง ป่าผลัดใบ รวมทั้งพื้นท่ีการเกษตร ภาคตะวันออก เช่น จังหวัดจันทบุรี และ (LC) โดย Thailand red data และไม่
ทั่วไป จงั หวัดตราด ถูกจัดเปน็ สัตว์ป่าคมุ้ ครอง

สถานภาพ

สถานะกังวลนอ้ ยทส่ี ดุ (LC) โดยบญั ชี
แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
(IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
Thailand red data แต่ไมถ่ กู จัดเปน็ สตั ว์
ปา่ ค้มุ ครอง

ชื่อไทย : งูป่แี กว้ ลายแตม้ .
ชอ่ื สามญั : Fasciolated Kukri Snake
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oligodon fasciolatus

สตั ว์เลอื้ ยคลาน | 77

งกู นิ ทากจุดขาว แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

Mountain Slug Snake ออกหากินเวลากลางคืน พบอาศัยทั้ง
พ้ืนดินและบนต้นไม้ กินหอยทากเป็นอาหาร
หรอื กลุ่มหอยทวั่ ไป

ลกั ษณะ

เป็นงูขนาดเล็ก ลำ�ตัวสั้น
มาก ความยาวลำ�ตัวยาวประมาณ
20-30 เซนตเิ มตร หางเรยี วยาว ปลายหาง
ม้วนงอ หวั และคอเห็นแตกตา่ งกันชัดเจน ปลายปาก
คอ่ นขา้ งทู่ ตาขนาดใหญ่ รูม่านตาเปน็ รปู วงรี เกลด็ หนา้ ตา
(preoculars) มี 1 ถงึ 2 เกล็ด เกลด็ เหนอื ตา (supraoculars)
ขนาดเลก็ เกล็ดแกม้ (loreal) ยาวมากกวา่ สูง เกล็ดริมฝีปากแยกจากตา
ดว้ ยเกล็ดใตต้ า (subocular) ใตค้ างปรากฏเกล็ดคาง (chin shield) 3 คขู่ นาด
ใหญโ่ ดยทไ่ี ม่มรี อ่ งผ่าตรงกลาง เกลด็ บนลำ�ตวั เรยี บหรือมสี ันเลก็ น้อย เกล็ดใตท้ อ้ งขนาด
ใหญก่ ว่าเกล็ดด้านหลงั ประมาณ 138-159 เกล็ด หัวและลำ�ตัวสีดำ�อมเทา มจี ดุ สีดำ�และ
จุดสขี าวกระจายอยู่ ตรงคอมีแถบสีส้ม หรือสขี าวคาดอยู่ (บางคร้งั ไม่ปรากฏแถบดงั กลา่ ว)
ดา้ นรมิ ฝปี ากลา่ ง คางและทอ้ งสขี าว บรเิ วณขา้ งๆ ของเกลด็ ใต้ทอ้ งสีจุดสีดำ�

ชื่อไทย : งูกินทากจดุ ขาว งูกินทากจดุ ดำ�
ชอื่ สามัญ : Mountain Slug Snake

ช่ือวิทยาศาสตร์ : Pareas margaritophorus .

78 | สตั ว์เลอ้ื ยคลาน

งสู ิงธรรมดา
Chinese Ratsnake

ลักษณะ แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

เปน็ งขู นาดใหญ่ ความยาวลำ�ตัวยาวถงึ 140 เซนติเมตร ลำ�ตัวเรยี วยาว ตาขนาด ออกหากินเวลากลางวัน ปราดเปรียว
ใหญ่ รูม่านตากลม หัวยาวและมองเห็นส่วนคอชัดเจน เกล็ดบนหัวขนาดใหญ่ เกล็ดใต้ และรวดเร็วมาก อาหารของงูสิงธรรมดามี
ตา (sub-ocular) ขนาดเล็กหลายๆ ช้ิน เกลด็ บนลำ�ตวั เกลด็ บนหลังนับตามแนวขวางมี ความหลากหลายสูง ต้ังแต่สัตว์จำ�พวกหนู
ประมาณ 15 แถว เกลด็ ใหญใ่ ตท้ อ้ งนบั จากใตค้ างไปจนหลดุ ลำ�ตวั มปี ระมาณ 160-187 นก สตั วเ์ ลอื้ ยคลานกลมุ่ กง้ิ กา่ และสตั วส์ ะเทนิ
เกลด็ เกลด็ ใตห้ างประมาณ 120-140 เกลด็ สีลำ�ตัวสามารถพบได้ตง้ั แตส่ ดี ำ� ไปจนถึง น้ำ�สะเทินบก
สนี ้ำ�ตาล และตอนท้ายของลำ�ตวั พบแถบสขี าว ส่วนในวยั เด็กพบแถบสขี าวตลอดท้งั ลำ�ตวั

การแพร่กระจาย

สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคในประเทศไทย

สถานภาพ

ไม่ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของสหภาพ
เพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวล
น้อยท่ีสดุ (LC) โดย Thailand red data และ
ถกู จดั เปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครองทส่ี ามารถใหเ้ พาะเลยี้ งได้

ชื่อไทย : งูสงิ ธรรมดา งเู หา่ ตาลาน งสู ิงออ้ ย
ชื่อสามญั : Chinese Ratsnake
ช่อื วิทยาศาสตร์ : Ptyas korros

.

สัตวเ์ ล้ือยคลาน | 79

งูหมอก
Mock Viper
แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม การแพรก่ ระจาย

เปน็ งทู อี่ าศยั ตามพน้ื ดนิ ออกหากนิ ทง้ั ในประเทศไทยพบกระจายอยู่จังหวัด
กลางวันและกลางคืน อาหารสว่ นใหญ่เป็นก ตามแนวชายแดนภาคเหนือที่ติดกับประเทศ
ลุ่มกบ และสัตว์จำ�พวกจิ้งเหลนขนาดเล็ก พมา่ ภาคตะวันตกเรือ่ ยลงไปถงึ จงั หวัดระนอง
อาศัยอยู่ทั้งบนเขาและป่าตีนเขาที่สูงกว่า ตามแนวชายแดนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทต่ี ดิ
กบั ประเทศกมั พชู า และจังหวดั อ่นื ๆ อีก ได้แก่
ระดบั น้ำ�ทะเล 700 เมตร จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัด

ลักษณะ มุกดาหาร จังหวัดกาฬสินธ์ุ จังหวัด
นครราชสีมา ภาคตะวันออก ได้แก่
เป็นงูขนาดเล็ก ลำ�ตวั สั้น บางคร้ังถูกสบสน จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด
ว่าเป็นกลุ่มงูมีพิษแต่งูหมอกไม่ใช่งูพิษร้ายแรงหรือมีผลต่อ ส่วนภาคใต้ท่ีมีรายงานไว้ ได้แก่
มนุษย์ ความยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 44-50 เซนติเมตร หวั จงั หวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั
เรยี ว หวั ไมก่ วา้ ง ตาโต รมู า่ นตากลม รจู มกู กลม เกลด็ จมกู สุราษฎร์ธานี จังหวัดตรัง และ
กลม อยชู่ ดิ ปลายปาก เกลด็ รมิ ฝปี ากทอี่ ยใู่ ตต้ ามขี นาดเลก็ จังหวัดตามแนวชายแดนท่ีติดกับ
ประเทศมาเลเซีย

คอคออดเห็นชัดเจน เกล็ดปกคลุมลำ�ตัวไม่มันวาว
แต่เป็นผิวขรุขระ เกล็ดด้านหลังนับตรงกลางลำ�ตัว 17 แถว
เกล็ดใตท้ ้องมีประมาณ 163 เกล็ด เกล็ดใต้หางมี 51 เกลด็ หัว
และดา้ นหลงั สีน้ำ�ตาลอมดำ� หรือสนี ้ำ�ตาลอมเหลือง หรือสนี ำ้ �ตาลแดง
ซึง่ ตวั อยา่ งจากงานคร้ังนี้หัวและด้านหลังงเู ปน็ สีดำ�อมเทา มบี งั้ แคบๆ สถานภาพ
เรยี งตลอดลำ�ตัว สสี วา่ งวางบนหลัง ด้านข้างลำ�ตัวเยือ้ งไปดา้ นหลัง ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดยบญั ชแี ดงของ
(ventrolateral side) เปน็ จดุ สขี าวอมสม้ จางๆ เรยี งเปน็ แถวตลอด สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN)
ลำ�ตวั บนหวั มแี ถบสีเขม้ เป็นแฉกๆ ไลจ่ ากท้ายทอยไปดา้ นหน้าของหัว สถานะกงั วลนอ้ ยท่ีสดุ (LC) โดย Thai-
บริเวณขมบั ทั้งสองขา้ งเปน็ สสี วา่ งเลก็ น้อย ริมฝีปากบน ใต้คาง คอ land red data และไม่ได้ถูกจัดสถานะ
และท้อง มีสขี าว เปน็ สตั ว์ป่าคมุ้ ครอง

ชือ่ ไทย : งูหมอก
ชอื่ สามญั : Mock Viper
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Psammodynastes pulverulentus

..

80 | สัตวเ์ ล้อื ยคลาน
งูหลาม Python bivittatus

เป็นงขู นาดใหญ่ ความยาวลำ�ตัวยาวถงึ 650 เซนตเิ มตร เป็น
สัตว์หากนิ เวลากลางคนื มักอาศัยตามพ้นื ดิน กนิ อาหารได้หลากหลาย
ได้แก่ สัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม และนก เปน็ ตน้

สตั วเ์ ลื้อยคลาน | 81

82 | สตั ว์เลื้อยคลาน

งหู ลาม
Burmese Python

ลกั ษณะ แหล่งอาศยั และพฤติกรรม
งูหลามในประเทศไทยมีความใกล้ชิดกันกับงูหลามในพม่า (P. molurus) มาก แต่ เปน็ สตั ว์หากนิ เวลากลางคนื มกั อาศยั
แตกตา่ งกันรายละเอียดของเกล็ด ซ่งึ งูหลามในประเทศไทยเปน็ ชนิดยอ่ ยงหู ลามไทย (P. b. ตามพ้ืนดิน กินอาหารได้หลากหลาย ได้แก่
bivittatus) งหู ลามเปน็ งขู นาดใหญ่ ความยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 650 เซนติเมตร หัวยาวและ สัตว์เลย้ี งลกู ดว้ ยนม และนก เป็นตน้
กวา้ งปากกวา้ ง ตาเล็ก เกลด็ ปลายปากบน (rostral) และเกล็ดริมฝีปากบนเกล็ดท่ี 1 และ
เกล็ดท่ี 2 มีรเู ปิดอยู่ ซ่งึ รูเปดิ ดังกลา่ วเปน็ แอ่งรับคลนื่ ความร้อนอินฟราเรด เกล็ดรมิ ฝีปาก
บนเกล็ดที่อยใู่ ตต้ าคอื เป็นท่ใี หญ่ทีส่ ดุ เกลด็ ใต้ท้องมีประมาณ 245-275 เกล็ด เกลด็ ใต้
หางมี 58-75 เกลด็ ลำ�ตวั สเี หลืองอมนำ้ �ตาล หรือเทาอมนำ้ �ตาล บนหัวเปน็ ลักษณะรูป .

สามเหล่ยี มซ่งึ ขอบของสามเหล่ียมเป็นสีนำ้ �ตาลครมี ลายลำ�ตวั เปน็ ตารางรปู สเ่ี หลี่ยม หรอื
แถบยาวคลา้ ยสเ่ี หลยี่ ม ขอบของสเี่ หลยี่ มเปน็ สนี ำ้ �ตาลครมี สเี ดยี วกนั กบั ขอบรปู สามเหลีย่ ม การแพร่กระจาย
บนหวั ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ข อ ง
สถานภาพ ประเทศไทย

สถานะมีแนวโน้มใกล้สูญพันธ์ุ (VU)
โดยบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด
(LC) โดย Thailand red data และถูก
จดั เปน็ สตั วป์ า่ คมุ้ ครองทส่ี ามารถเพาะเลยี้ งได้

ชื่อไทย : งูหลาม
ชื่อสามัญ : Burmese Python
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Python bivittatus

สตั ว์เลอ้ื ยคลาน | 83

งูลายสาบคอแดง

Red-neckeded Keelback

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม การแพรก่ ระจาย
ออกหากินในช่วงเวลากลางวัน กินกบเป็น ในประเทศไทยสามรถพบไดก้ วา้ ง ภาคเหนอื และภาคตะวัน
อาหาร มักอาศัยตามพนื้ พ้นื ทกี่ ่งึ บกและมีน้ำ� และ ตกมรี ายงานในจงั หวดั ทีอ่ ย่ตู ดิ กับชายแดนประเทศเพื่อนบา้ น ภาค
บางครง้ั พบอาศยั บนต้นไม้ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ที่มีรายงาน ไดแ้ ก่ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ จงหวดั
เลย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดอดุ รธานี จงั หวัดกาฬสินธ์ุ จงั หวดั
มุกดาหาร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดที่อยู่
ติดชายแดนประเทศกัมพูชาภาคตะวันออกที่มีรายการ ได้แก่
ลักษณะ จังหวดั ตราด จังหวดั จนั ทบุรี ภาคใต้มีรายไวต้ ั้งแต่
เ ป็ น งู ข น า ด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ไปถึงจังหวัดพังงา
ใหญ่เม่ือเทียบกับชนิด จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัด
อนื่ ภายในสกุล ความยาว นครศรธี รรมราช

ลำ�ตวั ยาวถงึ 130 เซนตเิ มตร
ลำ�ตวั เรยี วยาว ปลายหางเรยี วแหลม หัว
ยาวรูปไข่ ตาขนาดใหญ่ เกล็ดใหญ่ เด่นๆ บนหัว
ไดแ้ ก่ เกลด็ ระหวา่ งจมกู (internasals) รูปร่างคลา้ ยกบั เกล็ด
หน้าเกล็ดหน้าผาก (prefrontals) แต่ขนาดเล็กกว่า เกล็ดหน้าตา
(preocular) 1 เกลด็ ขนาดใหญ่ เกลด็ หลงั ตา (postoculars) ขนาด
เลก็ มีหลายเกล็ด (ประมาณ 4 เกลด็ ) บริเวณคอมีส่วนพองออกหรอื
โคง้ ขนึ้ เปน็ ลกู คลน่ื เนอื่ งจากมตี อ่ มอยใู่ ตผ้ วิ หนงั เกลด็ ปกคลมุ บนหลงั
มีสนั เล็กนอ้ ย เกลด็ ใตท้ ้องขนาดใหญ่ ลำ�ตวั สนี ้ำ�ตาลอมเขียวมะกอก
หรือนำ้ �ตาลแกมเขียวตลอดลำ�ตัวหรือแต่ละสีดังที่กล่าวมาอาจจะคละ
กนั ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ หวั สเี ขยี วมะกอก บางครงั้ ใตต้ าเปน็ สขี าวสวา่ ง และมี
ขดี สดี ำ�จากตาลากเยอ้ื งไปทางขากรรไกรลา่ ง คอตอนตน้ เปน็ สเี หลอื ง
และถัดมาเป็นสแี ดง ใต้ทอ้ งสีขาวครมี
สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
บัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ชือ่ ไทย : งูลายสาบคอแดง ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทสี่ ุด
ชอ่ื สามญั : Red-neckeded Keelback (LC) โดย Thailand red data และไม่
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Rhabdophis subminiatus ... ไดถ้ กู จัดสถานะเปน็ สัตว์ปา่ คุ้มครอง

84 | สัตว์เล้ือยคลาน

งูก้นขบ

Red-tailed Pipe Snake

ลักษณะ

เปน็ งไู มม่ พี ษิ ขนาดเลก็ ความยาวลำ�ตวั ประมาณ 50 เซนตเิ มตร
(ยาวไดถ้ งึ 100 เซนติเมตร) ลำ�ตัวทรงกระบอก หางทรงกระบอก
และมีตงิ่ แหลมตรงปลาย หวั ไม่กวา้ ง ปลายปากมน ตาเล็กมาก เกล็ด
ปลายปากขนาดใหญ่เคยี งกับเกล็ดบนหัว เกล็ดลำ�ตวั มขี นาดเล็กกว่า
เกล็ดบนหวั ซง่ึ เกลด็ ดา้ นท้องและเกล็ดด้านหลงั มขี นาดเทา่ กนั ลำ�ตวั
เปน็ สมี ว่ งเขม้ ถงึ ดำ� เกลด็ วาว มแี ถบสสี ม้ หรอื ขาวจากสขี า้ งพาดขน้ึ มา
ด้านหลัง ซึง่ แถบนั้นอาจสั้นหรอื ยาวกไ็ ด้ วัยเด็กแถบท่คี าดลำ�ตัวด้าน
หลงั จะเหน็ เป็นปลอ้ งสมบูรณ)์ ใตท้ อ้ งเปน็ แถบสดี ำ�สลบั ขาวตลอดลำ�
ตวั และปลายหางมสี ีส้มแดงแต้มอยู่

ช่อื ไทย : งกู น้ ขบ แหลง่ อาศัยและพฤติกรรม

ชือ่ สามัญ : Red-tailed Pipe Snake . มีพฤติกรรมขู่ท่ีโดดเด่น โดยการแผ่หางให้
แบน และม้วนตรงปลายเพือ่ แสดงสีส้มแดงทป่ี ลาย
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Cylindrophis sp. หาง แต่จะแกล้งตายเมื่อถูกคุกคาม และสัมผัสตัว
อาศัยตามพื้นดิน หรือในโพรงดิน อาหารของมัน
ไดแ้ ก่ หนอน แมลง ตัวอ่อนแมลง

สตั ว์เลือ้ ยคลาน | 85

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยทส่ี ดุ
(LC) โดย Thailand red data และไมไ่ ด้
ถกู จัดสถานะเปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง

การแพร่กระจาย

สามารถพบได้ทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย

86 | สตั ว์เลือ้ ยคลาน

งสู ายรงุ้ ธรรมดา สถานภาพ
Rainbow Mud Snake
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
ลกั ษณะ บัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกงั วลนอ้ ยทส่ี ดุ
เปน็ งขู นาดกลางถงึ ขนาดใหญเ่ มอ่ื เทยี บกบั ชนดิ อนื่ ๆ ในสกลุ เดยี วกนั ความยาวลำ�ตวั (LC) โดย Thailand red data และไม่
ประมาณ 74 เซนตเิ มตร หวั เล็กและแบน แคบกว่าความกวา้ งลำ�ตัว ลำ�ตวั อ้วนกลม หาง ไดถ้ กู จดั สถานะเปน็ สตั ว์ป่าค้มุ ครอง
เรียวแหลมตอนปลาย ตาเล็ก เกลด็ เรียบ นับตามขวางบรเิ วณกลางตวั พบ 21 แถว เกล็ด
ใตท้ อ้ งขนาดใหญ่ประมาณ 172 เกล็ด สดี ำ�ตวั เป็นสีดำ�อมเทา ผวิ มันวาว ดา้ นท้องสคี รีม การแพรก่ ระจาย
และขา้ งตวั เยอ้ื งลงไปดา้ นทอ้ ง (ventrolateral side) สคี รมี เขม้ กวา่ ดา้ นทอ้ งเลก็ นอ้ ย ดา้ น
ขา้ งตวั เยอ้ื งไปดา้ นหลงั (dorsolateral side) มแี ถบแคบๆ สแี ดงหรอื สขี มพคู ล้ำ�ขนาบขา้ ง ในประเทศไทยสามรถพบได้กว้าง
กบั แนวกระดกู สนั หลงั เรม่ิ จากทา้ ยทอยยาวไปจนถงึ หาง ดา้ นทอ้ งตรงขอบขา้ งลำ�ตวั ทง้ั สอง ภาคเหนือ และภาคตะวันตกมีรายงานใน
ขา้ งมเี ส้นสดี ำ�เร่มิ จากใต้คางไปจนถงึ หาง และตรงกลางท้องมเี สน้ สีดำ�เริม่ จากบริเวณลำ�ตวั จังหวัดที่อยู่ติดกับชายแดนประเทศเพ่ือน
ตอนต้นลงไปถงึ หางเช่นกนั บา้ น ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทมี่ รี ายงาน
ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดเลย
จงั หวดั พษิ ณโุ ลก จงั หวดั อดุ รธานี จงั หวดั
กาฬสนิ ธ์ุ จงั หวดั มกุ ดาหาร จงั หวดั ชยั ภมู ิ
จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดท่ีอยู่ติด
ชายแดนประเทศกัมพูชา ภาคตะวันออก
ทมี่ รี ายการ ไดแ้ ก่ จงั หวัดตราด จังหวัด
จนั ทบรุ ี ภาคใตพ้ บไดท้ ั่วไปทุกพ้ืนท่ี

แหล่งอาศยั และพฤตกิ รรม การแพร่กระจาย

เปน็ งทู อ่ี าศยั และหากนิ ในน้ำ� แมไ้ มใ่ ช่ ในประเทศไทยสามารถพบไดใ้ นภาคตะวนั ออก
งนู ้ำ�ท่ีแท้จริง (Semi-aquatic Snake) เฉียงเหนอื ภาคกลางภาคเหนอื ตอนใต้ (กลางตอน
ไมป่ ราดเปรยี ว ไมด่ ุ ไมก่ ดั กนิ ปลาและสตั ว์ บน) ภาคใต้ (ตามแนวชายฝัง่ จงั หวัดท่ีอยูต่ ิดกับอา่ ว
น้ำ�เป็นอาหาร ไทย) และจังหวัดพังงา จังหวัดกระบ่ี จังหวัดตรัง
และจงั หวัดสตูล

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพอื่ การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ (IUCN) และ
สถานะกงั วลน้อยทส่ี ดุ (LC) โดย Thailand red
data แตไ่ มถ่ ูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุม้ ครอง

ชอ่ื ไทย : งูสายรุง้ ธรรมดา .
ชอื่ สามญั : Rainbow Mud Snake
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Enhydris enhydris

งทู บั สมงิ คลา สตั ว์เลื้อยคลาน | 87

Blue Krait

ลักษณะ
เป็นงูพิษรุนแรง ขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่ ความยาวลำ�ตัวยาวถึง 130
เซนตเิ มตร ลำ�ตัวเปน็ รูปสามเหลย่ี ม ปลายหางเรยี วแหลม หัวไมแ่ ตกตา่ งจากคอ ตาขนาด
ปานกลางไปจนถึงเลก็ รูจมกู คอ่ นข้างใหญ่ เกล็ดบนหัวขนาดใกล้เคยี งกนั ไม่ค่อยมีเกล็ด
ใดใหญ่เป็นพิเศษ ไม่มเี กล็ดแก้ม (loreal) เกลด็ ระหวา่ งจมกู (internasals) สัน้ กว่าเกล็ด
หน้าเกล็ดหน้าผาก (prefrontals) เกล็ดหนา้ ของตา (preocular) 1 เกล็ด เกล็ดหลังตา แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
(postoculars) มี 2 เกล็ด เกล็ดรมิ ฝีปากบนเกล็ดท่ี 3 และ 4 อยู่ใต้ตา เกล็ดท่ี 6 สว่ น หากินเวลากลางคืน ปราดเปรียวทั้ง
ใหญจ่ ะมีขนาดใหญท่ ่สี ดุ เกลด็ ปกคลุมลำ�ตวั เรียบ โดยเกลด็ ท่ีแนวสนั หลงั เป็นรูปหกเหลี่ยม กลางวันและกลางคืน พื้นที่อาศัยและออก
และมขี นาดใหญ่กว่าเกลด็ ข้างลำ�ตวั เกลด็ ใต้ทอ้ งขนาดใหญ่ มี 194-237 เกลด็ เกล็ดใต้ หากินคือตามลำ�ธาร ป่าใกล้ลำ�ธาร และ
หางมปี ระมาณ 37-56 เกลด็ ลำ�ตวั เปน็ ลายขวางสลบั ดำ�รูปเกอื กม้าและขาว แต่ลายสีดำ� สามารถพบอาศยั ในถำ้ �ดว้ ย
นจ้ี ะไม่คาดผา่ นสว่ นท้อง โดยสีดำ�จะเร่มิ จากหวั และคอตอนตน้ ก่อน ลายขางในตอนตน้ ของ
ตำ�ตัวจะกวา้ งกว้างตอนท้ายของลำ�ตวั

ชอื่ ไทย : งทู ับสมงิ คลา งูปล้องเงิน งูทับทางขาว งูทำ�ทาน .
ชื่อสามัญ : Blue Krait
ช่ือวิทยาศาสตร์ : Bungarus candidus .

88 | สัตว์เล้อื ยคลาน

งหู วั กะโหลกไทย

Cox's Masked Water Snake

ลกั ษณะ หาง 94 เกล็ด คอ ลำ�ตัวและหางมแี ถบสดี ำ�
งูหัวกะโหลกไทยพึ่งถูกแยกออกมา อมเทาจางๆ สลบั กบั สคี รมี อมเทา บนหวั เปน็
เป็นชนิดใหม่ซ่ึงแต่เดิมรู้จักกันในชื่อ H. สเี ทาอมขาว มสี ดี ำ�แตม้ อยเู่ ปน็ รปู สามเหลยี่ ม การแพร่กระจาย
buccata งูหัวกะโหลกไทย ความยาวลำ� อยตู่ รงเกลด็ ปลายปากบนเปน็ รปู สามเหลยี่ ม ในประเทศไทยสามารถพบได้ท่ัวทุกภาค
ตัวของตวั อยา่ งต้นแบบ 45.7 เซนติเมตร แถบสีดำ�พาดจากตาทั้งสองข้างลากเฉียงไป ยกเว้นภาคใต้ตอนลา่ ง
หางยาว 112 เซนติเมตร เกลด็ จมูกขนาด บริเวณขมับแต่ไม่ยาวไปบรรจบกับแถบสีดำ�
ใหญแ่ ละมรี อยแยกครง่ึ หนง่ึ ของเกลด็ เกลด็ อมเทาแถบแรกทคี่ อ และรอยแตม้ คลา้ ยรปู ตวั
ระหวา่ งจมกู (internasals) มี 2 เกลด็ แยก “V” อยบู่ รเิ วณหนา้ ผาก ดา้ นขา้ งลำ�ตวั เยอื้ ง ชอื่ ไทย : งูหวั กะโหลกไทย
ชอื่ สามญั : Cox’s Masked Water Snake
กันชัดเจน เกล็ดก่อนหน้าผาก (prefron- ไปดา้ นทอ้ ง (ventrolateral side) เป็นสี ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Homalopsis mereljcoxi
tals) ขนาดใหญ่ 2 เกลด็ เกล็ดหนา้ ผาก ครีมอมเทา ใต้ท้องสีเหลืองอมครีมและถูก
เลก็ (frontal) และแคบ เกล็ดดา้ นหลงั มสี ัน ปนดว้ ยจดุ สดี ำ�อยขู่ อบดา้ นนอกของเกลด็ ใต้
ปรากฏอยู่ นบั ตามแนวขวางบรเิ วณกลางตวั ทอ้ งบางเกลด็ ใตห้ างเป็นสคี ละกันระหวา่ งสี
44 แถว เกลด็ ใตท้ อ้ ง 170 เกลด็ เกลด็ ใต้ ดำ�และสคี รีม .

สตั ว์เลอื้ ยคลาน | 89

แหล่งอาศยั และพฤติกรรม งูสิงหางลาย

อาศยั ตามอา่ งเกบ็ น้ำ�เลก็ ๆ คนู ้ำ� บึง Oriental Rat Snake
ลำ�ธาร และพ้ืนที่ช่มุ นำ้ �ตนื้ หากนิ เวลากลาง
คนื กินปลาและกบเป็นอาหาร ลกั ษณะ

สถานภาพ เป็นงูขนาดใหญ่มาก (บางคร้ังผู้คนสับสนคิดว่าเป็นงูสิงธรรมดาในบางครั้ง) ความ
ยาวลำ�ตวั ยาวถึง 175 เซนตเิ มตร ลำ�ตวั เรยี วยาว ตาขนาดใหญ่ รูมา่ นตากลม หวั ยาวและ
ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดยบญั ชแี ดงของ มองเหน็ สว่ นคอชดั เจน เกลด็ บนหวั ขนาดใหญ่ เกลด็ ใตต้ า (sub-ocular) ขนาดเลก็ หลายๆ
สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ชนิ้ เกลด็ บนลำ�ตวั เกลด็ บนหลงั นบั ตามแนวขวางมปี ระมาณ 17 แถว เกลด็ ใหญใ่ ตท้ อ้ งนบั
โดย Thailand red data และไมถ่ ูกจัด จากใตค้ างไปจนถงึ ลำ�ตวั มปี ระมาณ 197 เกล็ด เกล็ดใต้หางประมาณ 117 เกลด็ หวั มี
เป็นสตั วป์ า่ คมุ้ ครอง สนี ้ำ�ตาลอมดำ� ปลายปากสีเหลอื ง เกลด็ รมิ ฝปี ากมสี เี หลืองตรงกลางเกล็ดเปน็ สีดำ� ลำ�ตวั สี
เหลืองอำ�พันไปจนถึงสีน้ำ�ตาลในตอนตน้ และตอนท้ายเปน็ สเี หลอื ง ใต้หางเปน็ สเี หลอื งนวล

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม การแพรก่ ระจาย

ชอบอาศัยอยู่ตามพ้ืนกินและอยู่บน ส า ม า ร ถ พ บ ไ ด้ ทั่ ว ทุ ก ภ า ค ข อ ง
ต้นไม้ อาหารมีความหลากหลายสูงเช่น ประเทศไทย
กัน ต้ังแต่สัตว์จำ�พวกหนู นก สตั วเ์ ลอ้ื ย
คลานกลุ่มก้ิงก่า และสัตว์สะเทินนำ้ �สะเทิน
บก สามารถมาพบได้ในปา่ ทัว่ ไป และพ้นื ที่
การเกษตร

สถานภาพ

ไม่ถูกจัดสถานะโดยบัญชีแดงของ
สหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN)
สถานะกงั วลนอ้ ยทีส่ ุด (LC) โดย Thai-
land red data และถูกจัดเป็นสัตว์ป่า
คุ้มครองที่สามารถใหเ้ พาะเลย้ี งได้

ช่ือไทย : งสู งิ หางลาย งสู ิงคาน .
ชือ่ สามญั : Oriental Rat Snake
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Ptyas mucosa

90 | สตั ว์เลื้อยคลาน ชือ่ ไทย : งหู วั กะโหลกไทย
ช่ือสามญั : Cox’s Masked Wa-
งหู ัวกะโหลกไทย
ter Snake
Cox's Masked Water Snake ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Homalopsis

▼ลักษณะ mereljcoxi
Murphy, Voris,
งหู วั กะโหลกไทยพงึ่ ถกู แยกออกมาเปน็ ชนดิ ใหมซ่ งึ่ แตเ่ ดมิ รจู้ กั กนั ในชอ่ื H. buccata Murphy, Traub
งูหวั กะโหลกไทย ความยาวลำ�ตัวของตวั อยา่ งต้นแบบ 45.7 เซนติเมตร หางยาว 112 and Cumber-
เซนตเิ มตร เกลด็ จมูกขนาดใหญแ่ ละมรี อยแยกครง่ึ หนึ่งของเกลด็ เกลด็ ระหวา่ งจมูก (in- batch, 2012
ternasals) มี 2 เกลด็ แยกกันชดั เจน เกล็ดก่อนหนา้ ผาก (prefrontals) ขนาดใหญ่ 2
เกล็ด เกลด็ หนา้ ผากเลก็ (frontal) และแคบ เกล็ดด้านหลังมสี ันปรากฏอยู่ นับตามแนว ▼การแพร่กระจาย
ขวางบริเวณกลางตัว 44 แถว เกล็ดใต้ท้อง 170 เกลด็ เกล็ดใตห้ าง 94 เกลด็ คอ ลำ�
ตวั และหางมีแถบสีดำ�อมเทาจางๆ สลบั กับสีครมี อมเทา บนหวั เป็นสเี ทาอมขาว มีสดี ำ�แต้ม ในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค
อยู่เป็นรูปสามเหลี่ยมอยู่ตรงเกล็ดปลายปากบนเป็นรูปสามเหล่ียม แถบสีดำ�พาดจากตาท้ัง ยกเว้นภาคใต้ตอนลา่ ง
สองขา้ งลากเฉยี งไปบรเิ วณขมบั แตไ่ มย่ าวไปบรรจบกบั แถบสดี ำ�อมเทาแถบแรกทคี่ อ และรอย
แต้มคลา้ ยรปู ตัว “V” อยูบ่ รเิ วณหน้าผาก ด้านข้างลำ�ตัวเยื้องไปด้านทอ้ ง (ventrolateral
side) เปน็ สีครมี อมเทา ใต้ท้องสีเหลอื งอมครมี และถูกปนด้วยจดุ สดี ำ�อยขู่ อบด้านนอกของ
เกลด็ ใต้ท้องบางเกล็ด ใต้หางเปน็ สีคละกนั ระหวา่ งสดี ำ�และสีครมี

สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน | 91

▲แหล่งอาศยั และพฤติกรรม งูสิงหางลาย

อาศัยตามอ่างเก็บนำ้ �เลก็ ๆ คนู ้ำ� บงึ Oriental Rat Snake
ลำ�ธาร และพ้ืนทช่ี ุ่มนำ้ �ตืน้ หากนิ เวลากลาง
คืน กินปลาและกบเปน็ อาหาร ▼ลักษณะ

▼สถานภาพ เป็นงูขนาดใหญ่มาก (บางคร้ังผู้คนสับสนคิดว่าเป็นงูสิงธรรมดาในบางครั้ง) ความ
ยาวลำ�ตัวยาวถงึ 175 เซนติเมตร ลำ�ตัวเรียวยาว ตาขนาดใหญ่ รูมา่ นตากลม หัวยาวและ
ไมไ่ ดถ้ กู จดั สถานะโดยบญั ชแี ดงของ มองเหน็ สว่ นคอชดั เจน เกลด็ บนหวั ขนาดใหญ่ เกลด็ ใตต้ า (sub-ocular) ขนาดเลก็ หลายๆ
สหภาพเพอ่ื การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) ชน้ิ เกลด็ บนลำ�ตวั เกลด็ บนหลงั นบั ตามแนวขวางมปี ระมาณ 17 แถว เกลด็ ใหญใ่ ตท้ อ้ งนบั
โดย Thailand red data และไมถ่ ูกจัด จากใตค้ างไปจนถึงลำ�ตัวมีประมาณ 197 เกลด็ เกล็ดใต้หางประมาณ 117 เกลด็ หัวมี
เป็นสตั ว์ปา่ คุ้มครอง สีนำ้ �ตาลอมดำ� ปลายปากสีเหลอื ง เกล็ดรมิ ฝปี ากมีสีเหลอื งตรงกลางเกลด็ เปน็ สีดำ� ลำ�ตัวสี
เหลืองอำ�พันไปจนถงึ สีน้ำ�ตาลในตอนตน้ และตอนทา้ ยเปน็ สีเหลอื ง ใต้หางเป็นสีเหลอื งนวล

▼แหลง่ อาศัยและพฤตกิ รรม ▼การแพร่กระจาย

ชอบอาศัยอยู่ตามพื้นกินและอยู่บน ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ ัว่ ประเทศ
ต้นไม้ อาหารมีความหลากหลายสูงเช่น
กนั ต้งั แตส่ ัตว์จำ�พวกหนู นก สตั ว์เลอ้ื ย ▼สถานภาพ
คลานกลุ่มก้ิงก่า และสัตว์สะเทินนำ้ �สะเทิน
บก สามารถมาพบไดใ้ นป่าทัว่ ไป และพื้นที่ ไมถ่ กู จดั สถานะโดยบญั ชแี ดงของสหภาพเพอ่ื
การเกษตร การอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อย
ที่สดุ (LC) โดย Thailand red data และถกู จดั
เปน็ สตั ว์ปา่ คุ้มครองท่สี ามารถให้เพาะเล้ยี งได้

ชอื่ ไทย : งูสงิ หางลาย งสู ิงคาน
ชื่อสามญั : Oriental Rat Snake
ชชชื่่ือออื่ ไวสทิทายมยญัา:ศงา:เูสขWตยี รวhชห์ i:ือ่tาeงTว-ไทิrlหiiยpmมาp้ทeศe้อrาdงeสเsหตTuลรrrอื์eu:งess1PaVta7yli(5bpaLoes8inrl)amnbaureicsuos-,

92 | สตั วเ์ ล้อื ยคลาน

งู เ ขี ย ว ห า ง ไ ห ม้
ท้องเหลือง

White-lipped Tree Viper

แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม

ออกหากนิ เวลากลางคนื อาหาร
ไดแ้ ก่ หนู ก้ิงกา่ จิ้งเหลน และกบเขียด
อาศัยอยู่บนต้นไม้ สามารถพบได้ทั่วในป่า
หลากหลายแบบ ความสงู เหนอื ระดบั นำ้ �ทะเลอยา่ ง
นอ้ ย 600 เมตร

สตั ว์เลือ้ ยคลาน | 93

สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
บัญชีแดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์
ธรรมชาติ (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สดุ
(LC) โดย Thailand red data และไม่
ได้ถกู จดั สถานะเปน็ สัตว์ปา่ คมุ้ ครอง

ลกั ษณะ การแพรก่ ระจาย

เ ป็ น งู พิ ษ ข น า ด ในประเทศไทยท่ีมีรายงาน ได้แก่
เล็กถึงขนาดกลาง ความยาวลำ�ตัวยาว ภาคกลาง (กรุงเทพฯ จังหวดั สระบุรี จงั หวดั นครปฐม
ถึ ง 87 เซนติเมตร ลำ�ตัวอว้ นป้อม ปลายหางคอ่ นขา้ ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดฉะเชิงเทรา) ภาคตะวันออก
ส้ัน และปลายหางม้วน หวั รปู สามเหลี่ยม แตกตา่ งจากคอชดั เจน ตา เฉียงเหนือ (จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ
เล็ก เกล็ดบนหัวหลงั จากเกล็ดระหวา่ งจมกู (internasals) เปน็ เกลด็ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัด
ขนาดเล็ก รเู ปดิ ดังกล่าวเป็นแอง่ รับคลนื่ ความรอ้ นอินฟราเรดอยู่ดา้ น กาฬสินธ์ุ และจงั หวัดอบุ ลราชธานี) ภาคเหนอื (จงั หวดั เชยี งใหม่ และ
หนา้ ของตา เกลด็ จมกู (nasals) เชอื่ มตอ่ กบั เกลด็ รมิ ฝปี ากเกลด็ แรก จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน) ภาคตะวนั ออก (จังหวดั จันทบรุ ี) ภาคตะวนั ตก
อยา่ งสมบรู ณ์ และเกลด็ เหนอื ตา (supraoculars) มขี นาดใหญ่ เกลด็ (จงั หวัดตาก จงั หวัดเพชรบุรี และจังหวัดราชบรุ )ี ภาคใต้ (จังหวัด
ปกคลมุ บนหวั เรยี บ แลว้ เกลด็ บนลำ�ตวั คอ่ ยๆ กลายเปน็ เกลด็ มสี นั หวั นครศรธี รรมราช จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ และจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี)
และลำ�ตวั สเี ขียว พืน้ ท่จี ากปลายปากบนลงมาเป็นสเี หลอื งขอบชดั เจน
ในเพศผ้อู าจปรากฏขดี สีขาวจากใต้ตาลากไปด้านท้ายทอย เกลด็ ขา้ ง
ลำ�ตัว (ventrolateral scales) สีขาวทำ�ให้มองเห็นเป็นเส้นสีขาว
อยตู่ ามขอบข้างลำ�ตัวทง้ั สองข้าง ทอ้ งสเี หลือง

ชื่อไทย : งูเขยี วหางไหม้ท้องเหลอื ง
ชอื่ สามัญ : White-lipped Tree Viper
ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Trimeresurus albolabris

.

94 | สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน

งสู ายรุ้งธรรมดา
Rainbow Mud Snake

▼ลกั ษณะ

เปน็ งขู นาดกลางถงึ ขนาดใหญเ่ มอื่ เทยี บกบั ชนดิ อนื่ ๆ ในสกลุ เดยี วกนั ความยาวลำ�ตวั
ประมาณ 74 เซนตเิ มตร หวั เล็กและแบน แคบกว่าความกว้างลำ�ตวั ลำ�ตัวอ้วนกลม หาง
เรียวแหลมตอนปลาย ตาเลก็ เกล็ดเรยี บ นบั ตามขวางบริเวณกลางตวั พบ 21 แถว เกลด็
ใต้ทอ้ งขนาดใหญป่ ระมาณ 172 เกล็ด สดี ำ�ตัวเปน็ สดี ำ�อมเทา ผิวมันวาว ดา้ นท้องสีครีม
และขา้ งตวั เยอ้ื งลงไปดา้ นทอ้ ง (ventrolateral side) สคี รมี เขม้ กวา่ ดา้ นทอ้ งเลก็ นอ้ ย ดา้ น
ขา้ งตวั เยอื้ งไปดา้ นหลงั (dorsolateral side) มแี ถบแคบๆ สแี ดงหรอื สขี มพคู ลำ้ �ขนาบขา้ ง
กบั แนวกระดกู สนั หลงั เรม่ิ จากทา้ ยทอยยาวไปจนถงึ หาง ดา้ นทอ้ งตรงขอบขา้ งลำ�ตวั ทงั้ สอง
ขา้ งมเี สน้ สีดำ�เรมิ่ จากใตค้ างไปจนถงึ หาง และตรงกลางทอ้ งมีเส้นสีดำ�เริ่มจากบรเิ วณลำ�ตัว
ตอนต้นลงไปถงึ หางเช่นกัน

▼แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม ▼การแพร่กระจาย

เปน็ งทู อี่ าศยั และหากนิ ในนำ้ � แมไ้ มใ่ ช่ ในประเทศไทยสามารถพบไดใ้ นภาคตะวนั ออก
งูน้ำ�ที่แท้จรงิ (Semi-aquatic Snake) เฉียงเหนอื ภาคกลางภาคเหนือตอนใต้ (กลางตอน
ไมป่ ราดเปรยี ว ไมด่ ุ ไมก่ ดั กนิ ปลาและสตั ว์ บน) ภาคใต้ (ตามแนวชายฝั่งจงั หวัดทีอ่ ยตู่ ิดกับอ่าว
นำ้ �เป็นอาหาร ไทย) และจังหวัดพังงา จังหวัดกระบ่ี จังหวัดตรัง
และจังหวดั สตลู

▼สถานภาพ

สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชีแดง
ของสหภาพเพื่อการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ (IUCN) และ
สถานะกังวลนอ้ ยทส่ี ุด (LC) โดย Thailand red
data แตไ่ ม่ถกู จดั เปน็ สัตว์ป่าคุ้มครอง

ช่อื ไทย : งสู ายรงุ้ ธรรมดา
ชือ่ สามัญ : Rainbow Mud

Snake
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Enhydris en-

hydris (Schnei-
der, 1799)

สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน | 95

งูเหา่ พน่ พษิ สยาม

Indo-Chinese Spitting Cobra

ลกั ษณะ แหลง่ อาศยั และพฤติกรรม
เป็นงูไม่มีพิษขนาดกลาง ความยาวลำ� ออกหากนิ เวลาพลบค่ำ�ตามพนื้ ดนิ อาหาร
ตัวประมาณ 160 เซนติเมตร ตรงลำ�คอ ประกอบไปดว้ ยหนู ปลา กบ เขยี ด ลกู ไก่ และ
แผ่ออกมาด้านข้างได้เนื่องจากมีซี่โครงท่ีย่ืน งชู นิดอน่ื ๆ หรอื งชู นดิ นี้ในวัยเดก็ กนิ แมลงเป็น
ยาว เกล็ดบนหัว และเกล็ดบริเวณขนาดใหญ่ อาหาร มักอาศัยอยู่ตามป่าทั่วไป สามารถพ่น
ปลายปากค่อนข้างทู่ รูจมูกขนาดใหญ่ เกล็ด พิษได้ไกลถึง 2 เมตร พ้ืนท่ีราบลุ่มค่อนข้าง
ใต้ท้องแผ่แบนขนาดใหญ่ เมื่อแผ่แม่เบ้ียจะพบ ชน้ื พนื้ ทก่ี ารเกษตร และรวมถงึ ชมุ ชนเมอื งดว้ ย
สัญลักษณ์“U” “V” หรือ ข.ไข่ 2 หวั หรือไม่
เห็นลายดอกจัน ลำ�ตัวด้านหลังมีความแปรผัน การแพรก่ ระจาย
ของสีค่อนข้างมากที่สุด และมีความแตกต่าง
ชัดเจน ปัจจุบันมี 3 ชนิดย่อย ได้แก่ งูเห่า สามารถพบไดท้ ว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย
ดา่ งพ่นพิษ (Black and White Spitting
Cobra) ซึ่งสีลำ�ตัวเป็นสีดำ� และขาวคละกัน สถานภาพ
ไปไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอน งูเห่าพ่นพิษสีนำ้ �ตาล
(Brown Spitting Cobra) ซึ่งสีลำ�ตัวด้าน สถานะมีแนวโน้มจะสูญพันธ์ุ (VU) โดย
เปน็ สำ�น้ำ�ตาลอมเขยี ว เขยี วอมเทา และน้ำ�ตาลดำ� บญั ชแี ดงของสหภาพเพอื่ การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ
(IUCN) สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดย
Thailand red data และไม่ถูกจัดสถานะเป็น
สัตว์ปา่ คุม้ ครอง

และ งเู หา่ ดำ�พน่ พษิ (Black Spitting Cobra)
ซ่ึงสีลำ�ตัวเป็นดำ�ปลอดทั้งตัว ดูเป็นสีดำ�ด้านๆ
ท้องมกั เป็นสีดำ�อมน้ำ�เงิน

ชอ่ื ไทย : งเู ห่าพ่นพิษสยาม
ชอ่ื สามญั : Indo-Chinese Spitting Cobra
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Naja siamensis

.

96 | สัตวเ์ ล้อื ยคลาน

ชอ่ื ไทย : งเู ห่าไทย งเู ห่านา งเู ห่าหมอ้ งูเหา่ ดอกจนั
งเู ห่าสนี วล งเู ห่าสพุ รรณ

ชอื่ สามัญ : Monocled Cobra
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Naja kaouthia

..
.

สัตวเ์ ลือ้ ยคลาน | 97

งูเห่าไทย

Monocled Cobra

ลักษณะ งชู นิดอนื่ ๆ มกั อาศยั อยูต่ ามปา่ ทัว่ ไป พนื้ ทร่ี าบ
เปน็ งพู ษิ ขนาดใหญ่ ลำ�ตวั เรยี วยาว ความ ลุ่มค่อนข้างช้ืน พื้นที่การเกษตร และรวมถึง
ยาวลำ�ตวั ยาวถงึ 200 เซนติเมตร ส่วนของ ชมุ ชนเมอื งด้วย
ลำ�คอสามารถแผ่ออกมาด้านข้างได้เน่ืองจากมี
ซ่ีโครงที่ย่ืนยาว เกล็ดบนหัว และเกล็ดบริเวณ การแพรก่ ระจาย
คอขนาดใหญ่ ปลายปากคอ่ นขา้ งทู่ รจู มกู ขนาด
ใหญ่ เกล็ดใต้ทอ้ งแผ่แบนขนาดใหญ่ เมอ่ื แผแ่ ม่ ในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วประเทศ
เบ้ียจะพบสัญลักษณ์รูวงแหวนเดี่ยว หรือลาย พบน้อยในภาคเหนือ

สถานภาพ
สถานะกังวลน้อยท่ีสุด (LC) โดยบัญชี
แปรผันเปน็ รูอานม้า รูปส่เี หลย่ี ม หรอื ลายพาด
ขวาง ลำ�ตัวดา้ นหลังมคี วามแปรผนั ของสีคอ่ น แดงของสหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
ข้างมาก สามารถพบสีได้ตั้งแต่สีนำ้ �ตาลดำ� สี (IUCN) สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดย
น้ำ�ตาล สีนำ้ �ตาลอ่อน และสีนำ้ �ตาลแกมเหลือง Thailand red data และไม่ไดถ้ ูกจัดสถานะ
ด้านท้องสีอ่อนกว่าด้านหลัง งูเห่าไทยท่ีมีสีลำ� เป็นสตั วป์ า่ คุม้ ครอง
ตวั สนี วล หรอื สเี หลอื งจางๆ มชี อ่ื เรยี กอกี ชอื่ วา่
“งเู หา่ สนี านวล” ถอื วา่ มคี วามแปรผนั สลี ำ�ตวั มาก
ทสี่ ดุ แตล่ กั ษณะทางอนกุ รมวธิ านทสี่ ำ�คญั ไมไ่ ด้
แตกต่างจากงูเห่าไทย

แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม

ออกหากนิ เวลาพลบคำ่ �ตามพน้ื ดนิ อาหาร
ประกอบไปด้วยหนู ปลา กบ เขยี ด ลกู ไก่ และ

98 | สัตวเ์ ล้อื ยคลาน

งกู ะปะ

Malayan Pitviper

ลกั ษณะ แหลง่ อาศยั และพฤตกิ รรม
เป็นงูขนาดเล็ก ความยาวลำ�ตัวยาวถึง 70 ออกหากนิ เวลากลางคนื ตามพน้ื ดนิ ทม่ี ใี บไมแ้ หง้ สว่ นใหญจ่ ะเคลอ่ื นทช่ี า้ และ
เซนติเมตร ลำ�ตัวอ้วนป้อม ปลายหางค่อนข้างสั้น มกั อยนู่ ง่ิ ๆ เพอื่ จอ้ งหาเหยอ่ื สามารถพบไดต้ ามปา่ ทวั่ ไป ไดแ้ ก่ ปา่ ดบิ และปา่ เตง็ รงั
หวั รูปสามเหล่ียมชดั เจน ปลายปากเชดิ ขนึ้ แตกต่าง
จากคอชัดเจน ตาเลก็ รมู ่านตาอยใู่ นแนวต้ัง ปรากฏ
รูเปิดเป็นแอ่งรับคล่ืนความร้อนอินฟราเรดอยู่ด้าน
หน้าของตา เกล็ดขนาดใหญ่บนหัว ได้แก่ เกล็ด
ระหว่างจมูก (internasals) เกล็ดก่อนเกล็ดหน้า
ผาก (prefrontals) เกลด็ หนา้ ผาก (frontal) ขนาด
ไม่ใหญม่ าก เกลด็ ขมบั (parietals) และเกล็ดเหนอื
ตา (supraoculars) มีขนาดค่อนข้างใหญ่ เกล็ด
ปกคลมุ บนหวั และลำ�ตัวไม่มันวาว ผวิ ขรุขระ ใตท้ ้อง
เป็นเกล็ดขนาดใหญ่ ลำ�ตัว และหัวสีน้ำ�ตาลคละกับสี
เหลอื งหรอื สีครมี บางครงั้ เป็นสีออกโทนชมพู มรี อย
ป้ืนรูปสามเหล่ียมสีดำ�เรียงอยู่ตลอดลำ�ตัว โดยรูป
สามเหลี่ยมดังกล่าววางอยู่ใกล้ๆ กับแนวกระดูกสัน
หลัง หลงั ตาทั้งสองข้างมีป้นื สีดำ�ขนาดใหญ่ หลังตา
ด้านบนเป็นแถบเส้นตรงสีขาวหรือสีครีมพาดไปด้าน
หลังคอ ดา้ นทอ้ งสีขาวหรือสคี รมี

การแพรก่ ระจาย ชอ่ื ไทย : งกู ะปะ งปู ะบุก งขู ว้างฆ้อน
ช่อื สามัญ : Malayan Pitviper
ในประเทศไทยสามารถพบได้เกือบทั่วประเทศ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Calloselasma rhodostoma
ยกเว้นภาคกลาง

สถานภาพ .

สถานะกงั วลน้อยท่สี ดุ (LC) โดยบญั ชีแดงของ
สหภาพเพ่ือการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) สถานะ
กังวลน้อยทสี่ ุด (LC) โดย Thailand red data
และไม่ไดถ้ กู จัดสถานะเปน็ สัตวป์ ่าคุม้ ครอง

สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน | 99

งปู ลิง

Plumbeus Water Snake

ลกั ษณะ แ ห ล่ ง อ า ศั ย แ ล ะ
เป็นงูน้ำ�ขนาดเล็ก ความยาวลำ�ตัว พฤติกรรม
ประมาณ 35 เซนติเมตร เกล็ดเรียบมันวาว หัวมี
ขนาดเลก็ และแบน ตาเลก็ เกล็ดรมิ ฝีปากตอนตน้ ขนาดเลก็ สามารถพบได้ตามแหล่งนำ้ �จืดทั่วไป
กว่าเกล็ดริมฝีปากตอนท้าย เกล็ดจมูกชนกันโดยไม่มีเกล็ดระหว่าง เช่นแหลง่ น้ำ�ธรรมชาติ บ่อหิน บ่อนำ้ �ขัง หรอื บ่อบวั
จมูกกนั้ กลาง รจู มูกขนาดเลก็ ทิศทางการเปดิ ของรูจมูกอยูข่ ้างบน ที่อยู่ใกล้อาคารบ้านเรือน กินสัตว์สะเทนิ น้ำ�สะเทนิ บก
ลำ�ตวั แบน เกล็ดดา้ นหลงั มีประมาณ 19 แถว เกล็ดใต้ท้องขนาด ขนาดเลก็ และปลาเปน็ อาหาร ชอบน้ำ�นงิ่ มากวา่ นำ้ �ไหล
ใหญ่ เกลด็ ใต้หางเปน็ เกลด็ แถวคู่ ลำ�ตวั ด้านหลงั สเี ทาอมเหลืองหรอื มักชูหัวขึ้นมาบนนำ้ � ส่วนลำ�ตัวอยู่ในแนวด่ิงและด้าน
สเี ขยี วขม้ี า้ ขอบของเกล็ดปรากฏสีดำ�เล็กน้อย ขอบขา้ งลำ�ตัว คอ ท้ายขอน้ำ�ตัวมักอยู่ใต้หินหรือโคลน เมื่อถูกรบกวน
และใต้ทอ้ งสคี รมี จะหดเขา้ หลบซอ่ นอยา่ งรวดเรว็

การแพร่กระจาย
ในประเทศไทยสามารถพบได้อยา่ งกว้างขวาง ดังที่มีรายงานมาแล้ว ไดแ้ ก่ จังหวดั กรงุ เทพฯ จงั หวดั กาญจนบุรี จงั หวัดกาฬสินธ์ุ
จังหวัดขอนแก่น จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครสวรรค์
จงั หวดั นราธวิ าส จงั หวดั บงึ กาฬ จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ จังหวัดปราจีนบรุ ี จงั หวดั พงั งา จงั หวดั พัทลงุ จงั หวดั เพชรบุรี จงั หวัดแพร่
จังหวดั แมฮ่ ่องสอน จงั หวดั ราชบุรี จงั หวัดลำ�ปาง จงั หวัดเลย จังหวดั สงขลา จังหวัดสระแกว้ จังหวดั สระบรุ ี จงั หวดั หนองคาย จงั หวดั
อทุ ยั ธานี และจงั หวดั อบุ ลราชธานี

สถานภาพ .

สถานะกังวลน้อยที่สุด (LC) โดยบัญชีแดงของสหภาพเพ่ือ ชื่อไทย : งปู ลงิ .
การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ (IUCN) และสถานะกงั วลน้อยทสี่ ุด (LC) โดย ชื่อสามัญ : Plumbeus Water Snake
Thailand red data แต่ไมถ่ ูกจดั เป็นสตั ว์ป่าคุ้มครอง ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Hypsiscopus plumbea

100 | สตั ว์เล้อื ยคลาน


Click to View FlipBook Version